Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กิจกรรมส่งเสริมการอ่านโครงการอ่านได้ อ่านดี อ่านที่ห้องสมุดประชาชนอำเภอหัวไทร

กิจกรรมส่งเสริมการอ่านโครงการอ่านได้ อ่านดี อ่านที่ห้องสมุดประชาชนอำเภอหัวไทร

Published by jadkup005, 2021-07-05 04:01:41

Description: กิจกรรมส่งเสริมการอ่านโครงการอ่านได้ อ่านดี อ่านที่ห้องสมุดประชาชนอำเภอหัวไทร

Search

Read the Text Version

จุดเร่ิมต้นแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลจากการใชแ้ นวทางการพฒั นาประเทศไปสู่ความทนั สมยั ไดก้ ่อใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงแก่สงั คมไทยอยา่ ง มากในทุกดา้ น ไมว่ า่ จะเป็นดา้ นเศรษฐกิจ การเมือง วฒั นธรรม สงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม อีกท้งั กระบวนการ ของความเปล่ียนแปลงมีความสลบั ซบั ซอ้ นจนยากท่ีจะอธิบายใน เชิงสาเหตแุ ละผลลพั ธไ์ ด้ เพราะการ เปล่ียนแปลงท้งั หมดต่างเป็นปัจจยั เชื่อมโยงซ่ึงกนั และกนั สาหรับผลของการพฒั นาในดา้ นบวกน้นั ไดแ้ ก่ การเพ่ิมข้ึนของอตั ราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความ เจริญทางวตั ถุ และสาธารณูปโภคตา่ งๆ ระบบสื่อสารที่ทนั สมยั หรือการขยายปริมาณและกระจายการศึกษา อยา่ งทว่ั ถึงมากข้ึน แต่ผลดา้ นบวกเหล่าน้ีส่วนใหญก่ ระจายไปถึงคนในชนบท หรือผดู้ อ้ ยโอกาสในสงั คม นอ้ ย แต่วา่ กระบวนการเปล่ียนแปลงของสังคมไดเ้ กิดผลลบติดตามมาดว้ ย เช่น การขยายตวั ของรัฐเขา้ ไปใน ชนบท ไดส้ ่งผลใหช้ นบทเกิดความอ่อนแอในหลายดา้ น ท้งั การตอ้ งพ่งึ พิงตลาดและพ่อคา้ คนกลางในการส่งั สินคา้ ทุน ความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพนั ธ์แบบเครือญาติ และการรวมกลุ่มกนั ตามประเพณีเพื่อการจดั การทรัพยากรท่ีเคยมีอยแู่ ตเ่ ดิมแตก สลายลง ภมู ิความรู้ที่เคยใชแ้ กป้ ัญหาและสัง่ สม ปรับเปล่ียนกนั มาถูกลืมเลือนและเร่ิม สูญหายไป สิ่งสาคญั กค็ อื ความพอเพยี งในการดารงชีวติ ซ่ึงเป็นเง่ือนไขพ้ืนฐานที่ทาใหค้ นไทยสามารถพ่งึ ตนเอง และ ดาเนินชีวติ ไปไดอ้ ยา่ งมีศกั ด์ิศรีภายใตอ้ านาจและความมีอิสระในการกาหนด ชะตาชีวิตของตนเอง ความสามารถในการควบคุมและจดั การเพื่อใหต้ นเองไดร้ ับการสนองตอบต่อความตอ้ ง การต่างๆ รวมท้งั ความสามารถในการจดั การปัญหาตา่ งๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง ซ่ึงท้งั หมดน้ีถือวา่ เป็นศกั ยภาพพ้ืนฐานท่ีคนไทยและ สงั คมไทยเคยมีอยแู่ ต่ เดิม ตอ้ งถูกกระทบกระเทือน ซ่ึงวกิ ฤตเศรษฐกิจจากปัญหาฟองสบ่แู ละปัญหาความ อ่อนแอของชนบท รวมท้งั ปัญหาอ่ืนๆ ที่เกิดข้ึน ลว้ นแต่เป็นขอ้ พิสูจน์และยนื ยนั ปรากฎการณ์น้ีไดเ้ ป็นอยา่ ง ดี พระราชดาริว่าด้วยเศรษฐกจิ พอเพยี ง “...การพฒั นาประเทศจาเป็นตอ้ งทาตามลาดบั ข้นั ตอ้ งสร้างพ้นื ฐานคอื ความพอมี พอกิน พอใชข้ อง ประชาชนส่วนใหญเ่ บ้ืองตน้ ก่อน โดยใชว้ ิธีการและอปุ กรณ์ที่ประหยดั แต่ถูกตอ้ งตามหลกั วชิ าการ เม่ือได้ พ้ืนฐานความมนั่ คงพร้อมพอสมควร และปฏิบตั ิไดแ้ ลว้ จึงคอ่ ยสร้างคอ่ ยเสริมความเจริญ และฐานะทาง เศรษฐกิจข้นั ท่ีสูงข้นึ โดยลาดบั ตอ่ ไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗) “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ที่พระราชทานมานานกวา่ ๓๐ ปี เป็ นแนวคดิ ท่ตี ้ังอยู่บนรากฐานของวฒั นธรรมไทย เป็นแนวทางการพฒั นาที่ต้งั บนพ้ืนฐานของทางสาย

กลาง และความไม่ประมาท คานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคมุ้ กนั ในตวั เอง ตลอดจน ใชค้ วามรู้และคณุ ธรรม เป็นพ้ืนฐานในการดารงชีวติ ที่สาคญั จะตอ้ งมี “สติ ปัญญา และความเพยี ร” ซ่ึงจะ นาไปสู่ “ความสุข” ในการดาเนินชีวิตอยา่ งแทจ้ ริง “...คนอื่นจะวา่ อยา่ งไรก็ช่างเขา จะวา่ เมืองไทยลา้ สมยั วา่ เมืองไทยเชย วา่ เมืองไทยไม่มีสิ่งท่ีสมยั ใหม่ แต่ เราอยู่พอมีพอกนิ และขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะใหเ้ มืองไทย พออยพู่ อกิน มีความสงบ และทางาน ต้งั จิตอธิษฐานต้งั ปณิธาน ในทางน้ีท่ีจะใหเ้ มืองไทยอยแู่ บบพออยพู่ อกิน ไมใ่ ช่วา่ จะรุ่งเรืองอยา่ งยอด แตว่ า่ มี ความพออยพู่ อกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกบั ประเทศอ่ืนๆ ถา้ เรารักษาความพออยพู่ อกินน้ีได้ เรากจ็ ะยอด ยง่ิ ยวดได.้ ..” (๔ ธนั วาคม ๒๕๑๗) พระบรมราโชวาทน้ี ทรงเห็นวา่ แนวทางการพฒั นาที่เนน้ การขยายตวั ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลกั แต่ เพียงอยา่ งเดียวอาจจะเกิดปัญหาได้ จึงทรงเน้นการมีพอกินพอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่ในเบือ้ งต้น ก่อน เมื่อมีพ้ืนฐานความมน่ั คงพร้อมพอสมควรแลว้ จึงสร้างความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจใหส้ ูงข้ึน ซ่ึงหมายถึง แทนท่ีจะเนน้ การขยายตวั ของภาคอุตสาหกรรมนาการพฒั นาประเทศ ควรที่จะสร้างความมนั่ คง ทางเศรษฐกิจพ้ืนฐานก่อน นน่ั คอื ทาให้ประชาชนในชนบทส่วนใหญ่พอมพี อกนิ ก่อน เป็นแนวทางการ พฒั นาที่เนน้ การกระจายรายได้ เพ่ือสร้างพ้ืนฐานและความมนั่ งคงทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ก่อน เนน้ การพฒั นาในระดบั สูงข้ึนไป ทรงเตือนเร่ืองพออยู่พอกนิ ต้งั แต่ปี ๒๕๑๗ คือ เม่ือ ๓๐ กว่าปี ท่แี ล้ว แต่ทิศทางการพฒั นามิได้เปลยี่ นแปลง “...เมื่อปี ๒๕๑๗ วนั น้นั ไดพ้ ดู ถึงวา่ เราควรปฏิบตั ิใหพ้ อมีพอกิน พอมีพอกินน้ีกแ็ ปลวา่ เศรษฐกิจพอเพียง นน่ั เอง ถา้ แต่ละคนมีพอมีพอกิน ก็ใชไ้ ด้ ยง่ิ ถา้ ท้งั ประเทศพอมีพอกินก็ยงิ่ ดี และประเทศไทยเวลาน้นั ก็เริ่มจะ เป็นไม่พอมีพอกิน บางคนก็มีมาก บางคนกไ็ มม่ ีเลย...” (๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑) เศรษฐกจิ พอเพยี ง “เศรษฐกิจพอเพยี ง” เป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั พระราชทานพระราชดาริช้ีแนะแนวทาง การดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา่ ๒๕ ปี ต้งั แต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลงั ไดท้ รงเนน้ ย้าแนวทางการแกไ้ ขเพอ่ื ให้รอดพน้ และสามารถดารงอยไู่ ดอ้ ยา่ งมนั่ คงและ ยงั่ ยนื ภายใตก้ ระแสโลกาภิวตั น์และความ เปล่ียนแปลงต่างๆ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดารงอยแู่ ละปฏิบตั ิตนของประชาชนในทุกระดบั ต้งั แตร่ ะดบั

ครอบครัว ระดบั ชุมชน จนถึงระดบั รัฐ ท้งั ในการพฒั นาและบริหารประเทศใหด้ าเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจ เพอื่ ใหก้ า้ วทนั ต่อโลกยคุ โลกาภิวตั น์ ความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะตอ้ งมีระบบภมู ิคมุ้ กนั ในตวั ท่ีดีพอสมควร ต่อการ กระทบใดๆ อนั เกิดจากการเปล่ียนแปลงท้งั ภายในภายนอก ท้งั น้ี จะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั อยา่ งยงิ่ ในการนาวชิ าการตา่ งๆ มาใชใ้ นการวางแผนและการดาเนินการ ทกุ ข้นั ตอน และขณะเดียวกนั จะตอ้ งเสริมสร้างพ้นื ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา้ หนา้ ที่ของรัฐ นกั ทฤษฎี และ นกั ธุรกิจในทกุ ระดบั ใหม้ ีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยส์ ุจริต และใหม้ ีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนิน ชีวติ ดว้ ยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพือ่ ใหส้ มดุลและพร้อมต่อการรองรับการ เปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วและกวา้ งขวาง ท้งั ดา้ นวตั ถุ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกได้ เป็นอยา่ งดี ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จงึ ประกอบด้วยคณุ สมบตั ิ ดงั น้ี ๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่นอ้ ยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและ ผอู้ ่ืน เช่น การผลิตและการบริโภคท่ีอยใู่ นระดบั พอประมาณ ๒. ความมีเหตผุ ล หมายถึง การตดั สินใจเก่ียวกบั ระดบั ความพอเพียงน้นั จะตอ้ งเป็นไปอยา่ งมีเหตุผล โดย พจิ ารณาจากเหตุปัจจยั ที่เกี่ยวขอ้ ง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดวา่ จะเกิดข้ึนจากการกระทาน้นั ๆ อยา่ งรอบคอบ ๓. ภูมิคมุ้ กนั หมายถึง การเตรียมตวั ใหพ้ ร้อมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงดา้ นตา่ งๆ ท่ีจะเกิดข้นึ โดย คานึงถึงความเป็นไปไดข้ องสถานการณ์ตา่ งๆ ท่ีคาดวา่ จะเกิดข้นึ ในอนาคต โดยมี เง่ือนไข ของการตดั สินใจและดาเนินกิจกรรมตา่ งๆ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพยี ง ๒ ประการ ดงั น้ี ๑. เงื่อนไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรู้เกี่ยวกบั วิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวขอ้ งรอบดา้ น ความรอบคอบที่จะ นาความรู้เหลา่ น้นั มาพิจารณาใหเ้ ช่ือมโยงกนั เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมดั ระวงั ในการปฏิบตั ิ ๒. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตอ้ งเสริมสร้าง ประกอบดว้ ย มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มีความซ่ือสตั ยส์ ุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชีวติ พระราชดารัสท่เี ก่ยี วกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง “...เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาของเศรษฐกิจ การที่ตอ้ งใชร้ ถไถตอ้ งไปซ้ือ เราตอ้ งใชต้ อ้ งหาเงินมาสาหรับซ้ือ น้ามนั สาหรับรถไถ เวลารถไถเก่าเราตอ้ งยงิ่ ซ่อมแซม แต่เวลาใชน้ ้นั เราก็ตอ้ งป้อนน้ามนั ใหเ้ ป็นอาหาร เสร็จ แลว้ มนั คายควนั ควนั เราสูดเขา้ ไปแลว้ กป็ วดหวั ส่วนควายเวลาเราใชเ้ ราก็ตอ้ งป้อนอาหาร ตอ้ งใหห้ ญา้ ให้ อาหารมนั กิน แต่วา่ มนั คายออกมา ท่ีมนั คายออกมาก็เป็นป๋ ุย แลว้ ก็ใชไ้ ดส้ าหรับใหท้ ี่ดินของเราไม่เสีย...” พระราชดารัส เน่ืองในพระราชพธิ ีพชื มงคลจรดพระนงั คลั แรกนาขวญั ณ ศาลาดุสิดาลยั วนั ท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๒๙

“...เราไม่เป็นประเทศร่ารวย เรามีพอสมควร พออยไู่ ด้ แต่ไมเ่ ป็นประเทศที่กา้ วหนา้ อย่างมาก เราไม่ อยากจะเป็นประเทศกา้ วหนา้ อยา่ งมาก เพราะถา้ เราเป็นประเทศกา้ วหนา้ อยา่ งมากกจ็ ะมีแตถ่ อยกลบั ประเทศเหลา่ น้นั ท่ีเป็นประเทศอุตสาหกรรมกา้ วหนา้ จะมีแตถ่ อยหลงั และถอยหลงั อยา่ งน่ากลวั แตถ่ า้ เรามี การบริหารแบบเรียกวา่ แบบคนจน แบบที่ไม่ติดกบั ตารามากเกินไป ทาอยา่ งมีสามคั คีนี่แหละคอื เมตตากนั จะอยไู่ ดต้ ลอดไป...” พระราชดารัส เนื่องในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลยั วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๔ “...ตามปกติคนเราชอบดูสถานการณ์ในทางดี ท่ีเขาเรียกว่าเลง็ ผลเลิศ กเ็ ห็นวา่ ประเทศไทย เรานี่กา้ วหนา้ ดี การเงินการอุตสาหกรรมการคา้ ดี มีกาไร อีกทางหน่ึงก็ตอ้ งบอกวา่ เรากาลงั เสื่อมลงไปส่วนใหญ่ ทฤษฎีวา่ ถา้ มีเงินเทา่ น้นั ๆ มีการกูเ้ ท่าน้นั ๆ หมายความวา่ เศรษฐกิจกา้ วหนา้ แลว้ กป็ ระเทศก็เจริญมีหวงั วา่ จะเป็น มหาอานาจ ขอโทษเลยตอ้ งเตือนเขาวา่ จริงตวั เลขดี แต่วา่ ถา้ เราไม่ระมดั ระวงั ในความตอ้ งการพ้ืนฐานของ ประชาชนน้นั ไม่มีทาง...” พระราชดารัส เน่ืองในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลยั วนั ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๖ “...เด๋ียวน้ีประเทศไทยกย็ งั อยดู่ ีพอสมควร ใชค้ าวา่ พอสมควร เพราะเด๋ียวมีคนเห็นวา่ มีคนจน คนเดือดร้อน จานวนมากพอสมควร แตใ่ ชค้ าวา่ พอสมควรน้ี หมายความวา่ ตามอตั ตภาพ...” พระราชดารัส เนื่องในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลยั วนั ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๙ “...ท่ีเป็นห่วงน้นั เพราะแมใ้ นเวลา ๒ ปี ท่ีเป็นปี กาญจนาภิเษกกไ็ ดเ้ ห็นสิ่งที่ทาใหเ้ ห็นไดว้ า่ ประชาชนยงั มี ความเดือดร้อนมาก และมีส่ิงท่ีควรจะแกไ้ ขและดาเนินการต่อไปทุกดา้ น มีภยั จากธรรมชาติกระหน่า ภยั ธรรมชาติน้ีเราคงสามารถท่ีจะบรรเทาไดห้ รือแกไ้ ขได้ เพยี งแต่วา่ ตอ้ งใชเ้ วลาพอใช้ มีภยั ที่มาจากจิตใจของ คน ซ่ึงกแ็ กไ้ ขไดเ้ หมือนกนั แตว่ า่ ยากกวา่ ภยั ธรรมชาติ ธรรมชาติน้นั เป็นส่ิงนอกกายเรา แต่นิสัยใจคอของ คนเป็นส่ิงที่อยขู่ า้ งใน อนั น้ีก็เป็นขอ้ หน่ึงท่ีอยากใหจ้ ดั การใหม้ ีความเรียบร้อย แต่กไ็ ม่หมดหวงั ...” พระราชดารัส เนื่องในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลยั วนั ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๙ “...การจะเป็นเสือน้นั ไมส่ าคญั สาคญั อยทู่ ี่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินน้นั หมายความ วา่ อมุ้ ชูตวั เองได้ ใหม้ ีพอเพยี งกบั ตนเอง ความพอเพยี งน้ีไมไ่ ดห้ มายความวา่ ทกุ ครอบครัวจะตอ้ งผลิตอาหาร

ของตวั เอง จะตอ้ งทอผา้ ใส่เอง อยา่ งน้นั มนั เกินไป แต่วา่ ในหมบู่ า้ นหรือในอาเภอ จะตอ้ งมีความพอเพียง พอสมควร บางสิ่งบางอยา่ งผลิตไดม้ ากกวา่ ความตอ้ งการก็ขายได้ แตข่ ายในท่ีไม่ห่างไกลเท่าไร ไม่ตอ้ งเสีย คา่ ขนส่งมากนกั ...” พระราชดารัส เน่ืองในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลยั วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๙. “...เมื่อปี ๒๕๑๗ วนั น้นั ไดพ้ ดู ถึงวา่ เราควรปฏิบตั ิใหพ้ อมีพอกิน พอมีพอกินน้ีกแ็ ปลวา่ เศรษฐกิจพอเพียง นนั่ เอง ถา้ แต่ละคนมีพอมีพอกิน กใ็ ชไ้ ด้ ยง่ิ ถา้ ท้งั ประเทศพอมีพอกินก็ยง่ิ ดี และประเทศไทยเวลาน้นั ก็เริ่มจะ เป็นไม่พอมีพอกิน บางคนก็มีมาก บางคนก็ไมม่ ีเลย...” พระราชดารัส เนื่องในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลยั วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑ “...พอเพยี ง มีความหมายกวา้ งขวางยง่ิ กวา่ น้ีอีก คือคาวา่ พอ กพ็ อเพียงน้ีก็พอแค่น้นั เอง คนเราถา้ พอใน ความตอ้ งการก็มีความโลภนอ้ ย เม่ือมีความโลภนอ้ ยก็เบียดเบียนคนอื่นนอ้ ย ถา้ ประเทศใดมีความคิดอนั น้ี มี ความคดิ วา่ ทาอะไรตอ้ งพอเพียง หมายความวา่ พอประมาณ ซ่ือตรง ไม่โลภอยา่ งมาก คนเราก็อยเู่ ป็นสุข พอเพยี งน้ีอาจจะมี มีมากอาจจะมีของหรูหราก็ได้ แตว่ า่ ตอ้ งไม่ไปเบียดเบียนคนอื่น...” พระราชดารัส เน่ืองในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลยั วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑ “...ไฟดบั ถา้ มีความจาเป็น หากมีเศรษฐกิจพอเพียงแบบไม่เตม็ ท่ี เรามีเคร่ืองป่ันไฟกใ็ ชป้ ั่นไฟ หรือถา้ ข้นั โบราณกวา่ มืดก็จุดเทียน คือมีทางที่จะแกป้ ัญหาเสมอ ฉะน้นั เศรษฐกิจพอเพยี งกม็ ีเป็นข้นั ๆ แต่จะบอกวา่ เศรษฐกิจพอเพียงน้ี ใหพ้ อเพียงเฉพาะตวั เองร้อยเปอร์เซ็นตน์ ่ีเป็นสิ่งทาไมไ่ ด้ จะตอ้ งมีการแลกเปล่ียน ตอ้ งมี การช่วยกนั ถา้ มีการช่วยกนั แลกเปลี่ยนกนั ก็ไมใ่ ช่พอเพียงแลว้ แตว่ า่ พอเพียงในทฤษฎีในหลวงน้ี คอื ให้ สามารถท่ีจะดาเนินงานได.้ ..” พระราชดารัส เน่ืองในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลยั วนั ท่ี ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๔๒ “...โครงการตา่ งๆ หรือเศรษฐกิจท่ีใหญ่ ตอ้ งมีความสอดคลอ้ งกนั ดีที่ไมใ่ ช่เหมือนทฤษฎีใหม่ ท่ีใชท้ ี่ดิน เพยี ง ๑๕ ไร่ และสามารถที่จะปลกู ขา้ วพอกิน กิจการน้ีใหญ่กวา่ แต่ก็เป็นเศรษฐกิจพอเพยี งเหมือนกนั คนไม่ เขา้ ใจวา่ กิจการใหญ่ๆ เหมือนสร้างเขื่อนป่ าสักก็เป็นเศรษฐกิจพอเพยี งเหมือนกนั เขานึกวา่ เป็นเศรษฐกิจ สมยั ใหม่ เป็นเศรษฐกิจท่ีห่างไกลจากเศรษฐกิจพอเพียง แต่ท่ีจริงแลว้ เป็นเศรษฐกิจพอเพยี งเหมือนกนั ...”

พระราชดารัส เน่ืองในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลยั วนั ท่ี ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๔๒ “...ฉนั พดู เศรษฐกิจพอเพยี งความหมายคือ ทาอะไรใหเ้ หมาะสมกบั ฐานะของตวั เอง คือทาจากรายได้ ๒๐๐-๓๐๐ บาท ข้ึนไปเป็นสองหม่ืน สามหม่ืนบาท คนชอบเอาคาพดู ของฉนั เศรษฐกิจพอเพียงไปพูดกนั เลอะเทอะ เศรษฐกิจพอเพียง คอื ทาเป็น Self-Sufficiency มนั ไมใ่ ช่ความหมายไม่ใช่แบบท่ีฉนั คดิ ที่ฉนั คดิ คือเป็น Self-Sufficiency of Economy เช่น ถา้ เขาตอ้ งการดูทีวี ก็ควรใหเ้ ขามีดู ไมใ่ ช่ไปจากดั เขาไมใ่ หซ้ ้ือทีวีดู เขาตอ้ งการดูเพ่ือความสนุกสนาน ในหมบู่ า้ นไกลๆ ที่ฉนั ไป เขามีทีวดี ูแต่ใช้ แบตเตอรี่ เขาไม่มีไฟฟ้า แต่ถา้ Sufficiency น้นั มีทวี ีเขาฟ่ ุมเฟื อย เปรียบเสมือนคนไม่มีสตางคไ์ ปตดั สูทใส่ และยงั ใส่เนคไทเวอร์ซาเช่ อนั น้ีกเ็ กินไป...” พระตาหนกั เป่ี ยมสุข วงั ไกลกงั วล ๑๗ มกราคม ๒๕๔๔ ประเทศไทยกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียง ม่งุ เนน้ ให้ผผู้ ลิต หรือผบู้ ริโภค พยายามเร่ิมตน้ ผลิต หรือบริโภคภายใตข้ อบเขต ขอ้ จากดั ของรายได้ หรือทรัพยากรที่มีอยไู่ ปก่อน ซ่ึงกค็ ือ หลกั ในการลดการพ่งึ พา เพ่ิมขีดความสามารถในการ ควบคมุ การผลิตไดด้ ว้ ยตนเอง และลดภาวะการเสี่ยงจากการไม่สามารถควบคุมระบบตลาดไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธิภาพ เศรษฐกิจพอเพียงมิใช่หมายความถึง การกระเบียดกระเสียนจนเกินสมควร หากแตอ่ าจฟ่ ุมเฟื อยไดเ้ ป็นคร้ัง คราวตามอตั ภาพ แต่คนส่วนใหญ่ของประเทศ มกั ใชจ้ ่ายเกินตวั เกินฐานะที่หามาได้ เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนาไปสู่เป้าหมายของการสร้างความมนั่ คงในทางเศรษฐกิจได้ เช่น โดยพ้นื ฐาน แลว้ ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของประเทศจึงควรเนน้ ท่ีเศรษฐกิจการเกษตร เนน้ ความมนั่ คงทางอาหาร เป็นการสร้างความมนั่ คงใหเ้ ป็นระบบเศรษฐกิจในระดบั หน่ึง จึงเป็นระบบเศรษฐกิจ ท่ีช่วยลดความเสี่ยง หรือความไมม่ นั่ คงทางเศรษฐกิจในระยะยาวได้ เศรษฐกิจพอเพียง สามารถประยกุ ตใ์ ชไ้ ดใ้ นทุกระดบั ทกุ สาขา ทกุ ภาคของเศรษฐกิจ ไม่จาเป็นจะตอ้ งจากดั เฉพาะแต่ภาคการเกษตร หรือภาคชนบท แมแ้ ตภ่ าคการเงิน ภาคอสงั หาริมทรัพย์ และการคา้ การลงทุน ระหวา่ งประเทศ โดยมีหลกั การท่ีคลา้ ยคลึงกนั คือ เนน้ การเลือกปฏิบตั ิอยา่ งพอประมาณ มีเหตมุ ีผล และสร้างภูมิคุม้ กนั ใหแ้ ก่ ตนเองและสังคม

การดาเนนิ ชีวิตตามแนวพระราชดาริพอเพยี ง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว ทรงเขา้ ใจถึงสภาพสงั คมไทย ดงั น้นั เม่ือไดพ้ ระราชทานแนวพระราชดาริ หรือพระบรมราโชวาทในดา้ นต่างๆ จะทรงคานึงถึงวถิ ีชีวติ สภาพสังคมของประชาชนดว้ ย เพือ่ ไมใ่ หเ้ กิด ความขดั แยง้ ทางความคิด ที่อาจนาไปสู่ความขดั แยง้ ในทางปฏิบตั ิได้ แนวพระราชดาริในการดาเนินชีวติ แบบพอเพียง ๑. ยดึ ความประหยดั ตดั ทอนคา่ ใชจ้ ่ายในทุกดา้ น ลดละความฟ่ มุ เฟื อยในการใชช้ ีวิต ๒. ยดึ ถือการประกอบอาชีพดว้ ยความถูกตอ้ ง ซ่ือสตั ยส์ ุจริต ๓. ละเลิกการแก่งแยง่ ผลประโยชนแ์ ละแขง่ ขนั กนั ในทางการคา้ แบบต่อสูก้ นั อยา่ งรุนแรง ๔. ไมห่ ยดุ นิ่งท่ีจะหาทางใหช้ ีวิตหลดุ พน้ จากความทกุ ขย์ าก ดว้ ยการขวนขวายใฝ่หาความรู้ใหม้ ีรายได้ เพิ่มพนู ข้ึน จนถึงข้นั พอเพยี งเป็นเป้าหมายสาคญั ๕. ปฏิบตั ิตนในแนวทางที่ดี ลดละสิ่งชว่ั ประพฤติตนตามหลกั ศาสนา ตวั อย่างเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทฤษฎีใหม่ ทฤษฎีใหม่ คือ ตวั อย่างท่เี ป็ นรูปธรรมของ การประยกุ ตใ์ ชเ้ ศรษฐกิจพอเพยี งท่ีเด่นชดั ท่ีสุด ซ่ึง พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวไดพ้ ระราชทานพระราชดาริน้ี เพ่อื เป็นการช่วยเหลือเกษตรกรที่มกั ประสบ ปัญหาท้งั ภยั ธรรมชาติและปัจจยั ภาย นอกที่มีผลกระทบต่อการทาการเกษตร ใหส้ ามารถผา่ นพน้ ช่วงเวลา วกิ ฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนน้าไดโ้ ดยไม่เดือดร้อนและยากลาบากนกั ความเส่ียงท่ีเกษตรกร มกั พบเป็นประจา ประกอบดว้ ย ๑. ความเสี่ยงดา้ นราคาสินคา้ เกษตร ๒. ความเส่ียงในราคาและการพ่ึงพาปัจจยั การผลิตสมยั ใหมจ่ ากต่างประเทศ ๓. ความเสี่ยงดา้ นน้า ฝนทิง้ ช่วง ฝนแลง้ ๔. ภยั ธรรมชาติอ่ืนๆ และโรคระบาด ๕. ความเส่ียงดา้ นแบบแผนการผลิต - ความเสี่ยงดา้ นโรคและศตั รูพืช - ความเสี่ยงดา้ นการขาดแคลนแรงงาน - ความเสี่ยงดา้ นหน้ีสินและการสูญเสียที่ดิน ทฤษฎีใหม่ จึงเป็นแนวทางหรือหลกั การในการบริหารการจดั การท่ีดินและน้า เพือ่ การเกษตรในท่ีดินขนาด เลก็ ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด

ทฤษฎีใหม่ ความสาคัญของทฤษฎใี หม่ ๑. มีการบริหารและจดั แบง่ ท่ีดินแปลงเลก็ ออกเป็นสดั ส่วนท่ีชดั เจน เพ่ือประโยชนส์ ูงสุดของเกษตรกร ซ่ึง ไมเ่ คยมีใครคิดมาก่อน ๒. มีการคานวณโดยใชห้ ลกั วชิ าการเกี่ยวกบั ปริมาณน้าที่จะกกั เก็บใหพ้ อเพียงตอ่ การเพาะปลูกไดอ้ ยา่ ง เหมาะสมตลอดปี ๓. มีการวางแผนท่ีสมบูรณ์แบบสาหรับเกษตรกรรายยอ่ ย โดยมีถึง ๓ ข้นั ตอน ทฤษฎใี หม่ข้ันต้น ใหแ้ บ่งพ้ืนที่ออกเป็น ๔ ส่วน ตามอตั ราส่วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซ่ึงหมายถึง พ้นื ที่ส่วนท่ีหน่ึง ประมาณ ๓๐% ใหข้ ดุ สระเก็บกกั น้าเพ่ือใชเ้ ก็บกกั น้าฝนในฤดูฝน และใชเ้ สริมการปลกู พชื ในฤดูแลง้ ตลอดจนการเล้ียงสตั วแ์ ละพชื น้าต่างๆ พ้ืนที่ส่วนที่สอง ประมาณ ๓๐% ใหป้ ลูกขา้ วในฤดูฝนเพอ่ื ใชเ้ ป็นอาหารประจาวนั สาหรับครอบครัวให้ เพยี งพอตลอด ปี เพอ่ื ตดั ค่าใชจ้ ่ายและสามารถพ่งึ ตนเองได้ พ้นื ท่ีส่วนที่สาม ประมาณ ๓๐% ใหป้ ลูกไมผ้ ล ไมย้ นื ตน้ พชื ผกั พชื ไร่ พชื สมุนไพร ฯลฯ เพื่อใชเ้ ป็นอาหาร ประจาวนั หากเหลือบริโภคกน็ าไปจาหน่าย พ้ืนท่ีส่วนที่สี่ ประมาณ ๑๐% เป็นท่ีอยอู่ าศยั เล้ียงสตั ว์ ถนนหนทาง และโรงเรือนอ่ืนๆ ทฤษฎใี หม่ข้ันท่ีสอง เม่ือเกษตรกรเขา้ ใจในหลกั การและไดป้ ฏิบตั ิในท่ีดินของตนจนไดผ้ ลแลว้ ก็ตอ้ งเร่ิมข้นั ที่สอง คอื ให้ เกษตรกรรวมพลงั กนั ในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกนั ดาเนินการในดา้ น (๑) การผลิต (พนั ธุพ์ ืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ) - เกษตรกรจะตอ้ งร่วมมือในการผลิต โดยเริ่ม ต้งั แตข่ ้นั เตรียมดิน การหาพนั ธุ์พชื ป๋ ยุ การจดั หาน้า และอ่ืนๆ เพอ่ื การเพาะปลูก (๒) การตลาด (ลานตากขา้ ว ยงุ้ เครื่องสีขา้ ว การจาหน่ายผลผลิต) - เมื่อมีผลผลิตแลว้ จะตอ้ งเตรียมการตา่ งๆ เพ่ือการขายผลผลิตใหไ้ ดป้ ระโยชน์สูงสุด เช่น การเตรียมลาน ตากขา้ วร่วมกนั การจดั หายงุ้ รวบรวมขา้ ว เตรียมหาเครื่องสีขา้ ว ตลอดจนการรวมกนั ขายผลผลิตใหไ้ ดร้ าคา ดีและลดคา่ ใชจ้ ่ายลงดว้ ย (๓) การเป็นอยู่ (กะปิ น้าปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ) - ในขณะเดียวกนั เกษตรกรตอ้ งมีความเป็นอยทู่ ี่ดีพอสมควร โดยมีปัจจยั พ้ืนฐานในการดารงชีวิต เช่น อาหารการกินต่างๆ กะปิ น้าปลา เส้ือผา้ ท่ีพอเพียง

(๔) สวสั ดิการ (สาธารณสุข เงินก)ู้ - แต่ละชุมชนควรมีสวสั ดิภาพและบริการที่จาเป็น เช่น มีสถานีอนามยั เม่ือยามป่ วยไข้ หรือมีกองทุนไวก้ ูย้ มื เพ่อื ประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน (๕) การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา) - ชุมชนควรมีบทบาทในการส่งเสริมการศึกษา เช่น มีกองทนุ เพอ่ื การศึกษาเลา่ เรียนใหแ้ ก่เยาวชนของชม ชนเอง (๖) สงั คมและศาสนา - ชุมชนควรเป็นท่ีรวมในการพฒั นาสงั คมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็นท่ียดึ เหนี่ยว โดยกิจกรรมท้งั หมดดงั กล่าวขา้ งตน้ จะตอ้ งไดร้ ับความร่วมมือจากทุกฝ่ายท่ีเก่ียวขอ้ ง ไม่วา่ ส่วนราชการ องคก์ รเอกชน ตลอดจนสมาชิกในชุมชนน้นั เป็นสาคญั ทฤษฎใี หม่ข้ันทส่ี าม เม่ือดาเนินการผา่ นพน้ ข้นั ที่สองแลว้ เกษตรกร หรือกลุม่ เกษตรกรกค็ วรพฒั นากา้ วหนา้ ไปสู่ข้นั ที่สามต่อไป คอื ติดตอ่ ประสานงาน เพื่อจดั หาทุน หรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรือบริษทั หา้ งร้านเอกชน มาช่วยในการ ลงทนุ และพฒั นาคณุ ภาพชีวิต ท้งั น้ี ท้งั ฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคาร หรือบริษทั เอกชนจะไดร้ ับประโยชน์ร่วมกนั กลา่ วคอื - เกษตรกรขายขา้ วไดร้ าคาสูง (ไมถ่ ูกกดราคา) - ธนาคารหรือบริษทั เอกชนสามารถซ้ือขา้ วบริโภคในราคาต่า (ซ้ือขา้ วเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสี เอง) - เกษตรกรซ้ือเครื่องอปุ โภคบริโภคไดใ้ นราคาต่า เพราะรวมกนั ซ้ือเป็นจานวนมาก (เป็นร้านสหกรณ์ราคา ขายส่ง) - ธนาคารหรือบริษทั เอกชน จะสามารถกระจายบคุ ลากร เพื่อไปดาเนินการในกิจกรรมตา่ งๆ ใหเ้ กิดผลดี ยง่ิ ข้ึน หลกั การและแนวทางสาคญั ๑. เป็นระบบการผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพยี งที่เกษตรกรสามารถเล้ียงตวั เองไดใ้ นระดบั ท่ีประหยดั ก่อน ท้งั น้ี ชุมชนตอ้ งมีความสามคั คี ร่วมมือร่วมใจในการช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ทานองเดียวกบั การ “ลงแขก” แบบ ด้งั เดิมเพ่ือลดคา่ ใชจ้ ่ายในการจา้ งแรงงานดว้ ย ๒. เน่ืองจากขา้ วเป็นปัจจยั หลกั ที่ทกุ ครัวเรือนจะตอ้ งบริโภค ดงั น้นั จึงประมาณวา่ ครอบครัวหน่ึงทานา ประมาณ ๕ ไร่ จะทาใหม้ ีขา้ วพอกินตลอดปี โดยไม่ตอ้ งซ้ือหาในราคาแพง เพ่ือยดึ หลกั พ่ึงตนเองไดอ้ ยา่ งมี อิสรภาพ ๓. ตอ้ งมีน้าเพ่ือการเพาะปลูกสารองไวใ้ ชใ้ นฤดูแลง้ หรือระยะฝนทิ้งช่วงไดอ้ ยา่ งพอเพียง ดงั น้นั จึง

จาเป็นตอ้ งกนั ที่ดินส่วนหน่ึงไวข้ ดุ สระน้า โดยมีหลกั วา่ ตอ้ งมีน้าเพยี งพอที่จะเพาะปลูกไดต้ ลอดปี ท้งั น้ี ได้ พระราชทานพระราชดาริเป็นแนวทางวา่ ตอ้ งมีน้า ๑,๐๐๐ ลกู บาศกเ์ มตร ตอ่ การเพาะปลูก ๑ ไร่ โดยประมาณ ฉะน้นั เมื่อทานา ๕ ไร่ ทาพืชไร่ หรือไมผ้ ลอีก ๕ ไร่ (รวมเป็น ๑๐ ไร่) จะตอ้ งมีน้า ๑๐,๐๐๐ ลูกบาศกเ์ มตรต่อปี ดงั น้นั หากต้งั สมมติฐานวา่ มีพ้นื ที่ ๕ ไร่ กจ็ ะสามารถกาหนดสูตรคร่าวๆ วา่ แตล่ ะแปลง ประกอบดว้ ย - นาขา้ ว ๕ ไร่ - พชื ไร่ พืชสวน ๕ ไร่ - สระน้า ๓ ไร่ ขดุ ลึก ๔ เมตร จุน้าไดป้ ระมาณ ๑๙,๐๐๐ ลูกบาศกเ์ มตร ซ่ึงเป็นปริมาณน้าท่ีเพยี งพอที่จะ สารองไวใ้ ชย้ ามฤดูแลง้ - ท่ีอยอู่ าศยั และอื่นๆ ๒ ไร่ รวมท้งั หมด ๑๕ ไร่ แตท่ ้งั น้ี ขนาดของสระเกบ็ น้าข้ึนอยกู่ บั สภาพภูมิประเทศและสภาพแวดลอ้ ม ดงั น้ี - ถา้ เป็นพ้นื ที่ทาการเกษตรอาศยั น้าฝน สระน้าควรมีลกั ษณะลึก เพือ่ ป้องกนั ไมใ่ หน้ ้าระเหยไดม้ ากเกินไป ซ่ึงจะทาใหม้ ีน้าใชต้ ลอดท้งั ปี - ถา้ เป็นพ้ืนท่ีทาการเกษตรในเขตชลประทาน สระน้าอาจมีลกั ษณะลึก หรือต้ืน และแคบ หรือกวา้ งก็ได้ โดยพจิ ารณาตามความเหมาะสม เพราะสามารถมีน้ามาเติมอยเู่ รื่อยๆ การมีสระเก็บน้ากเ็ พื่อใหเ้ กษตรกรมีน้าใชอ้ ยา่ งสม่าเสมอท้งั ปี (ทรงเรียกวา่ Regulator หมายถึงการ ควบคุมใหด้ ี มีระบบน้าหมนุ เวยี นใชเ้ พอ่ื การเกษตรไดโ้ ดยตลอดเวลาอยา่ งต่อเนื่อง) โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ใน หนา้ แลง้ และระยะฝนทิ้งช่วง แตม่ ิไดห้ มายความวา่ เกษตรกรจะสามารถปลกู ขา้ วนาปรังได้ เพราะหากน้าใน สระเกบ็ น้าไม่พอ ในกรณีมีเข่อื นอยบู่ ริเวณใกลเ้ คียงกอ็ าจจะตอ้ งสูบน้ามาจากเขอื่ น ซ่ึงจะทาใหน้ ้าในเข่ือน หมดได้ แต่เกษตรกรควรทานาในหนา้ ฝน และเม่ือถึงฤดูแลง้ หรือฝนทิ้งช่วงให้เกษตรกรใชน้ ้าท่ีเกบ็ ตุนน้นั ใหเ้ กิดประโยชนท์ างการเกษตรอยา่ งสูงสุด โดยพจิ ารณาปลูกพืชใหเ้ หมาะสมกบั ฤดูกาล เพือ่ จะไดม้ ีผลผลิต อ่ืนๆ ไวบ้ ริโภคและสามารถนาไปขายไดต้ ลอดท้งั ปี ๔. การจดั แบง่ แปลงท่ีดินเพ่ือใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุดน้ี พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงคานวณและคานึง จากอตั ราการถือครองท่ีดินถวั เฉลี่ยครัวเรือนละ ๑๕ ไร่ อยา่ งไรก็ตาม หากเกษตรกรมีพ้ืนท่ีถือครองนอ้ ยกวา่ น้ี หรือมากกวา่ น้ี ก็สามารถใชอ้ ตั ราส่วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ เป็นเกณฑป์ รับใชไ้ ด้ กลา่ วคอื ร้อยละ ๓๐ ส่วนแรก ขดุ สระน้า (สามารถเล้ียงปลา ปลูกพชื น้า เช่น ผกั บุง้ ผกั กะเฉด ฯลฯ ไดด้ ว้ ย) บนสระ อาจสร้างเลา้ ไก่และบนขอบสระน้าอาจปลกู ไมย้ นื ตน้ ท่ีไมใ่ ชน้ ้ามากโดยรอบ ได้ ร้อยละ ๓๐ ส่วนท่ีสอง ทานา ร้อยละ ๓๐ ส่วนท่ีสาม ปลกู พืชไร่ พืชสวน (ไมผ้ ล ไมย้ นื ตน้ ไมใ้ ชส้ อย ไมเ้ พื่อเป็นเช้ือฟื น ไมส้ ร้างบา้ น พืช ไร่ พืชผกั สมนุ ไพร เป็นตน้ )

ร้อยละ ๑๐ สุดทา้ ย เป็นท่ีอยอู่ าศยั และอื่นๆ (ทางเดิน คนั ดิน กองฟาง ลานตาก กองป๋ ยุ หมกั โรงเรือน โรง เพาะเห็ด คอกสตั ว์ ไมด้ อกไมป้ ระดบั พชื สวนครัวหลงั บา้ น เป็นตน้ ) อยา่ งไรก็ตาม อตั ราส่วนดงั กล่าวเป็นสูตร หรือหลกั การโดยประมาณเทา่ น้นั สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ไดต้ ามความเหมาะสม โดยข้ึนอยกู่ บั สภาพของพ้ืนที่ดิน ปริมาณน้าฝน และสภาพแวดลอ้ ม เช่น ในกรณี ภาคใตท้ ่ีมีฝนตกชุก หรือพ้ืนที่ที่มีแหล่งน้ามาเติมสระไดต้ ่อเนื่อง ก็อาจลดขนาดของบอ่ หรือสระเก็บน้าให้ เลก็ ลง เพือ่ เกบ็ พ้นื ที่ไวใ้ ชป้ ระโชนอ์ ่ืนต่อไปได้ ๕. การดาเนินการตามทฤษฎีใหม่ มีปัจจยั ประกอบหลายประการ ข้ึนอยกู่ บั สภาพภมู ิประเทศ สภาพแวดลอ้ ม ของแตล่ ะทอ้ งถิ่น ดงั น้นั เกษตรกรควรขอรับคาแนะนาจากเจา้ หนา้ ท่ีดว้ ย และที่สาคญั คอื ราคาการลงทุน ค่อนขา้ งสูง โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การขดุ สระน้า เกษตรกรจะตอ้ งไดร้ ับความช่วยเหลือจากส่วนราชการ มูลนิธิ และเอกชน ๖. ในระหวา่ งการขดุ สระน้า จะมีดินที่ถกู ขดุ ข้ึนมาจานวนมาก หนา้ ดินซ่ึงเป็นดินดี ควรนาไปกองไวต้ า่ งหาก เพื่อนามาใชป้ ระโยชนใ์ นการปลูกพชื ตา่ งๆ ในภายหลงั โดยนามาเกลี่ยคลมุ ดินช้นั ลา่ งท่ีเป็นดินไม่ดี หรือ อาจนามาถมทาขอบสระน้า หรือยกร่องสาหรับปลกู ไมผ้ ลก็จะไดป้ ระโยชน์อีกทางหน่ึง ตัวอย่างพืชที่ควรปลูกและสัตว์ท่ีควรเลยี้ ง ไมผ้ ลและผกั ยนื ตน้ : มะมว่ ง มะพร้าว มะขาม ขนุน ละมดุ สม้ กลว้ ย นอ้ ยหน่า มะละกอ กะทอ้ น แคบา้ น มะรุม สะเดา ข้เี หลก็ กระถิน ฯลฯ ผกั ลม้ ลุกและดอกไม้ : มนั เทศ เผอื ก ถวั่ ฝักยาว มะเขอื มะลิ ดาวเรือง บานไม่รู้โรย กุหลาบ รัก และซ่อนกล่ิน เป็ นตน้ เห็ด : เห็ดนางฟ้า เห็ดฟาง เห็ดเป๋ าฮ้ือ เป็นตน้ สมนุ ไพรและเคร่ืองเทศ : หมาก พลู พริกไท บุก บวั บก มะเกลือ ชุมเห็ด หญา้ แฝก และพชื ผกั บางชนิด เช่น กะเพรา โหระพา สะระแหน่ แมงลกั และตะไคร้ เป็นตน้ ไมใ้ ชส้ อยและเช้ือเพลิง : ไผ่ มะพร้าว ตาล กระถินณรงค์ มะขามเทศ สะแก ทองหลาง จามจุรี กระถิน สะเดา ข้เี หลก็ ประดู่ ชิงชนั และยางนา เป็นตน้ พืชไร่ : ขา้ วโพด ถวั่ เหลือง ถวั่ ลิสง ถวั่ พุ่ม ถว่ั มะแฮะ ออ้ ย มนั สาปะหลงั ละหุ่ง นุ่น เป็นตน้ พชื ไร่หลายชนิด อาจเก็บเกี่ยวเม่ือผลผลิตยงั สดอยู่ และจาหน่ายเป็นพืชประเภทผกั ได้ และมีราคาดีกวา่ เก็บเม่ือแก่ ไดแ้ ก่ ขา้ วโพด ถวั เหลือง ถวั่ ลิสง ถวั่ พุม่ ถวั่ มะแฮะ ออ้ ย และมนั สาปะหลงั พชื บารุงดินและพืชคลุมดิน : ถว่ั มะแฮะ ถวั่ ฮามาตา้ โสนแอฟริกนั โสนพ้ืนเมือง ปอเทือง ถวั่ พร้า ข้เี หลก็ กระถิน รวมท้งั ถวั่ เขียวและถว่ั พมุ่ เป็นตน้ และเม่ือเกบ็ เก่ียวแลว้ ไถกลบลงไปเพ่อื บารุงดินได้ หมายเหตุ : พืชหลายชนิดใชท้ าประโยชน์ไดม้ ากกวา่ หน่ึงชนิด และการเลือกปลกู พชื ควรเนน้ พืชยนื ตน้ ดว้ ย เพราะการดูแลรักษาในระยะหลงั จะลดนอ้ ยลง มีผลผลิตทยอยออกตลอดปี ควรเลือกพืชยนื ตน้ ชนิดต่างๆ กนั

ใหค้ วามร่มเยน็ และชุ่มช้ืนกบั ท่ีอยอู่ าศยั และส่ิงแวดลอ้ ม และควรเลือกตน้ ไมใ้ หส้ อดคลอ้ งกบั สภาพของ พ้ืนที่ เช่น ไม่ควรปลกู ยคู าลิปตสั บริเวณขอบสระ ควรเป็นไมผ้ ลแทน เป็นตน้ สตั วเ์ ล้ียงอ่ืนๆ ไดแ้ ก่ สัตวน์ ้า : ปลาไน ปลานิล ปลาตะเพียนขาว ปลาดุก เพื่อเป็นอาหารเสริมประเภทโปรตีน และยงั สามารถ นาไปจาหน่ายเป็นรายไดเ้ สริมไดอ้ ีกดว้ ย ในบางพ้ืนท่ีสามารถเล้ียงกบได้ สุกร หรือ ไก่ เล้ียงบนขอบสระน้า ท้งั น้ี มูลสุกรและไก่สามารถนามาเป็นอาหารปลา บางแห่งอาจเล้ียงเป็ด ได้ ประโยชน์ของทฤษฎใี หม่ ๑. ใหป้ ระชาชนพออยพู่ อกินสมควรแก่อตั ภาพในระดบั ท่ีประหยดั ไมอ่ ดอยาก และเล้ียงตนเองไดต้ ามหลกั ปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ๒. ในหนา้ แลง้ มีน้านอ้ ย กส็ ามารถเอาน้าที่เก็บไวใ้ นสระมาปลกู พืชผกั ตา่ งๆ ท่ีใชน้ ้านอ้ ยได้ โดยไม่ตอ้ ง เบียดเบียนชลประทาน ๓. ในปี ที่ฝนตกตามฤดูกาลโดยมีน้าดีตลอดปี ทฤษฎีใหมน่ ้ีสามารถสร้างรายไดใ้ หแ้ ก่เกษตรกรไดโ้ ดยไม่ เดือดร้อนในเรื่องค่า ใชจ้ ่ายต่างๆ ๔. ในกรณีที่เกิดอทุ กภยั เกษตรกรสามารถท่ีจะฟ้ื นตวั และช่วยตวั เองไดใ้ นระดบั หน่ึง โดยทางราชการไม่ ตอ้ งช่วยเหลือมากนกั ซ่ึงเป็นการประหยดั งบประมาณดว้ ย ทฤษฎใี หมท่ ส่ี มบูรณ์ ทฤษฎีใหมท่ ่ีดาเนินการโดยอาศยั แหลง่ น้า ธรรมชาติ น้าฝน จะอยใู่ นลกั ษณะ “หม่ินเหม”่ เพราะหากปี ใดฝน นอ้ ย น้าอาจจะไม่เพยี งพอ ฉะน้นั การที่จะทาใหท้ ฤษฎีใหมส่ มบรู ณ์ไดน้ ้นั จาเป็นตอ้ งมีสระเก็บกกั น้าท่ีมี ประสิทธิภาพและเตม็ ความสามารถ โดยการมีแหลง่ น้าขนาดใหญ่ท่ีสามารถเพ่มิ เติมน้าในสระเกบ็ กกั น้าให้ เตม็ อยู่ เสมอ ดงั เช่น กรณีของการทดลองท่ีโครงการพฒั นาพ้นื ที่บริเวณวดั มงคลชยั พฒั นาอนั เน่ืองมาจาก พระราชดาริ จงั หวดั สระบุรี ระบบทฤษฎีใหม่ที่สมบูรณ์ อ่างใหญ่ เติมอ่างเลก็ อ่างเลก็ เติมสระนา้

จากภาพ วงกลมเลก็ คือสระน้าท่ีเกษตรกรขดุ ข้ึนตามทฤษฎีใหม่ เม่ือเกิดช่วงขาดแคลนน้าในฤดูแลง้ เกษตรกรสามารถสูบน้ามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ และหากน้าในสระน้าไม่เพียงพอก็ขอรับน้าจากอา่ งหว้ ยหินขาว (อา่ งเลก็ ) ซ่ึงไดท้ าระบบส่งน้าเชื่อมต่อทางท่อลงมายงั สระน้าท่ีไดข้ ดุ ไวใ้ นแต่ละแปลง ซ่ึงจะช่วยใหส้ ามารถ มีน้าใชต้ ลอดปี กรณีท่ีเกษตรกรใชน้ ้ากนั มาก อา่ งหว้ ยหินขาว (อา่ งเลก็ ) กอ็ าจมีปริมาณน้าไม่เพยี งพอ กส็ ามารถใชว้ ธิ ีการ ผนั น้าจากเขื่อนป่ าสกั ชลสิทธ์ิ (อ่างใหญ)่ ตอ่ ลงมายงั อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยหินขาว (อา่ งเลก็ ) ก็จะช่วยใหม้ ีปริมาณ น้ามาเติมในสระของเกษตรกรพอตลอดท้งั ปี โดยไมต่ อ้ งเสี่ยง ระบบการจดั การทรัพยากรน้าตามแนวพระราชดาริพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั สามารถทาใหก้ ารใชน้ ้ามี ประสิทธิภาพอยา่ งสูงสุด จากระบบส่งทอ่ เปิ ดผา่ นไปตามแปลงไร่นาต่างๆ ถึง ๓-๕ เท่า เพราะยามหนา้ ฝน นอกจากจะมีน้าในอ่างเก็บน้าแลว้ ยงั มีน้าในสระของราษฎรเกบ็ ไวพ้ ร้อมกนั ดว้ ย ทาใหม้ ีปริมาณน้าเพมิ่ อยา่ ง มหาศาล น้าในอา่ งท่ีต่อมาสู่สระจะทาหนา้ ท่ีเป็นแหลง่ น้าสารอง คอยเติมเทา่ น้นั เอง 3 ห่วง คอื ทางสายกลาง ประกอบไปดว้ ย ดังนี้ หว่ งที่ 1 คือ พอประมาณ หมายถึง พอประมาณในทกุ อย่าง ความพอดีไมม่ ากหรอื ว่าน้อยจนเกินไปโดยต้องไม่ เบยี ดเบียนตนเอง หรือผอู้ ่ืนให้เดอื ดรอ้ น หว่ งท่ี 2 คือ มีเหตผุ ล หมายถึง การตัดสนิ ใจเก่ียวกับระดบั ของความพอเพยี งนั้น จะต้องเปน็ ไปอยา่ งมเี หตผุ ลโดย พิจารณาจากเหตปุ จั จัยที่เก่ียวข้อง ตลอดจนคำนงึ ถงึ ผลท่ีคาดว่าจะเกดิ ขึ้นจากการกระทำน้นั ๆ อยา่ งรอบคอบ หว่ งท่ี 3 คอื มภี มู คิ ุ้มกนั ท่ีดีในตวั เอง หมายถงึ การเตรียมตวั ให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลย่ี นแปลงดา้ นการต่างๆ ท่จี ะเกิดข้นึ โดยคำนงึ ถงึ ความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ตา่ งๆ ท่ีคาดว่าจะเกิดขนึ้ ในอนาคตทั้งใกลแ้ ละไกล

2 เง่อื นไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ เงอื่ นไขที่ 1 เงอ่ื นไขความรู้ คือ มีความรอบรู้เกย่ี วกบั วชิ าการตา่ งๆทเี่ กี่ยวข้องอยา่ งรอบดา้ น ความรอบคอบทจี่ ะนำ ความรเู้ หล่านัน้ มาพจิ ารณาให้เช่อื มโยงกนั เพ่ือประกอบการ วางแผน และความระมัดระวังในข้นั ตอนปฏิบัติ คุณธรรม ประกอบด้วย มคี วามตระหนักในคุณธรรม มีความซ่ือสตั ย์สจุ รติ และมคี วามอดทน มีความเพียร ใชส้ ติปัญญาในการดำเนินชวี ติ เงื่อนไขท่ี 2 เงื่อนไขคณุ ธรรม คือ มีความตระหนักในคุณธรรม มคี วามซ่ือสตั ย์สุจริตและมีความอดทน มคี วามเพยี ร ใช้ สติปัญญาในการดำเนนิ ชีวติ “เศรษฐกจิ พอเพียงจริงๆ คือ หลักการดำเนินชวี ติ ทจี่ ริงแท้ที่สดุ กรอบแนวคิดของหลักปรัชญามุง่ เนน้ ความมนั่ คงและความ ยง่ั ยนื ของการพฒั นา อนั มีคุณลกั ษณะท่ีสำคัญ คอื สามารถประยกุ ตใ์ ช้ในทุกระดับ ตลอดจนใหค้ วามสำคญั กบั คำวา่ ความ พอเพยี ง ทีป่ ระกอบดว้ ย ความพอประมาณ ความมเี หตมุ ีผล มีภูมคิ ุ้มกนั ที่ดีในตัว ภายใต้เงื่อนไขของการตดั สินใจและการดำเนิน กิจกรรมที่ต้องอาศยั เงือ่ นไขความรู้และเง่ือนไขคุณธรรม” “หากทกุ ฝา่ ยเข้าใจกรอบแนวคิด คณุ ลกั ษณะ คำนิยามของเศรษฐกิจพอเพยี งอยา่ งแจ่มชดั แลว้ ก็จะงา่ ยขนึ้ ในการนำไป ประยุกต์ใช้เปน็ แนวทางปฏิบัติ และจะนำไปส่ผู ลที่คาดวา่ จะได้รับ คือ การพัฒนาท่สี มดุลและยง่ั ยืน พร้อมรับต่อการเปล่ียนแปลง ในทุกดา้ น ทั้งด้านเศรษฐกจิ สังคม ส่งิ แวดล้อม ความรู้และเทคโนโลย”ี

กิจกรรมอาเซียนน่ารู้ ประวตั กิ ารกอ่ ตงั้ อาเซยี น อาเซยี น หรอื สมาคมประชาชาตแิ หง่ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (Association of South East AsianNations หรอื ASEAN) กอ่ ตงั้ ขนึ้ โดยปฏญิ ญากรงุ เทพ (Bangkok Declaration) ซงึ่ ไดม้ กี ารลงนามทว่ี งั สราญรมย์ เมอ่ื วันที่ 8 สงิ หาคม พ.ศ. 2510 โดย รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงการตา่ งประเทศสมาชกิ กอ่ ตัง้ 5 ประเทศ ไดแ้ ก่ อนิ โดนีเซยี ฟิลปิ ปินส์ มาเลเซยี สงิ คโปร์ และ ไทย ซงึ่ ผแู ้ ทนทัง้ 5 ประเทศ ทงั้ นี้ ในเวลาตอ่ มาไดม้ ปี ระเทศตา่ ง ๆ เขา้ เป็ นสมาชกิ เพม่ิ เตมิ ไดแ้ ก่ บรไู นดารสุ ซา ลาม (เป็ นสมาชกิ เมอื่ 8 มกราคม พ .ศ.2527) เวยี ดนาม (เป็ นสมาชกิ เมอื่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538) ประเทศลาว, ประเทศพมา่ (เป็ นสมาชกิ เมอื่ 23 กรกฎาคม พ.ศ .2540) และประเทศ กมั พูชา (เป็ นสมาชกิ เมอื่ 30 เมษายน พ.ศ. 2542) ทงั้ น้ี ในปัจจบุ ันมสี มาชกิ อาเซยี นทัง้ หมด 10 ประเทศ วตั ถปุ ระสงคข์ องการกอ่ ตง้ั อาเซยี น วตั ถปุ ระสงคข์ องการกอ่ ตงั้ อาเซยี น คอื เพอื่ สง่ เสรมิ ความเขา้ ใจอนั ดตี อ่ กนั ระหวา่ ง ประเทศในภมู ภิ าค ธารงไวซ้ งึ่ สนั ตภิ าพเสถยี รภาพ และความม่ันคงทางการเมอื ง สรา้ งสรรค์ ความเจรญิ กา้ วหนา้ ทางดา้ นเศรษฐกจิ การพัฒนาทางสงั คม และ วฒั นธรรมการกนิ ดอี ยดู่ ขี อง ประชาชนบนพน้ื ฐานของความเสมอภาคและผลประโยชนร์ ว่ มกนั ของประเทศสมาชกิ โดยแบง่ ออก เป็ นขอ้ ๆ ไดด้ งั น้ี 1. เพอื่ สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื และความชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั ในทางเศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วทิ ยาศาสตร์ และการบรหิ าร 2. เพอื่ สง่ เสรมิ สนั ตภิ าพและความมน่ั คงสว่ นภมู ภิ าค 3. เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความเจรญิ รงุ่ เรอื งทางเศรษฐกจิ และพฒั นาการทางวฒั นธรรมในภมู ภิ าค 4. เพอ่ื เสรมิ สรา้ งใหป้ ระชาชนในอาเซยี นมคี วามเป็ นอยแู่ ละคณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี 5. เพอ่ื ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั ในรปู แบบของการฝึกอบรมและการวจิ ยั และ สง่ เสรมิ การศกึ ษาดา้ นเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต ้ 6. เพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพของการเกษตรและอตุ สาหกรรม การขยายการคา้ ตลอดจน ปรับปรงุ การขนสง่ และการคมนาคม 7. เพอ่ื สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื อาเซยี นกบั ประเทศภายนอก องคก์ ารความรว่ มมอื แหง่ ภมู ภิ าค อนื่ ๆ และองคก์ ารระหวา่ งประเทศ

สญั ลกั ษณ์ของอาเซยี น นนั้ เป็ นสญั ลกั ษณ์ทใ่ี ชม้ านานตง้ั แตก่ อ่ ตงั้ ประกอบไปดว้ ยรปู รวงขา้ งสเี หลอื ง จานวน 10 ตน้ บน พนื้ สแี ดงลอ้ มรอบดว้ ยวงกลมสขี าวและสนี า้ เงนิ โดยมคี วามหมายวา่ ดงั น.้ี .. รวงขา้ ว 10 ตน้ หมายถงึ ประเทศสมาชกิ 10 ประเทศ สเี หลอื ง หมายถงึ ความเจรญิ รงุ่ เรอื ง สแี ดง หมายถงึ ความกลา้ หาญและการมพี ลวัติ สขี าว หมายถงึ ความบรสิ ทุ ธ์ิ สนี า้ เงนิ หมายถงึ สนั ตภิ าพและความม่นั คง รจู้ กั ธงอาเซยี น และสญั ลกั ษณ์ของอาเซยี น ทง้ั หมดคลกิ เลย กฎบตั รอาเซยี น กฎบตั รอาเซยี น หรอื ASEAN Charter เรยี กงา่ ย ๆ กค็ อื ธรรมนูญของอาเซยี นทจี่ ะวาง กรอบทางกฎหมาย และโครง สรา้ งองคก์ รเพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพของอาเซยี นใหด้ าเนนิ การตาม วัตถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายทต่ี งั้ ไว ้ โดยเฉพาะวัตถุประสงคใ์ หญ่ ในปี พ.ศ.2558 ทท่ี งั้ 10 ประเทศจะจบั มอื กนั ขับเคลอื่ นเพอื่ เป็ นประชาคมอาเซยี น อยา่ งไรกต็ าม กฎบตั รอาเซยี นดังกลา่ ว มผี ลบงั คับใชต้ งั้ แตว่ ันท่ี 15 ธนั วาคม พ.ศ.2551 หลงั จากทป่ี ระเทศสมาชกิ ครบทงั้ 10 ประเทศ ไดใ้ หส้ ตั ยาบนั กฎบัตร และการประชมุ สดุ ยอด

อาเซยี น ครงั้ ที่ 14 ระหวา่ งวันที่ 28 กมุ ภาพนั ธ์ - 1 มนี าคม พ.ศ.2552 ทจ่ี งั หวัดเพชรบรุ เี ป็ นการ ประชมุ ระดับผนู ้ าอาเซยี นครงั้ แรกหลังจากกฎบตั รมผี ลบงั คับใช ้ อา่ นรายละเอยี ด กฎบตั รอาเซยี น ... ขอ้ ตกลงรว่ มกนั ของประชาคม อาเซยี น ทง้ั หมดคลกิ เลย ประชาคมอาเซยี น ประชาคมอาเซยี นประกอบดว้ ยความรว่ มมอื 3 เสาหลกั คอื ประชาคมการเมอื งและความมน่ั คงอาเซยี น (ASEAN Political and Security Community–APSC) ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (ASEAN Economic Community–AEC) ประชาคมสงั คมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community–ASCC) 1. ประชาคมการเมอื งและความมน่ั คงอาเซยี น (ASEAN Political and Security Community – APSC) มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ เสรมิ สรา้ งและธารงไวซ้ ง่ึ สนั ตภิ าพและความม่นั คงของภมู ภิ าค เพอื่ ใหป้ ระเทศในภมู ภิ าคอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ตสิ ขุ และสามารถแกไ้ ขปัญหาและความขดั แยง้ โดยสนั ตวิ ธิ ี อาเซยี นจงึ ไดจ้ ัดทาแผนงานการจดั ตงั้ ประชาคมการเมอื ง และความมั่นคงอาเซยี น (ASEAN Political-Security Community Blueprint) โดยเนน้ ใน 3 ประการ คอื 1.การมกี ฎเกณฑแ์ ละคา่ นยิ มรว่ มกนั ครอบคลมุ ถงึ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ทจี่ ะรว่ มกนั ทาเพอื่ สรา้ งความเขา้ ใจในระบบสงั คม วฒั นธรรม และประวัตศิ าสตรท์ แี่ ตกตา่ งของประเทศสมาชกิ สง่ เสรมิ พฒั นาการทางการเมอื งไปในทศิ ทางเดยี วกนั เชน่ หลักการ ประชาธปิ ไตย การสง่ เสรมิ และคมุ ้ ครองสทิ ธมิ นุษยชน การสนับสนุนการมสี ว่ นรว่ มของภาคประชาสงั คม การตอ่ ตา้ นการ ทจุ รติ การสง่ เสรมิ หลักนติ ธิ รรมและธรรมาภบิ าล เป็ นตน้ 2.สง่ เสรมิ ความสงบสขุ และรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั ในการรกั ษาความมนั่ คงสาหรบั ประชาชนที่ ครอบคลมุ ในทกุ ดา้ นครอบ คลมุ ความรว่ มมอื เพอื่ เสรมิ สรา้ งความมัน่ คงในรปู แบบเดมิ มาตรการ สรา้ งความไวเ้ นือ้ เชอื่ ใจและการระงบั ขอ้ พพิ าท โดยสนั ติ เพอื่ ป้องกนั สงครามและใหป้ ระเทศ สมาชกิ อาเซยี นอยดู่ ว้ ยกนั โดยสงบสขุ และไมม่ คี วามหวาดระแวง และขยายความรว่ มมอื เพอื่ ตอ่ ตา้ นภยั คกุ คามรปู แบบใหม่ เชน่ การตอ่ ตา้ นการกอ่ การรา้ ย อาชญากรรมขา้ มชาตติ า่ ง ๆ เชน่ ยาเสพตดิ การคา้ มนุษย์ ตลอดจนการเตรยี มความพรอ้ มเพอื่ ป้องกนั และจัดการภยั พบิ ตั แิ ละภัย ธรรมชาติ 3.การมพี ลวัตและปฏสิ มั พนั ธก์ บั โลกภายนอก เพอื่ เสรมิ สรา้ งบทบาทของอาเซยี นใน ความรว่ มมอื ระดับภมู ภิ าค เชน่ กรอบอาเซยี น+3 กบั จนี ญปี่ ่ นุ สาธารณรฐั เกาหลี (เกาหลใี ต)้ และการประชมุ สดุ ยอดเอเชยี ตะวนั ออก ตลอดจนความสมั พันธท์ เี่ ขม้ แข็งกบั มติ รประเทศ และ องคก์ ารระหวา่ งประเทศ เชน่ สหประชาชาติ 2. ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (ASEAN Political-Security Community-AEC) มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ทาใหอ้ าเซยี นมตี ลาดและฐานการผลติ เดยี วกนั และมกี ารเคลอื่ นยา้ ย

สนิ คา้ บรกิ าร การลงทนุ เงนิ ทนุ และแรงงานมฝี ีมอื อยา่ งเสรี อาเซยี นไดจ้ ัดทาแผนงาน การ จัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (ASEAN Economic Community Blueprint) ซง่ึ เป็ น แผนงานบรู ณาการการดาเนนิ งานในดา้ นเศรษฐกจิ เพอื่ ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ 4 ดา้ น คอื 1.การเป็ นตลาดและฐานการผลติ เดยี ว (single market and production base) โดยจะ มกี ารเคลอ่ื นยา้ ยสนิ คา้ บรกิ าร การลงทนุ และแรงงานมฝี ีมอื อยา่ งเสรี และการเคลอื่ นยา้ ย เงนิ ทนุ อยา่ งเสรมี ากขน้ึ 2.การสรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขันทางเศรษฐกจิ ของอาเซยี น โดยให ้ ความสาคญั กบั ประเดน็ นโยบายทจี่ ะชว่ ยสง่ เสรมิ การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ เชน่ นโยบายการ แขง่ ขนั การคมุ ้ ครองผบู ้ รโิ ภค สทิ ธใิ นทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา นโยบายภาษี และการพฒั นา โครงสรา้ งพนื้ ฐาน (การเงนิ การขนสง่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และพลงั งาน) 3.การพฒั นาเศรษฐกจิ อย่างเสมอภาค ใหม้ กี ารพัฒนาวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม และการเสรมิ สรา้ งขดี ความสามารถผ่านโครงการตา่ ง ๆ 4.การบรู ณาการเขา้ กบั เศรษฐกจิ โลก เนน้ การปรับประสานนโยบายเศรษฐกจิ ของ อาเซยี นกบั ประเทศภายนอกภมู ภิ าคเพอ่ื ใหอ้ าเซยี นมที า่ ทรี ว่ มกนั อยา่ งชดั เจน 3. ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี น (ASEAN Socio-Cultural Community – ASCC) อาเซยี นไดต้ ัง้ เป้าเป็ นประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี น ในปี 2558 โดยมงุ่ หวังเป็ น ประชาคมทม่ี ปี ระชาชนเป็ นศนู ยก์ ลาง มสี งั คมทเี่ ออ้ื อาทรและแบง่ ปัน ประชากรอาเซยี นมสี ภาพ ความเป็ นอยทู่ ดี่ แี ละมกี ารพัฒนาในทกุ ดา้ นเพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพ ชวี ติ ของประชาชน สง่ เสรมิ การ ใชท้ รัพยากรธรรมชาตอิ ยา่ งยั่งยนื รวมทัง้ สง่ เสรมิ อตั ลักษณอ์ าเซยี น (ASEAN Identity) เพอื่ รองรับการเป็ นประชาคมสงั คม และวัฒนธรรมอาเซยี น โดยไดจ้ ัดทาแผนงานการจดั ตงั้ ประชาคม สงั คมและวัฒนธรรมอาเซยี น (ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint)ซงึ่ ประกอบดว้ ย ความรว่ มมอื ใน 6 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1.การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ 2.การคมุ ้ ครองและสวัสดกิ ารสงั คม 3.สทิ ธแิ ละความยตุ ธิ รรมทางสงั คม 4.ความยั่งยนื ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม 5.การสรา้ งอตั ลกั ษณ์อาเซยี น 6.การลดชอ่ งวา่ งทางการพฒั นา ทง้ั นโี้ ดยมกี ลไกการดาเนนิ งาน ไดแ้ ก่ การประชมุ รายสาขาระดบั เจา้ หนา้ ที่ อาวโุ ส และระดบั รฐั มนตรแี ละคณะมนตรปี ระชาคม สงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี น ประเทศสมาชกิ อาเซยี น (ASEAN Member States)

เนการาบรไู นดารสุ ซาลาม : Negara Brunei Darussalam การปกครอง : สมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์ ประมขุ : สมเด็จพระราชาธบิ ดฮี จั ญี ฮัสซานัล โบลเกยี ห์ มอู ซิ ซดั ดนิ วดั เดาเลาะห์ เมอื งหลวง : บันดารเ์ สรเี บกาวัน ภาษาราชการ : ภาษามาเลย,์ ภาษาอาหรับ หน่วยเงนิ ตรา : บรูไนดอลลาร์ เวบ็ ไซตก์ ระทรวงการตา่ งประเทศ : www.mofat.gov.bn ราชอาณาจกั รกมั พูชา : Kingom of Cambodia การปกครอง : ระบอบประชาธปิ ไตย ประมขุ : พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สหี มนุ ี เมอื งหลวง : กรงุ พนมเปญ ภาษาราชการ : ภาษาเขมร

หน่วยเงนิ ตรา : เรยี ล เว็บไซตก์ ระทรวงการตา่ งประเทศ : www.mfaic.gov.kh สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี : Republic of Indonesia การปกครอง : ระบอบสาธารณรัฐแบบประชาธปิ ไตย ประมขุ : พลโทซซู โี ล บัมบงั ยโู ดโยโน เมอื งหลวง : กรงุ จาการต์ า ภาษาราชการ : ภาษาบารฮ์ าซา, ภาษาอนิ โดนีเซยี หน่วยเงนิ ตรา : รเู ปียห์ เว็บไซตก์ ระทรวงการตา่ งประเทศ : www.kemlu.go.id สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว : The Loa People's Democratic Republic การปกครอง : ระบอบสงั คมนยิ ม ประมขุ : พลโทจมู มะลี ไซยะสอน

เมอื งหลวง : นครหลวงเวยี งจนั ทน์ ภาษาราชการ : ภาษาลาว หน่วยเงนิ ตรา : กบี เว็บไซตก์ ระทรวงการตา่ งประเทศ : www.mofa.gov.la มาเลเซยี : Malaysia การปกครอง : สหพนั ธรฐั โดยมสี มเดจ็ พระราชาธบิ ดเี ป็ นประมขุ ประมขุ : สมเด็จพระราชาธบิ ดสี ลุ ตา่ นตวนกู อบั ดลุ ฮาลมิ มอู ซั ซอม ซาร์ เมอื งหลวง : กรงุ กัวลาลัมเปอร์ ภาษาราชการ : ภาษามาเลย์ หน่วยเงนิ ตรา : รงิ กติ เว็บไซตก์ ระทรวงการตา่ งประเทศ : www.kln.gov.my สาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร์ : Republic of the Union of the Myanmar การปกครอง : ระบบประธานาธบิ ดี

ประมขุ : พลเอกเตง็ เสง่ เมอื งหลวง : นครเนปิดอร์ ภาษาราชการ : ภาษาพมา่ หน่วยเงนิ ตรา : จ๊ัต เวบ็ ไซตก์ ระทรวงการตา่ งประเทศ : www.mofa.gov.mm สาธารณรฐั ฟิ ลปิ ปิ นส์ : Republic of the Philippine การปกครอง : สาธารณรัฐเดยี่ วระบบประธานาธบิ ดี ประมขุ : เบนกิ โน อากโี น ที่ 3 เมอื งหลวง : กรงุ มะลลิ า ภาษาราชการ : ภาษาตากาล๊อก, ภาษาอังกฤษ หน่วยเงนิ ตรา : เปโซ เวบ็ ไซตก์ ระทรวงการตา่ งประเทศ : www.dfa.gov.ph สาธารณรฐั สงิ คโปร์ : Republic of Singapore

การปกครอง : ระบบสาธารณรัฐแบบรฐั สภา มปี ระธานาธบิ ดเี ป็ นประมขุ ประมขุ : โทนี ตนั เค็ง ยัม เมอื งหลวง : สงิ คโปร์ ภาษาราชการ : ภาษาองั กฤษ, ภาษาจนี กลาง, ภาษามาเลย,์ ภาษาทมฬิ หน่วยเงนิ ตรา : ดอลลา่ รส์ งิ คโปร์