Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติศาสตร์ ป.5 หน่วยที่ 1

ประวัติศาสตร์ ป.5 หน่วยที่ 1

Published by Daowan D, 2021-09-28 07:20:56

Description: หน่วยที่ 1

Search

Read the Text Version

นางดาวหวัน ศริ มิ ่นั

ประวตั ิศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

ประวตั ิศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

๑. ท้องถ่ินของเรา ท้องถ่ิน หมายถึง ท้องท่ีใดท้องที่หน่ึงที่มีหลายชุมชนอาศัยอยู่ รวมกัน มีสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติคล้ายคลึงกัน ทาให้มีลักษณะ สังคมและวัฒนธรรมร่วมกัน เช่น ประเพณี ท้องถ่ิน ภาษาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ตัวอย่างเช่น ท้องถ่ินในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซ่ึงลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นดินทราย และมีความแห้งแล้งจึงมี ป ร ะ เ พ ณี เ ก่ี ย ว ข้ อ ง ก ั บ ก า ร ข อ ฝ น เ ช่ น ป ร ะ เ พ ณี แ ห่ น า ง แ ม ว ประเพณีบุญบ้งั ไฟ ประวัติศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕

๑. ทอ้ งถ่ินของเรา ประเพณีบญุ บง้ั ไฟในท้องถ่นิ ภาคอสี าน ประวตั ศิ าสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕

๑. ท้องถ่นิ ของเรา ประเพณีแขง่ เรอื มใี นทอ้ งถ่ินที่ต้งั อยู่รมิ แมน่ ้า ประวตั ศิ าสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๕

๑. ท้องถ่ินของเรา ประเพณีลอยเรือชาวเล ในทอ้ งถ่นิ ที่มีวถิ ชี วี ติ ผกู พันอยกู่ บั ทะเล ประวตั ิศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕

๑. ท้องถ่ินของเรา ประเพณีบวชปา่ สืบชะตาแมน่ ้า ในทอ้ งถ่ินท่อี ยูใ่ กลป้ า่ ไม้ บนภเู ขาสูง ประวตั ศิ าสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๕

๒. การสบื ค้นความเป็นมาของท้องถ่นิ เม่อื นกั เรยี นตอ้ งการศกึ ษาทอ้ งถ่นิ ของตนเอง สามารถปฏิบัติตาม ข้นั ตอนตอ่ ไปนี้ ประวัตศิ าสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๕

๑. สารวจทอ้ งถ่นิ ของตนเอง แต่ละท้องถ่ินต่างมีสถานท่ีสาคัญ ส่ิงของสาคัญ และบุคคลสาคัญ หรือปราชญ์ (อ่านว่า ปราด หมายถึง ผู้มีปั ญญารอบรู้) ท้องถ่ิน ที่มีความรู้เก่ียวกับเร่ืองราวในท้องถ่ินที่อาศัยอยู่ ซ่ึงนักเรียนสามารถ สบื ค้นความเป็นมาของท้องถ่นิ ได้ เช่น ประวตั ศิ าสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๕

สถานท่ีสาคัญ ประกอบด้วย สถานท่ีท่ีเกี่ยวข้องกับศาสนาและความเช่ือของผู้คน ในทอ้ งถ่นิ วดั มสั ยิด โบสถค์ รสิ ต์ เป็นสถานทีส่ าคญั ทางศาสนา ประวัติศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

อนสุ าวรยี ค์ ณุ หญงิ โม อนสุ าวรยี ์ทา้ วเทพกระษตั รี ท้าวศรสี ุนทร ประวัตศิ าสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

ส่ิงของสาคัญ ประกอบด้วย วัตถุที่เกี่ยวข้องกับศาสนาและความเช่ือ เช่น พระพุทธรูป เทวรูป วัตถุโบราณ เช่น เคร่ืองป้ ันดินเผา ส่ิงของเคร่ืองใช้ ของบรรพบรุ ุษ เคร่อื งทอผา้ หรอื กท่ี อผา้ เป็นเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการทอผา้ ประวัติศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

บคุ คลสาคัญหรือปราชญ์ท้องถ่ิน ใ น แ ต่ ล ะ ท้ อ ง ถ่ิ น จ ะ มี บุ ค ค ล ที่ มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ส ะ ส ม ภูมิปัญญาของท้องถ่ิน สามารถสร้างผลงานเป็นสินค้าท่ีได้รับการ ยอมรับท่ัวไป เชน่ ขนมสายไหมอยธุ ยา กะหรปี่ ๊ ับสระบรุ ี นอกจากน้ี ในท้องถ่ินยังมีผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้านหรือเฉพาะสาขา เช่น ช่างป้ ัน ช่างทอง นักโบราณคดี นักประวัติศาสตร์ เกษตรกรดีเด่น นักภาษาศาสตร์ท่ีสามารถอ่านอักษรโบราณได้ บุคคลเหล่านี้จะช่วยให้ นักเรยี นเขา้ ใจความเป็นมาของท้องถ่ินได้ ประวัตศิ าสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

๒. ศึกษาหนังสือและเอกสารตา่ ง ๆ ของท้องถ่นิ แต่ละท้องถ่ินมักจะมีแหล่งรวบรวมหนังสือและเอกสารต่าง ๆ ของ ท้องถ่ินไว้ เช่น ห้องสมุดประชาชน ศูนย์วัฒนธรรม ห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดของหน่วยราชการต่าง ๆ รวมท้ังเอกสารเผยแพร่ความรู้ของ หน่วยราชการ เช่น ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัด องค์การ บริหารสว่ นจงั หวัด เทศบาล ประวัตศิ าสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๕

๓. การสอบถามและการแลกเปลี่ยนความรู้ การสอบถามเป็นวิธีการท่ีง่ายที่สุดของการสืบค้นความเป็นมาของ ท้องถ่ิน โดยเร่ิมจากผู้มีความรู้ที่อยู่ใกล้ตัวนักเรียนก่อน เช่น คุณครู คุณพ่อ คุณแม่ ญาติผู้ใหญ่ จากนั้นจึงสอบถามผู้รู้ท่ีอยู่ไกลตัวออกไป อย่างไรก็ตาม นกั เรยี นจะต้องเตรียมตัวเป็นผูถ้ ามทีด่ ี โดยคานึงว่าเราจะ ถามใคร ถามอะไร และถามเม่อื ไร ประวัตศิ าสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕

ประวตั ิศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

๔. การบนั ทกึ และเรยี บเรียง หลังจากท่ีนักเรียนได้สารวจท้องถ่ิน ได้ศึกษาหนังสือและเอกสาร ต่าง ๆ รวมทั้งได้สอบถามและแลกเปล่ียนเรียนรู้แล้ว นักเรียนควรได้ บันทึกความรู้ท่ีได้รับสรุปเป็นข้อเท็จจริง เรียบเรียงเป็นเร่ืองราวที่ ชัดเจน โดยต้องตระหนักว่าจะต้องเขียนด้วยความเป็นกลาง และ ปราศจากอคติ ประวัติศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๕

๕. การนาเสนอ นักเรียนสามารถนาเสนอข้อเท็จจริงที่ได้สืบค้นความเป็นมาของ ท้องถ่ินในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การเขียนเป็นรายงาน โดยจัดเรียง เหตุการณ์ตามลาดับเวลาที่เกิดเหตุการณ์ หรือเรียงตามลาดับหัวเร่ือง เพ่ืออธิบายเร่ืองราวท่ีค้นพบได้อย่างเช่ือมโยงสัมพันธ์กัน มีความ ต่อเน่ือง มีเหตุมีผล การอธิบายหรือเล่าเร่ืองประกอบภาพ การจัด นิ ท ร ร ศ ก า ร ก า ร แ ส ด ง บ ท บ า ท ส ม มุ ติ ห รื อ รู ป แ บ บ อ่ื น ๆ ต า ม ความสามารถของนกั เรยี น ประวตั ิศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๕

๓. หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรท์ ่ใี ช้ใน การศึกษาท้องถ่ิน การศึกษาเร่ืองราวเกี่ยวกับท้องถ่ิน นักเรียนอาจศึกษาจาก แหล่งข้อมูลหรือหลักฐานที่มีอยู่ในท้องถ่ินของนักเรียน เช่น การศึกษา จากเอกสาร โบราณสถาน โบราณวัตถุ ตลอดจนศึกษาหนังสือท่ีเขียน เร่ืองราวเก่ียวกับท้องถ่ิน และการสอบถามผู้รู้ ส่ิงต่าง ๆ ท่ีให้ความรู้ แก่เราได้นี้ เรียกว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ซ่ึงเป็นได้ท้ังบุคคล ส่งิ ของเคร่อื งใช้ อาวุธ ส่งิ กอ่ สร้าง เอกสารหนงั สอื ประวัติศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

ตัวอยา่ งหลักฐานทางประวตั ิศาสตรท์ ่ีใช้ศึกษาท้องถ่ิน ภาชนะดินเผาลายเขยี นสบี ้านเชยี ง จังหวดั อดุ รธานี ประวัติศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕

ตวั อย่างหลักฐานทางประวตั ิศาสตรท์ ี่ใชศ้ ึกษาทอ้ งถ่ิน วดั อรณุ ราชวรารามราชวรมหาวหิ าร (วัดแจ้ง) กรงุ เทพมหานคร ประวตั ศิ าสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕

ตวั อยา่ งหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรท์ ใ่ี ช้ศึกษาท้องถ่นิ อทุ ยานประวัติศาสตร์สโุ ขทยั จงั หวัดสโุ ขทัย ประวตั ศิ าสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

ตวั อย่างหลักฐานทางประวตั ิศาสตรท์ ใี่ ชศ้ กึ ษาทอ้ งถ่ิน หนังสือเกีย่ วกับแหล่งทอ่ งเท่ยี วในท้องถ่ิน ประวัตศิ าสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

หลกั ฐานทเ่ี ป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร หมายถึง หลักฐานท่ีมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร บอกเล่าเร่ืองราวต่าง ๆ เช่น ศิลาจารึก พงศาวดาร จดหมายเหตุ แผนท่ี ประวัติศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕

หลกั ฐานท่ีไมเ่ ป็นลายลักษณอ์ ักษร หมายถึง ส่ิงที่มนุษย์สร้างข้ึน เช่น เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ อาวธุ ตานานทอ้ งถ่ิน คาบอกเล่า ประวัติศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕

หลกั ฐานท่ไี ม่เป็นลายลักษณอ์ ักษร โบราณสถานเป็นหลกั ฐานที่ไม่เป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร ประวัติศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

หลักฐานท่ีไม่เป็นลายลักษณอ์ กั ษร โบราณวตั ถเุ ป็นหลักฐานทีไ่ มเ่ ป็นลายลักษณอ์ กั ษร ประวัติศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

หลักฐานชัน้ ตน้ หมายถึง หลักฐานหรือข้อมูลท่ีได้จากผู้พบเห็นเหตุการณ์ หรือผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์โดยตรง เช่น จดหมายเหตุ ศิ ล า จ า รึ ก พ ง ศ า ว ด า ร บ ั น ทึ ก ใ บ ล า น ร ว ม ถึ ง ส่ื อ ต่ า ง ๆ และโบราณสถาน โบราณวตั ถุ เช่น วดั เจดยี ์ พระพทุ ธรปู ประวัติศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

ศลิ าจารึกหลกั ที่ ๑ พพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาตพิ ระนคร กรุงเทพมหานคร ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

วัดมหาธาตุ จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ประวัติศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

หลกั ฐานช้ันรอง หมายถึง หลักฐานหรือข้อมูลที่ได้จากตารา หนังสือ หรือ ส่ือตา่ ง ๆ ท่ีมีผู้เขยี นหรือผู้ทารวบรวมข้ึนภายหลังจากเหตุการณ์ นั้นเกิดข้ึนแล้ว โดยนาข้อมูลที่ได้จากหลักฐานชั้นต้นมา เรียบเรียงเป็นเร่ืองราว หลักฐานช้ันรองจึงมีความน่าเช่ือถือ น้อยกว่าแต่หนังสือ ตาราหรือส่ือต่าง ๆ ท่ีเขียนหรือทาข้ึน ภายหลงั จากเหตกุ ารณ์ ทาให้เขา้ ใจเร่อื งราวต่าง ๆ ไดง้ า่ ยข้นึ ประวตั ศิ าสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

หลักฐานชน้ั รอง หนงั สอื ทีเ่ รยี บเรยี งข้ึน จัดเป็นหลกั ฐานชั้นรอง ประวัติศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๕

๔. การตั้งคาถามทางประวตั ศิ าสตร์ เก่ยี วกบั ความเป็นมาของทอ้ งถ่นิ นักเรียนได้เรียนมาแล้วว่า การสอบถามเป็นวิธีการหน่ึงของการ สืบค้นความเป็นมาของท้องถ่ิน โดยนักเรียนต้องเตรียมตัวเป็นผู้ถามท่ีดี โดยคานึงว่าจะถามใคร ถามอะไรและถามเม่ือไร การต้ังคาถามทาง ประวัติศาสตร์จึงมีความสาคัญเพราะเป็นการนาไปสู่การหาคาตอบและ เป็นแนวทางในการสบื คน้ เร่ืองราวของท้องถ่นิ ในอดตี ได้ชดั เจน ประวตั ิศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕

๕. ความจริงกับข้อเทจ็ จรงิ เก่ียวกบั เร่อื งราวในท้องถ่ิน ความจรงิ หมายถึง เร่ืองราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนจริงสามารถตรวจสอบกับ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ท่ีหลงเหลืออยู่ในปัจจบุ ันและยืนยนั ได้ว่า เป็นจรงิ หรอื มีอย่จู รงิ ประวัตศิ าสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

๕. ความจรงิ กบั ขอ้ เทจ็ จริงเก่ยี วกบั เร่ืองราวในทอ้ งถ่ิน ข้อเทจ็ จริง หมายถึง ข้อมูลท่ีรวบรวมได้จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ซ่ึ ง ย ั ง ไ ม่ ไ ด้ ต ร ว จ ส อ บ ว่ า ข้ อ มู ล ใ ด เ ป็ น ข้ อ มู ล จ ริ ง ห รื อ ค ว า ม จ ริ ง ข้อมูลใดเป็นข้อมูลเท็จซ่ึงอาจเกิดจากผู้สร้างหลักฐานไม่มีความรู้ หรือความเข้าใจท่ีชัดเจนในเร่ืองนั้น หรืออาจจงใจปกปิดข้อมูลจริง เพราะมผี ลประโยชนร์ ว่ มอยู่ ประวตั ิศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

๕. ความจริงกับขอ้ เทจ็ จรงิ เกยี่ วกับ เร่อื งราวในทอ้ งถ่นิ การสืบค้นเร่ืองราวเกี่ยวกับท้องถ่ิน เม่ือนักเรียนรวบรวมข้อมูลจาก แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ นักเรียนจึงต้องตรวจสอบและแยกแยะว่าข้อมูลใด เป็นความจริง ข้อมูลใดเป็นข้อคิดเห็น ข้อมูลใดเป็นความเท็จ ทั้งน้ี เพ่ือให้นักเรียนสามารถหาคาตอบจากคาถามทางประวัติศาสตร์ได้อย่าง มีเหตุผล ประวตั ศิ าสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

๕. ความจริงกบั ข้อเท็จจริงเกี่ยวกบั เร่อื งราวในท้องถ่ิน ข้อเท็จจริงข้ึนอยู่กับหลักฐานท่ีมี หากมีการค้นพบหลักฐาน ห รื อ ข้ อ มู ล ใ ห ม่ ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง ห รื อ ค า อ ธิ บ า ย เ กี่ ย ว ก ั บ ค ว า ม จ ริ ง ในประวัติศาสตร์ยอ่ มสามารถเปลย่ี นแปลงได้ ประวตั ศิ าสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๕

ประวตั ิศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

ประวตั ิศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

ประวตั ิศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

ประวตั ิศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

ประวตั ิศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

ประวตั ิศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

ประวตั ิศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

ประวตั ิศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

ประวตั ิศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

ประวตั ิศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

ประวตั ิศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook