Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียน การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค21003

หนังสือเรียน การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค21003

Published by นายวัชรพงษ์ คนยง, 2021-01-25 09:03:10

Description: หนังสือเรียน

Search

Read the Text Version

หนงั สอื เรยี นสาระการพฒั นาสงั คม รายวิชาการพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม (สค21003) ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) หา มจาํ หนาย หนังสือเรียนเลมนี้จัดพมิ พด วยเงินงบประมาณแผนดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน ลขิ สิทธเปน ของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สํานกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม (สค21003) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2554) เอกสารทางวิชาการลาํ ดับที่ 22/2555



สารบญั หนา คาํ แนะนาํ การใชหนงั สือเรยี น 1 โครงสรางรายวิชา 2 บทท่ี 1 ความรูเบอื้ งตนเก่ียวกับการพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม 3 4 ความหมาย ความสําคญั ของการพัฒนาตนเอง และครอบครวั 6 แนวทางในการพฒั นาตนเอง 8 ความหมาย และความสาํ คัญของการพัฒนาชุมชน 9 หลกั การพัฒนาชมุ ชน 10 บทที่ 2 ขอ มลู ท่ีเก่ียวขอ งกับการพัฒนาชุมชน 12 ความหมาย ความสําคญั และประโยชนข องขอ มลู 13 ขอมลู ทเ่ี ก่ียวขอ งกับการพัฒนาชมุ ชน 15 เทคนิคและวิธีการเกบ็ ขอมลู ชุมชน 16 การวเิ คราะหขอ มูล 18 บทท่ี 3 การจดั ทาํ แผนชุมชน 19 กระบวนการจดั ทาํ แผนพัฒนาชมุ ชน 21 ขั้นตอนการจัดทาํ ประชาพจิ ารณแผนชมุ ชน 23 ขั้นตอนการทําเวทีประชาคม 25 การมสี วนรวมของประชาชนในการพฒั นาชมุ ชน 26 ระดับการมสี ว นรว มของประชาชนในการพฒั นาชมุ ชน 28 บทที่ 4 การเผยแพรผ ลการปฏบิ ตั ิ การเขียนโครงการพัฒนาชุมชน การเขียนรายงานผลการดําเนนิ งานพฒั นาชุมชน บทท่ี 5 การพฒั นาอาชพี ในชมุ ชนและสงั คม บรรณานุกรม ภาคผนวก ตัวอยางโครงการ

คาํ แนะนาํ ในการใชหนังสอื เรียน หนังสือเรยี นสาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ าการพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม รหสั วิชา 21003 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตนเปน หนงั สือเรยี น สาํ หรบั ผูเรยี นท่ลี งทะเบียนเรียนเปนนกั ศึกษา นอกระบบ ในการศกึ ษาแบบเรียนเลมนีผ้ เู รียนควรปฏบิ ัตดิ งั นี้ 1. ศกึ ษาโครงสรางรายวชิ าใหเขาใจในหัวขอ สาระสําคัญ ผลการเรียนรูท คี่ าดหวงั และ ขอบขายเนอื้ หาเปน ลาํ ดับแรก 2. ศึกษารายละเอียดเนือ้ หาของแตล ะบทอยา งละเอยี ด และทาํ กจิ กรรมตาม ที่กําหนด แลวตรวจสอบกบั แนวตอบกิจกรรมทกี่ ําหนดไวท ายเลม ถา ผเู รียน ตอบผดิ เปนสวน ใหญค วรกลับไปศึกษาและทําความเขา ใจในเน้อื หานัน้ ใหม ใหเ ขาใจกอ นที่จะศึกษา เรอ่ื งตอ ไป 3. ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมทา ยเรอ่ื งของแตละเร่อื งใหครบถว น เพ่อื เปน การสรุปความรู ความ เขาใจของเนื้อหาในเรื่องนัน้ ๆอีกครงั้ และการปฏิบตั กิ จิ กรรมของแตล ะ เนือ้ หาแตละ เรอ่ื ง ผูเ รียนสามารถนําไปตรวจสอบกบั ครผู ูรแู ละเพื่อนๆ ทรี่ ว ม เรยี นในรายวิชาและ ระดับเดยี วกันได 4. หนังสอื เลมนีม้ ี 4 บท คอื บทท่ี 1 ความรเู บือ้ งตน เก่ียวกบั การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม บทท่ี 2 ขอมลู ท่เี กี่ยวขอ งกับการพัฒนาชุมชน บทท่ี 3 การจัดทาํ แผนชุมชน บทท่ี 4 การเผยแพรผ ลการปฏบิ ัติ บทท่ี 5 การพฒั นาอาชีพในชุมชนและสังคม

โครงสรา งรายวชิ าการพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม รหสั วชิ า สค 21003 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน  สาระสาํ คญั 1. ความหมาย ความสําคญั หลกั การและประโยชนข องการพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม 2. ความสําคญั ของขอ มลู วิธกี ารจัดเก็บและวิเคราะหข อมลู อยางงา ย 3. การมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม และการนําไปใช ใน ชีวติ ประจําวนั 4. การพัฒนาอาชพี ในชุมชนและสงั คม  ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวัง 1. อธบิ ายสาระสาํ คญั ที่เก่ียวของกบั การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม 2. จดั เก็บและวิเคราะหข อ มลู อยา งงา ย 3. มีสว นรวมและนําผลจากการวางแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม ไปใชในชวี ติ ประจาํ วนั 4. วิเคราะหศักยภาพของประเทศเพื่อการพัฒนาอาชีพ  ผลการเรียนรูท่คี าดหวงั บทท่ี 1 ความรูเบ้ืองตน เกยี่ วกบั การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม บทท่ี 2 ขอ มลู ทเ่ี ก่ียวขอ งกับการพัฒนาชมุ ชน บทท่ี 3 การจัดทําแผนชุมชน บทท่ี 4 การเผยแพรผ ลการปฏบิ ัติ บทท่ี 5 การพัฒนาอาชพี ในชุมชนและสงั คม

แบบทดสอบกอนเรยี น 1. ขอ ใดไมใ ชห ลักของการพฒั นาชุมชน ก. ประชาชนมสี วนรว ม ข. ทําเปน กระบวนการและประเมนิ ผลอยา งตอ เนื่อง ค. ยดึ ประชาชนเปนหลักในการพัฒนา ง. พัฒนาทุกดา นไปพรอ มๆกนั อยางรวบรดั และเรงรีบ 2. แนวทางในการพัฒนาตนเองอนั ดบั แรกคอื อะไร ก. ปลกุ ใจตนเอง ข. สาํ รวจตนเอง ค. ลงมอื พฒั นาตนเอง ง. ปลกู คณุ สมบัติทดี่ ีงาม 3. กจิ กรรมใดเปน กิจกรรมระดับประเทศ ก. การสัมมนา ข. การสํารวจประชาสมติ ค. การประชุมกลมุ ยอ ย ง. การจัดทําเวทีประชาคม 4. ขอ ใดเปนบทบาททส่ี ําคญั ท่สี ดุ ของประชาชนในการดแู ลชุมชน ก. เขา รว มประชุมทกุ ครัง้ ข. แสดงความเหน็ ในการประชมุ ค. เห็นคลอยตามผูนําทกุ เร่ือง ง. ทํากจิ กรรมพฒั นาชมุ ชนรว มกนั ทุกคร้ัง

5. สถาบนั ใดที่มสี วนสําคัญเปนลําดบั แรกปองกันไมใ หเ กิดปญหาสงั คม ก. สถาบนั การเงนิ ข. สถาบนั ศาสนา ค. สถาบันครอบครัว ง. สถาบนั การศึกษา 6. ขอ ใดคอื การรวมตวั ของสมาชิกในชุมชนเพ่ือรว มกนั ทาํ กจิ กรรมตา งๆ ในชุมชน ดวย ตนเอง ก. เวทีประชาคม ข. การทําประชาพิจารณ ค. การเลอื กตง้ั ง. การเขียนโครงการ 7. ขอ ใดไมใชเ ทคนคิ การเกบ็ รวบรวมขอ มลู ในชุมชน ก. อธิบาย ข. สงั เกต ค. สมั ภาษณ ง. สนทนากลมุ 8. วัตถุประสงคของการทําประชาพิจารณคือขอใด ก. ตอบสนองความตอ งการของผบู ริหาร ข. ใหเ กิดความคดิ รวบยอดในการปฏิบตั ิงาน ค. ปอ งกนั การประทว งของผูเสยี ประโยชน ง. รวบรวมความคิดเห็นของผเู กี่ยวขอ ง

9. ขอ ใดบง บอกถงึ ความสาํ เรจ็ ของโครงการ ก. การประเมนิ โครงการ ข. ตัวช้ีวัดผลสําเรจ็ ของโครงการ ค. การสรปุ ผลและรายงานโครงการ ง. วตั ถปุ ระสงคข องโครงการ 10. ขอ ใดเปนวธิ กี ารเขียนรายงานผลการดาํ เนนิ งานท่ถี ูกตอ ง ก. ถกู ตอ ง กระชบั รดั กุม ชดั เจนและสละสลวย ข. เขยี นบรรยายรายละเอยี ดใหม ากทสี่ ุด ค. เขียนใหเปน ภาษาวิชาการมากๆ ง. เขยี นโดยแบง เปน ขอ ยอยๆ เฉลย 1. ง 2. ข 3. ข 4. ง 5. ค 6. ก 7. ก 8. ง 9. ข 10. ก

บทที่ 1 ความรเู บื้องตนเกี่ยวกบั การพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สงั คม  สาระสาํ คญั ความรูเบ้ืองตน เกี่ยวกบั การพฒั นาตนเอง ครอบครัวและชุมชน ประกอบดว ย ความหมาย ความสาํ คัญ แนวทางการพฒั นาตนเอง ความหมาย ความสําคญั และหลักการพฒั นา ชุมชน เปน สิ่งจําเปน ที่ตอ งทําความเขาใจเปน พนื้ ฐาน เน่อื งจากมีความเก่ียวของสัมพนั ธต อ เนื่อง กบั กระบวนการพัฒนาชุมชนและสังคม  ผลการเรยี นรูท่ีคาดหวัง เม่อื ศึกษาบทที่ 1 จบแลว ผูเ รียนสามารถ 1. อธบิ ายความหมาย ความสําคัญ และแนวทางการพฒั นาตนเองได 2. อธบิ ายความหมาย ความสําคัญ และหลกั การพฒั นาชมุ ชนได 3. กาํ หนดแนวทางและจดั ทําแผนในการพฒั นาตนเองและครอบครัวได  ขอบขา ยเนื้อหา เร่อื งที่ 1 ความหมายและความสําคญั ของการพัฒนาตนเองและครอบครวั เรือ่ งท่ี 2 แนวทางในการพฒั นาตนเอง เร่ืองที่ 3 ความหมายและความสําคญั ของการพัฒนาชุมชน เรื่องท่ี 4 หลกั การพฒั นาชุมชน

บทที่ 1 ความรูเ บ้ืองตน เก่ยี วกบั การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ปจจบุ ันเปนทย่ี อมรับกนั โดยท่ัวไปวา คนเปนทรัพยากรทีม่ ีคณุ คาของสังคม สังคมจะ พฒั นาและเจรญิ ข้นึ ไปไดข ้นึ อยูกับคณุ ภาพของคนทเี่ ปนองคป ระกอบของสังคม นนั้ การจะพฒั นา ชมุ ชนไดจ งึ ตอ งเร่ิมตน ที่การพฒั นาคนเปนอนั ดบั แรก นอกจากน้ี การพัฒนาชมุ ชนตองยดึ หลักการ มีสว นรว มของประชาชนเปน ปจ จัยพน้ื ฐานทส่ี ําคัญ เพราะเปา หมายสดุ ทา ยของ การพัฒนาคือคน เนอ่ื งจากคนเปนท้ังทรัพยากรทีจ่ ะถูก พัฒนาและเปนท้งั ผไู ดรับผลประโยชน จากการพฒั นานน่ั เอง ปจจบุ นั เปนที่ยอมรบั กนั โดยท่ัวไปวา คนเปนทรัพยากรทมี่ ีคณุ คา ของสังคม สังคมจะ พฒั นาและเจรญิ ขึ้นไปไดข ึ้นอยูกับคุณภาพของคนทีเ่ ปน องคประกอบของสังคม นน้ั การจะพฒั นา ชมุ ชนไดจ งึ ตอ งเริม่ ตน ท่ีการพฒั นาคนเปนอนั ดบั แรก นอกจากน้ี การพัฒนาชุมชนตองยึดหลกั การ มสี ว นรวมของประชาชนเปนปจ จัยพ้ืนฐานทส่ี าํ คญั เพราะเปา หมายสุดทายของ การพัฒนาคือคน เนอื่ งจากคนเปน ทง้ั ทรัพยากรทจี่ ะถูก พฒั นาและเปน ทั้งผไู ดร บั ผลประโยชน จากการพัฒนาน่ันเอง เรือ่ งท่ี 1 ความหมายและความสาํ คญั ของการพัฒนาตนเองและครอบครัว 1.1 ความหมายของการพฒั นาตนเอง นักวชิ าการหลายทา นใหค วามหมายของการพัฒนาตนเองในลกั ษณะทค่ี ลา ยคลงึ กันสรปุ ความไดวา การพฒั นาตนเองคือการปรับปรงุ ดวยตนเองใหด ีขน้ึ กวาเดิม ทั้งดานรา งกาย จติ ใจ อารมณแ ละสังคม เพ่อื ใหส ามารถทํากจิ กรรมทพี่ ึงประสงคต ามเปาหมายที่ตนตัง้ ไว เพอ่ื การ ดํารงชวี ติ รวมกับผูอน่ื ไดอยา งปกตสิ ุข รวมทัง้ เพ่ือใหเ ปนสมาชกิ ที่ดีของครอบครวั ชุมชน และ สังคม

2 1.2 ความสาํ คญั ของการพัฒนาตนเอง โดยทวั่ ไป คนทุกคนตา งตอ งการดาํ รงชวี ติ อยูร ว มกับผอู ื่นอยา งมีความสขุ ท้งั ใน ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คมปจ จยั สําคัญประการหนึ่งของการมีชวี ิตท่มี ีความเปนปกตสิ ขุ คือการ ปรบั ปรุงและพฒั นาตนเอง ทั้งวธิ ีคิดและการกระทําหรอื พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกทั้งดาน รา งกาย จติ ใจ อารมณและสังคม เพื่อใหส ามารถปรบั ตนเองเขากบั สงั คมและส่ิงแวดลอมท่ีดี การพัฒนา ตนเองมีความสาํ คญั สรปุ ไดดังน้ี 1. เปน การเตรยี มตนเองในดานตา งๆ เชน รา งกาย จติ ใจ อารมณ สงั คม รวมทั้งสติ ปญ ญาใหสามรถรับกับสถานการณตา งๆท่ีอาจเกิดขึน้ ในชวี ติ ประจําวัน 2. มคี วามเขา ใจตนเอง เห็นคณุ คา ของตนเอง ทาํ ใหส ามารถทําหนา ทีต่ ามบทบาท ของ ตนเองในครอบครวั ชุมชน และสงั คมไดอ ยา งเต็มกาํ ลังความสามารถ 3. สามารถปรับปรงุ การปฏิบตั ิตน และแสดงพฤตกิ รรมใหเปนที่ยอมรับของบุคคล รอบ ขางในครอบครัว ชมุ ชน และสงั คม 4. สามารถกาํ หนดแนวทางการพัฒนาตนเอง ใหพัฒนาไปสเู ปา หมายสูงสดุ ของ ชีวติ ตามท่วี างแผนไว 5. เปน แบบอยา งการพัฒนาของคนในครอบครัว ชุมชน และสงั คม 6. เปน การเตรยี มคนใหมคี วามพรอ มในการดาํ รงตนใหอ ยูในสังคมอยา งมัน่ ใจ มี ความสุข และเปนกาํ ลงั สาํ คัญของการพัฒนาชมุ ชนและสงั คม 1.3 ความสาํ คญั ของการพฒั นาครอบครวั ครอบครวั เปนหนวยยอยของสงั คม การพฒั นาสงั คมในหนว ยยอยไปสูสงั คม หนวยใหญท่ี หมายถึงชุมชน มจี ุดเริม่ ตนท่เี หมอื นกนั น่ันคอื การพฒั นาทค่ี นบคุ คล หาก บุคคลในครอบครวั ไดร ับ การพฒั นาใหเ ปน บุคคลที่มีจติ ใจดี มีความเอ้อื เฟอ ชว ยเหลอื เกอ้ื กลู ตอกนั รูจักพง่ึ พาตนเอง มี ความคิด มเี หตผุ ล พรอมท่จี ะรับการพัฒนาในส่งิ ใหมๆ ยอมทํา ครอบครัวเปนครอบครวั ที่มีความ เขม แข็ง มีความสขุ สามารถชว ยเหลือครอบครัวอ่นื ๆ ใน ชุมชนนนั้ ๆได หากครอบครวั สว นใหญใ น ชมุ ชนสามารถพ่ึงพาตนเองไดแ ละตา งใหค วาม รว มมือชวยเหลอื ซง่ึ กันและกัน ชมุ ชนนน้ั ๆยอมเกิด ความม่ันคงเขม แข็ง และชว ยเหลอื ชุมชน อืน่ ๆได เมือ่ ชมุ ชนสว นใหญเขม แขง็ ยอ มสง ผลใหส ังคม

3 โดยรวมเขม แข็งมน่ั คงตามไปดว ย และ ที่สาํ คญั จะกอ ใหเกิดคานิยมของการพง่ึ พาเกือ้ หนุน เออ้ื เฟอ เผอ่ื แผ และชว ยเหลอื ซ่งึ กนั และกนั ทน่ี ําไปสเู ปา หมายของการอยูรว มกนั อยางอบอนุ และมี ความสุข เร่ืองที่ 2 แนวทางในการพัฒนาตนเอง การพฒั นาตนเองใหประสบความสําเร็จ สามารถอยรู ว มกับบคุ คลตางๆในครอบครัว และ ชมุ ชนไดอ ยางมคี วามสขุ มีแนวทางการพัฒนาได ดังน้ี 1. การสาํ รวจตนเอง เพอื่ จะไดท ราบวา ตนเองมีคุณสมบัตทิ ีด่ ีและไมดี อยา งไร บา ง เพอ่ื ที่จะหาแนวทางการปรบั ปรุงพฒั นาตนเองใหดีขึ้น การสํารวจตนเองอาจทาํ ไดห ลายวธิ ี เชน การ ตรวจสอบตนเองดว ยเหตุและผลการใหบ คุ คลใกลชดิ ชว ยสํารวจ ชว ยพจิ ารณาอยา งตรงไปตรงมา 2. การปลกู ฝงคณุ สมบัตทิ ีด่ งี าม เปน การนาํ เอาแบบอยา งที่ดขี องบุคคลสาํ คัญท่ี ประทบั ใจมาเปน ตวั แบบ เพ่ือปลูกฝง คุณสมบัติทดี่ ีใหกับตนเอง ใหป ระสบความสาํ เรจ็ สมหวัง ตามที่คาดหวังไว 3. การปลกุ ใจตนเอง การปลุกใจตนเองใหม ีความเขมแขง็ ท่ีจะตอสกู ับอปุ สรรค ดาน ตางๆน้ัน มคี วามจาํ เปน ยิง่ เพราะเมือ่ ตนเองมจี ติ ใจที่เขมแข็งมีความมงุ มั่นจะสามารถตอสู กบั ปญหา และอปุ สรรครวมทั้งสามารถดาํ เนนิ การพัฒนาตนเองใหบรรลุเปา หมาย การปลกุ ใจ ตนเองสามารถ ทาํ ไดหลายวธิ ี เชน การนาํ ตวั แบบของผปู ระสบความสําเร็จมาเปนแบบอยา ง การใชอุปสรรคเปน ตวั กระตนุ การใชขอ มูลหรอื การรับคําแนะนาํ จากผใู กลชดิ หรอื ผรู ู ฯลฯ 4. การสงเสรมิ ตนเอง เปน การสรา งกาํ ลังกายกาํ ลงั ใจใหเขมแข็ง สรางพลงั ความคิด ท่ี สามารถปฏบิ ัติได เชน การเลน กฬี า การออกกาํ ลังกาย การพกั ผอ น การฝก สมาธิ การเขารับ การ ฝกอบรมเร่ืองที่เราสนใจ เปน ตน 5. การลงมอื พฒั นาตนเอง การพฒั นาตนเองสามารถทําไดหลายวิธี เชน อา น หนงั สือ เปนประจาํ รว มกิจกรรมตางๆของชุมชนตามความสนใจ การศกึ ษาดงู าน การศกึ ษาตอ การพบปะ เย่ียมเยยี นเพ่อื นหรอื ผูท ีร่ ูจักสนิทสนม การหมุนเวียนเปลี่ยนงาน การทาํ งานรวมกับ ผูอ่นื การ พยายามฝกนสิ ยั ทด่ี ดี วยความสมํ่าเสมอ การสรา งความสมั พนั ธท ดี่ ีกบั ผูอืน่ ฯลฯ

4 เรื่องท่ี 3 ความหมาย และความสําคัญของการพัฒนาชุมชน 3.1 ความหมายของการพฒั นาชมุ ชน ความหมายของคําวา “พัฒนาชุมชน” ผรู ูไ ดใหค วามหมายไวห ลากหลาย สรปุ ไดด ังน้ี 1) การรวบรวมกําลงั ของคนในชมุ ชนรว มกนั ดําเนินการปรบั ปรุง สภาพ ความ เปนอยูข องคนในชมุ ชนใหม ีความเขมแขง็ เปน ปกแผน โดยความรว มมือกัน ระหวางประชาชน ในชมุ ชนและหนวยงานภายนอก 2) เปน กระบวนการทป่ี ระชาชน รวมกันดาํ เนนิ การกับเจา หนา ท่ีหนวยงาน ตา งๆ เพื่อทําใหส ภาพเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม และสง่ิ แวดลอมของ ชมุ ชน เจริญ ข้ึน กวา เดิม 3) เปนวธิ กี ารสรางชมุ ชนใหเ จริญโดยอาศัยกําลังความสามารถของ ประชาชน และรัฐบาล 4) เปน การเปลี่ยนแปลงทีม่ กี ารกําหนดทศิ ทางทพ่ี งึ ปรารถนาโดยการมสี ว นรว ม ของคนในชมุ ชน สรปุ ไดว า การพัฒนาชมุ ชน คอื การกระทําท่มี ุงปรับปรงุ สงเสริม ใหกลมุ คนท่ีอยู รวมกนั มกี ารเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางท่ดี ีข้นึ ในทุกๆดาน ทง้ั ดานทอี่ ยูอาศัย อาหาร เครอื่ งนุงหม สุขภาพรางกาย อาชพี ทีม่ ่ันคง ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ยสิน โดยอาศัยความรว มมือจาก ประชาชนภายในชุมชน และหนวยงานองคกรตางๆทง้ั จากภายในและภายนอกชมุ ชน 3.2 ความสาํ คญั ของการพัฒนาชมุ ชน จากการอยูรวมกนั ของครอบครัวหลายๆครอบครัวจนเปน ชุมชน ความเปน อยู ของคนแต ละครอบครวั ยอมมคี วามสมั พันธกนั มคี วามสลบั ซบั ซอนและมปี ญ หาเกิดข้ึนมากมาย จึงจาํ เปน ตอง อาศยั ความรวมมือกนั ของบุคคลหลายๆฝา ยโดยเฉพาะประชาชนเจาของชมุ ชนทเี่ ปนเปา หมายของ

5 การพฒั นาตองรว มกนั รบั รรู ว มมือกนั พัฒนาและปรับปรุงแกไขใหเกิดความเปลย่ี นแปลงที่ดีขึ้น เพ่อื ความสงบสุขของชมุ ชนนนั้ ๆ การพฒั นาชมุ ชนจงึ มคี วามสําคญั พอจะจาํ แนกไดด ังนี้ 1. สง เสริมและกระตุนใหประชาชนไดม ีสว นรวมในการแกไขปญ หาพฒั นาตนเอง และ ชุมชน 2. เปน การสงเสริมใหป ระชาชนมีจติ วิญญาณ รูจกั คิด ทาํ พฒั นาเพือ่ สวนรวม และ เรยี นรูซึ่งกนั และกนั 3. เปนการสงเสรมิ การรวมกลมุ ในการดาํ เนินชวี ติ ตามระบอบประชาธิปไตย 4. ทําใหปญ หาของชมุ ชนลดนอ ยลงและหมดไป 5. ทาํ ใหสามารถหาแนวทางปองกันไมใ หป ญหาในลักษณะเดียวกันเกดิ ข้นึ อีก 6. ทาํ ใหเ กดิ ความเจริญกา วหนา ขนึ้ 7. ทําใหเ กดิ การอยรู ว มกันอยางมีความสุข ตามสภาพของแตละบุคคล และเกดิ ความ ภาคภมู ิใจในชมุ ชนของตนเอง 8. ทําใหช มุ ชนนา อยู มคี วามรกั ความสามคั คี เอ้อื อาทรชวยเหลอื เกอ้ื กูลซ่ึงกนั และกนั 9. เปนรากฐานสําคัญของการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ เรอ่ื งท่ี 4 หลักการพัฒนาชุมชน หลกั การพัฒนาชุมชน เปนหลักสาํ คัญในการดาํ เนินงานพฒั นาชมุ ชน เพ่ือสรา งสรรค ไปสู ความสาํ เร็จตามเปา หมาย ยดึ ถอื การสรางความเจรญิ ใหก ับชมุ ชนโดยอาศัยหลักการ สรปุ ไดดังน้ี 1. ประชาชนมีสว นรวมการดําเนนิ กิจกรรมของการพัฒนาทกุ ขนั้ ตอนประชาชนจะตอ ง เขา มามสี วนเกย่ี วของและมสี วนรวมต้ังแต รว มคดิ ตัดสินใจ วางแผน ปฏบิ ตั ิและ ประเมินผล ประชาชนตองกลาคิด กลาแสดงออก เพราะผลท่ีเกดิ จาก การดาํ เนินงาน สง ผลโดยตรงตอ ประชาชน 2. พจิ ารณาวัฒนธรรมและสภาพความเปนอยขู องชุมชน หากทุกฝา ยที่เกีย่ วของในการ พัฒนาไดทราบและเขา ใจขอ มูลเก่ียวกับวฒั นธรรมและสภาพความ เปนอยูข อง

6 ชมุ ชนในทกุ ๆดาน จะชวยใหการคดิ การวางแผน และการดําเนนิ งาน พฒั นาเปนไป ในทศิ ทางท่ถี ูกตอ งเหมาะสม 3. ใหค วามสาํ คัญกับคนในชมุ ชน โดยคนในชมุ ชนตองเปน หลักสาํ คญั หรอื เปน ศูนยก ลางของการพัฒนา โดยเริ่มจากการคน หาความตองการและปญ หาท่ีแทจรงิ ของชุมชนตนเองใหพ บ เพอื่ นําไปสูกระบวนการพัฒนาในข้ันตอ ไป 4. การพฒั นาตอ งไมร วบรดั และเรง รบี การดําเนนิ งานควรคาํ นงึ ถงึ ผลของการ พฒั นา ในระยะยาวดาํ เนนิ งานแบบคอ ยเปนคอยไป เพื่อใหท ุกคนมคี วามพรอ ม มคี วาม เชือ่ มนั่ ไดมีเวลาพจิ ารณาคิดไตรตรองถึงผลท่ีจะเกิดข้ึนในข้นั ตอนตอ ไป และใน ระยะยาวทงั้ ผลที่สําเร็จและไมสาํ เร็จ มใิ ชเ รงรีบดําเนินการใหเสรจ็ อยาง รวบรดั และ เรง รีบ เพราะการเรงรีบและรวบรัดใหเสร็จอาจนําไปสูความลม เหลว 5. ทาํ เปนกระบวนการและประเมินผลอยางตอเนื่อง การพัฒนาชมุ ชนควรดาํ เนนิ การ ดว ยโครงการท่ีหลากหลายภายใตความตอ งการทแ่ี ทจ รงิ ของชมุ ชน ขณะ เดยี วกัน ควรประเมนิ ผลดวยการมีสว นรว มของทุกฝา ยทีเ่ กี่ยวขอ งอยางตอเน่อื ง เพื่อจะได รบั ทราบขอดี ขอ เสีย บทเรียนความสําเรจ็ ไมสําเร็จ เพอ่ื นาํ ไปสกู าร พัฒนาท่ีดขี ึ้น กวา เดิม หลักการพฒั นาชมุ ชนดังกลาวขา งตน เปนหลกั การโดยท่วั ไป ทีม่ งุ หวังใหประชาชน รว มมอื กันพัฒนาชุมชน ของตนโดยมเี ปาหมายสงู สุดคอื ประชาชนมีความเปนอยูท ่ีดี และสงั คม มี ชมุ ชนทีน่ า อยู เพราะฉะนน้ั หากเราเปนสมาชกิ ของชุมชนใดก็ควรเขา ไปมสี ว นรวมใหความ รวมมือ กบั ชมุ ชนนนั้ ๆ เชน รว มประชมุ อยางสรา งสรรค แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความคิด รวมพัฒนาทกุ ขนั้ ตอนเพ่ือนําไปสเู ปาหมายที่ทกุ ฝายรวมกันกําหนดขน้ึ นั่นเอง กจิ กรรม 1. ใหผูเรียนคน ควา เพ่ิมเตมิ \"แนวทางในการพฒั นาตนเอง ประโยชน และหลกั การ ชุมชนเพ่มิ เติมจากแหลง ความรตู า งๆ เชน หอ งสมดุ อนิ เทอรเ น็ต ฯลฯ 2. ใหผ เู รียนอธบิ ายส่ิงตอไปน้ีตามความเขาใจของผูเรยี นโดยสรุป และเขยี นบนั ทึก ลง ในสมดุ ของตนเอง

7 2.1 ความหมายของคําวา \"การพัฒนา\" 2.2 ความสาํ คัญในการพัฒนาตนเอง 2.3 แนวทางในการพฒั นาตนเอง 2.4 ความหมายของคําวา \"การพฒั นาชุมชน\" 2.5 ประโยชนข องการพฒั นาชุมชน 2.6 หลักการพัฒนาชุมชน 3. ผูเรียนแบง กลุม อภิปรายรวมกันคิดประเด็นตอ ไปนี้ แลวนาํ เสนอผลการอภปิ ราย ของกลุมตอเพื่อนๆ 3.1 แนวทางในการพัฒนาตนเองใหเปนบคุ คลที่พึงประสงค และเปนทีย่ อมรับ ของสงั คม 3.2 แนวทางในการพัฒนาและการปฏิบัติตน เพือ่ ใหครอบครวั อบอุน 3.3 แนวทางการพัฒนาชุมชนของตนเองใหเ ปน ชมุ ชนทเี่ ขมแข็ง 4. ใหผเู รยี นจัดทาํ แผนพัฒนาตนเองและครอบครวั ตามแนวทาง ขอ 3.1 และขอ 3.2

8 บทที่ 2 ขอมลู ท่เี กีย่ วของกับการพัฒนาชุมชน  สาระสาํ คญั การศกึ ษาความรเู บื้องตน ที่เก่ียวกับขอ มลู เชน ความหมาย ความสาํ คัญ และประโยชน ของ ขอมลู จะชว ยใหม คี วามเขา ใจขอ มูลท่ีเกีย่ วขอ งกับการ พฒั นา ชมุ ชนซ่งึ มหี ลายดานดว ยกัน เชน ขอมูลดา นครอบครัว ขอมลู ดานเศรษฐกิจ ขอมลู ดา นสงั คม ฯลฯ ขอมลู แตล ะดานลวน มคี วาม จาํ เปน และสําคญั ตอ การพฒั นาชุมชน  ผลการเรยี นรูที่คาดหวัง เม่อื ศกึ ษาบทที่ 2 จบแลว ผเู รียนสามารถ 1. อธบิ ายความหมาย ความสําคญั และประโยชนข องขอ มูล 2. ระบุขอมูลในดา นตางๆทีเ่ ก่ยี วกับการพฒั นาชุมชนไดอยางนอ ย 5 ดาน 3. ยกตัวอยา งรายการของขอมูลในแตล ะดา นทเ่ี กยี่ วขอ งกบั การพัฒนาชมุ ชนได 4. อธิบายเทคนคิ และวธิ กี ารเกบ็ ขอมูลชมุ ชนไดอ ยางนอย 3 วิธี 5. สํารวจขอมลู ชมุ ชนได 6. มีสวนรว มในการวเิ คราะหข อมูลชมุ ชน  ขอบขา ยเนื้อหา เรอื่ งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คญั และประโยชนข องขอมูล เร่อื งท่ี 2 ขอ มลู ทเ่ี กี่ยวของกับการพัฒนาชุมชน เรอ่ื งท่ี 3 เทคนิคและวธิ กี ารเกบ็ ขอ มูลชมุ ชน เร่ืองที่ 4 การวิเคราะหขอ มลู

9 บทท่ี 2 ขอ มลู ท่ีเกย่ี วขอ งกบั การพฒั นาชุมชน ขอมูลทเี่ ปนขอเท็จจรงิ ที่เกีย่ วขอ งกับการพัฒนาชุมชนมหี ลายดานดว ยกนั แตล ะดานควรรู และทําความเขาใจ เพราะเปนสิง่ จําเปนและสําคญั สาํ หรบั กระบวนการ พฒั นาชุมชน ท้งั นีเ้ พื่อเปน เคร่อื งมือในการนาํ ไปสกู ารวางแผน การกาํ หนดทิศทาง เปา หมาย การตดั สินใจ การปฏบิ ตั แิ ละ ประเมินผลของการปรับปรงุ และพฒั นาชมุ ชน ใหนาอยู และดีขน้ึ กวาเดิมในทุกๆ ดา น เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสําคญั และประโยชนข องขอ มลู 1.1 ความหมายของขอ มลู มผี รู ูไดใหความหมายของขอ มลู ในลกั ษณะเดียวกนั สรปุ ไดว า ขอ มูล หมายถงึ ขอ เทจ็ จริง ของสิ่งตา งๆ ทอ่ี ยูรอบตวั เรา เชน คน สตั ว ส่ิงของ สถานที่ ธรรมชาติ ฯลฯ ท่ีถกู บนั ทึกไวเ ปน ตวั เลข สญั ลกั ษณ ภาพ หรือเสียงทีช่ ว ยทําใหรูถ ึงความเปนมา ความสาํ คญั และ ประโยชนข องสงิ่ เหลา นน้ั ความหมายของขอมูล ตามพจนานกุ รมราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 ไดใหค วามหมาย วา ขอ มูลหมายถงึ ขอ เท็จจรงิ สําหรบั ใชเปน หลักในการคาดการณ คนหาความจรงิ หรอื การคิด คํานวณ กลา วโดยสรปุ ขอมลู หมายถึงขาวสารหรอื ขอ เท็จจริงที่เกิดขน้ึ กบั ส่ิงตางๆ ท่ีเปน สัญลกั ษณ ตวั เลข ขอความ ภาพหรือเสียงท่ไี ดมาจากวธิ กี ารตางๆ เชน การสงั เกต การนบั การวดั และบนั ทกึ เปนหลกั ฐานใชเ พื่อคน หาความจริง ตวั อยา ง เชน ก. สุนนั ทประกอบอาชพี ทํานา ข. ตําบลทาํ นบ มจี ํานวนครัวเรอื น 350 ครวั เรอื น ค. อบต.เกาะยอ ชาวบา นมีอาชีพทําสวนผลไมและทําประมง ง. จังหวัดสงขลามีหองสมดุ ประชาชนประจาํ อําเภอ 16 แหง

10 จากตวั อยา ง จะเห็นวา ขอ ข และ ง เปนขอ มูลทเ่ี ปนตัวเลข ขอ ก และ ค เปน ขอมลู ทไ่ี ม เปน ตวั เลข จากความหมายและตัวอยางของขอมูล จะเหน็ ไดวาขอมลู แบง เปน 2 ความหมาย คือ ขอ มลู ทม่ี ีลักษณะเปน ตัวเลขแสดงปรมิ าณเรียกวาขอมลู เชงิ ปรมิ าณ และขอ มลู ทไ่ี มใ ชต ัวเลข เรยี กวา ขอ มูลเชงิ คณุ ภาพ 1.2 ความสําคัญและประโยชนข องขอ มลู ขอ มลู ท่ีเปน ขอ เท็จจริงของส่ิงตางๆ ที่อยรู อบตัวเราลวนมปี ระโยชนตอ การพัฒนา ตนเอง ชมุ ชนและสงั คม ท้งั นขี้ ้ึนอยกู ับการเลือกนาํ มาใชใหถ ูกตองเหมาะสมกับสถานการณ และโอกาส โดยทั่วไปขอ มูลจะใหประโยชนมากมาย เชน 1. เพื่อการเรยี นรู ศกึ ษา คนควา 2. เพื่อเปนแนวทางการพฒั นาดานตา งๆ 3. เพ่อื การนาํ ไปสกู ารปรับปรงุ แกไ ขในส่งิ ทดี่ ีกวา 4. เพอ่ื ใชประกอบเปน หลักฐานอางองิ ประเดน็ สาํ คัญ 5. เพอ่ื การวางแผน การปฏิบัติ และการประเมินผล 6. เพื่อการตัดสนิ ใจ ฯลฯ จากประโยชนดานตา งๆ ท่กี ลา วถึง ขอยกตัวอยางประโยชนของขอมูลในการชวย การ ตัดสินใจ เชน ถา รขู อมูลเก่ยี วกับคะแนนการเรียนวิชาคณติ ศาสตร ผลคะแนนระหวา ง เรียนไมน าพึง พอใจ แตผ ูเ รียนตองการใหส อบผานวิชานี้ ผเู รยี นจะตอ งวางแผนการเรียนและ เตรียมพรอมกับการ สอบใหด ี ขยันเรียน ขยันทาํ แบบฝก หดั มากข้นึ ผลการเรียนวิชาน้ีนาจะผา น แตถ า ไมรขู อ มลู เลย โอกาสที่จะสอบไมผา นก็จะมีมากกวา ในการพฒั นาชุมชนและสงั คมจําเปนตอ งอาศัยขอมูลดานตางๆ ไดแก ขอ มลู เกยี่ วกับ ดาน ความเปน มา ประวตั ศิ าสตร เศรษฐศาสตร การเมอื ง การปกครอง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี ทรพั ยากร ส่งิ แวดลอม สาธารณสขุ และการศกึ ษา เปนตน

11 เร่ืองที่ 2 ขอมลู ท่เี กี่ยวขอ งกบั การพฒั นาชุมชน การพัฒนาชมุ ชน จําเปนตองอาศยั ขอ มลู หลายๆ ดา น เพ่ือใชในการเรยี นรูและคน หา ความ จริงที่เปน พลงั ภายในของชุมชนที่ยงั ไมไ ดพ ฒั นา หรือยงั พฒั นาไมเตม็ ที่ ขอ มูลที่สําคัญท่ี เกย่ี วขอ ง กบั การพฒั นาชุมชน มีดงั นี้ 1. ขอ มลู เกย่ี วกบั ครอบครวั และประชากร ไดแ ก ขอ มลู รายรับ รายจา ย หนีส้ นิ ของ ครอบครวั จะชวยใหเ ห็นท่ีมาของปญ หาความยากจนหรือท่ีมาของรายได จาํ นวน รายไดและรายจายของครอบครัวในชุมชน จํานวนครวั เรือน เปน ตน 2. ขอ มลู ดานเศรษฐกจิ ไดแก จาํ นวน ประเภทของการผลติ การกระจายผลผลติ การ เปนเจาของถือครองทด่ี นิ การเปน เจา ของสถานประกอบการ โรงงาน และ รานคา การนาํ เขา ทรพั ยากรจากภายนอก การใชท รัพยากรทม่ี ีอยใู นทองถ่นิ การใชแ รงงาน การบริโภคสนิ คา การใชป ระโยชนทีด่ นิ อาชีพ ชนิดของพชื ทป่ี ลูก ชนิดและจาํ นวน สตั วท ่เี ล้ียง ผลผลติ รายได เปน ตน 3. ขอมลู ดา นประเพณแี ละวัฒนธรรม ไดแ ก จาํ นวนกลุมท่ีสง เสรมิ ประเพณีและ วฒั นธรรม การละเลน การกฬี าของทอ งถน่ิ ความหลากหลายทางวฒั นธรรม ความ เชอื่ ศาสนา ระบบเครอื ญาติ 4. ขอมลู ดา นการเมอื ง การปกครอง ไดแก การเลือกผูนําของคนในชมุ ชนและ บทบาท ของผนู าํ การมสี ว นรว มของคนในชมุ ชน ดานการปกครองและการ พัฒนา การ ตดั สินใจของผูนําชุมชน โครงสรา งอาํ นาจ ความสมั พนั ธของคนใน ชุมชนและ ระหวางกลมุ การรวมกลุม การแบง กลมุ เปนตน 5. ขอมลู ดานสังคม ไดแก การศกึ ษาอบรม การเรียนรู แหลง เรียนรใู นชุมชน การดแู ล สขุ ภาพ การใชท รพั ยากร การใชภมู ปิ ญญา กองทุนสวัสดกิ าร การรับ ความชวยเหลอื จากภายนอก เปนตน 6. ขอมลู ดานระบบนิเวศและสิง่ แวดลอม ไดแก สภาพทรัพยากรธรรมชาติ ดิน น้าํ อากาศ การจกั การแหลง นํ้า เชน แมนา้ํ ลาํ คลอง ทะเล ปาชายเลน สัตวบ ก สัตวน ํ้า

12 สภาพการดาํ รงชวี ิตของพืชและสตั ว การพฒั นาชมุ ชนกับจํานวนและปรมิ าณ ของ ทรพั ยากร เปนตน 7. ความตองการของชุมชน เปน ความตอ งการทแ่ี ทจริงของชุมชนดานตา งๆ ขอมลู ดา น ตา งๆ เหลานี้จะเปน ตัวชเี้ ก่ียวกับ \"ทนุ \" ทม่ี อี ยูใ นชมุ ชน ซงึ่ ตองคนหา สาํ รวจ รวบรวมและวเิ คราะหเ พอื่ นาํ มาพัฒนาชุมชน การสาํ รวจ เก็บรวบรวมขอ มลู จะตอ ง รว มมอื ชวยกันหลายฝาย นอกจากนีผ้ สู าํ รวจตองมีความละเอียด ในการใช เครือ่ งมอื เพราะยิ่งไดข อมูลที่มีความละเอียดมาก ย่งิ สง ผลตอ ความแมน ยาํ ในการ วิเคราะห ความตองการความจําเปนของชุมชน เรื่องท่ี 3 เทคนิคและวธิ ีการเก็บขอมูลชุมชน เทคนิคและวิธกี ารเก็บขอมูลทเี่ ก่ียวของกับการพัฒนาชุมชนมีหลายวธิ ี เชน การสงั เกต การ สมั ภาษณ การใชแ บบสอบถาม การศึกษาจากเอกสาร การสนทนากลุม การสาํ รวจ การจดั เวที ประชาคม สว นการจะเลือกใชเทคนคิ วิธีการใดจึงจะเหมาะสมขน้ึ อยูกับหลายๆ ปจ จยั เชน แหลง ขอมูล ความสะดวก ความประหยัด ฯลฯ การศกึ ษาและรวบรวมขอมูลชมุ ชน ผูศกึ ษา สามารถกระทาํ โดยยดึ วตั ถปุ ระสงคของการศกึ ษา โดยอาจจาํ แนกประเด็นหลัก และประเด็นยอย เพ่ือใหไ ดร ายละเอยี ดใหค ลอบคลุมทุกดาน เทคนคิ วธิ กี ารเก็บขอ มลู มวี ิธีตางๆ เชน 1. การสงั เกต เปน วธิ กี ารเก็บรวบรวมขอมลู โดยผสู ังเกตเฝา ดูพฤตกิ รรมจริงหรือ เหตกุ ารณจรงิ โดยผูส ังเกตอาจเขา ไปทาํ กจิ กรรมรว มในเหตุการณ หรอื ไมมี สว นรวมโดยการ เฝา ดู อยูห างๆ ก็ได การสังเกตมีทั้งแบบทมี่ ีโครงสรา งกับ แบบไมม โี ครงสรา ง การสงั เกตแบบมี โครงสรา งผสู ังเกตตองเตรยี มหวั ขอ ขอบขาย ประเด็น ท่ตี อ งใชใ นการสังเกตลว งหนา แลว บนั ทึก รายละเอยี ดส่งิ ที่ สังเกตพบเหน็ ตามหัวขอ ประเดน็ ทต่ี องใชในการสงั เกตลว งหนา แลว บนั ทึก รายละเอยี ดสิ่งท่สี งั เกตพบเห็นตามหวั ขอ ประเด็น การสังเกตแบบไมม ีโครงสรา ง เปน การ สังเกต ไปเรอ่ื ยๆ ตามสิง่ ที่พบเห็น

13 2. การสมั ภาษณ เปน วิธกี ารเกบ็ ขอ มลู โดยผสู มั ภาษณแ ละผูใหส ัมภาษณต อ ง พบหนา กนั และมกี ารสมั ภาษณซักถามโดยใชภาษาเปน ตัวกลางในกลางสอ่ื สาร การสมั ภาษณ มีทงั้ แบบมี โครงสรา งและแบบไมม โี ครงสรา ง การสมั ภาษณ แบบมีโครงสรางผสู มั ภาษณจ ะ เตรยี มคําถาม เรียงลาํ ดับคาํ ถามไวล ว งหนาตาม วัตถปุ ระสงคข องการสมั ภาษณ สว นการ สัมภาษณแ บบไมมี โครงสรา งเปน การ สมั ภาษณแบบพดู คุยไปเรื่อยๆ จะถามคําถามใดกอนหลงั กไ็ ดไ มมีการ เรยี งลาํ ดับ คําถาม 3. การใชแ บบสอบถาม ผเู กบ็ ขอ มลู จะตอ งเตรียมและออกแบบสอบถามลวงหนา แบบสอบถามจะประกอบดวยคําช้แี จง วตั ถุประสงค รายการขอ มูลท่ีตองการถาม จาํ แนกเปน ราย ขอ ใหผ ูต อบตอบตามขอเทจ็ จริง 4. การศกึ ษาจากเอกสาร เปนการรวบรวมขอมลู ทม่ี ีผูเรยี บเรียงไวแ ลว ในลักษณะ ของ เอกสารประเภทตา งๆ เชน บทความ หนงั สอื ตาํ รา หรอื เวบ็ ไซต การเกบ็ ขอ มูลดว ยวิธีน้ี จะตอ ง คํานึงถึงความทันสมยั 5. การสนทนากลมุ เปน การรวบรวมขอ มลู ดานเศรษฐกิจ สงั คม ประชากร อาชพี ฯลฯ จากวงสนทนาที่เปน ผูใ หขอ มลู ทถ่ี ูกคดั สรรวา สามารถใหข อมูลใหคาํ ตอบ ตรงตามประเดน็ คําถาม ทีผ่ ูศกึ ษาตองการ มีการถามตอบและถกประเดน็ ปญหา โดยเรม่ิ จากคาํ ถามทง่ี ายตอการ เขา ใจแลว จงึ คอ ยเขาสคู ําถามท่ีเปนประเด็นหลกั ของการศึกษา แลวจบดวยคําถามประเด็นยอ ยๆ ขณะเดยี วกนั มี ผูบนั ทึกเก็บขอ มูล จากคําสนทนาพรอมบรรยากาศ และอากัปกิริยาของสมาชิก กลมุ แลวสรุปเปน ขอสรุปของการ สนทนาแตล ะคร้ัง 6. การสาํ รวจ การสํารวจขอ มลู ชมุ ชนทําไดในลักษณะตางๆ เชน 1) ขอมลู ที่ ครอบครวั ควรทาํ เอง ไดแก บญั ชรี ายรบั -รายจา ยของครอบครัว แตล ะครอบครวั รวมทัง้ หนส้ี ิน 2) ขอ มูล ทว่ั ไปของครอบครวั ไดแ ก จํานวนสมาชกิ อายุ การศกึ ษา รายได ท่ีทาํ กนิ เครือ่ งมอื อปุ กรณ ความรู ของคนในครอบครัว และ การดแู ล สุขภาพ เปนตน 3) ขอมลู สว นรวมของ ชมุ ชน ไดแก ประวตั ิ ความเปนมาของชุมชน ทรพั ยากร ความรู ภมู ปิ ญญาเฉพาะดาน การ รวมกลมุ โครงการ ของชุมชน ผูนาํ เปน ตน สาํ หรับวิธกี ารเกบ็ ขอ มูลดวยเทคนิคการสาํ รวจอาจใชแ บบสอบถาม หรอื แบบ สมั ภาษณ ตามความสะดวก ความประหยดั ของผูเ กบ็ ขอมลู และไมส รา งความ ยุงยากใหกบั ผูให ขอ มลู

14 7. การจัดเวทีประชาคม เปนการพบปะของผคู นท่ีเปนผูแทนระดับของกลมุ ตา งๆ ใน ชุมชนซึง่ ผคู นเหลา น้มี ขี อ มูล ประสบการณ ความคดิ ทห่ี ลากหลาย ไดม ารว มกันแลกเปล่ยี น ขอมลู ประสบการณ ความคิด เพ่ือรว มกันกําหนดวสิ ัยทัศน วิเคราะห สถานการณ ปญหา วางแผน ดําเนนิ งาน ตดิ ตามประเมินผลการทํางาน รว มกนั เพอื่ นาํ ไปสกู ารพัฒนาชุมชนให สามารถบรรลุ เปา หมายรวมกัน สว น เคร่ืองมอื ทีส่ าํ คญั ในการจัดเวทีประชาคม คือ ประเดน็ คําถามท่มี ีลักษณะเปน คําถามปลายเปด เพือ่ ทาํ ใหผรู ว มเวทสี ามารถตอบและอภิปรายได ละเอยี ดตาม ความรคู วามคิดและ ประสบการณของแตละคน ทาํ ใหไดค าํ ตอบทีเ่ ปนขอมลู เชงิ ลกึ ซง่ึ แตเ ปน ประโยชนต อ การ วเิ คราะหข อ มลู ในแตละดา นตอ ไป เรือ่ งที่ 4 การวเิ คราะหขอมลู หลังจากการเก็บขอ มลู เสร็จสน้ิ แลว ผูเกบ็ ขอ มูลควรนําผลจากการจัดเก็บขอ มูล ไป ตรวจสอบความถูกตอ งและสมบรู ณก ับแหลง ขอมูลอกี ครัง้ เพื่อยืนยนั ความถูกตอ ง และ เพม่ิ เติม ขอ มลู ในสว นทีย่ งั ไมสมบูรณใหสมบรู ณมากท่ีสุด ขน้ั ตอนถัดมาคือการวเิ คราะหข อ มูล การวิเคราะหข อมลู เปนการนาํ ขอ มลู ที่เกบ็ รวบรวมมาได มาจดั กระทาํ โดยจาํ แนก จัดกลุม จดั ระบบ หมวดหมู เรยี งลําดบั คํานวณคาตวั เลข (เชิงปริมาณ) ตคี วาม สรปุ และนาํ เสนอในรูปแบบ ตา งๆ ใหสามารถส่อื ความหมายได เชน ตาราง แผนภูมิ ภาพ ฯลฯ ขน้ั ตอนของการวเิ คราะหข อ มูลชมุ ชนอาจตองอาศัยผูรเู ก่ยี วกับการวิเคราะหขอ มลู เขามา ใหความรว มมอื ชวยเหลอื ในการวเิ คราะหและเผยแพรขอมลู แตข ณะเดยี วกัน ประชาชนใน ชมุ ชน ตอ งมีสวนรว มเขา มาแลกเปลีย่ นเรยี นรูเพ่อื ใหเกิดการเรยี นรรู วมกัน กจิ กรรม ใหผูเ รยี นทาํ กิจกรรมตอไปนี้ 1. เขยี นอธบิ ายตามความเขาใจของผเู รยี น 1.1 ความหมาย

15 1.2 ความสาํ คัญและประโยชนข องขอ มลู 2. เขยี น ระบุ ขอ มูลทเ่ี ก่ียวกับการพัฒนาชุมชนอยา งนอย 5 ดา น พรอ มยกตวั อยาง รายการขอ มลู ในแตล ะดาน 3. อธิบายเทคนิควธิ กี ารเก็บขอมูลชมุ ชน มา 3 วิธี 4. ใหออกแบบเครือ่ งมือ และออกสาํ รวจขอ มลู ของชุมชนของผูเรยี นพรอ มนาํ เสนอผล การสาํ รวจแลกเปล่ียนในกลมุ 5. ใหหาโอกาสเขา มามีสวนรวมในขน้ั ตอนของการวเิ คราะหข อมลู ชุมชน และหรอื เชญิ ผูรูเกยี่ วกับวธิ ีการวเิ คราะหข อ มูลชมุ ชนมาอธบิ ายรวมแลกเปลีย่ นเรียนรู

16 บทที่ 3 การจัดทําแผนพฒั นาชมุ ชน  สาระสาํ คญั แผนพัฒนาชุมชนเปน แผนหลกั ท่ีรวมแนวทางการพัฒนาชมุ ชนทุกดานท่ีเกิดจากการ มี สวนรวมของคนในชุมชน รวมกนั เรียนรแู ละจดั ทาํ ข้ึน โดยมกี ระบวนการและขั้นตอนของการ พฒั นาท่เี ปน รูปธรรมชัดเจน เพ่ือนาํ ไปใชใ นการแกไขปญ หาและพัฒนาชมุ ชน  ผลการเรียนรทู ี่คาดหวงั เมอ่ื ศึกษาบทท่ี 3 จบแลว ผูเรียนสามารถ 1. อธิบายขั้นตอนการจัดทาํ แผนพัฒนาชุมชน และการทําประชาพิจารณแผนชุมชน 2. สรางสถานการณจําลองในการจดั เวทีประชาคมได 3. มีสวนรวมในการจัดทําแผนและประชาพจิ ารณ รวมทั้งการประชุมกลมุ ยอย 4. ประเมินระดับการมีสว นรวมในการพัฒนาชุมชนของประชาชนในชมุ ชนได  ขอบขา ยเนือ้ หา เรอ่ื งที่ 1 กระบวนการจัดทาํ แผนพฒั นาชุมชน เรอื่ งท่ี 2 ขน้ั ตอนการทําประชาพิจารณแผนชมุ ชน เรอื่ งท่ี 3 ขั้นตอนการทําเวทีประชาคม เรือ่ งท่ี 4 การมสี ว นรว มของประชาชนในการพัฒนาชมุ ชน เรื่องท่ี 5 ระดบั การมีสว นรว มของประชาชนในการพฒั นาชมุ ชน

17 บทท่ี 3 การจดั ทาํ แผนพฒั นาชมุ ชน แผนพัฒนาชุมชน มีลกั ษณะเปนแผนหลกั ที่รวมแนวทางการพฒั นาทุกๆ ดา นของ ชุมชน เปน แผนที่เกิดจากการมีสวนรว มของผูคนในชุมชนและเครอื ขายทเ่ี กยี่ วขอ งรวมกัน จัดทาํ ขึน้ เพ่ือ มุง ใหค นในชุมชนไดเรียนรแู ละรวมดาํ เนนิ การแกไขปญหารวมกัน เรื่องท่ี 1 กระบวนการจดั ทําแผนพฒั นาชมุ ชน การจัดทาํ แผนพฒั นาชุมชนแตละชมุ ชนอาจมขี ้ันตอนของการดําเนนิ การพฒั นาชมุ ชน แตกตางกันไป ขึน้ อยูกับบรบิ ทสง่ิ แวดลอมของชมุ ชนนั้นๆ แตโ ดยทวั่ ไปการจัดทาํ แผนพฒั นา ชมุ ชน มีขน้ั ตอนตอ เนื่องเปนกระบวนการตามลําดับ ตงั้ แตขน้ั การเตรียมการและวางแผน ขน้ั การ จัดทาํ แผนพฒั นา และข้ันการนําแผนไปสูการปฏิบัติ ดังน้ี 1. ขั้นการเตรียมการและการวางแผน เปน การเตรียมความพรอ มในดา นตางๆ ดังนี้ 1.1 การเตรียมหาบุคคลทีเ่ กย่ี วของ เชน คณะทํางาน คณะวิชาการ อาสา สมัคร ผูน าํ ฯลฯ 1.2 การเตรียมการจัดเวทีสรา งความตระหนกั รว มในการเปน เจา ของชุมชน รวมกัน เชน การรวมคดิ รวมวางแผน รว มปฏิบตั ิ ทุกขนั้ ตอน 1.3 การศึกษาพัฒนาการของชุมชน โดยการศึกษา สาํ รวจ วิเคราะห สังเคราะห ขอมลู ทกุ ๆ ดา นของชมุ ชน เชน ดานเศรษฐกิจ ดา นประเพณวี ฒั นธรรม ดา นการเมืองการ ปกครอง เปน ตน 1.4 การศึกษาดูงานชุมชนตนแบบ เพื่อเรียนรูจากประสบการณตรงจากชุมชน ตน แบบที่ประสบความสําเรจ็ จะไดเหน็ ตวั อยางการปฏิบตั จิ ริงท่ีเปน รูปธรรม เพื่อทจี่ ะไดน าํ สิ่ง ท่ี

18 ดีๆ ท่ีเปน ประโยชนม าประยกุ ตใ ชกบั ชมุ ชน ตนเอง และชวยกันคดิ วา ชุมชนของตนควรจะ วางแผน บรหิ ารจดั การทจ่ี ะ นําไปสกู ารพฒั นาไดอ ยางไร 2. ข้นั การจดั ทาํ แผนพัฒนา ประกอบดว ยขน้ั ตอนยอยๆ ดงั น้ี 2.1 การรวมกันนาํ ขอ มูลที่ไดจ ากการเตรียมการมารวมกนั วเิ คราะหจุดแขง็ จุดออ น โอกาสและอุปสรรคของชุมชน เพ่ือประเมนิ ความสามารถและ ประสบการณของ ชมุ ชนเพ่ือ นําไปสกู ารกาํ หนดภาพอนาคตของชมุ ชน ตามท่คี าดหวงั (วิสัยทัศน) 2.2 การรว มกนั คน หา และกาํ หนดการเลอื กทเี่ หมาะสมในการพฒั นา (ยทุ ธศาสตร) 2.3 รวมกันกาํ หนดแผนงาน โครงการ กจิ กรรม และเขียนเอกสารแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่จะพัฒนาแกป ญ หาหรอื ปอ งกนั ปญ หา 2.4 นาํ แผนงาน โครงการ และกจิ กรรม นําเสนอแลวพิจารณารว มกันและ ให ขอมลู เพม่ิ เติม เพื่อใหเ หน็ ภาพรวมเพ่ือการประสานเชอื่ มโยงและเพอื่ การแบงงาน กนั รบั ผิดชอบ 2.5 เม่ือคณะทํางานทุกฝายเห็นชอบ จงึ นํารา งแผนชมุ ชนไปทาํ การประชา พจิ ารณ แลกเปลี่ยนเรียนรใู นเวทเี พอื่ สรางความเขาใจกบั สมาชกิ ของชุมชนท้ังหมด เปน การ รวมใจเปนหน่งึ เดยี วที่จะดาํ เนนิ การพฒั นารวมกัน ตามแผน 2.6 ปรบั ปรงุ แกไข แผนใหถูกตอ งเหมาะสมตามมติ ความคดิ เห็นท่ีไดจาก การ ประชาพิจารณ 3. การนําแผนไปปฏบิ ัติ และประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ประกอบดวยข้นั ตอนยอ ยๆ ดงั นั้น 3.1 จดั ลําดับความสําคญั ของแผนงานโครงการ 3.2 วเิ คราะหค วามเปน ไปไดข องแตล ะโครงการ 3.3 จัดฝก อบรม เพิม่ เติมประสบการณความรเู ก่ียวกับประเดน็ ทีส่ าํ คญั ที่ กาํ หนดไว ในแผนเพื่อขยายผลการเรียนรูไปยังคนในชมุ ชน 3.4 จดั ระบบภายใน เชอ่ื มโยงเครือขา ยทั้งภายในภายนอกเพือ่ สรางความ เขม แขง็ ใหก บั ชุมชน 3.5 ดาํ เนนิ การปฏิบัติตามแผน

19 3.6 ตดิ ตามความกาวหนา และประเมินผลการปฏิบัตงิ านตามแผน รวมทั้ง ประเมนิ ผลการดาํ เนนิ งานโครงการและกจิ กรรมที่อยูในแผน เพื่อปรบั ปรงุ แผนใหม ีความ สมบรู ณ ยิ่งข้ึน สาํ หรับผูท จี่ ะทาํ หนาท่ใี นการประเมนิ คือ แกนนาํ และคนในชมุ ชน เพราะคนเหลาน้ี เปน ทงั้ ผูบรหิ ารจดั การ ผปู ฏบิ ตั ิ และผรู ับประโยชนโ ดยตรง การประเมนิ ผลเมอ่ื เสร็จสิ้นโครงการ หลังจากทุกฝายไดรวมมอื กนั ทาํ งานตามแผนชมุ ชนของตนเองแลวควรจัดประชุม สรุปผล การดาํ เนนิ งานรว มมอื กันเม่ือเสรจ็ ส้ินโครงการ เพอื่ เปนการสรุปบทเรียนทง้ั โครงการวา ไดผ ลลัพธ ตามเปาหมายหรอื ไม นน่ั คือ คนในชุมชนมพี ัฒนาการและเกิดการเปลย่ี นแปลง อยา งไร มีสงิ่ ที่ดีๆ อะไรเกิดขนึ้ บางท่เี ปน ผลพวงของการพัฒนา มีปญ หาอปุ สรรคอยางไร มีวิธีการ แกไขใหบ รรลุผล สาํ เรจ็ หรือไม อยา งไร ถาจะพัฒนาตอ ไปควรปรับปรุงข้ันตอนใด ฯลฯ ทั้งน้ีเพอื่ รวบรวมขอคดิ เห็น หลงั การทํางานแลว ถอดและสรปุ เปน บทเรียน เพ่ือเปนแนวทางใน การทาํ กิจกรรมหรอื โครงการ พฒั นาอนื่ ตอไป เรือ่ งท่ี 2 ขัน้ ตอนการทําประชาพจิ ารณแ ผนชมุ ชน เม่ือชุมชนรว มกนั จัดทําแผนชมุ ชนและโครงการเสร็จแลว ขั้นตอนตอ ไปจะเปน การนาํ แผนชุมชนฉบับรางไปพิจารณาขอรับความคดิ เห็นจากประชาชนทมี่ ีสว นไดสวนเสีย หรอื ไดรบั ผลกระทบจากแผนที่จัดทําขึน้ เรยี กขั้นตอนนัน้ วา “การทําประชาพิจารณ” การทําประชาพิจารณแผนชุมชน เปนการนําเสนอแผนใหประชาชนในชุมชนได รบั ทราบ โดยทว่ั กนั ในขัน้ ตอนน้คี วรใหโ อกาสประชาชนไดอ ภิปราย แลกเปล่ียนเรียนรู ใหขอเสนอแนะ ปรบั ปรงุ แกไ ข เปน การแสดงออกรวมกนั ในเวที เปน การวิพากษว ิจารณใ น ลกั ษณะทส่ี รา งสรรค เพือ่ ที่จะรวมมอื กันดําเนนิ งานใหบรรลุเปา หมาย น่ันคือ การพัฒนา ชุมชนที่อาศยั การพง่ึ พาตนเอง โดยอาศัยแผนงาน โครงการและกจิ กรรมทรี่ ว มกนั กําหนดข้ึนการ ประชาพิจารณค วรดาํ เนนิ การ ดงั น้ี

20 1. เตรยี มการประชาสมั พันธส ื่อสารใหประชาชนไดเขา รว มเวทีประชาพจิ ารณ เตรยี ม เอกสารแผนงานโครงการทีร่ วมกนั คิด รว มกันกาํ หนดติดตอและเตรยี มวิทยากร และคณะ ผดู ําเนนิ การรวมทัง้ เตรียมความพรอ มในการจดั เวที 2. จดั เวที สรางความเขา ใจกับสมาชิกของชุมชนทง้ั หมด โดยเชญิ ผูนํา ตวั แทน กลุม ตา งๆ และประชาชนในชมุ ชนรวมเวที 3. ประชาพิจารณ วพิ ากษว จิ ารณ แลกเปล่ียนเรยี นรู รวมแรงรวมใจใหเปน หนึ่งเดียว เพอ่ื รว มกันปฏิบตั ิการตามแผน 4. ปรบั ปรงุ แกไขแผนใหม ีความถกู ตองเหมาะสมตามมติของที่ประชุมโดย เขยี น แผน เปน ลายลักษณอ ักษร จัดทําเปน เอกสารใหชุมชนไดศึกษาและนาํ ไป ปฏิบัตใิ หเปน ไปใน แนวทาง เดยี วกนั องคป ระกอบของแผนชมุ ชน โดยทวั่ ไป แผนชมุ ชนมีองคป ระกอบหลักในการเขยี นดังนี้ คอื 1. วิสยั ทัศน (ภาพอนาคตท่ีจะไปใหถ ึง) 2. เปา หมาย 3. ยทุ ธศาสตร (กลวิธี) 4. วตั ถปุ ระสงค 5. ขอ มลู ชุมชน ท่ีจาํ แนกเปนหมวดหมู 6. แผนงาน โครงการ และกจิ กรรม 7. แผนการปฏบิ ัติงาน แนวทางหรือวธิ กี ารดําเนินการ 8. จํานวนงบประมาณ และที่มาของงบประมาณ 9. ระยะเวลาดาํ เนินการ 10. ตัวบง ช้ีความสาํ เรจ็ สว นองคป ระกอบปลีกยอยอนื่ อาจเขียนเพ่ิมเตมิ ตามความจําเปนและเหมาะสมตาม บริบท สิ่งแวดลอมของแตล ะชมุ ชน

21 เรื่องท่ี 3 ขนั้ ตอนการทําเวทปี ระชาคม เวทีประชาคมเปน สถานท่ีท่ีผคู นรวมตัวกันเพ่ือพดู คุย แลกเปล่ียนขอมูลความคิดเห็น แกไข ปญหาพัฒนา หรือปฏบิ ัติรว มกัน เพ่ือประโยชนข องชมุ ชน โดยใชการมีสวนรวมในการ คนหา ขอ มูล วิเคราะหข อ มลู และกําหนดกจิ กรรมทจ่ี ะนาํ ความเห็นรว มขบั เคลอื่ นไปสกู ารปฏิบตั ิ ขั้นตอนการทําประชาคม (กรมการพฒั นาชุมชน, 2543, 420) มีขั้นตอนดงั นี้ 1. ขน้ั เตรียมการ 1.1 ศกึ ษา วิเคราะห ขอมูลทเ่ี ก่ียวขอ งกับชุมชน และทีเ่ ปนประเด็นรวมของ ชมุ ชน กาํ หนดประเดน็ เนอ้ื หา และวิธีการ 1.2 จัดตง้ั คณะทํางานประชาคม พรอมทงั้ กําหนดบทบาทหนาที่ของคณะ ทํางาน ใหชัดเจน เชน ผูนาํ ประชาคมทําหนาทีก่ ระตุนใหประชาชนไดรว มคิดตามประเดน็ สราง บรรยากาศการมีสวนรว มผชู วยผูนําประชาคม ทาํ หนา ทีเ่ สนอประเดน็ ทีผ่ นู าํ ประชาคม เสนอไม ครบถว น หรือผิดพลาด รวมทง้ั บรรยากาศใหเกิดการตน่ื ตัว เกิดการผอ นคลาย ผูอาํ นวย ความ สะดวก ทาํ หนาทีใ่ หบริการดานตา งๆ เปน ตน 1.3 กาํ หนดจาํ นวนประชาชนกลมุ ตางๆ ท่ีเปนผมู สี วนไดสวนเสีย ประมาณ 30-50 คน เชน กรรมการหมูบาน ผนู าํ กลุมอาชพี ผนู ําทอ งถนิ่ ผนู ําตามธรรมชาติและอาสาสมัคร เปน ตน 1.4 กําหนดระยะเวลาของการทําประชาคม โดยพิจารณาใหมคี วามเหมาะสม ตาม ความพรอ มของประชาชนและขึน้ อยกู บั ประเดน็ การพูดคยุ แตต อ งไมก ระทบตอ เวลาการ ประกอบ อาชีพของประชาชน 1.5 เตรียมชุมชน สถานที่ วสั ดุอุปกรณ ส่ือการเรียนรตู างๆ ทใี่ ชในการ ประชาคม และประสานงานกบั ทุกฝา ยทเ่ี ก่ียวขอ ง 2. ข้นั ดําเนนิ การ 2.1 เตรียมความพรอมของประชาชนที่เขารวมประชาคม เชน สรางความ คนุ เคย การแนะนาํ ตวั ละลายพฤตกิ รรม ใหทกุ คนไดรจู ักกันโดยทั่วถงึ กาํ หนดวตั ถปุ ระสงค ขอบเขต กตกิ า ในการทําประชาคมใหช ดั เจน

22 2.2 แลกเปล่ียนเรียนรซู ่ึงกันและกนั ทั้งคณะทํางานและประชาชนรวมกัน สะทอน ความคดิ เห็นตอ ประเด็น 2.3 คนหาปจจยั เก้อื หนุนหรอื “ทนุ ” ในชุมชน โดยรวมกันพจิ ารณาจุดเดน จดุ ดอ ย ขอจํากัดและโอกาสของการพัฒนาชุมชน ระดมสมองคน หา ทรพั ยากรตางๆ ท่ีมอี ยใู น ชุมชน รวมท้งั ทนุ ทางสังคม ไดแก วัฒนธรรม ประเพณี ระบบเครอื ญาติ ความเออ้ื อาทร ฯลฯ เพ่ือใชทนุ เหลานเ้ี ปนพลัง ขับเคลอื่ นกจิ กรรมตางๆ ในชมุ ชน 3. ข้นั ติดตามและประเมนิ ผลการดาํ เนินการ 3.1 คณะทาํ งานและประชาชนกลมุ เปา หมายรว มกันแสดงผล ประเมนิ จดุ เดน จดุ ดอย ขอบกพรอ งและส่งิ ท่ีควรปรบั ปรุง สาํ หรบั การทําประชาคมครั้งตอไป รวบรวมผลงาน ทผ่ี า น มา เพ่ือเผยแพรแ ละประชาสมั พนั ธ 3.2 ติดตามผลหลังการดาํ เนินงาน เมอ่ื จัดประชาคมเสรจ็ ส้นิ แลว เชน คณะ ทํางาน ประชาชน กลมุ เปา หมาย และผเู กี่ยวของทุกฝาย ตอ งประสานงาน เพื่อใหเกิดการสนับ สนุนการ ดาํ เนนิ งานตามมติของประชาชนอยางตอ เนอ่ื ง ใหกาํ ลังใจ ชวยเหลอื กันและกันอยาง จรงิ จัง วตั ถปุ ระสงคข องการทําประชาคม ในการทําประชาคมมีวัตถุประสงคทส่ี าํ คญั หลายประการ (ณฐั นรี ศรที อง, 2552, 418-419) ดังนี้ 1. เพื่อสงเสรมิ ใหป ระชาชนเกิดการเรียนรูซ่ึงกันและกันอยางตอเน่ือง โดย สามารถ คิด วเิ คราะหไดด วยตนเอง 2. เพ่ือสงเสรมิ ใหประชาชนไดว เิ คราะหป ญหาของชุมชน และสามารถ กําหนด ทศิ ทางการทาํ งานดว ยตนเอง 3. เพือ่ สรา งจติ สาํ นกึ สาธารณะใหเกิดขึ้น ประชาชนในชมุ ชนรจู ักทาํ งานเพ่อื สว นรวม และการพง่ึ พาตนเอง 4. เพอื่ คน หาผูนําการเปลยี่ นแปลง (แกนนาํ ) ในชุมชน 5. เพื่อเปน การระดมพลงั สมองในการคิดแกป ญหาท่ีตอบสนองตอ ความ ตอ งการ ที่แทจริงของประชาชน (ประเดน็ รวม)

23 6. เพอื่ ใหประชาชน หนวยงานตา งๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน มสี วนรว มในการ ตดั สินใจ ลงมือปฎิบตั ิและติดตามผล ประเมนิ ผลการทาํ งานเชงิ พฒั นารว มกัน 7. เพอ่ื ใหมีทางเลอื กในการแกไขปญหารว มกนั ของประชาชน โดยเชื่อมโยง ประสบการณต า งๆ และพฒั นาการคิดอยางอยางเปนระบบ 8. เพ่ือกอ ใหเ กดิ เวทีสําหรบั การปรึกษาหารือ พบปะ พูดคยุ แสดงความ คิดเห็น รว มกันของคนในชมุ ชน เร่ืองท่ี 4 การมีสว นรว มของประชาชนในการพฒั นาชมุ ชน การจัดกจิ กรรมการพัฒนาชุมชนท่กี อใหเ กดิ การมีสวนรว มของประชาชนน้นั สามารถ ทาํ ไดหลายวิธี เชน การจัดเวทีประชาคม การประชุมกลุม ยอยเพือ่ ระดมความคิดเหน็ รว มตอ ประเด็น ใดประเด็นหนึ่ง การฝก อบรมเพอ่ื พฒั นาหรือสง เสริมศักยภาพของประชาชน การ ประชาพิจารณ เพอ่ื การรบั ฟงความคดิ เห็นของประชาชนเกี่ยวกับประเด็นทม่ี ีผลกระทบตอ ประชาชนจํานวนมาก ฯลฯ กจิ กรรมตา งๆ เหลา น้ีประชาชนทุกคนสามารถเขา ไปมสี วนรวม เพราะเปน กระบวนการเรียนรู รว มกนั แตก ารเขาไปมสี วนรวมในแตละกจิ กรรม จําเปน ตอ งเขา ใจ และแสดงบทบาทของตนเองให ถกู สอดคลองและเหมาะสมกับกิจกรรมทจ่ี ดั ขนึ้ 4.1 การมสี ว นรว มของประชาชนในเวทปี ระชาคม เวทปี ระชาคมเปนกจิ กรรมหนง่ึ ทม่ี วี ธิ กี ารกระตุนใหกลมุ ประชาชนไดเกิดการ เรยี นรู อยางมสี วนรวมระหวางผูทีม่ ีประเด็นรวมกนั โดยจัดเวทีสื่อสารพูดคยุ กนั ขน้ึ เพ่ือสราง การรบั รู สรา งความเขา ใจในประเดน็ ปญ หารวม เพอ่ื ใหไ ดข อ สรุปและแนวทางแกไ ขประเดน็ นน้ั ๆ แลว ชว ยกันผลกั ดันใหเ กิดผลตามแนวทางและเปา หมายทไ่ี ดก ําหนดขนึ้ รว มกนั การเขามามีสวนรวมของประชาชนในเวทีประชาคม ประชาชนอาจแสดง บทบาท ของตนเองไดด งั นี้ 1. ควรทาํ ความเขา ใจตอ วตั ถปุ ระสงคของการทําประชาคมอยางชัดเจน

24 2. ควรใชความคิดและนาํ เสนอโดยการพดู ส่อื สารใหเห็นความเชือ่ มโยง และเปน ระบบ 3. พยายามเขา ใจและเรียนรรู ับฟง เหตผุ ลของผอู ่นื 4. ควรรบั ฟงประเด็นและความคดิ เห็นของผอู ืน่ อยา งต้งั ใจ หากไมเขาใจควร ซกั ถามผูดาํ เนินการดว ยความสภุ าพ 5. ความคิดเหน็ ควรมีความเปนไปได มีความเหมาะสม 6. ควรเสนอความคิดเหน็ อยางสรางสรรค นั่นคือใชเ หตุและผลประกอบ ความ คิดเหน็ 7. รับฟงและเคารพความคดิ เห็นของผูอ่นื เพราะแตละคนมีสทิ ธิเสรใี นการ แสดง ความคิดเห็นอยา งเทา เทียมกนั 8. แสดงความคดิ เห็นตอ ประเดน็ รวมอยา งตรงไปตรงมา 9. ไมวางตนเปนผูขัดขวางตอการดาํ เนินงาน 4.2 การมสี ว นรว มของประชาชนในการพฒั นาชมุ ชน 1. การมสี ว นรวมในการคน หาสาเหตขุ องปญ หา เนอื่ งจากปญ หาเกิดกับ ประชาชน ประชาชนในชมุ ชนยอมรจู กั และเขา ใจปญหาของตนดที ส่ี ดุ หากไดร วมกลุมกัน จะ สามารถชว ยกันคิด วิเคราะหป ญหาและสาเหตุไดอ ยางชัดเจนและรอบดาน 2. การมสี ว นรว มในการรว มคดิ รว มวางแผน ประชาชนอาจรว มกันใชข อมลู ท่ไี ด จากการสาํ รวจและเรียนรูรว มกนั จากการรวมกลมุ แลกเปล่ียนความคิดเห็น จากการคน หา ศกั ยภาพ ของชุมชน หรอื จากการศึกษาดงู าน แลว นําขอมลู เหลานัน้ มาคดิ วางแผนรว มกัน ตดั สนิ ใจรว มกนั ขั้นตอนนี้อาจคอยเปนคอยไป และอาศัย แกนนาํ ทีเ่ ขม แขง็ 3. การมีสว นรว มในการปฏิบตั ิ เน่อื งจากประชาชนมีทนุ ของตนเอง ตง้ั แต แรงงาน ประสบการณแ ละทรพั ยากร หากไดร วมกันปฏิบตั ิโดยใชท ุนท่ีมีอยูยอมทาํ ใหร ูส ึกถงึ ความ เปน เจาของรว มกัน เกิดการเรยี นรใู นการทํางานรวมกัน การแกไ ขปญหารว มกัน โอกาส ที่จะ นําไปสเู ปา หมายจึงมสี งู กวาการปฏิบัติโดยอาศัย บุคคลภายนอก 4. การมสี ว นรวมในการตดิ ตามและประเมนิ ผล เม่อื ประชาชนเปน ผปู ฏิบัติ และ ขณะเดียวกนั ประชาชนควรเปน ผตู ิดตามและประเมนิ ผลรวมกัน เพือ่ จะไดรวมกันพจิ ารณา วา สง่ิ ที่

25 ดําเนินการรว มกนั นน้ั เกดิ ผลดีบรรลตุ ามเปาหมาย ทีก่ ําหนดหรือไมเ พยี งใด ควรปรบั ปรงุ อยา งไร ซ่ึงจะทาํ ใหป ระชาชนเหน็ คุณคา ของการทาํ กจิ กรรมเหลา น้นั 4.3 การมสี วนรว มของประชาชนในการประชมุ กลุมยอ ย การประชมุ กลุมยอ ยเปน การประชมุ เพ่ือระดมความคิด สาํ หรับการทํางาน อยางใด อยา งหนึ่ง โดยมีผเู ขา ประชมุ ประมาณ 4-12 คน องคป ระกอบของการประชมุ กลมุ ยอ ย 1. กาํ หนดประเด็นการประชุม 2. ผูเขาประชุมประกอบดวย 1) ประธาน 2) เลขานุการ 3) สมาชิกกลุม 3. เลอื ก และกาํ หนดบทบาทผเู ขาประชมุ เพอ่ื ทําหนา ท่ี ตา งๆ เชน ประธานที่ทาํ หนาท่ี ดําเนินการประชุม เลขานกุ ารทาํ หนา ท่สี รุปความคิดเห็นของทีป่ ระชุม จดบันทกึ และ รายงานการ ประชุม สมาชิกกลุม ทาํ หนาทแ่ี สดงความเหน็ ตาม ประเด็น 4. สถานที่กําหนดตามความเหมาะสม วิธีการประชุมกลมุ ยอย 1. ประธาน เปน ผูทําหนาท่เี ปด ประชมุ แจงหวั ขอ การประชมุ ใหสมาชิกในทป่ี ระชุม รบั ทราบ 2. ผูเขา รวมประชุม อาจชว ยกนั ต้งั หวั ขอ ยอ ยของประเด็น บางคร้ังหนว ยงาน เจา ของ เรอ่ื งท่ีจัดประชุมอาจกาํ หนดประเดน็ และหัวขอยอ ยไวใหแลว 3. ประธานเสนอประเด็น ใหสมาชิกท่ปี ระชมุ อภปิ รายทลี ะประเด็น และสรปุ ประเด็น การพูดคยุ 4. สมาชกิ ทีป่ ระชุมรว มกนั แสดงความคิดเหน็ 5. เลขานุการ จดบันทึกสรุปความคิดเหน็ ของท่ีประชุม และจดั ทาํ รายงานหลงั จาก ประชุมเสร็จส้ินแลว การมีสวนรว มของสมาชิกในการประชุมกลมุ ยอย ในการประชมุ กลุม ยอยจาํ เปน ตองอาศัยความคดิ เห็นของสมาชกิ ทุกคน ดังนั้นเพอื่ ใหก าร จัดประชุมบรรลุตามเปาหมาย สมาชกิ ในทปี่ ระชมุ ควรมสี วนรว มดังนี้ 1. พดู แสดงความคดิ เห็นพรอมเหตุผลทีละคน

26 2. ในการพูดสนบั สนุนความคดิ เห็นของผอู ืน่ ควรแสดงความคิดเหน็ และใชเ หตผุ ล ประกอบ 3. ผูเขา รวมประชมุ สามารถแสดงความคดิ เห็นคดั คา นความคดิ เห็นของผอู นื่ ได แตค วร ใชเหตผุ ลและความเปน ไปไดในการคดั คาน 4. ควรใชค าํ พูดทสี่ ุภาพ เชน ขอโทษ ขอบคุณ ในโอกาสทีเ่ หมาะสม เรอ่ื งที่ 5 ระดบั การมีสวนรว มของประชาชนในการพัฒนาชุมชน การมสี วนรว มของประชาชนในกระบวนการพัฒนาชมุ ชนทุกขั้นตอนของการพฒั นา ตง้ั แตการรว มคดิ รว มวางแผน รว มปฏบิ ตั ิ รว มกาํ กับติดตาม รวมประเมินผล และรบั ผลประโยชน จากการพัฒนาหากการพัฒนาเปนไปตามกระบวนการดังกลาว ถอื วา การพฒั นาน้ันเปน ของ ประชาชนโดยแทจ รงิ เพราะเปนสงิ่ ทีช่ ้ีใหเ หน็ ถึงความพรอม ความต่นื ตัว ความรวมมือ ความ เขมแข็ง เปนปกแผน ของชุมชนซ่ึงเปนตวั บงชี้ของการพฒั นาแบบพึง่ พาตนเอง ระดับของการมสี ว นรวมแบง ไดเ ปน 3 ระดับดงั น้ี คือ 1. ระดับเปน ผูเ ปน ผูร ับประโยชนจากการพัฒนา เปนการเขามามสี ว นเกีย่ วของ ดว ยการ รับผลประโยชนเ พยี งอยา งเดยี ว ถือเปน ระดับตํา่ สดุ ของการมสี วนรว ม หากชุมชนใด ประชาชนสว นใหญม ีสว นรวมในระดับนยี้ ังจําเปน ที่จะตอ งพฒั นา ความรว มมือ ความเปน ปกแผน ใหมพี ลงั เปนหน่ึงเดยี ว ยงั ไมถ อื วา เปน การพัฒนา โดยประชาชน 2. ระดับเปน ผูใหค วามรวมมือ ประชาชนเขามามสี วนเกีย่ วของโดยคอยใหความ รวมมอื กบั เจาหนา ทีร่ ัฐตามโอกาสและเวลาทีเ่ จา หนาทร่ี ัฐเปน ผกู ําหนด เปน การ ให ความรว มมอื ในระดบั ทด่ี ี แตย งั เปน ระดับท่ีประชาชนยังไมไ ดเ ปนผูตดั สนิ ใจ และลง มือปฏบิ ตั กิ ารเอง 3. ระดบั เปน ผตู ดั สินใจ ประชาชนจะเปนผูศึกษาสถานการณ และตัดสินใจทจี่ ะ ดาํ เนินการพฒั นาเรอ่ื งตา งๆ ตลอดกระบวนของการพฒั นาดว ยตนเองนบั ต้ังแต การ รวมมอื และวางแผน ปฏบิ ัติ ประเมิน และแบงปน ผลประโยชนรวมกัน เจาหนา ที่ รฐั

27 เปนเพียงผูใ หคาํ ปรึกษาหากประชาชนทส่ี วนรว มในลกั ษณะน้ีถือวา เปนระดบั สูงสุด ของการมสี วนรวม กจิ กรรม ใหผ เู รยี นทํากจิ กรรมตอ ไปนี้ 1. อธบิ ายขน้ั ตอนของการจัดทาํ แผนพฒั นาชุมชนทั้ง 3 ข้นั ตอน พรอ มยกตวั อยาง การมี สวนรวมของตนเองในการพฒั นาทองถิน่ หรอื ชมุ ชนของตนเอง 2. อธบิ ายข้นั ตอนการทําประชาพิจารณแบบพัฒนาชมุ ชน 3. หาโอกาสเขา รวมสังเกตการณ หรือมสี วนรวมในกิจกรรม การจัดทําแผนพัฒนา ชุมชน และการประชาพิจารณแผนพัฒนาชุมชน รวมทัง้ การประชุมกลมุ ยอ ย ในทอ งถนิ่ หรอื ชมุ ชน ของผเู รยี น แลว บันทึกขน้ั ตอนหรอื กระบวนการจากการ สังเกตลงในสมุดบันทกึ 4. เชิญแกนนาํ หรือนกั พฒั นาชมุ ชนมาใหความรูเ ก่ยี วกบั กระบวนการจดั ทาํ แผน พฒั นา ชุมชนพรอ มจดบันทึกข้ันตอนและกระบวนการจัดทําแผน 5. ใหสงั เกตและประเมินระดบั การมีสวนรวมในการพฒั นาชุมชนของประชาชน ใน ชุมชนของผูเรียนวาประชาชน สว นใหญม สี วนรวมอยใู นระดบั ใด 6. หาโอกาสศกึ ษาดงู านเกย่ี วกับการพฒั นาชมุ ชนในพ้ืนทีใ่ กลเคยี ง แลว นาํ ผลของ การศกึ ษามาเปรยี บเทยี บกับชมุ ชนของตนเอง 7. ใหผูเรียนแบงกลุม (ตามความเหมาะสม) สรา งสถานการณจ าํ ลองจดั ทาํ เวที ประชาคม โดยใหท ุกคนรวมกนั กําหนดประเดน็ และมีสวนรวมในการจดั เวที ประชาคม ภายใต การใหค ําปรกึ ษาแนะนาํ ของคุณครปู ระจาํ กลุม

28 บทที่ 4 การเผยแพรผ ลการปฏบิ ัติ  สาระสาํ คญั การเผยแพรผลการปฏิบัติงานตามกระบวนการพฒั นาชมุ ชนเปนขั้นตอนของการส่ือสาร ผลการดาํ เนินงานใหสาธารณชนไดรบั รู การสอื่ สารอาจเขยี นเรียบเรียงเปน รายงานผลการ ดาํ เนนิ งาน ซ่ึงมรี ูปแบบเฉพาะ นอกจากน้ีในการทํางานพัฒนาเมอ่ื เสร็จสน้ิ การวางแผน กอนทีจ่ ะ ถึงข้นั ตอนการปฏิบตั ิ จาํ เปน ตอ งเขยี นโครงการเพื่อสอ่ื สารกระบวนการดําเนนิ งานในอนาคต เพื่อ เปน เครอ่ื งมือขับเคลอื่ นไปสกู ารปฏิบัตอิ ยา งเปน ระบบและมีเปา หมาย ที่ชัดเจน  ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวัง เมือ่ ศกึ ษาบทท่ี 4 จบแลว ผเู รยี นสามารถ 1. อธิบายความหมาย ลักษณะองคประกอบสําคัญของโครงการ 2. อธิบายสวนประกอบทสี่ ําคญั หลกั การเขยี นและรูปแบบของรายงานผลการ ดาํ เนนิ งานได 3. เขยี นโครงการพฒั นาชมุ ชนได 4. สรปุ ความหมาย และความสาํ คัญของรายงานผลการดาํ เนินงานได 5. เขยี นรายงานผลการดําเนินงานพฒั นาได  ขอบขายเนอื้ หา การเขียนโครงการพัฒนาชุมชน การเขยี นรายงานผลการดําเนินงาน เรอื่ งที่ 1 เรอ่ื งท่ี 2

29 บทท่ี 4 การเผยแพรผลการปฏิบัติ กระบวนการพัฒนาชุมชนอาจเริ่มจากการจัดทําแผนพัฒนาชุมชนการเขียนโครงการ ขับเคลื่อน ไปสูการปฏิบัติตามแผนงานและโครงการนั้นๆ แลว สรปุ บทเรียนประเมินผล โครงการ เขียนรายงานผลการ ดาํ เนนิ งาน แลว ดาํ เนินการพัฒนาตอไปตามกิจกรรมตางๆ ของโครงการโดยการเขียนโครงการเพื่อการนําไป ปฏบิ ัติตอไป การเขียนโครงการและรายงาน ผลการดําเนินงานมีลักษณะเฉพาะและมีรูปแบบที่แตกตางกัน ผูเขียนจําเปนตองศึกษาองค ประกอบ และรายละเอยี ดใหชดั เจนจงึ จะลงมอื เขยี นได เรอ่ื งท่ี 1 การเขียนโครงการพัฒนาชมุ ชน 1.1 ความหมายของโครงการ มผี ูใหความหมายของคําวา “โครงการ” ไวห ลายความหมาย ดังนี้ 1) โครงการ หมายถงึ กลุมกิจกรรมท่ีตอบสนองวตั ถุประสงค โดยมีเวลา เรม่ิ ตน และสิ้นสดุ ทช่ี ัดเจน (ศนู ยเทคโนโลยที างการศึกษา. 2545 : 37) 2) โครงการ หมายถึง กลุมกิจกรรมท่มี คี วามสมั พนั ธเก่ยี วขอ งกนั มุงตอบ สนอง เปา หมายเดียวกนั มรี ะยะเวลาเริ่มตน และสน้ิ สุดท่ีชัดเจน เปน งาน พเิ ศษทต่ี า งจากงาน ประจาํ (ทวปี ศิรริ ัศมี. 2544 : 31) 3) โครงการ หมายถึง กิจกรรมทจ่ี ัดทาํ ขึ้น เพือ่ จะแสดงใหเ หน็ วา จะทาํ งาน อะไร อยา งไร ท่ีไหน เม่อื ไร และจะเกดิ ผลอยา งไร (กรมการศกึ ษานอก โรงเรียน. 2537 : 7) สรุปความหมายของโครงการ หมายถึง กลมุ กิจกรรมอยา งใดอยา งหนึง่ ทจ่ี ดั ทําข้ึน โดยมี วตั ถปุ ระสงค การปฏบิ ตั ิ และชว งเวลาท่ีชดั เจน 1.2 ลกั ษณะของโครงการ

30 โครงการทีด่ ีโดยทว่ั ไปตองมีลกั ษณะทส่ี าํ คัญ ดังนี้ 1) นาํ ไปปฏบิ ตั ิได 2) สอดคลองกับสภาพสงั คม วฒั นธรรม ชุมชน 3) มรี ายละเอยี ดเพียงพอ ระบชุ ว งเวลา กลุม เปาหมายแนวทางการปฏิบัติ ทรพั ยากร (บคุ ลากร งบประมาณ ฯลฯ) 4) มีตวั บงช้ีทีน่ าํ ไปสกู ารพฒั นา 1.3 วิธพี ฒั นาโครงการ โครงการเปน กรอบการคิดวางแผนเคา โครงการทํางานในอนาคต การพัฒนา โครงการ มีขั้นตอน พอสรุปไดด ังน้ี 1) ศึกษาและวิเคราะหสภาพปจ จุบนั ของชมุ ชนเพื่อกาํ หนดปญหาและความ ตอ งการในการพฒั นา 2) กาํ หนดวัตถุประสงคแ ละเปา หมายของการทาํ งาน 3) กาํ หนดกจิ กรรมและจดั ทํารายละเอยี ดตามองคป ระกอบของโครงการ 4) กําหนดทรพั ยากร เชน งบประมาณ บคุ ลากร 5) กําหนดการตดิ ตาม/ประเมนิ ผล 1.4 โครงสรา ง/องคป ระกอบของโครงการ โดยทว่ั ไปการเขียนโครงการจะตอ งเขยี นตามหวั ขอตางๆ เพอ่ื ผเู กยี่ วขอ งทุกฝา ย จะ ไดทราบวาจะทําอะไร อยางไร ท่ีไหน เมื่อไร สาํ หรับโครงสรางหรอื องคประกอบท่ีมักใชใน การ เขยี นโครงการ มีดงั นี้ 1) ชอ่ื โครงการ ควรเขียนเปนขอความทีม่ คี วามหมายชดั เจน กระชบั และ เขาใจ งา ย 2) หลักการและเหตผุ ล ควรเขยี นลกั ษณะบรรยายรายละเอยี ดตง้ั แตส ภาพ ความ เปนมา เหตผุ ล ความจาํ เปนหลกั การมีทฤษฎี นโยบาย สถิตทิ ีเ่ ปน ขอ มลู อา งอิงประกอบ

31 3) วตั ถปุ ระสงค เปน ขอ ความที่แสดงถึงความตองการทําสิง่ หน่ึงสง่ิ ใดท่ี สอดคลอ งกับหลกั การเหตผุ ล สามารถปฏบิ ตั ิได อาจระบปุ รมิ าณหรอื คุณภาพของการดาํ เนิน งาน ดวย กไ็ ด 4) เปาหมายการดําเนนิ งาน เปน รายละเอียดทแ่ี สดงผลผลติ ของโครงการ ในเชงิ ปรมิ าณ และคุณภาพทม่ี ลี กั ษณะเหมาะสมและสอดคลอ งกบั วตั ถปุ ระสงค 5) วิธดี าํ เนนิ งาน เปน รายละเอยี ดเก่ียวกับกิจกรรมทจี่ ะปฏิบตั ิใหบรรลุตาม วตั ถปุ ระสงค กิจกรรมอาจมีมากกวา 1 กจิ กรรม โดยเขียนเรียงตามลาํ ดับ จากการเร่ิมตน จนสิน้ สุด การทํางาน แสดงระยะเวลาทช่ี ัดเจนแตละ กจิ กรรม อาจแสดงดว ยปฏิทินการปฏิบตั ิงาน 6) ระยะเวลา ควรระบรุ ะยะเวลาตง้ั แตเริม่ ตน โครงการจนเสร็จสิ้นโครงการ 7) ทรพั ยากรหรอื งบประมาณที่ใชในการดาํ เนินการ ซ่ึงตองสอดคลองกับ เปา หมายและกจิ กรรม 8) เครือขายทีเ่ ก่ียวขอ ง ระบุ กลมุ บุคคล ชุมชน หนวยงานที่เก่ียวขอ งที่สนบั สนนุ สง เสริมและสามารถขอประสานความรวมมอื ในการดําเนนิ งาน 9) การประเมนิ ผล ระบุวธิ กี ารประเมินและระยะตลอดการดําเนินงาน เชน กอ น ระหวา ง ส้ินสุดโครงการ เพือ่ จะไดทราบวางานท่จี ะทําเปนไปตามวัตถุประสงคและ เปาหมาย หรอื ไม คณุ ภาพของงานเปน อยางไร 10) ผรู บั ผิดชอบโครงการ ระบุ ชอื่ ผรู บั ผดิ ชอบ หรือหนวยงาน พรอ มหมายเลข โทรศพั ท เพ่ือความชดั เจนและสะดวกในการตดิ ตอ 11) ความสัมพนั ธกับโครงการอ่ืน ระบุ ชื่องาน หรอื โครงการ ท่ีเก่ียวขอ งของ หนวยงาน หรือชมุ ชนวามีโครงการใดบา งท่สี ัมพันธกับโครงการน้ี และเกย่ี วขอ งในลกั ษณะใด เพ่อื ความรวมมอื ในการทํางาน 12) ผลที่คาดวา จะไดรับ เปน ผลทเ่ี กดิ ผลจากการท่ีโครงการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค และเปาหมายโดยระบุถึงผลทีจ่ ะไดร บั ภายหลังการดําเนินโครงการ ผล ดังกลาวควรสอดคลองกับ วตั ถปุ ระสงคข องโครงการ

32 เร่ืองท่ี 2 การเขียนรายงานผลการดําเนินงาน การเขยี นผลการดาํ เนนิ งานของบคุ คล กลุม องคก รหรือหนว ยงาน เปน การเขยี น รายงานซึง่ มีวธิ กี ารเขียนแตกตา งกนั แตการเขียนรายงานท่สี ามารถสอื่ สารใหเขา ใจจําเปน ตองมกี าร วางแผนและเรยี บเรยี งอยา งเปน ระบบ จงึ จะทาํ ใหรายงานฉบับน้นั มีประโยชน นา อาน และ นําไปใชใ นการวางแผนไดอ ยางตอเนอื่ ง และสามารถใชเปน ขอ มูลสารสนเทศเพ่ือการ ปรบั ปรงุ พัฒนางานตอ ไป 2.1 ความหมายและความสาํ คญั ของรายงานผลการดาํ เนนิ งาน รายงาน คือ เอกสารทเี่ สนอรายละเอียดเกีย่ วกับขอ มูลพน้ื ฐาน เปา หมาย ผลการ ดําเนินงาน ปญ หา อปุ สรรค แนวทางแกไขและขอ เสนอแนะในการดาํ เนนิ งานของบคุ คล กลุม องคก ร หรือหนว ยงาน รายงานผลการดาํ เนินงานมีความสาํ คญั เพราะเปน เอกสารที่แสดงใหเ หน็ รายละเอยี ดของผลการดาํ เนนิ งานท่ผี านมาวาประสบผลสําเรจ็ ไมส ําเรจ็ อยา งไร เพราะอะไร มี อปุ สรรค ปญหาในการดําเนินงานดานใด อยา งไร จะมีแนวทางแกไ ขอยางไร หากจะพัฒนา ตอเนอื่ งจะมีขอ เสนอแนะทเี่ ปนไปไดอ ยางไร 2.2 การเขยี นรายงานผลการดาํ เนนิ งาน การเขยี นรายงานผลการดําเนินงานเปน วิธีการนําเสนอผลจากการดําเนนิ งาน โครงการใดโครงการ หนงึ่ อยา งมรี ะบบและเปนแบบแผน เพอ่ื สอื่ สารใหผเู กี่ยวของไดรบั ทราบ การ เขยี นรายงานใหมีประโยชนแ ละคุณภาพตอผอู า นหรอื ผเู กย่ี วของ ผูเขยี นรายงานตองศึกษา ทําความ เขาใจตั้งแตวธิ ีการเขียน การใชภ าษาทเี่ หมาะสมการรูจ กั นาํ เสนอขอมลู เกยี่ วกับ รายละเอยี ด และ ข้ันตอนของการดาํ เนนิ งานต้ังแตแ รกเรม่ิ จนจบ เรียงลําดบั ต้ังแตความเปน มา วตั ถปุ ระสงค วิธี ดําเนนิ งาน ปญ หาอุปสรรค พรอมขอเสนอแนะ ฯลฯ เพือ่ ส่ือสารใหผูอานเขา ใจ ตามลําดบั และ จัดพิมพเ ปนรายงานฉบับสมบูรณที่นา เชื่อถือ สามารถนาํ ไปใชอา งองิ ได

33 ขน้ั ตอนการเตรยี มการเขียนรายงาน การเขยี นรายงานท่ดี ีมคี ณุ ภาพ ตอ งมีการวางแผนและเตรยี มการอยา งเปน ลําดับ ข้นั ตอน ดังน้ี ขน้ั ท่หี น่งึ เตรยี มขอมลู ทเี่ ก่ียวขอ ง ทั้งที่เปน เนื้อหา และสวนประกอบ เชน วัตถุประสงคและขอบขายเนื้อหา รายละเอียดเนอื้ หาทคี่ รบถวน ซง่ึ ตอ งใชเ วลาในการรวบรวม ขัน้ ที่สอง กาํ หนดประเภทของผอู านรายงาน ผูเขียนจะตองทราบวารายงาน ทจี่ ดั ทาํ ขึ้นมใี ครบางที่จะเปนผอู าน เพอื่ จะไดน าํ เสนอรายงานดวยรายละเอียดจะเลอื กภาษา ที่เหมาะสม สอดคลองกับระดบั ของผูอาน ข้นั ที่สาม กําหนดเคา โครงเร่อื ง หรือ กรอบของการเขยี นรายงานเปน การ กาํ หนด หวั ขอหลักและหวั ขอ ยอ ยนน่ั เอง หวั ขอ ของเคา โครงเรอ่ื งควรครอบคลมุ ประเดน็ ท่ี ตอ งการนําเสนอ เพือ่ ชว ยใหงา ยและสะดวกตอ การเขียน สามารถเรียงลําดับเนอื้ หาหรอื ผลการดําเนินงานตง้ั แต เร่ิมตน จนจบ หลักการวางเคาโครงเรื่องในการเขียนรายงาน 1. ควรจัดเรยี งลาํ ดับหวั ขอ เรื่องอยางตอ เนอ่ื ง และสัมพันธกนั 2. การจัดเรียงหัวขอ ควรเชอ่ื มโยงกนั อยางเปนเหตุเปน ผล 3. ควรคํานึงถงึ ความสนใจของผอู าน 4. หัวขอแตล ะหวั ขอควรครอบคลมุ รายละเอียดที่ตองการนําเสนอ หลักและขอควรคํานึงในการเขียนรายงาน การเขียนรายงานทุกประเภทใหมีคุณภาพสามารถนาํ เสนอและสอื่ สารไดต รง ประเดน็ ตามท่ีตอ งการ ผเู ขยี นควรคาํ นงึ ถงึ ส่งิ ตอ ไปนี้ 1. ความถกู ตอ ง ควรนําเสนอขอมูล รายละเอียดเน้อื หาท่ถี กู ตอ ง ไมบ ิดเบอื น ความจรงิ นาํ เสนออยา งตรงไปตรงมา 2. ความกระชับ รัดกมุ ตรงประเดน็ ตรวจทานอยางละเอยี ดถ่ถี วน หลกี เล่ียง ถอ ยคาํ ท่ฟี มุ เฟอ ยวลีทีซ่ าํ้ ๆกนั คุณคาของรายงานไมไดว ัดท่ปี รมิ าณจํานวน หนา แตว ดั จากความชัดเจน ครบถว น ความตรงประเด็นของเน้อื หา

34 3. ความชัดเจนและสละสลวย โดยพจิ ารณาประโยคท่ีตอ งงา ย ถกู ตอ งตาม หลกั การเขียน หลกั ไวยากรณ และเครอ่ื งหมายวรรคตอน การยอหนา รวมทงั้ การสะกดคํา หลกี เลยี่ งการใชภาษาถอ ยคาํ ทค่ี ลุมเครอื มหี ลาย ความหมาย ควร ใชห วั ขอ ยอ ยเพือ่ ไมใหส ับสน 4. การเขยี นเรียบเรยี งรายงาน ซึ่งอาจแบงเนื้อหาจากภายในเลม เปนตอน หรอื เปนบท ตองมคี วามตอ เน่ืองกนั ตลอดทง้ั เลม เมอ่ื เขยี นตนรา งเสร็จ ควรไดอา น ตรวจทานทกุ ขอ ความ อา นแลวไมร สู กึ สะดดุ มีความตอ เน่อื ง อยางสมํ่าเสมอ ตลอดท้ังเลม 5. การนาํ เสนอขอมลู ในการเขียนรายงาน มขี อ มลู ทนี่ าํ เสนอแบงเปนสอง ประเภท คือ ขอ มลู ทเ่ี ปน จํานวน สถิติ ตวั เลข และขอ มูลท่เี ปน ขอความ บรรยาย สําหรบั การนาํ เสนอขอมูลท่ีเปนสถิติ ตวั เลข ควรนาํ เสนอใน รูปแบบ ของตาราง แผนภูมิ หรอื แผนภาพตามความเหมาะสม พรอ มทั้งมเี ลขที่และช่ือ กาํ กบั ตาราง หรอื แผนภมู ดิ ว ยเพ่ือผอู าน จะไดท ราบวา เปนขอ มูลเก่ียวกับเร่อื ง ใด นอกจากน้ี ตองระบุท่ีมาของขอมลู ใหชัดเจนอีกดว ย สว นขอ มลู ที่เปน ขอความบรรยาย ตองนาํ เสนอขอ มลู ท่ีเปนสาระสําคัญ หากขอมลู ใดท่สี ําคัญ แตเ น้อื หาไมตอ เนือ่ งกับกรอบ เคาโครงท่ีกําหนดไว ควรนําไปไวใ นภาคผนวก ทง้ั นี้เพ่อื ใหไดร ายงาน ทีเ่ ปนเอกภาพ ผอู า นอา นแลวสามารถจบั ประเด็นที่ นาํ เสนอไดช ัดเจน การนําเสนอขอ มลู ตองคาํ นงึ ถึงลําดับกอนหลัง โดยเร่มิ ตนดวย ขอมลู เบื้องตนทงี่ า ยแกก ารเขาใจกอ น แลว จงึ นําเสนอขอ มลู ท่ีซบั ซอ นกวา ตามลําดับ 6. การแบงยอ หนา โดยท่ัวไปยอหนาแตละยอ หนาจะบอกเร่อื งราวเพียง ประเด็น ใดประเดน็ หนง่ึ การจัดแบง ยอยหนา ควรเรียงลาํ ดับเพอ่ื ให เน้อื ความตอ เน่อื ง สัมพันธก นั การแบงยอหนา ขึ้นอยูกับจุดมุงหมายของ ผเู ขยี นแตละคน เชน ตอ งการส่อื สารกบั ผอู า น ตอ งการเนน ขอ ความ บางตอน ตองการชวยใหผ อู า น อา นขอ ความแตละยอ หนา ไดรวดเรว็ ฯลฯ

35 7. การอา นทบทวน ข้นั สุดทายของการเขยี น คอื อา นทบทวนสิง่ ที่เขียน ทง้ั หมด วามขี อความใดทย่ี งั ไมสมบูรณ การเรียงลําดับเร่ืองมคี วาม เชอ่ื งโยงกันหรือไม ขอความสาํ คัญทยี่ งั ไมไ ดก ลาวถงึ จะทําใหม องเห็นจดุ ทค่ี วร แกไข 2.3 รปู แบบรายงาน รปู แบบของรายงาน จะประกอบดวยสวนท่สี ําคัญ 3 สว น คือ สว นประกอบ ตอนตน สวนเนอ้ื เรอ่ื งทเ่ี ปน ตัวรายงาน และสวนประกอบตอนทาย รายงานแตล ะสว นประกอบ ดวย สวนยอยๆ ดังนี้ 1. สวนประกอบตอนตน ประกอบดว ย 1.1 ปกนอก ระบุช่อื เร่อื ง ช่อื ผทู ํารายงาน ชอ่ื หนว ยงาน 1.2 ใบรองปก เปนกระดาษเปลา 1 แผน 1.3 ปกใน มีขอความเชนเดยี วกับปกนอก 1.4 คํานาํ เปน ขอความเกริ่นทั่วไปเพ่อื ใหผอู านเขาใจขอบขายเน้ือหา ของ รายงาน อาจกลา วถงึ ความเปน มาของการสาํ รวจและรวบรวม ขอมลู และ ขอบคณุ ผใู หค วามชว ยเหลือ 1.5 สารบัญ เปนการเรียงลําดับหัวขอ ของเนื้อเรื่องพรอ มทั้งบอกเลขหนา ของหวั ขอ เรอ่ื ง 2. สวนเน้ือเรื่อง ประกอบดว ย 2.1 บทนาํ เปน สว นทีบ่ อกเหตุผลและความมุง หมายของการทาํ รายงาน ขอบขา ยของเรอ่ื ง วธิ ีการดําเนนิ การโดยยอ การศึกษาคนควาหา ขอมลู 2.2 เนอ้ื หา ถาเปน เร่ืองยาว ควรแบง ออกเปน บทๆ ถาเปนรายงานสน้ั ๆ ไม ตอ งแบง เปน บท แบงเปน หัวขอ ตอ เนือ่ งกนั ไป 2.3 สรปุ เปนตอนสรุปผลการศึกษาคน ควา และเสนอแนะประเดน็ ท่คี วร ศกึ ษาคนควา เพมิ่ เตมิ ตอไป 3. สว นประกอบตอนทา ย ประกอบดว ย 3.1 ภาคผนวก เปนขอมลู ทม่ี ใิ ชเนือ้ หาโดยตรง เชน ขอความ ภาพ สถติ ิ ตาราง ชวยเสริมรายละเอียดเพิ่มเตมิ แกเน้อื หา

36 3.2 บรรณานกุ รม คอื รายชอ่ื หนงั สือ เอกสารหรอื แหลงขอมลู อื่นๆ ทใ่ี ช ประกอบในการเขยี นรายงาน โดยเรียงลาํ ดบั ตามพยญั ชนะตัวแรก ของ ชอ่ื ผูแตง หรือแหลงขอมูล ช่ือหนงั สอื ครั้งทพี่ มิ พ จงั หวดั หรือ เมอื งที่ พมิ พ สาํ นักพิมพและปท่พี มิ พ ถา ขอมูลทง้ั ภาษาไทยและ ภาษาตา งประเทศ ใหขึ้นตน ดว ยขอมูลที่เปน ภาษาไทยกอน กจิ กรรม ใหผเู รยี นทํากจิ กรรมตอไปนี้ 1. อธบิ ายความหมายของโครงการโดยสรุป แลวบนั ทึกลงในสมุดบนั ทกึ ของผูเรียน 2. สรปุ ลกั ษณะของโครงการทด่ี แี ละวธิ พี ฒั นาโครงการ โดยบนั ทึกลงในสมดุ บนั ทึก 3. อธบิ ายองคประกอบและเขียนรายงานโครงการพฒั นาใดโครงการพัฒนาหน่งึ ใน ชุมชนของผเู รยี นโดยปรึกษากับบุคลากรของ อบต. เจาหนาท่สี ถานอี นามยั หรือ หนวยงานที่เกี่ยวของกบั การพฒั นาชุมชน ทัง้ นอ้ี าจศกึ ษาและดตู วั อยาง โครงการ ตา งๆ จากหนวยงานดงั กลาว แลว นําสงครปู ระจํากลุม 4. สรปุ ความหมาย และความสาํ คัญของรายงานผลการดําเนินงานโดยบนั ทกึ ลง ใน สมดุ บนั ทึก 5. ประสานงานกบั หนวยงานองคก รตา งๆ ในชมุ ชนของผูเ รยี น เชน อบต. โรงเรยี น สถานีอนามัย ฯลฯ เพ่อื ขอดตู วั อยา งและศึกษาเอกสารรายงานผลการดําเนินงาน หรอื คนควาจากหองสมุด 6. รวมกลมุ กับเพื่อน รวมมือกันเขียนรายงานผลการดาํ เนินงานโครงการพฒั นาตาม โครงการใดโครงการหนึ่งท่ีสนใจ แลว ฝก การนาํ เสนอและรายงานสรปุ ผลพรอม ทงั้ นาํ สง รายงานผลการดาํ เนินงานดังกลาวใหค รูประจํากลุมตรวจเพือ่ ทราบขอ ควร ปรับปรงุ และพฒั นาตอ ไป

37 บทที่ 5 การพฒั นาอาชีพในชุมชนและสงั คม สาระสําคัญ การพัฒนาอาชีพในชุมชนและสังคม มีความจําเปนตองสอดคลองสัมพันธกับตลาดแรงงานในระดบั ประชาคมอาเซียน และศักยภาพของประเทศไทย ดานทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และทําเลที่ตั้ง ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ีชวี ติ รวมถงึ ศักยภาพดานทรพั ยากรมนษุ ย โดยนาํ ศักยภาพของประเทศมา พัฒนาอาชีพในชุมชนและสังคมใน 5 กลมุ อาชีพ คอื เกษตรกรรม พาณชิ ยกรรม อุตสาหกรรม ความคิด สรา งสรรค และการบรหิ ารจัดการและการบรกิ าร ผลการเรียนรทู ่คี าดหวัง เมื่อศึกษาบทที่ 5 แลว ผูเ รียนสามารถ 1. รแู ละเขา ใจแนวโนม การพัฒนาและสงเสริมอาชีพในกลุมประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น 2. รูและเขาใจศักยภาพของประเทศไทย 3. อธิบายความสัมพันธระหวางศักยภาพของประเทศไทย เพื่อนําไปสูอาชีพในชุมชนและสังคมได ขอบขา ยเน้ือหา เรื่องท่ี 1 อาเซียนกับการพัฒนาอาชีพ เร่ืองท่ี 2 จดุ เดนของประเทศไทยในการผลักดันเศรษฐกิจสรา งสรรค เรื่องที่ 3 ศักยภาพของประเทศไทยกับการพัฒนาอาชีพ

38 บทที่ 5 การพฒั นาอาชพี ในชมุ ชนและสงั คม เรอ่ื งท่ี 1 อาเซยี นกับการพัฒนาอาชีพ การขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในอาเซียนใหมีความเจริญกาวหนาและแขงขันได ในระดบั สากล โดยเฉพาะอยางยิ่งความเคลื่อนไหวและเปลี่ยนแปลงซึ่งเกิดขึ้นอยางรวดเร็วและตอเนื่องในหลาย ดา นท่ีสงผลใหโ ลกเขาสูย คุ โลกาภวิ ตั นอ นั เปนยุคของสังคมฐานความรู กลไกความรวมมือดานการศึกษาจึงเปน สิง่ จําเปนพืน้ ฐานในการสรางอาเซียนสูก ารเปนประชาคมทีม่ ีความมัน่ คงทัง้ ทางดานเศรษฐกิจ การเมืองและ สังคม โดยเฉพาะการพัฒนาศักยภาพมนษุ ยเ พอ่ื สรางอนาคตทีร่ ุงเรอื งของอาเซยี น การพัฒนามาตรฐานอาชีพทีเ่ นนศักยภาพในอาเซียนโดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมทรัพยากรมนุษย ใหมศี ักยภาพในระดบั ภูมิภาคและระดับโลก พรอมทั้งสามารถสนองตอบ ความตองการของภาคอุตสาหกรรม ความรวมมือของอาเซียนดานการศึกษาเปนสวนหนึ่งของการจัดตั้งประชาคมอาเซียน ซึ่งมีเปาหมายทีจ่ ะยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและการพัฒนาภูมิภาคอยางยัง่ ยืนโดยมีประชาชนเปน ศนู ยกลาง สําหรับประเทศไทยประโยชนที่จะไดรับในกรอบความรวมมือกับอาเซียน ไดแ ก ความชวยเหลือดาน วิชาการ และเทคนิคภายใตโครงการตางๆ รวมทัง้ การกําหนดนโยบายทีอ่ าศัยการผลักดันรวมกันภายใตกรอบ อาเซียน นอกจากนีย้ ังเปนโอกาสในการเสริมสรางศักยภาพของประเทศ และโอกาสที่จะมีสิทธิมีเสียงในการ ผลักดันนโยบายของประเทศสูเ วทีระดับนานาชาติ ตลอดจนโอกาสในการรักษาผลประโยชนของประเทศไทย ในเวทโี ลก ความรวมมือระหวางประเทศไทยดานการศึกษาเปนไปในทิศทางที่สอดคลองกับแนวทางการปฏิรูป การศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซียน โดยเฉพาะอยางยิง่ การขยายโอกาสทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพ การศึกษา การนําโครงสรางพืน้ ฐานสิง่ อํานวยความสะดวกและเทคโนโลยีการสือ่ สารเขามารองรับการขยาย โอกาสและการยกระดับคุณภาพการศึกษาตลอดจนการบริหารจัดการทางการศึกษาในเชิงคุณภาพ เพ่ือสราง ประชาคมอาเซียนใหเปนดนิ แดนแหง ความสงบสขุ สันตภิ าพและมคี วามเจรญิ รุงเรืองทางเศรษฐกิจอยางยั่งยืน ประเทศไทยมีเศรษฐกิจแบบผสม มีรายไดหลักจากอุตสาหกรรมการสงออกสินคาและบริการ การ ทองเที่ยว การบริการ เกษตรกรรมและทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศไทยเปนประเทศทีม่ ีมูลคาการสงออกเปน อนั ดบั ท่ี 24 ของโลก และมีมูลคาการนําเขาเปน อนั ดบั ที่ 23 ของโลก ตลาดนําเขาสินคาไทยที่สําคัญ ไดแก ญ่ีปุน จนี สหรฐั อเมรกิ า มาเลเซยี สหรฐั อาหรบั เอมเิ รตส สิงคโปร ไตห วนั เกาหลใี ต ซาอดุ อิ าระเบยี และอนิ โดนเี ซีย อยางไรก็ตาม แรงงานสวนใหญของไทยอยูใ นภาคเกษตรกรรม โดยมีขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลักที่ สําคัญที่สุดของประเทศ และถือไดวาเปนประเทศที่สง ออกขา วเปนอันดับ 1 ของโลก ดวยสัดสวนการสงออกคิด เปน รอ ยละ 36 ของโลก ประเทศไทยมีพื้นที่ซึ่งเหมาะตอการเพาะปลูกกวา 27.25% ซึง่ ในจํานวนนีก้ วา 55% ใช

39 สําหรับการปลูกขาว สวนพืชผลทางการเกษตรอื่น ๆ ไดแก ยางพารา ผักและผลไมตาง ๆ รวมไปถึงมีการ เพาะเลีย้ งปศุสัตว เชน วัว สุกร เปด ไก สัตวน้ําทัง้ ปลาน้าํ จืด ปลาน้าํ เค็มในกระชัง การทํานากุง การเลี้ยงหอย รวมไปถึงการประมงทางทะเล เนื่องจากประเทศไทยมีความอุดมสมบูรณดานพืชพรรณธัญญาหารตลอดป จึงได ชือ่ วา เปน แหลง ผลิตอาหารทีส่ าํ คญั ของโลก และเปนผสู ง ออกอาหารรายใหญข องโลกเปนอนั ดบั ท่ี 5 เรอื่ งท่ี 2 จดุ เดนประเทศไทย ในการผลักดนั เศรษฐกิจสรา งสรรค การแบงอุตสาหกรรมสรางสรรคของประเทศไทยนั้น คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติแบงออกเปน 4 กลมุ 15 สาขาคือ 1. กลมุ วัฒนธรรมและประวัตศิ าสตร เชน งานฝม อื การทองเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรมและ ประวัติศาสตร ธรุ กจิ อาหารไทยและการแพทยแ ผนไทย 2. กลุมศิลปะ เชน ศลิ ปะการแสดง ทัศนศิลป 3. กลุมสือ่ เชน ภาพยนตร ส่งิ พมิ พ กระจายเสียง เพลง 4. กลุมงานสรางสรรคเพื่อประโยชนใชสอย เชน การออกแบบ แฟชั่นตางๆ อาทิ เส้อื ผา กระเปา รองเทา เครื่องประดับ สถาปต ยกรรม โฆษณา และซอฟแวรต า งๆ 2.1 การนาํ จดุ เดน ของประเทศไทย มาใชผ ลกั ดันเศรษฐกจิ สรา งสรรค ชาวตางชาติชื่นชมเมืองไทยวามีความโดดเดนดานความสามารถสรางสรรค นอกจากอาหารไทยซึ่ง เปนอาหารอรอยและเปนอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีมากในระดับโลกแลว ในเรือ่ งวัฒนธรรม เชน ดนตรี ศาสนา แฟช่ัน ศลิ ปะการตอสู (มวยไทย) วิถีการดาํ เนนิ ชวี ติ (แบบไทยพุทธ) กีฬา การละเลนตางๆ และชางไทย และที่ สําคัญอีกประการหนึ่งคือ เมืองไทยมีจุดเดนทีเ่ ห็นไดชัดเจนก็คือเรื่อง \"จิตสํานึกในการใหบริการ\" จึงนาจะ สง เสรมิ จดุ นีอ้ ยา งจรงิ จงั ในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในสาขาบริการ เชน 1. การโรงแรม 2. การแพทย พยาบาลและผูชวยในโรงพยาบาล ทั้งการแพทยตะวันตกและตะวันออก (โดยเฉพาะ แผนไทย) งานในสว นของทนั ตกรรม และศัลยกรรมความงาม 3. อาหารและบริการดานอาหาร ท่ีใชความคิดสรางสรรคมาประดิษฐหรือพัฒนาอาหารไทยให ทันสมัย ประยุกต ปรับปรุงใหดีย่ิงขึ้น มีเมนูนาสนใจ ในสวนของรานอาหารก็ตองสงเสริมใหยกระดับใหเปน มาตรฐานสากล คือ การบริหารจัดการรานอาหารเพือ่ ใหสามารถอยูไ ดอยางยั่งยืน มีการจัดการทีเ่ ปนระบบ พนกั งานเสริ ฟ ไดร ับการอบรมใหสามารถใหบริการไดในระดับมาตรฐานสากล เปนตน

40 2.2 จุดเดนของผลิตภัณฑผาในงานหัตถกรรมพื้นบาน ผาในงานหัตถกรรมพื้นบานโดยทัว่ ไปมีอยู สองลักษณะคือ ผาพื้นและผาลาย ผาพื้นไดแก ผาทีท่ อเปนสีพืน้ ธรรมดาไมมีลวดลาย ใชสีตามความนิยม ใน สมัยโบราณสีทีน่ ิยมทอกันคือ สีน้าํ เงิน สีกรมทาและสีเทา สวนผาลายนัน้ เปนผาที่มีการประดิษฐลวดลายหรือ ดอกดวงเพิม่ ขึน้ เพือ่ ความงดงาม มีชือ่ เรียกเฉพาะตามวิธี เชน ถาใชทอ (เปนลายหรือดอก) เรียกวาผายก ถาทอ ดวยเสนดายคนละสีกับสีพืน้ เปนลายขวาง และ ตาหมากรุกเรียกวา ลายตาโถง ถาใชเขียนหรือพิมพจากแทง แมพิมพโดยใชมือกด เรียกวาผาพิมพ หรือผาลาย ซึง่ เปนผาพิมพลาย ทีค่ นไทยเขียนลวดลายเปนตัวอยางสงไป พิมพที่ตางประเทศ เชน อนิ เดียผา เขยี นลายสว นมากเขียนลายทอง แตเดิมชาวบานรูจักทอแตผาพ้ืน (คือผาทอพืน้ เรียบไมยกดอกและมีลวดลาย) สวนผาลาย (หรือผายก) น้ัน เพิง่ มารูจ ักทําขึน้ ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน หรือ สมัยอยุธยาตอนปลาย การทอผานี้มีอยูในทุกภาคของประเทศ หลกั การและวิธกี ารนั้นคลา ยคลึงกันท้งั หมด แตอาจมี ขอปลีกยอยแตกตางกันบาง การทอจะทําดวยมือโดยตลอดใชเครื่องมือเครื่องใชแบบงายๆ ซึ่งตองอาศัยความ ชํานาญและความประณีต การทอผาทีช่ าวบานทํากันนัน้ ตองอาศัยความจําและความชํานาญเปนหลัก เพราะไมมีเขียนบอกไว เปนตํารา นอกจากนีแ้ ลวยังพยายามรักษารูปแบบและวิธีการเอาไวอยางเครงครัด จึงนับวาเปนการอนุรักษ ศลิ ปกรรมแขนงนไ้ี วอ กี ดว ย 2.3 สถานท่ีทองเท่ียว จุดเดนที่นาสนใจ อาณาเขตพืน้ ที่ของปาสงวนแหงชาติปาเขาพระวิหาร ปาฝง ซายลําโดมใหญ ทองที่อําเภอกันทรลักษ จังหวัดศรีสะเกษ และอําเภอน้าํ ยืน จังหวัดอุบลราชธานี สภาพ ธรรมชาติที่มีทัศนียภาพสวยงามเดนชัดเฉพาะตัวอยูห ลายแหง มีสภาพปาไมทีอ่ ุดมสมบูรณ เปนแหลงของแร ธาตุหลายชนิด ตลอดจนโบราณสถานสําคัญๆ อีกหลายจุดที่สามารถจัดใหเปนแหลงนันทนาการควรคาแก การศึกษาหาความรู และพักผอนหยอนใจไดเปนอยางดีอีกหลายแหง เชน ผามออีแดง นับเปนสถานทีต่ รงจุด ชายแดนเขตประเทศไทยติดตอกับราชอาณาจักรกัมพูชา ใกลทางขึ้นสูปราสาทเขาพระวิหารทีม่ ีทัศนียภาพ สวยงาม เปนจุดชมวิวทิวทัศนพืน้ ทแ่ี นวชายแดนราชอาณาจักรกัมพูชา และบริเวณปราสาทเขาพระวิหารไดอยาง สวยงามและกวางไกลที่สุด จุดสูงสุดของหนาผามออีแดง สามารถสองกลองชมปราสาทเขาพระวิหารไดชัดเจน มีความสวยงามและมีคุณคาทางประวัติศาสตรและโบราณสถาน และหากในอนาคตอันใกลนีป้ ระเทศ ไทย สามารถเปดความสัมพันธไมตรีกับราชอาณาจักรกัมพูชาไดแลว เชื่อวาคงไดมีการใชประโยชนรวมกัน ทัง้ สองประเทศไดอยางใกลชิดและมีคายิ่งนัก ปราสาทโดนตวล เปนปราสาท หนึง่ ทีส่ ําคัญอีกแหงหนึง่ ทีม่ ี ศิลปวัฒนธรรมนาศึกษาอยูม าก ตั้งอยูต รงเขตชายแดนของประเทศไทยอยูห างจากหนาผาเพียงเล็กนอย ประมาณ 300 เมตร สถูปคู เปนโบราณวัตถุมีอยู 2 องค ตัง้ คูอ ยูบ ริเวณทิศตะวันตกของผามออีแดง ถาเดินทาง จากผามออีแดงไปยังเขาพระวิหารก็จะผานสถูปคูน ี้ มีลักษณะเปนสี่เหลี่ยมและสวนบนกลมกอสรางดวยหิน