Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานออกเเบบ

งานออกเเบบ

Published by Waroonruedee Sosing, 2019-07-14 09:53:56

Description: งานออกเเบบ

Search

Read the Text Version

วสั ดุในชวี ิตประจําวนั

วสั ดุในชวี ติ ประจาํ วนั จัดทําโดย ด.ญ.วรณุ ฤดี โสสิงห ชั้น มธั ยมศึกษาปท ่2ี /1 เสนอ คณุ ครู ภทั ราวรรณ อุทธสงิ ห

คาํ นํา หนงั สอื เลมนี้เปน สว นหนง่ึ ของรายวิชา การออกเเบบเเละเทคโนโลยี ว22103 โดยเนอ้ื หาภายในเลมนีว้ าดวยเรอ่ื งของ วสั ดทุ มี่ อี ยใู นชวี ติ ประจําวัน ผูจดั ทาํ หวังเปนอยา งย่งิ วา งานชิ้นน้ีจะเปน ประโยชนตอผูท่ีตองการศึกษาไดไมมากก็ นอย หากมีขอผดิ พลาดประการใดผจุ ัดทาํ ตอ ง ขออภยั มาไว ณ ทีนดี้ ว ย ด.ญ.วรุณฤดี โสสงิ ห ผูจ ดั ทาํ

สารบญั 1 2 วสั ดใุ นชีวิตประจาํ วัน 3 ไมธ รรมชาติ 4 ไมประกอบ 5 6 โลหะกลุมเหล็ก 7 โลหะนอกกลุมเหลก็ 8 9 เทอรโ มพลาสติก เทอรโ มเซตติงพลาสตกิ ยางธรรมชาติ ยางสงั เคราะห

วัสดุในชีวิตประจําวัน วสั ดตุ างๆทใ่ี ชในชวี ิตประจําวันมที ั้งวสั ดุ ธรรมชาตเิ เละวัสดุสังเคราะห อาจนาํ มาใช โดยตรงหรือเเปรรปู เพือ่ ใหเ หมาะกับการใช งาน 1.วัสดุธรรมชาติ ไดจ ากสงิ่ มีชีวติ เเละ ไมมี ชีวิต เชน ไม หิน ทราย 2.วสั ดสุ ังเคราะห เกิดจากกระบวนการ สารเคมี เชน พลาสติก ยางสงั เคราะห 1.

ไมธรรมชาติ ไม เปนวัสดุท่ีหาไดต าม ธรรมชาตโิ ดยทัว่ ไป ไมเปน วสั ดุทเ่ี เข็งเเรงโดยไมทาํ มาจาก ลาํ ตนของตน ไม ไมเเบง ออก เปน 2 ประเภท คือ ไมเนอื้ แขง็ เชน ไมเต็ง ไมแ ดง ไม เนอื้ ออน เชน ไมโ อก ไม ยางพารา 2.

ไมป ระกอบ เปนผลติ ภัณฑจากไมท่ยี อ ยเปนชน้ิ ไสเปน ฝอย หรอื เเยกเปน เสนใย เเลวนํามาอัด รวมกันเขา เปน ชิน้ เปน เเผน โดยจะมีวัตถุ เช่อื มประสานดว ยหรอื ไมก ็ได จัดเปน อตุ สาหกรรมท่ีใชไ มขนาดเลก็ ตลอดจน เศษไมปลายไมใกเ ปน ประโยชนอ ยาง สาํ คญั ไมประกอบอาจเเบงเปน 3 ประเภท คือ เเผนชน้ิ ไมอดั เเผน ใบไมอ ัด เเละเเผนฝอย ไมอ ัด 3.

โลหะกลุมเหลก็ เปนวสั ดทุ มี่ กี าํ ลงั รบั การรับเเรงสงู มีความคงทนนลอดอายุการใชงาน หากมกี ารบํารงุ รักษาท่ีดี เเละมรี ูป ทรงมาตรฐานทเ่ี เมนยําไมเปลย่ี นเเป ลงงาย จงึ ถูกนาํ มาใชง านในดาน ตางๆ เชน ทําเปน เครือ่ งมอื กสกิ รรม เครื่องมอื ชาง 4.

โลหะนอกกลุมเหล็ก เปน โลหะที่ไมม เี หลก็ เปนองคประกอบสว น ใหญเชน ทองเเดง อะลูมเิ นยี ม เเมกนเี ซียม สงั กะสี 5.

เทอรโมพลาสติก เปน พลาสติกท่ีมจี ดุ หลอมเหลว และมี จุดออ นตวั มโี ครงสรางแบบสายยาว สามารถนํากลับมาใชใหมไดอกี จะเกดิ การออนตวั และหลอมเหลวเมือ่ ไดรบั ความรอ น และจะแข็งตวั เมือ่ ใหท ําให เย็นลง ดังนัน้ เทอรโ มพลาสติกจงึ เปน วัสดุท่ีมสี มบตั ิเหมาะสมสําหรบั การข้นึ รูปเปนผลติ ภัณฑต างๆ 6.

เทอรโมเซตติงพลาสติก เปนพลาสตกิ ทมี่ สี มบตั พิ ิเศษ คอื ทนทานตอการเปลี่ยนเเปลงของอณุ หภู มิเเละทนปฏิกริ ยิ าเคมีไดด ี เกิดคราบ รอย เปอ นไดย าก คงรูปหลังผานความรอน หรือเเรงดนั เพยี งครง้ั เดียว ทนตอ ความ รอนและความดัน ไมอ อนตวั และ เปลีย่ นรูปราง แตถาอุณหภูมสิ งู กจ็ ะ แตก และเปนเถา ขี้เถา สีดํา 7.

ยางธรรมชาติ คือ วัสดพุ อลมิ เมอรท ปี่ ระกอบดว ย ไฮโดรเจนเเละคารบ อน ยางเปนวัสดทุ ่มี ี ความ ยืดหยนุ สงู ยางมีตน กําเนดิ จากธรรมชาติมา จากของเหลวของพชื บางชนดิ ซง่ึ มีลักษณะ เปนของเหลวสขี าว คลา ยนํา้ นม มีสมบตั ิเปน คอลลอยด อนภุ าคเลก็ มีตวั กลางเปนนํา้ ยางในสภาพของเหลวเรียกวา น้ํายาง ยางท่ี เกิดจากพชื นี้เรียกวา ยางธรรมชาติ ในขณะ เดยี วกันมนษุ ยส ามารถสรา งยางสังเคราะหไ ด จากปโตรเลยี ม 8.

ยางสังเคราะห ไดผ ลติ ข้ึนมาในพ.ศ.1940 เน่ืองจาก ขาดแคลนยางธรรมชาตทิ น่ี าํ มาผลิต อาวธุ และปญหาการขนสงจากแหลง ผลติ ในปจ จุบนั ไดมีการพัฒนาการผลิต ยางสงั เคราะหเ พอ่ื ใหไดอยางทม่ี ี คณุ ภาพตามตอ งการในการใชง านตางๆ เชน ที่สภาวะทนตอ นา้ํ มัน ทนตอความ รอนทนตอ ความเย็น เปน ตน 9.

อา งอิง https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0% B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0 %B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0 %B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0 %B8%81 https://sites.google.com/site/plastic9911/kar -thdsxb-khwam-khaeng-hardness-test/how-its -made-steel-forgings https://scimath.org/lesson-chemistry/item/7198 -2017-06-09-12-48-14 https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0 %B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook