Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตามรอยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง

ตามรอยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง

Published by prasuthorn, 2020-05-21 23:05:54

Description: ตามรอยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง

Search

Read the Text Version



ประวัตสิ มเด็จพระเจาปราสาททอง สมเดจ็ พระเจาปราสาททองเปนกษัตริยองคที่ ๒๔ ของกรงุ ศรีอยธุ ยาและทรงเปน ผูส ถาปนาราชวงศป ราสาท ทอง ราชวงศท ่ี ๔ (ราชวงศปราสาททอง) ครองราชยระหวาง พ.ศ. ๒๑๗๒ – ๒๑๙๙ ทรงดำรงตำแหนงสำคญั ๆ ใน ราชสำนักของสมเด็จพระเจา ทรงธรรมและสมเดจ็ พระเชษฐาธิราข ไดแก ตำแหนงออกญาศรีวรวงศ และออกญาหรือ เจา พระยากลาโหมแตตอมาดวยบารมีทางการเมอื งและกำลงั คนท่ีสนบั สนนุ จงึ ไดทรงปราบดาภิเษกข้ึนครองราชยห ลงั เหตุการณแยงชงิ ราชสมบตั ิชวง พ.ศ. ๒๑๗๑ - พ.ศ. ๒๑๗๒ทรงปกครองบานเมืองดว ยพระปรชี าสามารถและความ เด็ดขาด ในชว ง ๑๐ ปแรกของการครองราชยใ หล ลุ ว งไปได เชน กรณีหวั เมืองและหวั เมอื งประเทศราชบางแหง ไมย อม สวามภิ กั ด์กิ รงุ ศรีอยธุ ยาหรือเจานายในราชวงศเกา บางพระองคอาจเปนชนวนใหขุนนางในราชสำนกั ท่มี อี ำนาจอิทธพิ ล และบารมีกอกบฏไดโดยทวั่ ไปแลว สมเดจ็ พระเจาปราสาททองทรงพยายามรักษาความสงบและทรงขยายพระราช อำนาจไปสูหวั เมืองตา ง ๆ ในบริเวณอาวไทย เน่ืองจากเมืองทาตา ง ๆ ในอา วไทยและคาบสมุทรมลายูอุดมสมบรู ณไป ดว ยทรพั ยากรทางเศรษฐกจิ การบริหารราชการแผน ดนิ ทรงปรับปรุงวิธีการปกครองใหเ ปนอันหนงึ่ อันเดียวกนั มากขน้ึ ใหขนุ นางเปน เจา เมอื งเขา มาอยูใ นกรงุ ศรี แลว สงผูร ้งั เมืองไปปกครองหวั เมอื งแทนขุนนางฝา ยปกครองมหี นาที่เขา เฝาท่ี ศาลาลกู ขนุ ในพระราชวังหลวงทุกวนั ทรงตระหนกั ถึงปญ หาทีเ่ กิดจากการทีส่ งั คมขาดกฎหมาย จงึ ตรากฎหมายขน้ึ หลาย ลักษณะ เชนพระไอยการทาส พระไอยการลกั ษณะมรดก พระไอยการลักษณะกหู น้ี และพระไอยการลักษณะอธุ รทรง บำเพญ็ พระราชกรณียกจิ ในการทำนุบำรุงพระพทุ ธศาสนา ทรงสรา งพระตำหนักและพระราชวังหลายแหงรัชกาลของ พระองคเปนชวงเวลาของความรงุ เรืองทางดา นการคา กับการตา งประเทศและการบรหิ ารราชการแผน ดินแบบรวมศนู ย จากศูนยข อมูลสมเด็จพระเจา ปราสาททอง สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา กำหนดเสน ทางทอ งเทีย่ วตามรอยสมเด็จพระเจาปราสาททอง จำแนกได ๓ อำเภอในจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา ไดแก อำเภอพระนครศรีอยธุ ยา อำเภอบางปะอิน และอำเภอนครหลวง ดังนี้ ๒

วดั ไชยวฒั นาราม ต้งั อยูนอกเกาะเมืองดาน ทศิ ตะวันตกเฉยี งใต ริมแมน ้ำเจาพระยา เวลาทำการ ๐๘.๐๐ - ๑๘.๐๐ น. คา ธรรมเนียม คนไทย ๑๐บาท ตางชาติ ๕๐บาท สมเดจ็ พระเจา ปราสาททอง ทรงสรา งวดั ไชยวฒั นาราม เมอื่ พ.ศ. ๒๑๗๓ เพ่ือประกาศ ปรางคประธาน พระองคเ ปน จักรวรรดิราชโดยสมบูรณ และเพื่ออทุ ิศพระราชกศุ ลใหแกพระราชชนนี ในบริเวณนวิ าสสถานเดิม แผนผังของวัดเปนการผสมผสานตามแบบอยุธยาตอนตน กับ อทิ ธพิ ลจากปราสาทขอม คอื อทิ ธิพลแบบศลิ ปะขอมมาใชสรา งปรางคประธาน และการใชค ติ แกนกลางจักรวาล โดยมีปรางคประธานแทนเขาพระสุเมรุ ปรางคบริวารแทนทวปี ท้ังส่ี เมรุทิศเมรุราย แทนจักรวาลอ่ืน ๆ แสดงถงึ พระราชอำนาจทางโลกทที่ รงมีชัยชนะตออาณาจกั รขอม การ ผสมผสานดังกลาวกอ ใหเ กิดลักษณะทีเ่ ปนเอกลักษณข องงานศลิ ปกรรมในสมัยสมเด็จพระเจา ปราสาททอง สิง่ กอ สรา งที่นา สนใจคอื ปรางคประธาน ปรางคบ รวิ าร เมรแุ ละระเบียงคด พระ อโุ บสถ เจดียยอ มุมไมส บิ สอง เจดียร ะฆัง ปรางคนอย ศาลา มีประติมากรรมและจิตรกรรม ไดแ กประติมากรรมภาพปนู ปนเรื่องพุทธประวตั ิ พระพุทธรูปทรงเคร่ือง ปางมารวชิ ัยในเมรุ ประตมิ ากรรมภาพปูนปน เรอ่ื งพุทธประวตั ิ ๙ ตอน จำนวน ๑๒ ภาพอยูท ผ่ี นงั ดา นนอกของเมรทุ ั้ง ๘ องค และเมรทุ ิศ ๒ องค และมมุ ๒ องค ปรางคประธาน และปรางคบรวิ าร ต้งั อยบู นฐานทักษิณเดยี วกนั ๓

ปรางคประธาน เมรุทิศเมรรุ าย วิหาร สถาปต ยกรรมหลักซ่ึงเปนประธานของวดั ไดแก กลมุ ปรางค ๕ องคป ระกอบดว ย ปรางคประธานขนาดใหญ มีปรางคบ ริวาร ขนาดยอ สว นลงมารายลอมอยทู ีม่ ุมทั้ง ๔ กลมุ ปรางคท ้ัง ๕ ลอ มรอบดวยระเบียงคด ซงึ่ มอี าคารทรงปราสาทอยูตรงกลางของ ระเบียงคดแตล ะดาน เรียกกันวาเมรุทิศ รวม อุโบสถ ตง้ั อยหู นา วัดหนาทศิ ตะวันออก หนั หนา ไปยังแมน้ำเจาพระยา การสรางวดั ในสมัยอยุธยาตอนปลายมีคติตา งจากความ นยิ มเดมิ ท่เี คยสรางอโุ บสถไวห ลงั วดั คอื เปลยี่ นมาไวหนา แทนวหิ ารและสรา งใหมีขนาดใหญข ้ึน อุโบสถตงั้ อยบู นฐานทักษิณ สี่เหลยี่ มยอมมุ สวนทายของอุโบสถสรางทับกำแพงแกว ภายในมีพระพุทธรูปปางมารวิชัยสรางดว ยหนิ ทรายประดิษฐานอยูบ น ฐานชกุ ชี บรเิ วณดา นหนา พระประธานเดิมมีพระพุทธรปู หินทรายอยบู นฐานสงู ๒ องค ปจ จบุ นั เหลือเพียง ๑ องค อโุ บสถ พระพุทธรูป ที่ประดษิ ฐานภายในเมรทุ ิศเมรรุ ายทง้ั ๘ องค มลี ักษณะของ พระพทุ ธรปู ทรงเคร่อื งตนอยางพระมหาจักรพรรดิ เปน พระพุทธรปู ปนู ปนปางมาร วิชยั สภาพชำรุดทกุ องค ประดับดว ยชดุ ฐานสงิ หท ่ีซอนกัน ๓ ฐานขาสิงหมลี กั ษณะ เพรยี วบาง สงู และประดบั ลายกระจงั ท่ีกาบสิงห ตัวฐานบัวออนโคง เล็กนอ ยคลาย ทองสำเภาฐานพระพทุ ธรปู ประดับดวยลายประจำยาม ลายดอกจอกกานแยง ลาย กลีบบวั ลายผา ทิพยใ บระกาท่ซี มุ เรือนแกว ลวดลายเหลา นีเ้ กิดข้ึนในสมยั สมเดจ็ พระเจา ปราสาททอง พระพุทธรูปทรงเครอ่ื ง ภายในเมรุทิศ และเมรุมุมจำนวน ๑๒ องค ๔

สถานท่ีทอ งเทย่ี วใกลเคยี งท่ีนาสนใจ วัดกษัตราธริ าช เปน วดั มมี าแตโ บราณไดรบั การขึ้นทะเบยี นเปน โบราณสถานเมื่อป ๒๕๔๑ ส่งิ กอสรางทีน่ าสนใจคือ พระอุโบสถ พระปรางคป ระธาน พระเจดียสี่เหล่ียมยอมมุมไมสิบสอง หอระฆัง กฏุ ิตึกแบบฝร่ังสรางในรชั กาลท่ี ๕ วัดพทุ ไธศวรรย เปนวัดเกา ไดรบั การประกาศข้ึนโบราณสถานเมื่อป ๒๔๗๘ มี ความสำคญั และคุณคา ทางประวัติ เปนวดั ทีม่ ีเขตพทุ ธาวาสและเขตสงั ฆาวาส สิง่ กอสรางที่สำคญั คือปรางคประธาน พระระเบยี ง พระอุโบสถ วิหารพระ พทุ ไธศวรรย ตำหนักพระพุทธโกษาจารย (มภี าพจิตรกรรม) และพระ อนสุ าวรยี กษตั รยิ  ๓ องค พระอนสุ าวรยี กษัตริย ๓ องค อทุ ยานประวตั ิศาสตรพระนครศรีอยุธยา ไดรบั การประกาศเปนมรดกโลกทางวัฒนธรรม ภายใตช ่ือ นครประวัติศาสตร พระนครศรีอยธุ ยาและเมืองบริวาร จากการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมยั สามัญ ครง้ั ที่ ๑๕ ณ กรงุ คารเธจ ประเทศ ตนู ีเซีย เมอื่ วันท่ี ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ นับเปนมรดกโลกตามบัญชใี นลำดับท่ี ๕๗๖โบราณสถานสำคญั ในเขตพ้นื ท่ีนี้ อาทิ พระราชวงั โบราณ วัดพระศรีสรรเพชญ วดั มหาธาตุ วัดราชบูรณะ วดั พระราม วหิ ารวัดมงคลบพิตร ครอบคลมุ พนื้ ท่ีรวม ๑,๘๑๐ ไร สง่ิ กอ สรางทีแ่ นะนำคือ พระทน่ี ั่งจักรวรรดไิ พชยนตมหาปราสาท และพระที่นัง่ วิหารสมเดจ็ เปนส่งิ กอ สรา งที่ สมเด็จพระเจาปราสาททองทรงสราง พระท่ีนงั่ วหิ ารสมเด็จ สมเด็จพระเจา ปราสาททอง ทรงสรางทดแทนบนฐานเดมิ ของพระทีน่ ั่งมงั คลาภิเษก (คือพระที่นงั่ ท่ีใชป ระกอบพิธี ปราบดาภเิ ษก) ท่ตี องอสบี าตรเกดิ ไฟไหมเสียหาย ปจ จบุ นั เหลือเพยี งรากฐาน พระทนี่ ่งั จกั รวรรดไิ พชยนต สมเดจ็ พระเจา ปราสาทองทรงโปรดใหสรา งขน้ึ เพอ่ื เปน ทปี่ ระทับ ทอดพระเนตรการฝกทหาร การประลองพล และทอดพระเนตรขบวน แหทางสถลมารค นอกจากนี้ยังใชป ระกอบพธิ ีอินทราภเิ ษก และพระ ราชพิธลี บศกั ราช ปจ จบุ นั เหลือเพียงฐานรากทม่ี เี ปน มุขยื่นออกจาก พระที่น่ัง ใชศลิ าแลงกอ ปนอฐิ พบครฑุ ปนติดอยูขางผนังมุข ๕

วดั หนาพระเมรุ ตัง้ อยนู อกเกาะเมืองดานทิศเหนือ วัดหนาพระเมรุ เปน ท่รี อดพน จากความเสยี หายไมถ ูกเผาทำลายคราว เสียกรุงคร้งั ที่ ๒ สถาปตยกรรม ประติมากรรมและศิลปกรรมตา ง ๆ ในวัดยังคงสภาพสมบูรณ เส่อื มโสมบางไปตามกาลเวลาแตไดรบั การ บรู ณะตลอดมาเปน ลำดบั จนถึงปจ จบุ ัน มสี ิง่ สง กอสรา งทสี่ ำคัญคอื อโุ บสถ พระประธาน วิหาร พระพทุ ธรปู ศิลา เกง จีน มณฑป พระคนั ธารราฐ เปน พระพทุ ธรูปศิลาขนาดใหญ ศลิ ปกรรมแบบทวารดี ไดรับอทิ ธิพล จากศิลปะสมยั ราชวงศค ุปตะของอนิ เดีย อยูในวิหารนอย ดานขาง อุโบสถ พระพทุ ธรปู นิมติ วิชิตมารโมลศี รีสรรเพชญบรมไตรโลกนาถ กรอบซุมประตูทางเขาวิหาร พระประธาน ภายในพระอุโบสถสมเด็จพระเจา ปราสาททอง นอ ย ทำดว ยไมส กั เปนลาย ทรงบรู ณะตกแตง พระประธานในพระอุโบสถเปน พระพุทธรปู ปนู ปน ปดทองลายเทพพนม ทรงเครื่องใหญฉลองพระองคของกษัตริยต ามคติในเรื่อง อยูในซุมบานละ ๓ องค สวนตรงกลางของบาน จำหลกั เปนครุฑ นาค และ สัตวต า ง ๆ ประกอบลาย พรรณพฤกษาไดอ ยา ง กลมกลืน ๖

สถานที่ทอ งเทย่ี วใกลเ คยี งท่ีนาสนใจ วดั หสั ดาวาส อยูถดั จากหนาพระเมรไุ ปทางทิศตะวันออก เดมิ เคยมีทางเดิน ติดตอกันสันนิษฐานสรางมาตั้งแตสมัยสมเด็จพระมหาจกั รพรรดิ สมัยอยุธยา ตอนตน สงิ่ กอสรางทีน่ า สนใจคือ เจดียประธานทรงลงั กา เจดียแปดเหลีย่ ม เนินวหิ าร ปจ จบุ ันทีย่ งั คงเหลือใหเ หน็ คือเจดียข นาดใหญ ๔ องค และซาก มณฑปอกี ๒ องค วดั เชงิ ทา เปนวัดสำคัญทม่ี ีความสำคัญเพราะเปนวดั ที่มีขนาดใหญม ที าวดั อยูตรงขา มกับ พระราชวังหลวง มีบันทึกการบูรณปฏสิ ังขรณวัดนใ้ี นสมยั สมเดจ็ พระนารายณมหาราช โดย เจาพระยาโกษาปาน คราวเสยี กรงุ ครั้งท่ี ๒ วัดนถ้ี ูกทำลายและถูกทิง้ ราง จนถึงรชั กาลที่ ๔ มี คหบดชี ่ือโยมแดง ภายในวัดถูกแบง เปน ๒ สวน ไดแ กกลุมโบราณสถาน และสว นสังฆาวาส สิง่ กอสรา งทส่ี ำคญั คือ อโุ บสถ วหิ าร พระปรางค เจดีย ศาลาการเปรยี ญ (มีภาพจติ รกรรมเนอ้ื หาเปนภาพพทธประวตั ิ ทศชาติชาดก เทพชมนม ฮกลกซิ่ว ภาพชีวติ ศาลาการเปรียญ พระปรางค ตัง้ อยูบนฐานไพทีขนาด ภายในศาลาการเปรียญมีธรรมาสนและสังเค็ด งานจำหลักไม ปด ใหญประดบั ดวยปรางคม ุมขนาดเลก็ ท้ัง ๔ ทองประดบั กระจก สงั เค็ด ยอดปราสาท ฝม ือประณตี งดงามมาก มมุ ทำใหม องดูคลา ยเปนปรางค ๕ ยอด ตวั เรอื นธาตปุ ระดบั ซุมจระนำประดษิ ฐาน พระพุทธรปู ปูนปน ประทับยืนท้ัง ๔ ทศิ เหนอื ข้ึนไปคือชน้ั เชงิ บาตรมีการประดับดว ย ประตมิ ากรรมปนู ปนรูปครุฑและยกั ษยืนถือ กระบอง ถัดข้ึนไปเปน สวนยอดซึ่ง ประกอบดว ยกลีบขนนุ และบันแถลงเรยี ง ้้ ๗

พิพิธภัณฑลา นของเลน เกริกยนุ พันธ เปน ของเอกชน เปด ทุกวันอังคาร - วันอาทิตย เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. หยุดทกุ วันจนั ทร คา เขาชม คนไทย ผใู หญ ๕๐ บาท เดก็ ๒๐ บาท ชาวตา งชาติ ๑๐๐ บาท จัดแบง พนื้ ทีอ่ อกเปน ๒ สวน คือสวนดานนอกอาคารพิพิธภณั ฑ จดั เปนสวน พักผอนมีรา นอาหารไวบรกิ าร และสว นทส่ี องคืออาคาร พิพธิ ภัณฑจ ัดแสดงสองชน้ั เมอ่ื กาวเขาไปสูต วั พพิ ธิ ภัณฑด า นใน ก็จะพบ กับสง่ิ ของจดั แสดงไวม ากมาย มที ้งั ของเลน ไทยยคุ เกา สมยั ตา งๆ, ของใชสมัยกอน, ของเลน สังกะสสี ารพัดรูปแบบ, โมเดลการต นู ขนาดใหญ ไมวาจะเปน อลุ ตราแมน ซปุ เปอรแมน สไปเดอรแมน เจาหนอู ะตอม เปน ตน หรอื ของเลนจำพวกทท่ี ำจากดิน ไม ผา ก็มี นอกจากนย้ี ังมสี วนของรา นขายของที่ ระลึกดวย มที ง้ั สมุดโนต แกว นำ้ เส้ือ กระเปา และของเลน สงั กะสีที่ทำเลยี นแบบของ เลน สมัยเกา พระราชวังบางปะอนิ ตามพงศาวดารกลา ววา สมเด็จพระเจา ปราสาททอง หอมณเฑียรเทวราช เปน ปรางคศลิ ายอดทรงปราสาทขอม ร.๕ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหสรางพระราชวังแหง นี้ข้นึ บนเกาะบา นเลนในลำ ทรงสรา งขน้ึ ในป ๒๔๒๓ เพ่ือทรง แมนำ้ เจาพระยา สำหรับเสดจ็ ประพาสแลวสรา งพระทน่ี ั่งไอศวรรยท ิพยอาสน อุทิศถวายแดส มเด็จพระเจาปราสาททอง พระราชวงั แหงนี้คงเปน ท่ปี ระพาสสำราญพระราชหฤทยั ของพระเจา แผน ดนิ ใน สมยั กรงุ ศรีอยุธยาตลอดมา และคงรกรา งทรุดโทรมไปแตครง้ั เสียกรงุ ศรีอยุธยา ๘ เม่ือ พ.ศ. ๒๓๑๐ เปนตน มา จนไดร ับการบูรณะฟนฟูขึน้ อีกคร้ังในสมยั รชั กาลท่ี ๔ และรัชกาลท่ี ๕ ตามลำดบั จวบจนถึงรัชกาลท่ี ๙ ปจจุบนั อยูใ นความดูแลของ สำนักพระราชวัง พระราชวังบางปะอนิ แบง เปน ๒ สว นคอื เขตพระราชฐานนอก และเขต พระราชฐานชั้นใน เขตพระราชฐานช้นั นอกประกอบดว ยพระทีน่ ่งั ซ่ึง พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั ทรงใชสำหรับออกมหาสมาคมและพระราชพิธีตา ง ๆ พระราชฐานชน้ั ในเปน ทป่ี ระทบั ของพระมหากษัตรยิ  สมเดจ็ พระอคั รมเหสี พระบรมวงศานวุ งศฝา ยในและขา บาทบริจารกิ า เปดทำการ ๐๘.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. คา ธรรมเนียม คนไทย ๕๐ บาท นักเรยี นนักศึกษา (มบี ัตร) ๒๐ บาท ภิกษสุ ามเณร ไมเสยี คา เขา ชม ตางชาติ ๑๐๐ บาท

สิง่ กอสรา งทส่ี ำคัญในเขตพระราชฐานชั้นนอก ไดแก หอมณเฑียรเทวราช พระที่น่ังไอศวรรยท ิพยอาสน พระทน่ี ่งั วโรภาษพิมาน สภาคารราชประยรู พระทนี่ งั่ ไอศวรรยท พิ ยอาสน เปน พระท่นี งั่ ปราสาทโถงกลางน้ำสรา งแบบปราสาทจตรุ มุข ปจ จุบนั เปน ที่ประดษิ ฐาน พระบรมรูปหลอสัมฤทธขิ์ องพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลาเจาอยหู ัว ฉลองพระองค เต็มยศจอมพลทหารบก ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลาเจา อยูหวั ทรงพระกรุณา โปรดเกลา ฯ ใหสรางข้ึน สภาคารราชประยูร เปน ตึกสองชน้ั ริมน้ำ สรา งขึ้นเมอื่ พ.ศ. ๒๔๑๙ สำหรบั เปน ทีป่ ระทบั ของ เขานายฝา ยหนาและขาราชบรพิ าร ปจ จุบันจัดแสดงสิง่ ของทมี่ ีผูทูลเกลา ถวายพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัว พระทนี่ ัง่ วโรภาษพมิ าน เปน พระทน่ี ง่ั ตกึ ช้นั เดียว พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจาอยหู ัว ทรงพระกรณุ โปรดเกลา ฯ ใหสรางเมื่อป พ.ศ.๒๔๑๙ ใชเ ปนที่ประทับ และมที องพระโรงเสดจ็ ออกวา ราชการภายในหอ งโถงรบั รองและหอง ทรงพระสำราญ ประดับภาพเขยี นสนี ้ำมนั สิง่ กอ สรางทส่ี ำคัญในเขตพระราชฐานช้ันในไดแ ก ประตเู ทวราชครรไล พระที่น่ังอทุ ยานภมู เิ สถยี ร หอวทิ ูรทัศนา พระท่ีนั่งเวหาศจำรญู พระตำหนักฝา ยใน อนสุ าวรียส มเดจ็ พระนางเจา สุนนั ทากุมารรี ัตน และอนสุ าวรยี ร าชานสุ รณ ประตเู ทวราชครรไล เดมิ เรียกวา ประตูเทวราชดำรงศร ตง้ั อยแู นวกำแพงดานใตเปน อาคาร ตกึ ชัน้ เดยี ว โคง ครง่ึ วงกลมใชเปนเสนทางสำหรบั เสด็จ ฯ ผา นเขาเขตพระราชฐานชน้ั ใน ปจจบุ นั ใชจ ดั นิทรรศการ ๘ ๙

พระท่นี ่ังอทุ ยานภูมิเสถียร เปนพระท่นี ่ังเรือนไมส องช้นั แบบชาเลตข องสวสิ คือมเี ฉลยี งชัน้ บนและชัน้ ลา งทาสีเขยี นออนและแกสลบั กันท้ัง องค ภายในตกแตง แบบยุโรป ดวยเครือ่ งเรือนแบบฝรั่งเศส ในป พ.ศ. ๒๔๘๑ เกิดเหตเุ พลงิ ไหมขณะซอมทาสีพระทีน่ ัง่ และในป พ.ศ. ๒๕๓๗ สมเด็จพระนางเจาสริ กิ ิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง ไดขอพระราชทานพระบรมราชานญุ าตสรา งขน้ึ ใหม หอวิฑรู ทศั นา เปน หอสงู ยอดมน ตั้งอยูกลางเกาะในพระราชอุทยาน พระบาทสมเดจ็ จลุ จอมเกลาเจาอยหู วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหส รางขน้ึ เม่ือ ป พ.ศ. ๒๔๒๔ เพือ่ ใชเ ปน หอสองกลองชมภูมปิ ระเทศและดูดาว อนสุ าวรยี  สมเด็จพระนางเจาสนุ ันทากุมารีรัตน ในป พ.ศ. ๒๔๒๓ สมเดจ็ พระนางเจาสนุ นั ทากุมารรี ัตน พระบรมราชเทวี เสดจ็ ทิวงคตเนอื่ งจากเรอื พระทน่ี ัง่ เกิด อบุ ัตเิ หตุลมลง ณ อำเภอปากเกรด็ จังหวัดนนทบรุ ี ขณะกำลังเสดจ็ ไปยงั พระราชวงั บางปะอิน ร.๕ ทรงเสยี พระทยั มาก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหสราง อนุสาวรยี หินออ นขึน้ เพอื้ เปนทร่ี ำลกึ ดวยความอาลยั รกั พรอ มทัง้ จารึกคำไวอ าลยั ทีพ่ ระราชนพิ นธดว ยพระองค เองไวท ง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ พระทน่ี ัง่ เวหาศจำรญู เปนพระท่นี ่ังสองชั้นสรางในแบบศิลปะจีน อนสุ าวรยี ราชานุสรณ อยางงดงามโดยกลมุ พอ คาชาวจีนในไทยสรา งนอมเกลา ฯ ถวาย ในป พ.ศ. ๒๔๓๐ ร. ๕ ทรงเศราโศกเสยี พระทยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยหู ัว ในป พ.ศ. ๒๔๓๒ พระที่ ดว ยทรงสูญเสียพระอคั รชายาเธอ ฯ และพระราช นัง่ องคน ม้ี ีนามตามภาษาจีนดว ยวา “เทียนเมงเตย” (เทียน – เวหา, โอรสและพระราชธดิ าถงึ ๓ พระองคในปเ ดยี วกนั เมง – จำรูญ, เตย – พระที่นัง่ ภายในหอ งกลางช้ันบนพระท่นี ั่ง คือ สมเด็จเจา ฟา สิริราชกกธุ ภณั ฑ เม่อื วนั ที่ ๓๑ ประดษิ ฐานพระทนี่ ั่งเกง ๓ องค ตดิ ตอกันทำดว ยไมแกะสลกั พฤษภาคม ๒๔๓๐ พระอัครชายาเธอพระองคเจา ลวดลายตาง ๆ ลงรกั ปด ทองชอ งตะวนั ตกประดิษฐานพระปา ย เสาวภาคนารรี ัตน เมือ่ วนั ท่ี ๒๑ กรกฎาคม จารึก (อักษรจนี ) พระปรมาภไิ ธย พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา ๒๔๓๐ สมเดจ็ เจาฟา พาหรุ ัดมณมี ัย เม่ือวนั ท่ี ๒๗ เจา อยหู วั และพระนามาภไิ ธยกรมสมเดจ็ พระเทพศิรินทรามาตย สงิ หาคม ๒๔๓๐ และสมเด็จเจาฟา ตรีเพ็ชรตุ ม ซึง่ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยหู วั ทรงพระกรณุ าโปรด ธำรง เมอ่ื วันท่ี ๒๒ พฤศจกิ ายน ๒๔๓๐ ดงั นั้นใน เกลา ฯ ใหสรา งขึ้น เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๓๓ ป พ.ศ. ๒๔๓๑ จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ให สรา งอนุสาวรยี ท่ีระลกึ ทำดวยหนิ ออ นแกะสลกั พระรูปเหมอื นไวใ กลก ับอนุสาวรียส มเด็จพระนาง เจา สนุ นั ทากุมารีรัตน พระบรมราชเทวี ชองกลางเปนที่ประดิษฐานพระพทุ ธรูปและชองตะวันออกประดษิ ฐพระปายจารึก (อักษรจีน) พระปรมาภิไธย พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา เจา อยหู วั และพระนามาภไิ ธยสมเด็จพระศรีพัชรนิ ทราบรมราชนิ นี าถซึง่ พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยหู วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหสรางขนึ้ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๗๐ ปจ จุบันพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู ัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหบำเพ็ญพระราชกศุ ลสงั เวยพระปาย ในวันตรษุ จีนทุกป ๑๐

วัดชุมพลนกิ ายาราม อยูห า งจากพระราชวังบางปะอนิ ๐.๔๗ กิโลเมตร สมเด็จพระเจาปราสาททองทรงสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๑๗๓ ทรงสรา งอุทิศนวิ าสสถานซึ่งเปน ทปี่ ระสูติ ถวายเปนพทุ ธบูชา มี สิ่งกอ สรางท่ีสำคัญไดแก พระอโุ บสถ ผนงั เขยี นภาพพทุ ธประวัติ เพดานปด ประตูหนา ตา งเขยี นภาพเปน ทองลายฉลุเปน รูปดาว บานรปู เคร่ืองบชู าของจนี ดา นนอกเขียนภาพลายรดน้ำ เจดียย อ มุมไมส ิบสอง ๒ องคดานหลงั พระอุโบสถ และพระวิหาร อยู ดา นหลงั พระอโุ บสถระหวางเจดีย ๒ องค ปจจบุ นั เปน พระอารารามหลวงชั้นโท ชนดิ วรวิหาร ศาลสมเดจ็ พระเจา ปราสาททอง เจดยี ยอมุมไมสอบสอง ๒ องคแ ละพระวหิ ารอยดู านหลังพระอุโบสถ อยบู ริเวณดา นขา งพระอุโบสถ บานประตูหนาตางดานในเขยี นภาพเปน รูป เคร่อื งบูชาของจีน ดานนอกเขยี นภาพลายรดนำ้ เพดานปด ทองลายฉลเุ ปน รปู ดาว พระประธาน ๗ องค ภายในพระอุโบสถ ฝาผนงั พระอุโบสถเขียนภาพพทุ ธประวัติ ๑๑

สถานที่ทอ งเท่ียวใกลเ คียงที่นา สนใจ วัดนิเวศธรรมประวตั ิ ต้ังอยบู นเกาะกลางแมนำ้ เจาพระยา ดานทิศใต คนละฝงกับพระราชวงั บางปะอิน พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจา อยหู วั โปรดใหส รา งเลียนแบบโบสถฝ รง่ั เมื่อป พ.ศ.๒๔๒๑ อาคารและการตกแตง ทำแบบโกธิค (Gothic) มกี ระจกสีประดับอยางสวยงาม ภายในพระอุโบสถประดิษฐาน “พระพุทธนฤมลธรรมโมภาส” เปน พระประธาน เปนการผสมผสานศิลปะแบบประเพณนี ิยมและศลิ ปะตะวนั ตกเขา ดว ยกนั มีพุทธ ลกั ษณะคลายสามัญชน นอกจากนีบ้ รเิ วณฐานชกุ ชีมลี กั ษณะเหมือนท่ีต้ังไมก างเขน แบบโบสถ และฝาผนังดา นหนาพระประธานจะเปนพระบรมฉายาลกั ษณของ รัชกาลที่ ๕ ท่ีประดับดวยกระจกสี ตลาดโกง โคง เปนคำท่ใี ชเ รียกตลาดในสมัยโบราณ ที่คนขายสนิ คา จะนั่งขายสินคาอยูบนพ้นื ดิน โดยอากปั กริ ยิ า โกง โคง ของคนไทยน้นั ทำไดสุภาพ นุมนวล ไมเหมือนใคร เปน ตลาดยอนยุคที่นา สนใจแหง หนง่ึ ซง่ึ ในอดตี เปนดานขนอน (ดานเกบ็ ภาษีในอดีต) และเปนสถานท่ี ทีม่ ีการซื้อขายแลกเปลีย่ นสนิ คา นานาชนดิ ทั้งสนิ คาในชุมชนและ สินคา และสินคาทม่ี าจากตา งเมอื งโบราณไวอ ยางเดนชดั วดั โปรดสตั ว เปนวดั ที่สรางขนึ้ ในสมยั อยุธยาสมยั สมเด็จพระเจาอยูหวั บรมโกศตอมาสมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร ในรัชกาลท่ี ๔ หลวงวงศาธิราสนิท ตนตระกลู “สนิทวงศ” ไดทำการปฏิสังขรณว ดั ในปจ จุบนั วัดน้ไี ดร ับ การอุปถมั ภจ ากทายาทของตระกูลสนทิ วงศม าโดยตลอด ในรชั กาลท่ี ๖ และ ๗ ไดน ำน้ำทีห่ นาพระอโุ บสถวัดโปรดสัตวไ ปทำพธิ พี ทุ ธมนตท่ี พระพุทธบาท โบราณสถานภายในวัดท่ีสำคัญไดแก เจดยี ป ระธาน พระอุโบสถ วหิ าร ๒ หลัง เจดยี ร าย ๖ องค แนวกำแพงแกว แนวกำแพง วัด และซมุ ประตทู างเขา – ออก เศียรพระพทุ ธรปู ใตตนโพธิ์ unseen แหงใหม ๑๒

ปราสาทนครหลวง สมเดจ็ พระเจาปราสาททองทรงโปรดใหชา งออกไปถาย แบบปราสาทพระนครในเขมร มาสรา งปราสาททองเพอ่ื ใชเปนทปี่ ระทับพักรอ นกอนท่ีจะเสดจ็ ฯ ไปนมสั การ พระพทุ ธบาทสระบรุ ี ตาปะขาวปน ไดสรางวัดนครหลวง ข้นึ โดยเอาปราสาทนครหลวงเขา ไปไวในเขตวดั รูปทรงของศลิ ปะ ๒ สมัย ๒ รูปแบบดว ยกันคือในรปู แบบปราสาททก่ี อสรางมาต้ังแตส มัยสมเด็จพระเจาปราสาททองเปน สถาปต ยกรรมทีโ่ ดดเดนมากทส่ี ุด สว นสถาปต ยกรรมทีส่ ราง ในสมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยหู วั คือการสราง มณฑปพระบาทส่ีรอย มณฑปประจำมมุ ประจำดานวหิ ารคด เกาอแ้ี บบศลิ ปะจีน ๓ ช้ัน ช้นั ที่ ๒ เปน ซุมระเบยี งลอ มรอบ และ ชนั้ บนมมี ณฑปประดิษฐานพระพุทธบาทส่รี อย ในป พ.ศ. ๒๓๕๓ ซุมคูหาระเบียงคดชัน้ ลา ง พระบาทส่รี อย มณฑปพระบาทสี่รอย ๑๓

วัดใหมป ระชมุ พล สังกดั คณะสงฆมหานกิ าย เปนวัดเมอ่ื พ.ศ. ๒๓๕๒ ตามท่เี ลาสืบกนั วา พระเจา ทรงธรรมเมอื่ คราวเสด็จไปนมัสการพระพุทธบาท จงั หวัดสระบุรี ไดเ สด็จโดยชลมารค ประทับแรมบริเวณท่ตี ้งั วดั นครหลวง สว น บริเวณที่ต้ังวดั ใหมป ระชุมพล เปน สถานทพ่ี ักแรมชองขาราชบริพาร ภายในวิหารมภี าพจิตรกรรมฝาผนงั ฝมือชา งช้นั ครูสมยั อยุธยา สง่ิ กอสรางทส่ี ำคัญไดแก พระพุทธรูปทรงเครื่อง ประดิษฐานภายในวหิ ารมภี าพจติ รกรรมฝาผนัง พระประธานประจำอุโบสถปางมารวิชยั เจดียประธานยอมุมไมส บิ สอง เจดียราย ๔ องค ซุม ประตขู องกำแพง วหิ าร หลวงพอ ทรงธรรม พระพุทธรูปประธาน ภายในวหิ าร เปนพระพุทธรปู ทรงเคร่อื ง ปางมารวิชัย ขนาดหนา ตักกวา ง 37 น้วิ สงู 51 นิ้ว สันนษิ ฐานวาสมเดจ็ พระเจา ปราสาททองสรางเปนการประกาศพระองคเ ปน จักรพรรดิราชเพือ่ สรา งความชอบ ธรรม หลวงพอทรงธรรมมีความแตกตางจากพระพทุ ธรปู ทรงเคร่อื งอ่ืน ๆ คือสวม กระบงั หนา เต้ีย มพี ระพักตรค ลา ยมนุษย ทรงพระมหาพชิ ยั มงกฎุ เกิดในสมัย สมเดจ็ พระเจาปราสาททองและเปนตนแบบการสรางพระพทุ ธรปู ทรงเครอ่ื งในยุค ตอมา ลกั ษณะทางพทุ ธศิลปของหลวงพอทรงธรรมและบัลลงั กนส้ี ามารถเทยี บได เจดยี ประธาน ลักษณะเปนเจดียย อมมุ เรือนธาตเุ ปนเรอื นธาตุ เพมิ่ มุมมซี ุมจรนำทง้ั สดี่ าน เฉพาะซุมดา นหนาเปน ประตูทางเขา สูค รรภคูหา ภายในประดิษฐานเจดียทรงระฆังขนาดเล็ก จติ รกรรมฝาผนัง ภายในวิหารวดั ใหมป ระชมุ ๑๔

สถานท่ที องเทย่ี วใกลเ คยี งที่นาสนใจ มณฑป วัดกลาง สรา งขึน้ ประมาณ พ.ศ.๒๓๓๐ ในสมยั รัตนโกสินทร ตอนตน ตัง้ อยูร ิมแมน้ำปา สกั ดา นทิศตะวนั ออกของวัดใหม ประชุมและวัดนครหลวง โบราณสถานท่สี ำคญั คือมณฑปหรอื วหิ าร สรางในสมัยรชั กาลที่ ๓ ลกั ษณะรูปทรงสี่เหลย่ี มจัตุรัส กอ อิฐถอื ปนู หลังคมุ งกระเบ้ือง ขางในบนฐานสงู กลางมณฑปได จำลองพิธีถวายพระเพลิงพระพทุ ธเจา แบบเปนสามมติ เิ สมือนจรงิ และจติ กรรมฝาผนงั รอบท้ัง ๔ ทศิ พระพทุ ธรปู ปางถวายพระเพลิง พระบาทพระพุทธเจา โผลย ืน่ ออกจาก นอกโลงทว่ี หิ าร ฝาผนังภายในมณฑปเขียนภาพจติ รกรรมฝาผนังเลา เรอ่ื งราวพทุ ธประวตั ิ ตอนพระพุทธเจาเสดจ็ ปรนิ ิพพาน กลางมณฑปมีพระ แทนยกสูงบนลวดลายบวั ควำ่ บัวหงาย มีบันไดเดนิ ข้ึนไดทัง้ ส่ที ิศ บนแทน มี โลงลวดลายทองพ้ืนสีแดงขนาดความกวา ง ๗๐ ซม. ยาว ๒ เมตร สว นตวั โลงศพมคี วามสูง ๑ เมตร มีฐานชุกชรี องรับ ที่พิเศษคอื ตรงปลายโลง ดา นทศิ ตะวนั ตก มีฝา พระบาทของพระพุทธเจา ย่ืนโผลพนโลงทองออกมาทง้ั ๒ พระบาท พระบาทแตล ะขางกวา งประมาณ ๒๐ ซม. ยาว ๔๐ ซม. กลางพระบาทมรี ปู ตรากงจักร และลายกน หอยสวยงาม ที่ปลายพระบาทมีพระกัสสัปปะยืนไหวพระบาทอยู หมบู านอรัญญิก ประกอบดว ยบา นตน โพธิ์ หมูท่ี ๖ และบานไผห นอง หมทู ี่ ๗ ตำบลทา ชา ง อำเภอนครหลวง โดยทงั้ สองหมูบ า นมชี ่ือเสียงโดงดงั เปนทีร่ จู ักกนั วา เปน แหลง ผลติ มดี ท่ีใหญที่สุดของประเทศไทย เปน กลุมชาติพนั ธชาวลาวเวยี งจนั ท ทอี่ พยพเขามาในชวงตนรตั นโกสนิ ทร พิพธิ ภัณฑหมูบานอรญั ญิก ๑๕

เสนทางท่ี 1 อำเภอพระนครศรีอยธุ ยา “วัดที่ทรงสราง พระพุทธรูปท่ที รงบรู ณะ” แผนที่ทอ งเทย่ี วในอำเภอพระนครศรอี ยธุ ยา ทีม่ า : องคการบรหิ ารสว นจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา ๑๖

เสนทางท่ี 2. อำเภอบางปะอนิ “วดั วงั ท่ที รงสราง” แผนท่ีทอ งเทยี่ วตามรอยสมเดจ็ พระเจา ปราสาททองในอำเภอนครหลวง เสนทางที่ 3 อำเภอนครหลวง “ปราสาท – พระพุทธรูป ทีท่ รงสรา ง” แผนท่ที อ งเทยี่ วตามรอยสมเด็จพระเจาปราสาททองในอำเภอนครหลวง ๑๗


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook