Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ การใช้แบบฝึกพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา

คู่มือ การใช้แบบฝึกพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา

Published by mediacm1, 2020-05-22 10:22:34

Description: คู่มือ การใช้แบบฝึกพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา

Search

Read the Text Version

คูม‹ อื การใชŒแบบฝƒกพัฒนาทักษะการแกปŒ ญ˜ หา ตามแนวทางการประเมินของ ศูนย PISA สพฐ. สาํ นักทดสอบทางการศึกษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2562

คู่มอื การใช้แบบฝึกพฒั นาทกั ษะการแก้ปัญหา ตามแนวทางการประเมินของ ศูนย์ PISA สพฐ. ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร 2562

คู่มอื การใชแ้ บบฝกึ พัฒนาทกั ษะการแกป้ ญั หา ตามแนวทางการประเมินของ จัดพมิ พ์โดย ศนู ย์ PISA สพฐ. ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สำ� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พมิ พค์ ร้ังท่ี 1 พ.ศ. 2562 จ�ำนวนพิมพ์ 10,500 เล่ม พมิ พท์ ี่ โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำกดั 79 ถนนงามวงศว์ าน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพมหานคร 10900 โทร. 0-2561-4567 โทรสาร 0-2579-5101 นายโชคดี ออสุวรรณ ผพู้ มิ พผ์ ูโ้ ฆษณา

คำ�น�ำ ตามท่ี OECD จัดให้มีการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (Programme for International Student Assessment : PISA) มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณภาพของระบบการจัดการศึกษาของประเทศ สมาชกิ และประเทศรว่ มโครงการ โดย PISA ประเมนิ ความสามารถในการใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะของนกั เรยี นทม่ี อี ายุ 15 ปี ครอบคลุม ใน 3 ดา้ น คอื การรเู้ ร่อื งการอา่ น (Reading Literacy) การรูเ้ ร่อื งคณติ ศาสตร์ (Mathematical Literacy) และการร้เู รือ่ งวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) และท�ำการประเมนิ 3 ปตี อ่ คร้งั ส�ำหรับประเทศไทย เข้ารว่ ม PISA ในลักษณะของประเทศรว่ มโครงการตง้ั แต่ PISA 2000 โดยเขา้ รว่ มการประเมนิ อย่างต่อเน่ืองจนถงึ PISA 2018 ซง่ึ จะมขี น้ึ ในเดอื นสงิ หาคม พ.ศ. 2561 โดยการประเมนิ ครงั้ นมี้ โี รงเรยี นสงั กดั สำ� นกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน เปน็ กลุม่ เปา้ หมายจ�ำนวนท้งั สิ้น 153 โรง ดังนนั้ เพือ่ ให้ผเู้ รยี นกลุม่ เปา้ หมายของการสอบ PISA 2018 มีส่อื สำ� หรับทบทวนความรู้ และฝกึ ทกั ษะ การเช่ือมโยงความรู้เพ่ือการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน ส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงได้จัดท�ำแบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมินของ PISA จ�ำนวน 2 เล่ม คือ แบบฝึกพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมินของ PISA และคู่มือการใช ้ แบบฝึกพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมินของ PISA เพ่ือให้ครูผู้สอนมีสื่อท่ีสอดคล้องกับ กรอบการประเมนิ ของ PISA ใช้เป็นแนวทางในการพฒั นาผเู้ รียน ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือการใช้แบบฝึกพัฒนาทักษะ การแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมินของ PISA จะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนและสถานศึกษา ในการใช ้ แบบฝกึ พฒั นาผเู้ รยี นอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และขอขอบคณุ คณะทำ� งานทร่ี ว่ มจดั ทำ� แบบพฒั นาทกั ษะการแกป้ ญั หา ตามแนวทางการประเมนิ ของ PISA จนส�ำเรจ็ ลลุ ว่ งดว้ ยดี (นายบญุ รักษ์ ยอดเพชร) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน



สารบัญ 1 การประเมนิ ผลนักเรยี นร่วมกับนานาชาติ 4 (Programme for International Student 5 Assessment) 5 5 แบบฝกึ พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทาง 14 การประเมินของ PISA 18 o วัตถปุ ระสงค์ของการจัดทำ� แบบฝึก 19 o นิยามของแบบฝกึ พัฒนาทกั ษะ 28 o กรอบการจดั ท�ำแบบฝึก 47 o การนำ� แบบฝกึ ไปใชใ้ นการพฒั นาผู้เรยี น 57 แนวทางการตอบของแบบฝึก 58 o แนวการตอบ : การรู้เรือ่ งการอา่ น o แนวการตอบ : การรู้เรื่องคณติ ศาสตร์ o แนวการตอบ : การรู้เรอื่ งวทิ ยาศาสตร์ เอกสารอ้างองิ คณะทำ� งาน

การประเมินผลนกั เรยี นร่วมกบั นานาชาติ Programme for International Student Assessment

การประเมินผลนกั เรยี นรว่ มกบั นานาชาติ (Programme for International Student Assessment หรือ PISA) ริเริ่มโดยองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) มีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินคุณภาพระบบการศึกษาของ ประเทศมากกว่า 80 ประเทศทว่ั โลก ในการเตรยี มความพร้อมให้เยาวชนมศี ักยภาพส�ำหรับการแขง่ ขันในอนาคต PISA ใชค้ วามรว่ มมอื และความเชย่ี วชาญของนานาชาตใิ นการวางกรอบโครงสรา้ งการประเมนิ การสรา้ งเครอื่ งมอื และการศึกษาวิจัย เพื่อประกันคุณภาพของการศึกษาวิจัยให้สามารถเปรียบเทียบกันได้ในระดับนานาชาติและ ข้อมูลที่ไดส้ ามารถชี้บอกถึงคณุ ภาพการศกึ ษาของประเทศตา่ ง ๆ ได้ จุดมุ่งหมายหลัก ๆ ของการประเมิน PISA คือ การพัฒนาตัวช้ีวัดว่าระบบการศึกษาของประเทศ ที่รว่ มโครงการสามารถให้การศึกษาเพื่อเตรยี มเยาวชน อายุ 15 ปี ใหพ้ ร้อมทจ่ี ะมีบทบาทหรอื มสี ว่ นสร้างสรรค์ และด�ำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพในสังคมได้มากน้อยเพียงใด การประเมิน PISA มีจุดหมายที่มองไปในอนาคต มากกว่าการจ�ำกัดอยู่ที่การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรที่นักเรียนได้เรียนในปัจจุบัน และมุ่งความชัดเจน ที่จะหาค�ำตอบว่านักเรียนสามารถน�ำสิ่งท่ีได้ศึกษาเล่าเรียนในโรงเรียนไปใช้ในสถานการณ์ที่นักเรียนมีโอกาส ทีจ่ ะต้องพบเจอในชวี ติ จรงิ ไดห้ รือไมอ่ ยา่ งไร ดังนั้น PISA จึงใหค้ วามสำ� คัญกบั ปัญหาของสถานการณจ์ ริงในโลก (ค�ำวา่ “โลก” ในทีน่ ี้ หมายถึง สถานการณข์ องธรรมชาติ สงั คม และวฒั นธรรมทบ่ี ุคคลนน้ั ๆ อาศยั อย่)ู PISA ประเมินผลนักเรยี นระดับโรงเรียนอย่างตอ่ เน่อื งทกุ ๆ 3 ปี กล่มุ ตวั อยา่ งของ PISA คือ นักเรียน กลุ่มอายุ 15 ปี โดยสากลถอื ว่าเปน็ วยั จบการศกึ ษาภาคบังคบั PISA เนน้ การประเมินความสามารถของนักเรียน ในการใช้ความรู้และทักษะเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตจริง หรือที่เรียกว่า “การรู้เรื่อง (Literacy)” 3 ด้าน ได้แก่ การรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy) การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และ การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) ซ่ึงการรู้เรื่องท้ังสามด้านน้ี ถือว่าเป็นสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับการเรียนรู ้ ตลอดชวี ิตและเปน็ ส่งิ ทีป่ ระชากรจำ� เป็นต้องมีเพอ่ื การพฒั นาและการแข่งขนั ทางเศรษฐกิจของประเทศ เพ่ือให้มี มาตรฐานด้านการประเมิน PISA จึงก�ำหนดความสามารถท่ีใช้เป็นเป้าหมายในการประเมิน ดังแผนภาพ การรู้เรื่องการอา่ น การรเู้ รอ่ื งคณิตศาสตร์ การรู้เรอื่ งวทิ ยาศาสตร์ การเข้าถึงและค้นคนื สาระ การคิดในเชิงคณติ ศาสตร์ การอธิบายปรากฏการณ ์ การบรู ณาการและตคี วาม ในเชงิ วทิ ยาศาสตร์ การประเมินและสะทอ้ น การใช้หลักการและ กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ การประเมนิ และออกแบบ แกป้ ญั หา กระบวนการสืบเสาะหาความร ู้ การตีความและประเมนิ ผลลพั ธ์ ทางวิทยาศาสตร์ ทางคณติ ศาสตร์ การแปลความหมายขอ้ มลู และใช้ประจกั ษพ์ ยาน ในเชงิ วิทยาศาสตร์ และก�ำหนดกรอบการประเมนิ ดงั รายละเอยี ดต่อไปน้ี 2 คูม่ อื การใชแ้ บบฝึกพฒั นาทักษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมินของ

การรูเ้ รอื่ งการอ่าน (Reading Literacy) หมายถึง ความสามารถในการท�ำความเข้าใจส่ิงท่ีอ่าน สามารถน�ำไปใช ้ ในการประเมิน การสะท้อน และมีความรักและความผูกพันกับถ้อยความเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถและศักยภาพ และการมีสว่ นร่วมในสงั คม (PISA 2018) PISA ก�ำหนดกรอบโครงสรา้ งการประเมินการรู้เรอื่ งการอ่านบนพ้นื ฐาน 3 ประการ ดงั นี้ สถานการณ์ เนอื้ เรอ่ื ง ความสามารถดา้ นการอ่าน PISA กำ� หนดสถานการณห์ รือบริบทเปน็ PISA ใหค้ วามสำ� คัญกับ 3 ลักษณะ PISA ใหค้ วามสำ� คัญกับความสามารถ วตั ถุประสงคด์ ้านการอา่ น 4 บรบิ ท ดงั น้ี ของเนอื้ เรอื่ ง ดังนี้ ด้านการอ่าน 3 ลักษณะ (PISA 2015) ดังน้ี o บรบิ ทส่วนตวั o ส่อื ทัง้ ท่เี ป็นสิง่ พิมพ์และส่อื ดจิ ทิ ัล o การเขา้ ถงึ และค้นคนื สาระ o บรบิ ทสาธารณะ o รูปแบบของเนอื้ เรื่อง o การบูรณาการและการตีความ o บรบิ ทการงานอาชพี o สำ� นวนภาษาของเนอื้ เรือ่ ง o การสะทอ้ นและประเมิน o บริบทการอ่านเพื่อการศึกษา การร้เู รอ่ื งคณติ ศาสตร์ (Mathematical Literacy) หมายถงึ ความสามารถของบุคคลในการคิด ใช้ และตคี วาม คณติ ศาสตรใ์ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ ทห่ี ลากหลาย รวมถึงการให้เหตผุ ลอย่างเปน็ คณติ ศาสตร์ ใชแ้ นวคดิ และกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ในการอธิบาย และทำ� นายปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ (PISA 2012) PISA ก�ำหนดกรอบโครงสรา้ งการประเมินการรู้เร่ืองคณติ ศาสตร์ 3 ดา้ น ดังตาราง ความทา้ ทายในชีวิตจรงิ (บรบิ ท) สว่ นตวั การงานอาชีพ สงั คม และวทิ ยาศาสตร์ เนอื้ หาคณติ ศาสตร์ การเปลยี่ นแปลงและความสมั พนั ธ์ ปรมิ าณ ปรภิ มู แิ ละรปู ทรง และความไมแ่ นน่ อนและขอ้ มลู กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ การคดิ สถานการณป์ ญั หาในเชงิ คณติ ศาสตร์ การใชห้ ลกั การและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ แกป้ ัญหา และการตคี วามและประเมินผลลพั ธท์ างคณติ ศาสตร์ และกำ� หนดความสามารถพนื้ ฐานทางคณติ ศาสตรท์ ส่ี นบั สนนุ การแกป้ ญั หาดว้ ยกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ประกอบดว้ ย การสื่อสาร การท�ำให้เป็นคณิตศาสตร์ การแสดงแทน การให้เหตุผลและสรา้ งข้อโต้แย้ง การสร้างกลยุทธ์เพ่ือแก้ปัญหา การใชส้ ัญลกั ษณ์ ภาษาท่ีเปน็ ทางการภาษาเทคนิค และการด�ำเนนิ การ และการใชเ้ ครอ่ื งมือทางคณติ ศาสตร์ การรเู้ รอ่ื งวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) หมายถงึ ความสามารถในการเชอื่ มโยงสง่ิ ต่าง ๆ เขา้ กบั ประเดน็ ทางวิทยาศาสตร์ และแนวคดิ ทางวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งไตรต่ รอง (PISA 2015) PISA ก�ำหนดกรอบโครงสร้างการประเมินการรเู้ ร่อื งวิทยาศาสตร์ 4 ดา้ น ดงั แผนภาพ สถานการณว์ ิทยาศาสตรแ์ ละบริบท สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ ความรแู้ ละเจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ ประเดน็ วิทยาศาสตร์ ในบริบท o การอธิบายปรากฏการณ์ในเชงิ ความรทู้ างวิทยาศาสตร์ o สขุ ภาพและโรคภยั o สว่ นตัว วทิ ยาศาสตร์ o เนอ้ื หา o กระบวนการ o การไดม้ าของความรู้ o ทรพั ยากรธรรมชาติ o สังคม/ชาติ o การประเมนิ และออกแบบกระบวนการ o คุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม o โลก สืบเสาะหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ o อนั ตราย o การแปลความหมายข้อมลู และ o ความสนใจในวทิ ยาศาสตร์ o ความก้าวหน้าของ ใช้ประจกั ษ์พยานในเชงิ วทิ ยาศาสตร์ o ให้ความสำ� คัญกบั วิธีการทางวทิ ยาศาสตร ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทีน่ ำ� ไปสูก่ ารสืบเสาะหาความรู้ o ตระหนกั ถงึ สง่ิ แวดล้อม คูม่ อื การใช้แบบฝกึ พัฒนาทกั ษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ 3

แบบฝึกพัฒนาทกั ษะการแก้ปญั หา ตามแนวทางการประเมินของ PISA

แบบฝึกพฒั นาทกั ษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ PISA วตั ถปุ ระสงค์ของการจัดทำ� แบบฝกึ การจดั ทำ� แบบฝกึ พฒั นาทักษะการแกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมนิ ของ PISA ครง้ั นีม้ ีวตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื 1. พฒั นาสอ่ื สำ� หรบั ทบทวนความรแู้ ละฝกึ ทกั ษะการเชอื่ มโยงความรเู้ พอื่ การแกป้ ญั หาในสถานการณ ์ ต่าง ๆ ที่เกีย่ วข้องกบั การดำ� เนนิ ชวี ิตประจ�ำวนั ทงั้ ด้านการรเู้ ร่อื งการอ่าน การรเู้ รื่องคณติ ศาสตร์ และการรเู้ ร่อื ง วทิ ยาศาสตร์ 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียนกลุ่มเปา้ หมายการสอบ PISA ให้มีทักษะและความสามารถสอดคล้อง กบั การประเมนิ PISA และมีความคนุ้ เคยกบั กระบวนการแกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมินของ PISA นิยามของแบบฝึกพฒั นาทักษะ แบบฝึกพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมินของ PISA หมายถึง แบบฝึกที่จัดท�ำข้ึน เพอ่ื พฒั นาทกั ษะและความสามารถของนกั เรยี นทน่ี ำ� ไปสคู่ วามสามารถการแกป้ ญั หาตามนยิ ามและกรอบโครงสรา้ ง การประเมินการร้เู รื่องการอา่ น คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร ์ กรอบการจัดทำ�แบบฝกึ องิ ตามกรอบโครงสร้างการประเมนิ ของ PISA แต่ละด้าน ดังนี้ การรเู้ รอื่ งการอา่ น : แบบฝกึ พฒั นาทกั ษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ PISA ด้านการรู้เร่อื งการอ่าน กำ�หนดกรอบในการจัดทำ�แบบฝกึ ดังน้ี บรบิ ท : ส่วนตวั สาธารณะ อาชีพ เพ่ือการศึกษา เป้าหมายการพัฒนา/ฝึก : ทักษะ/วิธีการคิดแก้ปัญหา/พฤติกรรมท่ีสะท้อนถึงกลยุทธ์ที่น�ำไปสู ่ ความสามารถด้านการอ่านตามแนวทางการประเมินของ PISA 3 ด้าน ได้แก่ การเข้าถึงและค้นคืนสาระ การบรู ณาการและการตีความ และการสะทอ้ นและประเมิน โครงสร้างของแบบฝึก : แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมินของ PISA ด้านการร้เู รอื่ งการอา่ น มโี ครงสรา้ งของแบบฝกึ ประกอบด้วย 2 สว่ น ดังนี้ สถานการณ์ประกอบแบบฝึก : เรื่องราว เหตุการณ์ ที่น�ำเสนอให้อ่านครอบคลุมตาม กรอบโครงสร้างการประเมนิ ดา้ นการรูเ้ ร่อื งการอา่ น ชุดค�ำถาม : ข้อค�ำถามเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านของผู้เรียนไปสู่ความสามารถด้านการอ่านตาม แนวทางการประเมนิ ของ PISA ด้านการเขา้ ถงึ และคน้ คนื สาระ การบรู ณาการและการตคี วาม และการสะทอ้ น และประเมนิ คมู่ ือการใชแ้ บบฝกึ พฒั นาทักษะการแก้ปญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ 5

ตวั อยา่ ง แบบฝึกทกั ษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมินของ PISA ดา้ นการรเู้ รือ่ งการอ่าน “โรคซมึ เศรา้ ” เปน็ สถานการณป์ ระกอบแบบฝกึ พฒั นาทกั ษะ ด้านการอ่านที่มีลักษณะตามกรอบโครงสร้างการประเมิน ของ PISA ดา้ นการร้เู ร่อื งการอา่ น ดงั น้ี บรบิ ท : สงั คม เนอื้ เรอ่ื ง : สื่อ : สง่ิ พิมพ์ รปู แบบ : รูปแบบผสม (ต่อเนอ่ื งและไมต่ ่อเนอื่ ง) ส�ำนวนภาษา : อธิบายให้ความรเู้ กย่ี วกบั โรคซมึ เศรา้ สถานการณ์ “โรคซึมเศร้า” ประกอบด้วยชุดค�ำถามเพ่อื พฒั นาความสามารถด้านการอ่าน ดังน้ี ชดุ คำ�ถามท่ี 1 ค�ำถามท่ี 1.1 คนไทยในวัยใดปว่ ยเป็นโรคซึมเศร้ามากท่ีสดุ คำ� ถามที่ 1.2 ผลการส�ำรวจปี 2551 ช่วงอายุเท่าใดท่ีเพศหญิงท่ีมีความเส่ียงเป็นโรคซึมเศร้ามากกว่า เพศชายมากท่ีสดุ ค�ำถามที่ 1.3 ใหบ้ อกอาการของโรคซึมเศรา้ มาอย่างน้อย 3 อาการ ชุดค�ำถามที่ 1 พัฒนาความสามารถการอ่านด้าน “การเข้าถึงและค้นคืนสาระ” ซ่ึงสามารถอ่าน และหาคำ� ตอบได้จากเน้อื เรอ่ื งทอี่ า่ น 6 คมู่ ือการใช้แบบฝึกพัฒนาทกั ษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมนิ ของ

ชดุ คำ�ถามที่ 2 คำ� ถามท่ี 2.1 ใหน้ ักเรยี นอธิบายความหมายของแผนภาพในกรอบขอ้ ความ คำ� ถามที่ 2.2 ขอ้ สรุปใดไม่สอดคลอ้ งกับแผนภาพ “ความชุกของโรคซึมเศรา้ ในคนไทย ปี 2551” ค�ำถามที่ 2.2 จงบอกจุดประสงค์ของผเู้ ขยี นในการใส่แบบประเมนิ โรคซึมเศร้าด้วยตนเองในเนอ้ื เร่ือง ชุดค�ำถามที่ 2 พัฒนาความสามารถการอ่านด้าน “การบูรณาการและการตีความ” ต้องอาศัย การอ่านเพ่ือสร้างความเข้าใจให้รู้เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของการน�ำเสนอเน้ือหาแต่ละส่วนในเนื้อเร่ือง เพอื่ ตอบคำ� ถาม ชดุ คำ�ถามท่ี 3 คำ� ถามท่ี 3.1 นกั เรยี นคิดวา่ เพราะเหตใุ ด คนวยั ท�ำงาน จึงเป็นกลุ่มคนทีป่ ่วยเปน็ โรคซึมเศร้ามากท่สี ดุ คำ� ถามท่ี 3.2 จากผลการส�ำรวจ ความชุกของโรคซึมเศร้าในคนไทย ตามแผนภาพ เพศหญิงมีความชุก ของโรคซึมเศร้ามากกว่าเพศชายทุกช่วงอายุ ยกเว้นอายุตั้งแต่ 80 ปีข้ึนไป เพศชายและ เพศหญงิ มคี วามชกุ ของโรคซมึ เศร้าเท่ากนั นกั เรยี นคิดวา่ มีสาเหตุใดบา้ งท่ีท�ำให้เพศชายและเพศหญิงอายุ 80 ปขี ึ้นไป มีความชุกของ โรคเทา่ กนั (ตอบมา 2 ข้อ) คำ� ถามท่ี 3.3 1. ให้นกั เรยี นประเมินและสรุปผลการประเมนิ ตนเอง ผลการประเมนิ ของนักเรยี นเป็นอย่างไร 2. จากผลการประเมินตนเองในข้อ 1 นักเรียน จะปฏบิ ตั ิตนอย่างไร ชุดค�ำถามที่ 3 พัฒนาความสามารถการอ่านด้าน “การประเมินและสะท้อน” ต้องอาศัยการอ่าน เพ่ือสร้างความเข้าใจให้รู้เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของการน�ำเสนอเน้ือหาแต่ละส่วนในเน้ือเร่ือง และแสดง ความเหน็ ของนักเรียนโดยใช้ความรหู้ รือประสบการณข์ องนกั เรียนประกอบในการสรา้ งค�ำตอบ คู่มือการใชแ้ บบฝึกพัฒนาทกั ษะการแก้ปญั หาตามแนวทางการประเมินของ 7

การรเู้ รอื่ งคณติ ศาสตร์ : แบบฝกึ พฒั นาทกั ษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ PISA ด้านการรูเ้ ร่อื งคณิตศาสตร์ ก�ำหนดกรอบในการจดั ท�ำแบบฝกึ ดงั น้ี บริบท ไดแ้ ก่ สว่ นตัว สงั คม การงานอาชพี และวิทยาศาสตร์ เนื้อหาคณิตศาสตร์ ได้แก่ สาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นทส่ี อดคลอ้ งกบั กรอบการประเมนิ ของ PISA ใน 4 กลมุ่ ได้แก่ ปรมิ าณ การเปลย่ี นแปลงและความสมั พนั ธ ์ ปรภิ ูมิและรปู ทรง และความไม่แนน่ อนและขอ้ มลู เป้าหมายการพัฒนา/ฝึก ได้แก่ o ความสามารถพ้ืนฐานทางคณติ ศาสตร์ ดังน้ี การสอ่ื สาร (Communication) การทำ� ให้เปน็ คณิตศาสตร์ (Mathematising) การแสดงแทน (Representing) การใหเ้ หตผุ ลและการสร้างข้อโต้แย้ง (Reasoning and Arguing) การสร้างกลยุทธเ์ พื่อแก้ปญั หา (Devising strategies for Problem Solving) การใชส้ ญั ลกั ษณ์ ภาษาคณติ ศาสตร์ หรอื ภาษาเทคนคิ และการดำ� เนนิ การ (Using symbalic, formal and technical language and operations) การใช้เคร่อื งมือทางคณิตศาสตร์ (Using Mathematical tools) o กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ การคิดสถานการณข์ องปัญหาในเชงิ คณิตศาสตร์ การใช้หลักการและกระบวนการทางคณิตศาสตรแ์ ก้ปญั หา การตีความและประเมินผลลัพธท์ างคณติ ศาสตร์ โครงสร้างของแบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมินของ PISA ด้านการรู้เร่ือง คณติ ศาสตร์ มโี ครงสรา้ งของแบบฝกึ ประกอบดว้ ย 2 สว่ น ดงั น้ี o สถานการณ์ประกอบแบบฝึก หมายถึง เร่ืองราว เหตุการณ์ หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ในชวี ติ ประจ�ำวนั ซึ่งมีคณติ ศาสตร์เกี่ยวข้องอยูใ่ นการแกป้ ัญหา o ชุดค�ำถาม : ข้อค�ำถาม/สถานการณ์จ�ำลองปัญหาในชีวิตประจ�ำวัน ให้นักเรียนได้เชื่อมโยง คณิตศาสตร์ไปใช้ด้วยกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 3 กระบวนการ คือ การคิดสถานการณ์ของปัญหา ในเชงิ คณติ ศาสตร์ การใชห้ ลกั การและกระบวนการทางคณติ ศาสตรแ์ กป้ ญั หา และการตคี วามและประเมนิ ผลลพั ธ์ ทางคณติ ศาสตร์ 8 คูม่ ือการใชแ้ บบฝึกพฒั นาทักษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมินของ

ตัวอยา่ ง แบบฝกึ ทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมินของ PISA ดา้ นการรู้เรอ่ื งคณติ ศาสตร์ “จ�ำนวนนักท่องเที่ยวรายปี” เรียกว่า สถานการณ์ประกอบแบบฝึก น�ำเสนอข้อมูล นกั ทอ่ งเทย่ี ว 3 ชาตทิ เ่ี ขา้ มาเทยี่ วในประเทศไทย ระหว่างปี 2545 - 2558 คือ จีน เอเชีย และยุโรป น�ำเสนอข้อมูลในรูปของกราฟเส้น ดังนั้น ความรู้ทางคณิตศาสตร์ท่ีสามารถสร้าง ค�ำถามได้จากสถานการณ์ คือ “การอ่าน กราฟเสน้ ” (ความไมแ่ นน่ อนและขอ้ มูล) สถานการณ์ “จ�ำนวนนักท่องเที่ยวรายปี” ประกอบด้วยชุดค�ำถามเพ่ือพัฒนากระบวนการทาง คณิตศาสตร์ จำ� นวน 2 ชุดค�ำถาม ดงั น้ี ชุดคำ�ถามที่ 1 1.1 ปี 2552 - 2558 จ�ำนวนนกั ท่องเท่ยี วกลุ่มประเทศจีนมีการเปลยี่ นแปลงอยา่ งไร จงอธิบาย 1.2 เพราะเหตุใด สำ� นกั งานสถิตแิ หง่ ชาตจิ ึงเลือกใช้วธิ ีการน�ำเสนอขอ้ มลู ดว้ ยกราฟเส้น 1.3 ชว่ งปี 2545 - 2552 และปี 2552 - 2558 จำ� นวนนักท่องเท่ยี วในกล่มุ ประเทศจีนมกี ารเปลย่ี นแปลง แตกตา่ งกนั อย่างไร จงอธิบาย ชุดค�ำถามท่ี 1 พัฒนากระบวนการทางคณิตศาสตร์ด้าน “การตีความและประเมินผลลัพธ์ทาง คณิตศาสตร์” โดยนักเรียนต้องใช้ความรู้และความเข้าใจเก่ียวกับ “การอ่านกราฟเส้น” เพ่ือตีความหมายของ เสน้ กราฟทเ่ี กดิ การเปลย่ี นแปลงแตล่ ะปี ซง่ึ จะหมายถงึ การเปลยี่ นแปลงจำ� นวนนกั ทอ่ งเทย่ี ว ประกอบดว้ ยคำ� ถาม ย่อย 3 ขอ้ ท่ีเรียงล�ำดับจากค�ำถามท่งี า่ ยและตอ้ งใชก้ ระบวนการคดิ ทางคณติ ศาสตร์มากขึน้ ตามลำ� ดบั คู่มอื การใชแ้ บบฝกึ พฒั นาทกั ษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ 9

ชุดคำ�ถามท่ี 2 สถานการณ์เพ่มิ : ปี 2561 กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกีฬา คาดการณว์ ่าจะมจี �ำนวนนกั ท่องเทย่ี ว จากทั้ง 3 กลมุ่ ประเทศเพ่มิ จากปี 2558 ร้อยละ 50 โดยจ�ำนวนนักท่องเท่ยี วท่เี พิม่ ข้ึน เป็นนกั ทอ่ งเท่ยี ว ในกลมุ่ ประเทศจนี รอ้ ยละ 50 กล่มุ ประเทศ Asean ร้อยละ 30 และกลมุ่ ประเทศยโุ รป รอ้ ยละ 20 2.1 จำ� นวนนักทอ่ งเทีย่ วท่เี ขา้ มาเทยี่ วในประเทศไทย ปี 2561 ประมาณกี่คน จงแสดงวธิ ที ำ� 2.2 จำ� นวนนกั ทอ่ งเที่ยวจากกลุม่ ประเทศจีนท่ีเขา้ มาเทย่ี วในประเทศไทย ปี 2561 ประมาณกค่ี น จงแสดงวิธที ำ� 2.3 จ�ำนวนนักท่องเท่ียวจากกลุ่มประเทศยุโรปท่ีเข้ามาเที่ยวในประเทศไทย ปี 2561 ประมาณกี่คน จงแสดงวิธที ำ� 2.4 จ�ำนวนนักท่องเท่ียวจากกลุ่มประเทศ Asean ท่ีเข้ามาเท่ียวในประเทศไทย ปี 2561 ประมาณกี่คน จงแสดงวธิ ีทำ� 2.5 นักเรียนน�ำเสนอข้อมลู เแสดงจ�ำนวนนักท่องเทย่ี วท่ีเข้ามาเท่ยี วในประเทศไทย ปี 2561 โดยใช้รูปแบบ/ วิธีการทเี่ หมาะสม ชุดค�ำถามที่ 2 พัฒนากระบวนการทางคณิตศาสตร์ด้าน “การใช้หลักการและกระบวนการทาง คณติ ศาสตรใ์ นการแกป้ ญั หา” โดยใหน้ กั เรยี นใชค้ วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั “รอ้ ยละและแนวโนม้ การเปลยี่ นแปลง ของกราฟ” ซ่ึงมกี ารใหส้ ถานการณ์เพ่มิ เพ่ือใหม้ ขี ้อมลู เพยี งพอท่ีจะสรา้ งปญั หา ประกอบด้วยคำ� ถามย่อย 4 ขอ้ ท่ีแต่ละข้อมีความเก่ียวเนื่องกัน และค�ำถามท่ี 2.5 พัฒนากระบวนการด้าน “การคิดให้เป็นคณิตศาสตร์” โดยนักเรยี นต้องพิจารณาขอ้ มลู เลอื กวิธกี าร และน�ำเสนอข้อมูลท่ีได้จากการแกป้ ัญหาในขอ้ 2.1 - 2.4 10 คมู่ ือการใชแ้ บบฝึกพฒั นาทกั ษะการแก้ปญั หาตามแนวทางการประเมินของ

การรู้เร่ืองวิทยาศาสตร์ : แบบฝึกพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมิน ของ PISA ดา้ นการรู้เร่ืองวิทยาศาสตร์ กำ� หนดกรอบในการจดั ท�ำแบบฝึก ดงั นี้ สถานการณ์ เกี่ยวกับประเด็นวิทยาศาสตร์ในชีวิตจริง ในประเด็นเกี่ยวกับสุขภาพและโรคภัย ทรพั ยากรธรรมชาติ คุณภาพส่งิ แวดลอ้ ม อนั ตราย และความก้าวหน้าของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความรู้วิทยาศาสตร์ตามตัวช้ีวัดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วย ความรู้ด้านเนื้อหาวิทยาศาสตร์ ความรู้ด้านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และความรู้เก่ียวกับ การได้มาของความร้วู ทิ ยาศาสตร์ เป้าหมายการพัฒนา/ฝึก ได้แก่ ความสามารถในการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ใน 3 ลักษณะ ได้แก่ ใช้เพ่อื อธบิ ายปรากฏการณใ์ นเชงิ วิทยาศาสตร์ ใช้เพ่อื ประเมนิ และออกแบบกระบวนการสบื เสาะหาความร้ ู ทางวิทยาศาสตร์ และใชใ้ นการแปลความหมายข้อมลู และประจักษ์พยานในเชงิ วทิ ยาศาสตร์ โครงสร้างของแบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมินของ PISA ด้านการรู้เรื่อง วทิ ยาศาสตร์ มโี ครงสร้างของแบบฝกึ ประกอบดว้ ย 2 ส่วน ดังนี้ o สถานการณ์ประกอบแบบฝึก หมายถึง เรื่องราวหรือเหตุการณ์เกี่ยวกับสุขภาพและโรคภัย ทรพั ยากรธรรมชาติ คณุ ภาพส่ิงแวดล้อม อันตราย และความกา้ วหน้าของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี o ชุดค�ำถาม : ข้อค�ำถาม/สถานการณ์ปัญหาจ�ำลองท่ีน�ำเสนอเพ่ือให้นักเรียนได้เช่ือมโยง กบั ประเดน็ ทางวทิ ยาศาสตร์แล้วน�ำมาใชใ้ นการแกป้ ญั หาหรืออธิบาย ตัวอยา่ ง แบบฝกึ ทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมนิ ของ PISA ดา้ นการรูเ้ รือ่ งวิทยาศาสตร์ สารอาหารจากแมลง “สารอาหารจากแมลง” เปน็ สถานการณป์ ระกอบ แบบฝึกท่ีมีลักษณะตามกรอบโครงสร้าง การประเมินการเรยี นร้เู ร่ืองวิทยาศาสตร์ ดังนี้ ความรู้วิทยาศาสตร์ด้านเนื้อหา : โภชนาการ บริบท : ระดบั โลก คูม่ ือการใช้แบบฝึกพัฒนาทกั ษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ 11

สถานการณ์ “สารอาหารจากแมลง” ประกอบด้วยชุดค�ำถามเพ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ จำ� นวน 4 ชดุ ค�ำถาม ดงั น้ี ชดุ คำ�ถามท่ี 1 แมลงตับเต่า มีโปรตีนมากกว่าแมงดานา แต่แมงดานาให้พลังงานสูงกว่าแมลงตับเต่า นักเรียน คิดว่าเพราะเหตใุ ด จงอธิบาย ชุดค�ำถามที่ 1 พัฒนาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ด้าน “อธบิ ายปรากฏการณ์ในเชงิ ของวิทยาศาสตร”์ ความรู้วิทยาศาสตร์ท่ีนักเรียนสามารถน�ำมาใช้ในการอธิบาย ได้แก่ โภชนาการเกี่ยวกับสารอาหารที่ให้ พลงั งาน ชุดคำ�ถามที่ 2 ค�ำถามต่อไปนส้ี ามารถตรวจสอบได้ดว้ ยวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตรใ์ ชห่ รอื ไม่ จงเลือกว่า “ใช่” หรือ “ไมใ่ ช่” ในแต่ละค�ำถาม พร้อมใหเ้ หตผุ ลประกอบ ค�ำถาม ใช่/ไมใ่ ช่ เหตผุ ลประกอบ เนื้อหมู ไข่ ถ่ัวเหลือง และแมลงมีโปรตีนอยู่ ใช่/ไม่ใช่ ปรมิ าณมากนอ้ ยต่างกันหรอื ไม่ พลังงานท่ีร่างกายได้รับจากอาหารประเภท ใช่/ไมใ่ ช่ โปรตีนเพยี งอยา่ งเดียวหรือไม่ ชุดคำ�ถามที่ 3 ถา้ นกั เรยี นตอ้ งการตรวจสอบสารอาหารทงั้ หมดทม่ี อี ยใู่ นแมลง นกั เรยี นจะมวี ธิ กี ารสำ� รวจตรวจสอบ อย่างไร ชดุ คำ� ถามท่ี 2 และ 3 พฒั นาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตรด์ า้ น “การประเมนิ และออกแบบกระบวนการ สืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์” ความรู้วิทยาศาสตร์ที่นักเรียนสามารถน�ำมาใช้ในการตอบค�ำถาม เป็นความรู้เก่ียวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ชุดค�ำถามที่ 2 เกี่ยวกับการต้ังค�ำถามที่สามารถน�ำไปสู่ การทดลองหรือหาความรู้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และชุดค�ำถามที่ 3 เกี่ยวกับการออกแบบ การทดลองเพ่ือตรวจสอบความรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 12 คู่มอื การใช้แบบฝึกพัฒนาทกั ษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมนิ ของ

ชดุ คำ�ถามที่ 4 ตารางแสดงขอ้ มูลทางโภชนาการของแมลงชนดิ ต่าง ๆ ช่ือแมลง พลงั งานท้งั หมด ความชืน้ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต (กิโลแคลอร่)ี (กรมั ) (กรมั ) (กรมั ) (กรมั ) จ้งิ โกร่ง จงิ้ หรดี 188 67 17.5 12.0 2.4 ดักแด้ไหม 133 73 18.6 6.0 1.0 ตั๊กแตนปาทงั กา้ 162 70 14.7 8.3 4.7 ตวั ออ่ นของตอ่ 167 66 27.6 4.7 1.2 แมงกินนู 140 73 14.8 6.8 4.8 หนอนรถด่วน 98 76 18.1 1.8 2.2 231 67 9.2 20.4 2.5 ท่ีมา : วารสารโภชนาการ ปที ่ี 40 ฉบบั ท่ี 1 พ.ศ. 2548 หนา้ ที่ 5 ถ้านักเรียนต้องการแนะน�ำเพ่ือนในห้องท่ีต้องการควบคุมน้�ำหนัก โดยให้เลือกแมลงจากตาราง ข้างต้นเพื่อนำ� มาสกัดเปน็ อาหารแปรรปู นกั เรียนจะเลอื กแมลงชนดิ ใด พร้อมใหเ้ หตผุ ลประกอบ ชุดค�ำถามที่ 4 พัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ด้าน “การแปลความหมายข้อมูลและการใช ้ ประจกั ษพ์ ยานเชงิ วทิ ยาศาสตร”์ นกั เรยี นใชค้ วามรวู้ ทิ ยาศาสตรเ์ กย่ี วกบั สารอาหารทใ่ี หพ้ ลงั งานเพอื่ การตดั สนิ ใจ ขอ้ มลู หรอื ผลการศึกษาท่ีมีผู้อ่ืนบันทึกไว้ คมู่ ือการใช้แบบฝึกพฒั นาทักษะการแก้ปญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ 13

การนำ�แบบฝกึ ไปใชใ้ นการพฒั นาผู้เรยี น แบบฝกึ พฒั นาทกั ษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ PISA ดา้ นการรเู้ รอื่ งการอา่ น การรเู้ รอ่ื ง คณิตศาสตร์ และการรู้เร่ืองวิทยาศาสตร์ จัดท�ำข้ึนเพ่ือให้ครูผู้สอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นใช้เป็นเครื่องมือ ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพตามการประเมนิ ของ PISA ท่ไี มเ่ น้นเพอ่ื การพิจารณาวา่ นักเรยี นร้หู รอื จ�ำเนอื้ หา ท่ีเรียนไปแล้วได้หรือไม่ แต่เป็นแบบฝึกทักษะท่ีเน้นทักษะการเช่ือมโยงความรู้ไปใช้เพ่ือหาค�ำตอบหรืออธิบาย ในสถานการณ์ที่ก�ำหนดให้ในรูปแบบต่าง ๆ การน�ำแบบฝึกไปใช้ในการพัฒนานักเรียน จึงควรพิจารณาจาก ความเชื่อมโยงระหว่างสาระความรู้หรือเน้ือหาของแบบฝึกกับเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ ซึ่งครูผู้สอน สามารถเลือกนำ� ไปใช้ในรูปแบบตา่ ง ๆ ดงั น้ี ☛ เปน็ สอื่ ประกอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนในชนั้ เรยี น โดยเลอื กใชส้ ถานการณข์ องแบบฝกึ ทม่ี ีเนือ้ หา/ความรู้สอดคลอ้ งกับเนอ้ื หา/ความรู้ความสามารถทตี่ อ้ งการพฒั นาในชัน้ เรียนน้ัน ☛ เป็นเคร่ืองมือประเมินเม่ือจบบทเรียน การใช้แบบฝึกเพื่อประเมินว่านักเรียนสามารถใช้ความร ู้ ท่ีได้เรียนไปแล้วได้หรือไม่อย่างไร ซ่ึงนักเรียนต้องได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ความเข้าใจในเน้ือหาความรู้ท ี่ ปรากฏในสถานการณ์ในระดับหน่ึง โดยครูผู้สอนสามารถใช้แบบฝึกนี้หลังจากจบบทเรียนหรือจบกิจกรรม การเรยี นการสอนในสาระหน่งึ ได้ ☛ เป็นเอกสารประกอบการจัดกิจกรรมเสริมทักษะ ในชั่วโมงของกิจกรรมเสริมทักษะต่าง ๆ ครูสามารถน�ำแบบฝกึ นไ้ี ปใชเ้ พื่อการพฒั นาผเู้ รยี นไดท้ งั้ การรูเ้ ร่ืองการอ่าน คณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ การใช้แบบฝึกพัฒนาผู้เรียนควรเลือกน�ำไปใช้คร้ังละ 1 - 2 สถานการณ์ โดยการพิจารณาจากความ สอดคลอ้ งของสาระความรทู้ ่ีปรากฏในสถานการณข์ องแบบฝกึ และสาระความรู้ทต่ี ้องการพัฒนา/ประเมิน ดังน้ี การใช้แบบฝกึ เพอื่ พฒั นาทักษะด้านการรูเ้ รอ่ื งการอ่าน แบบฝึกพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมินของ PISA ด้านการรู้เร่ืองการอ่าน เป็นแบบฝึกทักษะท่ีไม่ผูกติดสาระความรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ใดกลุ่มสาระการเรียนรู้หน่ึง การจัดท�ำแบบฝึก มีความครอบคลมุ ตามกรอบโครงสรา้ งการประเมินของ PISA ด้านการร้เู รือ่ งการอ่านที่นำ� มาใช้เปน็ สือ่ เพือ่ พฒั นา สมรรถนะหรือความสามารถประเมิน ดังนั้น ครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้สามารถน�ำไปใช้เป็นสื่อประกอบ การจัดการเรยี นรูไ้ ด้ โดยพิจารณาจากแบบฝึกทมี่ เี นื้อหาสอดคล้องกับสาระการเรียนรทู้ ่ีสอน แนวคิดการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการอ่าน คือ การอ่านเป็นทักษะและการรู้เร่ืองการอ่าน ตามแนวทางการประเมินของ PISA หมายถึง ความสามารถที่จะท�ำความเข้าใจกับส่ิงที่ได้อา่ น สามารถน�ำไปใช้ ในการประเมนิ การสะท้อน และมีความรักและผูกพนั กับถ้อยความเพอื่ พฒั นาความรู้ความสามารถและศักยภาพ และการมสี ว่ นรว่ มในสงั คม ดงั นน้ั แนวคดิ ของการจดั การการเรยี นรโู้ ดยใชแ้ บบฝกึ จงึ เปน็ การจดั การเรยี นรทู้ มี่ งุ่ เนน้ การพฒั นาทักษะด้านการอา่ นโดยใช้กลยทุ ธก์ ารอ่านของ PISA เปน็ หลกั ส�ำหรับการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ เชน่ 14 ค่มู ือการใชแ้ บบฝึกพฒั นาทกั ษะการแกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมนิ ของ

1. ใช้เปน็ สื่อในการจดั การเรยี นรูเ้ พอ่ื พฒั นาการอ่านตามตวั ชีว้ ดั เชน่ ตัวชีว้ ัด ท 1.1 ม.1/3 : ระบ ุ เหตแุ ละผล และข้อเทจ็ จรงิ กับข้อคิดเหน็ จากเรือ่ งทอี่ ่าน เมื่อวิเคราะห์จากตัวชี้วัด จะเห็นว่าเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ตามตัวชี้วัด คือ นักเรียนสามารถ ระบุสาเหตุท่ีท�ำให้เกิดผล ผลที่จะเกิดขึ้นจากสาเหตุต่าง ๆ จ�ำแนกและระบุข้อความท่ีเป็นข้อเท็จจริง และ ขอ้ คิดเหน็ จากเร่อื งท่อี ่านได้ บทบาทของครู : ต้องหาส่ือประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมน�ำมาใช้พัฒนา นักเรียน ตามตัวชี้วัด แบบฝึกพฒั นาทกั ษะการแก้ปญั หาตามแนวทางการประเมินของ PISA ท่สี ามารถนำ� มาใช้ ประกอบการจดั การเรยี นรตู้ ามตวั ชว้ี ดั มหี ลายสถานการณ์ เชน่ 2 องศาฯ วกิ ฤตอิ ณุ หภมู เิ ปลยี่ นโลก สงั คมนอกคอก และเด็กกับคอมพิวเตอร์ ซ่ึงครูผู้สอนอาจออกแบบกิจกรรมการเรียนโดยอาศัยกลยุทธ์ด้านการอ่านเป็นข้ันตอน ในการจัดการเรียนรู้ ดงั ตัวอย่าง ตัวอย่าง การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ : “2 องศาฯ วิกฤติอณุ หภมู ิเปลย่ี นโลก” กิจกรรม จดุ ประสงค์ของกิจกรรม 1. ครูนำ�เสนอสถานการณ์ “2 องศาฯ วิกฤติอณุ หภมู ิ สรา้ งประสบการณ์หรอื ใหน้ กั เรียนค้นุ เคยกับเน้ือเร่ือง เปล่ยี นโลก” โดยยังไม่ตอ้ งนำ�เสนอคำ�ถาม เพื่อใหน้ กั เรียน หรือสือ่ ทน่ี ำ�มาใช้เป็นส่อื สำ�หรบั การพัฒนา ซ่งึ การพัฒนา ได้อา่ นทำ�ความเขา้ ใจสถานการณท์ ่ีอยูใ่ นบทอา่ น การอา่ นเชิงวิเคราะห์ จำ�แนกขอ้ ความตา่ ง ๆ นกั เรียนต้องรู้ และเข้าใจเร่อื งอยา่ งชัดเจน จงึ จะสามารถอภิปราย ให้ความเหน็ หรือลงขอ้ สรุปได้ 2. นักเรียนตอบคำ�ถามในแบบฝกึ หรือครตู ้ังคำ�ถาม ประเมินความร้เู กี่ยวกบั เรื่องท่อี ่านโดยใช้กลยทุ ธก์ ารอ่าน เพม่ิ เตมิ ได้ตามความเหมาะสมโดยใหน้ ักเรยี นแลกเปลยี่ น ของ PISA นำ�เสนอคำ�ถามของแบบฝึกทีละชุดคำ�ถาม และอภปิ รายรว่ มกนั ในการหาคำ�ตอบ จนแน่ใจว่านกั เรยี นรแู้ ละเขา้ ใจขอ้ มูลในสถานการณ์ดแี ล้ว โดยคำ�ถามท่ีใหน้ ักเรียนหาคำ�ตอบควรจดั เรียงไปตาม สมรรถนะของการอา่ น 3. นกั เรยี นระบุข้อความทเ่ี ป็นสาเหตุและผลที่จะเกดิ ข้ึน - พัฒนาสมรรถนะดา้ นการอา่ นตามแนวทางการประเมิน จากเรื่องทอี่ ่าน และขอ้ ความทเี่ ป็นขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คดิ ของ PISA ทั้ง 3 สมรรถนะ คอื การเข้าถงึ และค้นคืนสาระ เหน็ จากเร่ือง “2 องศาฯ วิกฤตอิ ณุ หภมู ิเปล่ียนโลก” เชน่ การบรู ณาการและการตคี วาม และการสะทอ้ น จากสถานการณ์ “2 องศาฯ วกิ ฤติอุณหภูมิเปลี่ยนโลก” และประเมนิ ดงั น้ี - พฒั นาความสามารถของนักเรยี นตามตัวชีว้ ดั คอื 3.1 นกั เรียนระบุข้อความ 2 ขอ้ ความทม่ี ีความสัมพันธ์ นักเรียนสามารถระบุข้อความทเี่ ปน็ สาเหตทุ ที่ ำ�ให้ กนั ในลกั ษณะท่ขี ้อความหน่ึงเปน็ สาเหตุอีกข้อความหน่ึง เกดิ ผลท่จี ะเกดิ ข้นึ จากสาเหตนุ น้ั ขอ้ ความทเ่ี ปน็ เปน็ ผลท่เี กดิ ขน้ึ โดยมขี อ้ ความแรกเป็นเหตุ ขอ้ เท็จจริง และข้อคดิ เห็นจากเรื่องท่อี า่ นได้ 3.2 นักเรียนระบขุ ้อความ 2 ขอ้ ความที่ขอ้ ความหน่งึ เปน็ ข้อเท็จจริงอกี ข้อความหนง่ึ เป็นความคิดเหน็ คู่มือการใช้แบบฝึกพฒั นาทักษะการแกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมินของ 15

กิจกรรม จุดประสงค์ของกิจกรรม โดยในการคน้ หาขอ้ ความทกี่ ำ�หนดให้นักเรียนต้องใช้ กลยุทธก์ ารอ่านเพือ่ คน้ คืนขอ้ ความทีม่ ีลกั ษณะของการ เปน็ เหตุเป็นผล เปน็ ขอ้ เท็จจริง และเปน็ ความคิดเหน็ และตีความข้อความทพี่ บเพื่อให้เข้าใจความหมายของ ข้อความใหช้ ัดเจน แลว้ ใช้ความร้เู ดมิ ของนักเรยี นในการ ลงขอ้ สรปุ วา่ ข้อความเหล่านัน้ เป็นขอ้ ความประเภทใด - กระบวนการนจี้ ะให้นกั เรยี นอา่ นอยา่ งมเี ปา้ หมาย คอื การค้นหาขอ้ ความ 2 ข้อความทมี่ คี วามสัมพนั ธก์ ัน ตามที่กำ�หนด 4. นักเรียนอภิปรายและสรา้ งข้อสรปุ รว่ มกนั เกย่ี วกบั นักเรียนใช้กระบวนการอุปนยั โดยเกบ็ ประเด็นหรือ - ลกั ษณะของขอ้ ความเป็นเหตุและผล แนวคดิ จากการอภิปรายแล้วลงขอ้ สรปุ ความรตู้ าม - ความสมั พันธ์ระหวา่ งสาเหตแุ ละผล ประเด็นทก่ี ำ�หนด - ลักษณะของข้อความทเี่ ป็นข้อเทจ็ จรงิ และความคิดเหน็ - ความแตกตา่ งระหวา่ งขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คดิ เหน็ 5. นำ�เสนอสถานการณจ์ ากแบบฝกึ อ่นื ๆ ใหน้ ักเรยี น ประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของนกั เรยี นตาม ฝกึ ทกั ษะทงั้ ความสามารถตามแนวทางการประเมนิ ของ ตัวชวี้ ดั PISA และตัวชีว้ ดั การใชแ้ บบฝึกเพือ่ พัฒนาทกั ษะดา้ นการรเู้ รอื่ งคณิตศาสตร์ คณติ ศาสตร์มคี วามสำ� คัญและสมั พนั ธก์ บั การด�ำเนนิ ชวี ิตประจ�ำวนั ของผ้คู นตลอดเวลา ความสามารถ ในการมองเห็นโอกาสที่จะใช้และใช้คณิตศาสตร์ในชีวิตประจ�ำวันของแต่ละคนจึงเป็นตัวบ่งช้ีถึงศักยภาพ ของคนคนหนึ่งได้ ความสามารถในการมองเห็นโอกาสที่จะใช้และสามารถใช้คณิตศาสตร์ในชีวิตประจ�ำวันได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เรยี กวา่ “การรเู้ รอื่ งคณติ ศาสตร์ (Reading Literacy)” เปน็ ความสามารถของบคุ คลในการคดิ ใชแ้ ละตคี วามคณติ ศาสตรใ์ นสถานการณต์ า่ ง ๆ ทห่ี ลากหลาย รวมถงึ การใหเ้ หตผุ ลอยา่ งเปน็ คณติ ศาสตร์ ใชแ้ นวคดิ และกระบวนการทางคณติ ศาสตรใ์ นการอธิบาย และทำ� นายปรากฏการณต์ า่ ง ๆ ดังนน้ั การใชแ้ บบฝึกเพอ่ื พัฒนา ระดบั ชน้ั เรียน มแี นวทางในการใชด้ ังน ้ี 1. ศึกษาท�ำความเข้าใจแบบฝึก เพ่ือเช่ือมโยงว่าแบบฝึกในแต่ละสถานการณ์มีเน้ือหาคณิตศาสตร์ เก่ียวข้องหรือสอดคล้องกับตัวชี้วัดใดในกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ เช่น Internet กับคนไทย เป็นสถานการณ์ท ่ี น�ำเสนอข้อมลู ตอ่ สงั คมเกยี่ วกบั การใช้ Internet ของคนไทย จำ� แนกตามวยั ตา่ ง ๆ 4 กลมุ่ คอื คน GEN Z GEN Y GEN X และ BABY BOOMER เนอื้ หาคณติ ศาสตร์ คอื การอา่ นขอ้ มลู เชงิ สถติ ิ โดยใชค้ วามรู้ความเข้าใจเก่ียวกับค่าเฉลย่ี ดังนัน้ สถานการณ์ 16 คมู่ ือการใช้แบบฝกึ พฒั นาทกั ษะการแกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมินของ

“Internet กับคนไทย” สามารถน�ำไปใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ท่ีเกี่ยวกับการอ่านข้อมูลจากการน�ำเสนอ ข้อมลู แบบตา่ ง ๆ หรอื เกี่ยวกบั การคา่ เฉล่ยี เป็นต้น 2. ใชแ้ บบฝกึ พฒั นาทกั ษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ PISA เปน็ สอ่ื ในการจดั กจิ กรรม การเรยี นรู้ โดยนำ� เสนอเปน็ สถานการณป์ ญั หาเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นหาวธิ กี ารหาคำ� ตอบจนสามารถนำ� ไปสขู่ อ้ สรปุ ทเี่ ปน็ องคค์ วามรู้ (Inductive Learning) หรอื เรยี กการจดั การเรยี นรู้ โดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (Problem-based Learning) หรือใช้แบบฝึกเป็นเครือ่ งมือประเมนิ ระหว่างเรยี น (Formative Assessment) เพ่อื ตรวจสอบความเข้าใจเนอ้ื หา ท่เี รียน 3. ใช้แบบฝึกพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมินของ PISA เป็นเคร่ืองมือประเมิน ผ้เู รียนหลังจบหน่วยการเรยี นร้ตู ามเน้ือหาทีจ่ ดั การเรียนการสอน การใช้แบบฝกึ เพือ่ พัฒนาทกั ษะด้านการร้เู รือ่ งวทิ ยาศาสตร์ การแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมินของ PISA ด้านการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ มุ่งพัฒนาให้นักเรียน ได้เชื่อมโยงส่ิงต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับนักเรียนต้ังแต่ระดับส่วนตัว สังคม/ชาติ และระดับโลก เข้ากับประเด็นทาง วิทยาศาสตร์ และแนวคิดทางวิทยาศาสตร์อย่างไตร่ตรอง และใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการอธิบายปรากฏการณ์ ประเมินและออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และแปลความหมายข้อมูล และการใช้ประจักษพ์ ยานในเชิงวิทยาศาสตร์ สอ่ื สารพูดคยุ อยา่ งเปน็ เหตุเปน็ ผล สถานการณข์ องแบบฝกึ ครอบคลมุ ตามกรอบโครงสรา้ งของการประเมนิ การรเู้ รอื่ งวทิ ยาศาสตร์ 4 เรอ่ื ง ได้แก่ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการและการได้มาของความรู้ สมรรถนะด้านการอธิบายปรากฏการณ์ เชงิ วทิ ยาศาสตร์ การประเมนิ และออกแบบกระบวนการสบื เสาะหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ และการแปลความหมาย ขอ้ มลู และการใชป้ ระจกั ษพ์ ยานเชงิ วทิ ยาศาสตร์ สถานการณใ์ นชวี ติ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และ เจตคตติ ่อวิทยาศาสตร์ จ�ำนวน 14 สถานการณ์ ไดแ้ ก่ อาหารขยะ สารอาหารจากแมลง วกิ ฤติขยะในทะเลไทย แผน่ ดนิ ไหว กนิ ไข่เพมิ่ คอเลสเตอรอลจรงิ หรือ เหด็ ระโงก ฝ่นุ มลพษิ พเี อม็ 2.5 ดาวเคราะห์ เต่าทะเล การนอน เพือ่ สุขภาพ อันตรายนำ�้ มันทอดซ�้ำ ไฮโดรพอนกิ ส์ และสารกนั บูดในเส้นก๋วยเตยี๋ ว โดยมแี นวทางการใชแ้ บบฝึก เพอ่ื พัฒนา ดังน้ี 1. ใช้เป็นแบบฝึกส�ำหรับให้นักเรียนได้ใช้ความรู้ท่ีเรียนเพื่อเช่ือมโยงกับชีวิตประจ�ำวัน โดยใช ้ สถานการณ์ของแบบฝึกเป็นสถานการณ์จ�ำลอง ท้ังน้ี ครูผู้สอนสามารถเลือกจากแบบฝึกที่มีเน้ือหาเกี่ยวกับเรื่อง ทเ่ี รียน ใช้คำ� ถามของแบบฝึกหรือสร้างค�ำถามเพิ่มเติมไดต้ ามความเหมาะสม 2. ใชส้ ถานการณข์ องแบบฝกึ ทม่ี เี นอื้ หาเกย่ี วกบั เรอื่ งทเ่ี รยี น เปน็ ประเดน็ สำ� หรบั ใหน้ กั เรยี นไดร้ ว่ มกนั อภิปรายตามความเห็น 3. ใช้ประเด็นค�ำถามของแบบฝึกเป็นประเด็นปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ที่น�ำไปสู่การหาค�ำตอบด้วย กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในช้ันเรยี น ค่มู ือการใชแ้ บบฝึกพัฒนาทกั ษะการแก้ปญั หาตามแนวทางการประเมินของ 17

แนวทางการตอบของแบบฝกึ

แนวการตอบ : การรู้เร่อื งการอ่าน สถานการณ์ : 2 องศาฯ วกิ ฤติอุณหภูมิเปล่ียนโลก ชุดคำ�ถามที่ 1 : 1.1 ปรมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจกทีเ่ พิม่ มากข้ึนเรอ่ื ย ๆ เปน็ ตวั เร่งใหอ้ ุณหภมู ิของโลกสงู ขน้ึ อย่างรวดเร็ว 1.2 คำ�ตอบอาจไม่เจอตรง ๆ ในบทอา่ น ในการหาคำ�ตอบต้องใชก้ ารเปรียบเทียมข้อมลู ทีป่ รากฏและสรปุ คำ�ตอบ คอื ประเทศไทย 1.3 หาขอ้ มูลการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกของประเทศจนี และไทย แลว้ นำ�ขอ้ มลู มาลบกนั เพอ่ื เป็นคำ�ตอบ คำ�ตอบ คอื 10,268,000 kt 1.4 หาวิธีควบคมุ อณุ หภมู เิ ฉล่ยี ผิวโลกไม่ให้เพ่ิมมากกวา่ 2 องศาเซลเซยี ส (คำ�ตอบมีในบทอา่ น) 1.5 โรงไฟฟา้ ถา่ นหนิ เปน็ ตน้ เหตสุ ำ�คญั ของการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก (คำ�ตอบมีในบทอ่าน) 1.6 2 กลุม่ คือ กลุ่ม NGOs และกลุม่ ประเทศพฒั นาแล้ว ชุดคำ�ถามท่ี 2 : 2.1 ข้อความสื่อสารทีแ่ สดงให้เห็นวา่ “2 องศาเซลเซียส” คือ อณุ หภมู ทิ ่ีถูกควบคมุ ไม่ให้เพิ่มขึ้นเกนิ 2 องศาเซลเซียส ซงึ่ ถ้าเพ่มิ เกนิ กวา่ นีจ้ ะสง่ ผลกระทบกับโลก ตัวอย่างคำ�ตอบ 1. ถา้ อณุ หภูมิเพ่มิ ขนึ้ มากกวา่ 2 องศาเซลเซยี ส จะเข้าสู่ภาวะโลกรอ้ น 2. ถ้าควบคมุ ไม่ให้อุณหภมู ิผิวโลกเพม่ิ ขึน้ มากกวา่ 2 องศาเซลเซยี สได้ โลกจะอยใู่ นภาวะปกติ 2.2 ข้ึนอยกู่ ับความเหน็ ของนักเรยี นแตต่ อ้ งมขี อ้ มูลสนับสนนุ คำ�ตอบทสี่ มเหตุสมผลโดยอา้ งอิงข้อมลู ในบทอ่าน ตัวอย่างคำ�ตอบ ต่างกนั กล่มุ NGOs เหน็ วา่ โรงไฟฟ้าถา่ นหนิ เปน็ ตน้ เหตุสำ�คัญของการปลอ่ ยกา๊ ซ เรือนกระจกแต่ผู้เขียนเห็นว่าโรงไฟฟ้าถา่ นหนิ ปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกเพียงเล็กน้อยเม่ือเทียบปรมิ าณ การปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกกบั ประเทศอนื่ ๆ 2.3 ขอ้ ก. ภาวะโรคร้อน คมู่ ือการใชแ้ บบฝกึ พัฒนาทกั ษะการแกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมินของ 19

ชดุ คำ�ถามท่ี 3 : 3.1 ขอ้ เทจ็ จริง - ประเทศไทยมีแผนในการลดปรมิ าณกา๊ ซเรือนกระจกใหไ้ ด้ร้อยละ 20 - 25 ก่อนปี 2573 - ประเทศไทยปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกน้อยกวา่ จีน อเมริกา อินเดยี ญ่ีปุ่น และเยอรมน ี - ประเทศไทยลดปรมิ าณการปล่อยก๊าซเรอื นกระจกโดยเดนิ ตามแผนของ PDP 2015 ความคิดเหน็ - การที่ NGOs บางกลุ่มออกมาตอ่ ตา้ นโรงไฟฟ้าถ่านหนิ โดยอา้ งว่าเป็นตน้ เหตสุ ำ�คัญของการปลอ่ ย กา๊ ซเรือนกระจก จงึ เป็นข้อกล่าวหาทไี่ มถ่ ูกต้อง - การคัดค้านโรงไฟฟา้ ถา่ นหินเป็นการตัดโอกาสการพฒั นาประเทศ - ประเทศพัฒนาแลว้ อยู่เบอ้ื งหลังการตอ่ ตา้ นโรงไฟฟ้าถ่านหนิ 3.2 คำ�ตอบของนกั เรียนสามารถเป็นไดท้ ั้งความเห็นแยง้ และเหน็ ด้วย แต่ต้องแสดงเหตุผลประกอบ ท่ีสอดคล้องกบั คำ�ตอบอยา่ งสมเหตสุ มผล ตัวอยา่ งการตอบ เหมาะสม เพราะ การควบคมุ อณุ หภมู เิ ฉลีย่ ของผิวโลกไม่ให้เพ่มิ มากขึน้ เกนิ 2 องศาฯ เปน็ การปกป้อง ไม่ให้โลกเขา้ สู่ภาวะโลกร้อน ไมเ่ หมาะสม เพราะ ประเดน็ หลักของการนำ�เสนอบทอ่าน คือ มาตรการลดการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจก ท่เี ปน็ สาเหตขุ องภาวะโลกรอ้ นของไทย สถานการณ์ : กาฝากชีวติ ชุดคำ�ถามท่ี 1 : 1.1 พาหะตา่ ง ๆ เช่น นก กระรอก ฯลฯ คาบเอาเมล็ดของกาฝากมาจากท่อี น่ื 1.2 ความโลภอยากได้ของผ้อู ื่น/ความคดิ ไม่ด/ี ความอิจฉารษิ ยา ชดุ คำ�ถามท่ี 2 : 2.1 สง่ิ ท่ีเกดิ ขนึ้ กบั สงิ่ มชี วี ติ ใด ๆ แลว้ ทำ�ให้สง่ิ มชี วี ติ นน้ั ไม่สามารถเจรญิ เติบโตได้ หรอื ตายไว 2.2 นำ�เสนอใหเ้ หน็ โทษของ “ความคิดไมด่ ี” ท่ีจะทำ�ร้ายตนเอง 2.3 ตัวอยา่ งคำ�ตอบ ส่ิงทีเ่ หมือนกัน เช่น กาฝากต้นไม้และกาฝากชีวติ เมื่อเกิดขึ้นมักทำ�ลายชวี ติ ของสิ่งที่อาศยั อยู่ สง่ิ ต่างกนั เชน่ กาฝากตน้ ไมเ้ ป็นสิ่งมชี วี ิตท่มี พี าหะต่าง ๆ นำ�มาใหเ้ กิด แตก่ าฝากชีวติ เกดิ จากความคิด ทีไ่ ม่ดที ี่ตัวเราประมาทจนทำ�ให้เกดิ กาฝากชีวิตเจริญเติบโตขึน้ ได้ 20 ค่มู ือการใช้แบบฝกึ พัฒนาทักษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ

ชดุ คำ�ถามท่ี 3 : 3.1 คำ�ตอบข้ึนอยกู่ บั ประสบการณด์ ้านความคิดทไ่ี มด่ ขี องนักเรียน เช่น การคดิ เปรยี บเทยี บตัวเองกับผอู้ ื่น ความอยากไดใ้ นสงิ่ ทีต่ นเองไม่มี การคดิ ลบ อจิ ฉาเพือ่ น ฯลฯ 3.2 คำ�ตอบขนึ้ อยู่กับความคดิ เหน็ ของนักเรียนแตต่ ้องเปน็ เหตผุ ลที่สนบั สนนุ ความเหน็ ของบี ซ่ึงแสดงให้เหน็ ถงึ การเปน็ ทกุ ขท์ เ่ี กดิ จากความคดิ ไมด่ ี เปรียบเทยี บกับการตาย เชน่ - ความตายเป็นสงิ่ ที่ทกุ คนกลวั - ความตายเปน็ สง่ิ ทน่ี า่ กลวั เมือ่ เปรียบเทียบกบั โทษอืน่ ๆ - ทุกคนไม่อยากตาย 3.3 นกั เรียนสามารถเห็นดว้ ยท้งั คำ�กล่าวของพมิ พแ์ ละพลอย โดยเหตผุ ลทีใ่ ช้ในการสนบั สนนุ ตอ้ งอธิบาย ใหเ้ ห็นวา่ “นักเรยี นมีความเขา้ ใจเก่ียวกับบทความเรอ่ื งกาฝากชวี ติ เปรยี บเทยี บกบั การแขง่ ขันฟตุ บอล ซ่งึ มที ัง้ ประโยชน์และโทษ” เช่น เหน็ ดว้ ยกบั พิมพ์ เพราะ การแข่งขนั ฟุตบอลอาจทำ�ให้เกิดความรสู้ กึ อยากเอาชนะถา้ ไมค่ วบคุมจิตใจ หรอื ความร้สู กึ อาจเป็นสาเหตุท่ีทำ�เกิดการกระทำ�ท่ีผิดได้ เชน่ การโกง การทำ�รา้ ยคู่แขง่ เหน็ ดว้ ยกบั พลอย เพราะ การแขง่ ขนั ฟุตบอลเปน็ เพยี งกีฬาชนดิ หน่งึ ไมเ่ กี่ยวกบั ความคิดท่ไี มด่ ี เป็นสิง่ ทสี่ ามารถมองเห็นการกระทำ�ได้ สถานการณ์ : นอนอย่างไรใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ ชุดคำ�ถามที่ 1 : 1.1 9 - 11 ชวั่ โมง/วัน 1.2 มากกวา่ 11 ช่ัวโมง/วนั ชุดคำ�ถามที่ 2 : 2.1 ระยะเวลาในการนอนทเี่ หมาะสมสำ�หรบั คนในแต่ละช่วงวยั 2.2 เมอ่ื ชว่ งวัยเพ่ิมมากข้ึนระยะเวลาในการนอนท่ีเหมาะสมจะลดนอ้ ยลง ชดุ คำ�ถามท่ี 3 : 3.1 คำ�ตอบขนึ้ อยกู่ ับลกั ษณะของนกั เรียนแต่ละคน โดยในคำ�ตอบของนกั เรียนตอ้ งมกี ารอ้างอิงถึงอายุ ของนักเรียนเอง เชน่ นกั เรยี นตอบวา่ นอน 9 ช่ัวโมง ซึง่ เหมาะสมแลว้ เพราะนักเรยี นอายุ 15 ปี 3.2 นักเรยี นระบถุ งึ สาเหตทุ ท่ี ำ�ใหค้ นโดยท่ัวไปจำ�เปน็ ต้องใช้เวลาในการปฏิบัตกิ จิ กรรมตา่ ง ๆ จนทำ�ให้ ไมส่ ามารถใชเ้ วลาสำ�หรบั การนอนใหเ้ พยี งพอได้ เช่น - คนท่ีมฐี านะยากจนตอ้ งใช้เวลาในการทำ�งานหาเงนิ มากกวา่ การนอน - นักเรยี นตอ้ งใช้เวลาสำ�หรบั อ่านหนังสือ คู่มือการใชแ้ บบฝกึ พัฒนาทกั ษะการแกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมินของ 21

3.3 คำ�ตอบขนึ้ อย่กู ับความเหน็ ของนักเรยี นแต่ตอ้ งเชอ่ื มโยงกบั ข้อมูลทม่ี ีอย่ใู นแผนภาพ เช่น - ใชข้ อ้ มลู อ้างองิ ในการสำ�รวจระยะเวลาในการนอนของตนเองเพือ่ ดวู า่ มคี วามเหมาะสมหรือไม ่ ถ้าไม่เหมาะสมจะมีวธิ กี ารปรบั อยา่ งไร สถานการณ์ : ผ้หู ยงั่ รู้ฟา้ ดิน ชดุ คำ�ถามที่ 1 : 1.1 กลางคืน 1.2 เพ่ือนชาย ชุดคำ�ถามท่ี 2 : 2.1 ข้อ 3 หมอดทู ายทักว่าจะเจอเนื้อคู่ 2.2 จ้างหมอดูใหท้ ายทัก 2.3 แม่ของสิรี ชุดคำ�ถามท่ี 3 : 3.1 แม่ของสิรี 3.2 เพอื่ ให้แม่ของสิรีรบั รูแ้ ละหาทางแก้ปัญหา 3.3 ในความเปน็ จรงิ คนอายุ 25 ปี เป็นวยั ผู้ใหญ่เรยี นจบและมีงานทำ� มีความรบั ผดิ ชอบตนเองได้ เมอ่ื ถงึ ตอนนัน้ การมแี ฟนหรือแต่งงานจะเป็นวยั ทเ่ี หมาะสม สถานการณ์ : การโฆษณาเกนิ จรงิ ชดุ คำ�ถามท่ี 1 : 1.1 3 ประเภท ได้แก่ ธุรกิจยา ธุรกจิ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และธรุ กจิ เคร่อื งสำ�อาง 1.2 ขอ้ 4 ใช้ผู้เชยี่ วชาญแตล่ ะดา้ นโฆษณา 1.3 ตัวอย่างคำ�ตอบ การโฆษณาเกนิ จริง (1) รักษาโรคไดส้ ารพัดโรค (2) ช่วยเร่อื งสมรรถภาพทางเพศได้หลายแบบ การโฆษณาทีผ่ ิดกฎหมาย การโฆษณาสรรพคณุ ของสนิ ค้าโดยไมผ่ ่าน อย. 22 คูม่ อื การใช้แบบฝกึ พัฒนาทกั ษะการแกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมินของ

1.4 ตวั อย่างคำ�ตอบ (1) หยดุ ซอ้ื ...หยดุ เชื่อ...โฆษณาหลอกลวง (2) ผลิตภัณฑท์ อ่ี วดอ้างเกินจริงมักใส่ยาหรอื สารอันตรายลงไปในผลิตภณั ฑ์ ชดุ คำ�ถามท่ี 2 : 2.1 เตือนใหผ้ บู้ ริโภครู้เท่าทนั การโฆษณา 2.2 ประเภทของธุรกิจ ชอ่ งทางการโฆษณา สรรพคณุ ของสินคา้ คำ�เตือนสำ�หรับผ้บู รโิ ภค 2.3 สรรพคณุ สนิ ค้า 2.4 ให้ผู้บริโภครชู้ อ่ งทางการโฆษณาสนิ คา้ ของผผู้ ลิต 2.5 ขอ้ 4 ต้องการกระต้นุ ใหผ้ อู้ ่านเกิดความสนใจใครร่ ู้ ชุดคำ�ถามที่ 3 : 3.1 คำ�ตอบขึน้ อยู่กับความเหน็ ของนกั เรียนแตต่ อ้ งมีเหตผุ ลประกอบ เห็นดว้ ย/ไมเ่ หน็ ด้วย พรอ้ มเหตุผล สนับสนุนท่สี มเหตสุ มผล 3.2 ธุรกิจยา ธุรกจิ ผลติ ภณั ฑ์เสรมิ อาหาร และธุรกิจเครอ่ื งสำ�อางหาซ้อื ไดง้ ่ายในประเทศไทย สถานการณ์ : แกง๊ คอลเซ็นเตอร์ ชุดคำ�ถามที่ 1 : 1.1 สำ�นกั งาน ปปง. กรมสรรพากร สถาบนั การเงิน 1.2 สรา้ งความนา่ เช่อื ถือให้กบั เหย่ือ 1.3 สลิปการโอนเงนิ ชดุ คำ�ถามท่ี 2 : 2.1 แนวการตอบ คอื ข้อความท่สี ือ่ หรอื แสดงให้เห็นว่านกั เรยี นเขา้ ใจวา่ เปา้ หมายของการเขยี นบทความน้ี คือการใหป้ ระชาชนร้ทู ันกลโกงของแก๊งคอลเซน็ เตอร์ เช่น ใหป้ ระชาชนรูถ้ งึ กลโกง ข้นั ตอน วิธกี าร ในการหลอกลวงของแกง๊ คอลเซน็ เตอร์ 2.2 แนวการตอบอาจเขยี นบรรยายหรือเปน็ ขัน้ ตอนการทำ�งานของแกง๊ คอลเซ็นเตอร์ ชุดคำ�ถามท่ี 3 : 3.1 ข้อความท่ี 1 เปน็ สิ่งท่แี ก๊งคอลเซน็ เตอร์ใช้เป็นเครือ่ งมือในการหลอกลวงเหยือ่ ข้อความท่ี 2 วธิ ีการ ปอ้ งกนั ตนเองของเหยอื่ คู่มอื การใชแ้ บบฝกึ พัฒนาทกั ษะการแกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมินของ 23

สถานการณ์ : โรคซึมเศร้า ชดุ คำ�ถามที่ 1 : 1.1 วยั ทำ�งาน อายุ 25 - 59 ปี 1.2 80 ปีข้นึ ไป 1.3 (1) รู้สึกเบ่ือหน่าย ไม่สนใจทำ�อะไร (2) นอนไม่หลับ หลบั ยาก หลับ ๆ ตน่ื ๆ (3) ร้สู กึ เศร้า ไม่เปน็ สุขใจ ชดุ คำ�ถามท่ี 2 : 2.1 ปี 2551 ภาวะบกพรอ่ งทางสุขภาพเปน็ สาเหตขุ องโรคซมึ เศร้าเปน็ อันดบั 1 ของผหู้ ญิง และเปน็ อนั ดบั 3 ของผชู้ าย 2.2 ขอ้ 3. ทกุ ชว่ งวยั เพศหญงิ มีความชกุ ของโรคซึมเศรา้ มากกว่าชาย 2.3 เพื่อให้ผอู้ ่านตรวจสอบเบื้องตน้ ว่าเข้าขา่ ยเปน็ โรคซมึ เศรา้ หรอื ไม่ ชุดคำ�ถามท่ี 3 : 3.1 เกดิ จากความเครียดในการทำ�งาน ไม่คอ่ ยไดพ้ กั ผอ่ น ไม่ได้ออกกำ�ลงั กาย 3.2 การทเ่ี พศหญงิ มภี าวะเปน็ โรคซึมเศรา้ มากกวา่ เพศชาย เพราะเพศหญงิ มภี าระรบั ผดิ ชอบมากกว่า รา่ งกายอ่อนแอกวา่ ผู้ชาย และมีความอดทนอดกล้นั สงู มีภาวะเครยี ดสูงกวา่ ผชู้ าย 3.3 สรปุ ผลการประเมนิ และขอ้ ควรปฏิบัติตามสภาพของนักเรยี น สถานการณ์ : JOB NEW ONLINE ชดุ คำ�ถามท่ี 1 : 1.1 ทำ�สอ่ื โฆษณาทาง Internet 1.2 โทรศัพท์ และ line 1.3 รายได้กบั เวลาในการทำ�งาน ชดุ คำ�ถามท่ี 2 : 2.1 ชอื่ ตำ�แหนง่ ที่สอดคล้องกบั ลกั ษณะ/ส่ือถึงงานท่ที ำ� เชน่ - นักออกแบบโฆษณาทาง Internet 2.2 (1) Computer (2) Internet 24 คู่มอื การใชแ้ บบฝึกพัฒนาทกั ษะการแก้ปญั หาตามแนวทางการประเมินของ

ชดุ คำ�ถามท่ี 3 : 3.1 A เพราะอายุนอ้ ยกว่า 20 ปี 3.2 คำ�ตอบข้นึ อย่กู บั แนวคิดและการใหเ้ หตุผลสนับสนุนคำ�ตอบ โดยเหตผุ ลท่ปี ระกอบควรกลา่ วถึงลกั ษณะ เฉพาะของบุคคล เช่น เลอื กบี เพราะ บเี ปน็ นักศึกษากำ�ลังเรียนหนังสือ ซึง่ ปจั จบุ นั ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีมมี าก นา่ จะเป็นคนทท่ี ันสมยั มีความคิดสรา้ งสรรค์และมีทักษะการใช้คอมพวิ เตอร์สงู เลอื กซี เพราะ ประกอบอาชีพชา่ งเสรมิ สวย ทำ�ใหม้ ีเวลาในการปฏบิ ตั ิงานตลอดเวลา 3.3 คำ�ตอบขนึ้ อยู่กับสงิ่ ท่ีนักเรยี นต้องการอยากรู้ แต่ต้องเกี่ยวข้องกับลกั ษณะงานทีร่ ับสมัคร เชน่ ต้องมี ความสามารถหรอื ชำ�นาญในคอมพิวเตอร์ดา้ นใดเป็นพิเศษ สถานการณ์ : ศัลยกรรมเรือ่ งธรรมดาของคนรนุ่ ใหม่ ชุดคำ�ถามที่ 1 : 1.1 ช่วงอายุ 18 - 22 ปี 1.2 ตอ้ งการใหต้ วั เองดูดีขน้ึ เพราะเชื่อค่านิยมของสงั คมวา่ ต้องสวย ตอ้ งดดู ีจึงจะได้รับความสนใจ ชุดคำ�ถามท่ี 2 : 2.1 ขอ้ 1. อธิบายค่านิยมในการทำ�ศลั ยกรรม 2.2 การศกึ ษาเปน็ การลงทุนเพ่อื ทำ�ให้มชี ีวิตหรอื อนาคตที่ดขี ึ้น เหมือนกบั การศัลยกรรมที่ทำ�ใหส้ วยจะทำ�ให้ ไดร้ บั โอกาสทางสังคมทด่ี กี วา่ ชุดคำ�ถามที่ 3 : 3.1 เพราะจากขอ้ มูลทางสถิติ จะเห็นว่าคนทที่ ำ�ศัลยกรรมสว่ นใหญ่เป็นวยั รนุ่ และขอ้ มลู ยงั บอกว่า คนไทย เรมิ่ ทำ�ศัลยกรรมต้งั แต่อายุ 13 ปี 3.2 การทำ�ศัลยกรรมต้องใช้เงนิ งบประมาณคอ่ นขา้ งสูง เมอื่ ไมม่ เี งนิ พอทำ�ให้ตดั สินใจทำ�กับหมอเถือ่ นจงึ มี ความเสย่ี งสูงท่จี ะทำ�ใหไ้ ด้รบั การศลั ยกรรมท่ไี ม่ถกู ต้องหรือใชข้ องปลอมในการรักษาซึ่งไมไ่ ดม้ าตรฐาน สถานการณ์ : สังคมนอกคอก ชดุ คำ�ถามที่ 1 : 1.1 การเมือง 1.2 หาวิธแี กป้ ัญหาได้/มีทางออก คมู่ ือการใชแ้ บบฝกึ พฒั นาทักษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ 25

ชุดคำ�ถามท่ี 2 : 2.1 กฎ ระเบียบ ข้อบงั คบั ประเพณปี ฏิบัติ พฤตกิ รรม หรอื อนื่ ๆ ที่สังคมตกลงรว่ มกันในบทบาทใดบทบาทหนงึ่ ทางสงั คม 2.2 สังคมท่มี ีผู้ไม่ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคบั ประเพณปี ฏบิ ตั ิ หรอื อืน่ ๆ ทีส่ ังคมตกลงร่วมกนั 2.3 สงั คมปจั จุบนั มคี นทีไ่ ม่ปฏบิ ัติตามกฎ ระเบียบ ขอ้ บังคับ ประเพณปี ฏิบัติ หรอื อื่น ๆ ทีส่ ังคมตกลง รว่ มกันมากมาย ชุดคำ�ถามที่ 3 : 3.1 แนวคำ�ตอบคอื การท่ีนกั เรยี นแสดงว่าเขา้ ใจวา่ “คอก” คอื กฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ประเพณปี ฏบิ ัติ หรืออน่ื ๆ ทีส่ งั คมตกลงร่วมกันเพอื่ ความสงบสุข และสรปุ วา่ คอกของนักเรยี น คือ สิ่งที่ “นักเรียน” พึงปฏบิ ัติในฐานะ หรอื บทบาทของการเปน็ นกั เรยี น เช่น การต้ังใจเรียน ประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นตามกฎ ระเบยี บของโรงเรยี น 3.2 แนวคำ�ตอบคอื ส่ิงท่ีนกั เรยี นประพฤติ ปฏิบตั ิ ผดิ กฎ ระเบียบ ของโรงเรยี น เช่น ไมท่ ำ�การบา้ น หนีเรียน 3.3 คำ�ตอบขนึ้ อยกู่ ับความเข้าใจของนกั เรียน สถานการณ์ : กำ�ลังแรงงานดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชดุ คำ�ถามที่ 1 : 1.1 สาขาคณติ ศาสตร์และสถิติ 1.2 พนักงานบรกิ ารและพนกั งานขาย ชดุ คำ�ถามที่ 2 : 2.1 ตอ้ งมคี วามรคู้ วามสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2.2 คนท่ีจบ S&T และทำ�งานดา้ น S&T ลดลง แต่จบ S&T แตท่ ำ�งานด้านอ่ืนเพิม่ ขึ้น ชุดคำ�ถามที่ 3 : 3.1 สูญเสยี กำ�ลังแรงงานด้านวทิ ยาศาสตร์ 3.2 คำ�ตอบขึน้ อยู่กบั ความเหน็ และเหตผุ ลประกอบ สามารถตอบได้ทง้ั เปน็ /ไมเ่ ปน็ แต่ต้องมเี หตุผล ทีส่ มเหตสุ มผล 26 คู่มือการใชแ้ บบฝึกพฒั นาทักษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ

สถานการณ์ : เดก็ กับคอมพิวเตอร์ ชุดคำ�ถามท่ี 1 : 1.1 ลดความสัมพนั ธ์กับกลุม่ เพื่อน หมกมนุ่ อยูใ่ นเกม ชุดคำ�ถามท่ี 2 : 2.1 ขอ้ 2 ประโยชน์และโทษของคอมพวิ เตอร์ 2.2 เสนอวิธใี ชค้ อมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับเดก็ ชดุ คำ�ถามที่ 3 : 3.1 ขอ้ เท็จจรงิ : ดฉิ ันเปน็ ผู้ปกครองท่ีสนบั สนุนให้ลูกไดเ้ รียนคอมพิวเตอร์ตงั้ แตเ่ ด็ก ๆ ข้อคิดเหน็ : คอมพวิ เตอร์จะมบี ทบาทในชวี ติ ประจำ�วันมากขึน้ เรื่อย ๆ ความเห็นของนกั เรยี น : นักเรยี นอาจตอบ เหน็ ด้วยหรือไม่เห็นดว้ ยก็ได้ ข้ึนอยกู่ บั ความคดิ เห็นของนักเรียน แตต่ ้องอธิบายเหตุผลหรอื แนวคิดของนักเรียนวา่ เหน็ ด้วยหรือไมเ่ หน็ ดว้ ย เพราะเหตุใด สถานการณ์ : ทฤษฎแี มลงสาบ ชดุ คำ�ถามที่ 1 : 1.1 ร้านอาหาร 1.2 React เปน็ การตอบสนองแบบอัตโนมตั ิ Respond เป็นการตอบสนองโดยผา่ นกระบวนการคดิ ชดุ คำ�ถามท่ี 2 : 2.1 ปัญหา หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ทเี่ กิดขน้ึ โดยไมท่ นั ตง้ั ตวั 2.2 วิธีการต้ังรับหรือวิธกี ารแกป้ ญั หา 2.3 เด็กเสริ ์ฟ ชดุ คำ�ถามท่ี 3 : 3.1 ขนึ้ อยู่กับคำ�ตอบของนกั เรยี นท่แี สดงถึงเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ทอี่ าจทำ�ให้ตกใจ เสยี ใจ ผิดหวงั ทัง้ นี้ ให้มีคำ�อธิบายเหตุการณ์และวิธีการแกป้ ญั หาของนักเรยี น 3.2 คำ�ตอบขึน้ อยกู่ ับนักเรยี นแตใ่ ห้มีคำ�อธบิ ายประกอบ เช่น ประสบการณ/์ อาย/ุ อาชพี คมู่ ือการใชแ้ บบฝึกพฒั นาทกั ษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมนิ ของ 27

แนวการตอบ : การร้เู ร่อื งคณิตศาสตร์ สถานการณ์ : Internet กบั คนไทย ชุดคำ�ถามท่ี 1 : กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ตีความและประเมินผลลพั ธท์ างคณติ ศาสตร์ เจตนาของชุดคำ�ถาม ใช้ความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกบั “ค่าเฉลี่ย” ตคี วามหรอื ประเมนิ ข้อความทางคณติ ศาสตร์ แนวคดิ การหาคำ�ตอบ ใชค้ วามคดิ รวบยอดเกี่ยวกบั ค่าเฉลี่ย ตคี วามข้อความท่ีกำ�หนดให้ คำ�ตอบ เท็จ เท็จ จริง เท็จ ชดุ คำ�ถามท่ี 2 : กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ใชห้ ลกั การและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ในการแกป้ ัญหา เจตนาของชุดคำ�ถาม ประยุกตใ์ ช้สูตรการหาค่าเฉล่ยี แก้ปญั หาในสถานการณ์ทีก่ ำ�หนด ด้วยการอธบิ าย วธิ ีการ/ข้นั ตอนการหาเฉล่ยี เป็นขอ้ ความ/หรือเขียนสูตร เชือ่ มโยงสูตรกบั ขอ้ มูล ของสถานการณ์ และแสดงวธิ ีการหาคำ�ตอบ แนวคดิ การหาคำ�ตอบ ประยุกตใ์ ช้แนวคดิ เก่ยี วกบั การหาค่าเฉลีย่ คำ�ตอบ 2.1 เวลาใช้อนิ เทอรเ์ น็ตโดยเฉลย่ี ตอ่ วนั ในช่วงวนั ทำ�งานของคนไทย Gen X หาได้จากการนำ�จำ�นวนช่ัวโมงการใชอ้ นิ เทอร์เน็ตในวันทำ�งานของคนไทย Gen X ทงั้ 70 คนรวมกันแลว้ หารด้วย 70 2.2 - 70 คน - 5 ช่ัวโมง 48 นาที หรอื 5.8 ชั่วโมง - จำ�นวนชว่ั โมงการใช้การใช้อนิ เทอรเ์ น็ตในวันทำ�งานของคนไทย Gen X = 5.8 70 2.3 406 ชวั่ โมง ชดุ คำ�ถามที่ 3 : กระบวนการทางคณติ ศาสตร ์ ตีความและประเมนิ ผลลพั ธท์ างคณติ ศาสตร์ เจตนาของชดุ คำ�ถาม ใชค้ วามคดิ รวบยอดของค่าเฉลีย่ ในการประเมนิ ข้อสรุปทางคณติ ศาสตร์ แนวคิดการหาคำ�ตอบ ประเมินขอ้ สรุปทางคณิตศาสตรโ์ ดยใชค้ วามร้คู วามเข้าใจเรอ่ื งของคา่ เฉลยี่ แล้วลงขอ้ สรุป คำ�ตอบ เทจ็ สรปุ ไมไ่ ด้ จริง จริง 28 คมู่ ือการใช้แบบฝกึ พฒั นาทักษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมินของ

สถานการณ์ : ภูกระดงึ ชุดคำ�ถามที่ 1 : กระบวนการทางคณิตศาสตร ์ ใชห้ ลกั การและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปญั หา เจตนาของชุดคำ�ถาม ใชค้ วามคดิ รวบยอดและวิธกี ารคำ�นวณจำ�นวนเฉลี่ยเพ่ือหาจำ�นวนคนโดยเฉลี่ยตอ่ วนั ในเวลา 1 ปี แนวคดิ การหาคำ�ตอบ “วันละประมาณกคี่ น” หมายถงึ จำ�นวนคนโดยเฉลยี่ ต่อวนั โดยข้อมลู ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ทจ่ี ำ�เป็นตอ้ งใชใ้ นการหาคำ�ตอบคือ จำ�นวนคนทง้ั หมดทีข่ ึน้ ภกู ระดึงและจำ�นวนวัน ในหนึ่งปี คำ�ตอบ 1.1 85,384 คน 1.2 233 หรอื 234 คน (ให้ตอบเปน็ จำ�นวนเต็ม) ชดุ คำ�ถามที่ 2 : กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ตคี วามและประเมินผลลพั ธท์ างคณติ ศาสตร์ เจตนาของชุดคำ�ถาม ใช้ความรเู้ กี่ยวกับความรูส้ ึกเชิงจำ�นวนเพื่อตีความ และประเมินข้อความ ทางคณติ ศาสตรโ์ ดยใช้ขอ้ มลู ที่กำ�หนดเปน็ เกณฑ์แลว้ ลงข้อสรุป แนวคดิ การหาคำ�ตอบ พิจารณาความสัมพนั ธ์ระหว่างขอ้ มลู แต่ละข้อความวา่ เพ่ือประเมนิ โดยใชข้ อ้ มูล ท่กี ำ�หนดเปน็ เกณฑ์ แลว้ ลงขอ้ สรปุ คำ�ตอบ ไมใ่ ช่ สรุปไมไ่ ด้ สรปุ ไม่ได้ ชดุ คำ�ถามที่ 3 : กระบวนการทางคณติ ศาสตร ์ การคดิ สถานการณป์ ญั หาในเชงิ คณิตศาสตร์ เจตนาของชุดคำ�ถาม เชอื่ มโยงข้อมูลจากสถานการณก์ บั ความคิดรวบยอดเพ่อื แก้ปัญหาในสถานการณ์ อย่างเป็นข้ันตอน แนวคิดการหาคำ�ตอบ 3.1 ระยะทาง 9 กโิ ลเมตร เดนิ ทางดว้ ยความเร็ว 2 กิโลเมตรต่อช่วั โมง จะใช้เวลา 4 ชวั่ โมง 30 นาที 3.2 จากหลังแปถงึ วังกวางใช้วลา 30 นาที เพราะฉะน้นั จากศรฐี านถึงหลงั แป ระยะทาง 5.5 กโิ ลเมตรใช้เวลา 4 ชั่วโมง อตั ราเรว็ ในการเดินทาง คอื 1.3 - 1.4 กิโลเมตร ต่อช่วั โมง 3.3 เดนิ ทางขน้ึ เขา ระยะทาง 9 กโิ ลเมตร ใชเ้ วลา 4 ชัว่ โมง 30 นาที ขาลงใชเ้ วลา นอ้ ยกว่าขึ้น 2 ชวั่ โมง ดังน้ัน ใช้เวลาเดนิ ลง 2 ชัว่ โมง 30 นาที ออกเดนิ ทางจาก วังกวางเวลา 15.00 น. จะถงึ ศรฐี านเวลา 17.30 ดงั น้ัน ถึงก่อนเวลา 18.00 น. คมู่ อื การใชแ้ บบฝกึ พฒั นาทกั ษะการแก้ปญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ 29

ชุดคำ�ถามท่ี 4 : กระบวนการทางคณติ ศาสตร ์ การคิดสถานการณ์ปัญหาในเชงิ คณติ ศาสตร์ เจตนาของชดุ คำ�ถาม ทำ�ความเขา้ ใจสถานการณแ์ ละเชือ่ มโยงข้อมลู จากสถานการณก์ ับความคดิ รวบยอด ทางคณติ ศาสตร์เพ่ือแกป้ ัญหา โดยนกั เรียนต้องมองเหน็ ความสมั พันธข์ องจำ�นวนท่อี ยู่ ในสถานการณ์ ได้แก่ จำ�นวนก้าว ระยะทาง และความยาวก้าว และการแปลงหน่วย แนวคดิ การหาคำ�ตอบ ใช้ความเข้าใจเชงิ จำ�นวนเพอื่ หาจำ�นวนก้าว ความสัมพนั ธร์ ะหว่างความยาวก้าวกับ ระยะทางและการแปลงหนว่ ย คำ�ตอบ 4.1 19,000 กา้ ว 4.2 45 - 47 เซนตเิ มตร สถานการณ์ : แพ็กเกจมอื ถอื ชดุ คำ�ถามท่ี 1 : กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ตคี วามข้อความและประเมินผลลพั ธท์ างคณิตศาสตร์ เจตนาของชดุ คำ�ถาม ใช้ความรู้เกย่ี วกับการเปรยี บเทียบปรมิ าณหลายชุดแลว้ ตดั สนิ ใจเลอื กขอ้ มูล ที่เหมาะสมหรือสอดคล้องกับเงอ่ื นไขทกี่ ำ�หนด แนวคดิ การหาคำ�ตอบ พจิ ารณาขอ้ มลู การใช้โทรศพั ทข์ องแต่ละคน เปรียบเทยี บกบั ข้อมูลการใหบ้ รกิ าร รายแพ็กเกจมอื มือของแต่ละบรษิ ทั คำ�ตอบ เอ บรษิ ัท B แพก็ เกจ 599 บี บรษิ ัท B แพ็กเกจ 599 ซี บริษทั B แพ็กเกจ 899 ชดุ คำ�ถามท่ี 2 : กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ การคิดสถานการณป์ ญั หาในเชงิ คณติ ศาสตร์ เจตนาของชุดคำ�ถาม ใช้คณติ ศาสตร์ที่เก่ียวขอ้ งเพ่ือการตัดสินใจใช้บริการต่าง ๆ ในชวี ิตประจำ�วนั อยา่ งสมเหตสุ มผล แนวคิดการหาคำ�ตอบ คิดค่าใชบ้ รกิ ารของกานดาโดยเฉลีย่ ตอ่ เดอื นแลว้ เปรยี บเทียบคา่ บรกิ ารกบั แพ็กเกจ อื่น ๆ โดยในการเปลี่ยนแพก็ เกจควรเปลี่ยนเปน็ แพก็ เกจท่ีมีค่าใช้จา่ ยนอ้ ยกวา่ หรือ เท่าเดิมแตส่ ามารถใชบ้ รกิ ารโทรฟรตี ามลักษณะการใช้ของกานดาหรอื ได้มากกวา่ 30 คมู่ ือการใช้แบบฝึกพัฒนาทักษะการแกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมินของ

คำ�ตอบ 2.1 641 บาท 2.2 บรษิ ทั B แพก็ เกจ 699 จะมีค่าใช้จา่ ยเทา่ กบั 699 บาทบวกกับร้อยละ 7 ประมาณ 750 บาท บริษทั B แพ็กเกจ 599 จะมีคา่ ใช้จ่ายเทา่ เดมิ คือ 599 บาทบวกกับร้อยละ 7 ประมาณ 641 บาท สถานการณ์ : Kerry Express ชุดคำ�ถามที่ 1 : กระบวนการทางคณิตศาสตร ์ การคดิ สถานการณป์ ญั หาในเชงิ คณิตศาสตร์ เจตนาของชดุ คำ�ถาม เช่ือมโยงสถานการณห์ รือปริมาณที่นำ�เสนอเข้ากบั ความรทู้ างคณติ ศาสตร์กับ การคำ�นวณในการหาคำ�ตอบ แนวคิดการหาคำ�ตอบ คำ�ถามที่ 1.1 : เชอ่ื มโยงข้อมูลและเลอื กขอ้ มลู ใหส้ อดคลอ้ งกับเง่อื นไข คำ�ถามที่ 1.2 : ใชข้ ้อมลู จาก 1.1 ในการคำ�นวณเพื่อหาคำ�ตอบ คำ�ตอบ 1.1 1.1 (L) (30) (185) (205) 1.2 1.2 420 บาท ชดุ คำ�ถามที่ 2 : กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ตคี วามและประเมนิ ผลลพั ธ์ทางคณติ ศาสตร์ เจตนาของชุดคำ�ถาม ตรวจสอบความถูกต้องของแบบจำ�ลองท่ีใช้ในการแสดงแทนข้อมลู ทางคณติ ศาสตร์ จากสถานการณ์ แนวคดิ การหาคำ�ตอบ ตรวจสอบประเภทสนิ ค้าที่จดั ส่ง และคิดคา่ บรกิ ารตามเงื่อนไขของ Kerry Express โดยเติมข้อมลู ทีถ่ กู ต้องลงในตาราง 2.1 แล้วคำ�นวณหาคา่ บริการ พิจารณาและ ลงข้อสรุปวา่ ค่าบรกิ ารของ Kerry Express ผิดอย่างไร คำ�ตอบ 2.1 ตารางแสดงคา่ บรกิ ารการส่งสนิ ค้าแต่ละชิ้นจำ�นวนตามประเภทของสินค้าและ พน้ื ทีจ่ ดั สง่ ประเภทสนิ ค้า ค่าบริการ รวม กรุงเทพฯ ชน้ิ ที่ 1 ชนิ้ ท่ี 2 ชนิ้ ที่ 3 ตรัง S M+ M+ 215 นครปฐม 375 85 - 100 245 855 100 115 115 100 115 - 2.2 คิดค่าบรกิ ารผดิ พลาด จากการนำ�ข้อมูลด้านขนาดของกล่องขนาด M มาใช้ ในการคิดค่าบรกิ าร คู่มอื การใช้แบบฝกึ พฒั นาทกั ษะการแกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมินของ 31

ชดุ คำ�ถามท่ี 3 : กระบวนการทางคณิตศาสตร ์ การคดิ สถานการณ์ปญั หาในเชงิ คณติ ศาสตร์ เจตนาของชุดคำ�ถาม ฝกึ การวเิ คราะห์แยกแยะและเลอื กข้อมูลมาใช้ในการแก้ปัญหาความเชื่อมโยงข้อมลู ทก่ี ำ�หนดโดยให้นักเรียนวเิ คราะหว์ า่ ในการซ้อื สนิ คา้ ครงั้ นผ้ี จู้ า่ ยเงนิ ต้องมคี ่าใช้จา่ ย ในรายการใดเพ่ือนำ�ไปสู่การหาคำ�ตอบหรอื รายจ่ายทั้งหมด แนวคิดการหาคำ�ตอบ จำ�แนกรายการค่าใชจ้ ่าย ในสว่ นของร้านคา้ ออนไลน์และของลกู ค้า และจำ�นวนเงิน ตามเง่อื นไขการสง่ รายการท่ีลูกค้าตอ้ งจ่าย คอื คา่ สินคา้ และคา่ เกบ็ เงนิ ปลายทาง รายการทร่ี า้ นค้าออนไลนต์ ้องจ่าย คอื ค่าส่งสินคา้ (ค่าไปรับพัสดุ และคา่ บริการสง่ ) เม่ือสนิ คา่ ราคา 1,500 บาทข้ึนไป คำ�ตอบ 3.1 รายการและจำ�นวนเงนิ ทีแ่ ต่ต้องจา่ ย ลำ�ดบั ค่าสินค้า ค่าไปรบั พสั ดุ คา่ บริการ ค่าเกบ็ เงิน รวมเงิน ที่บ้าน ส่งพสั ดุ ปลายทาง ท่ีต้องจ่าย 1. 440 - 100 3.00 543 2. 2550 - - 76.50 2626.50 3. 990 - 85 29.70 1104.70 3,980 - 158 109.2 4273.50 3.2 คำ�ตอบอยู่ระหว่าง 4,275 - 4,300 บาท (ตอบคา่ ประมาณเปน็ จำ�นวนเตม็ ) ชุดคำ�ถามที่ 4 : กระบวนการทางคณติ ศาสตร ์ ใช้หลักการและกระบวนการทางคณติ ศาสตรใ์ นการแกป้ ัญหา เจตนาของชุดคำ�ถาม ฝกึ การวเิ คราะหแ์ ยกแยะและเลือกขอ้ มูลมาใช้ในการแกป้ ัญหาความเชื่อมโยงขอ้ มูล ท่กี ำ�หนดโดยใหน้ กั เรยี นวิเคราะหว์ ่าในการซ้ือสินค้าคร้ังนี้ิ ผู้จา่ ยเงินตอ้ งมีค่าใชจ้ ่าย ในรายการใดเพอื่ นำ�ไปสู่การหาคำ�ตอบหรือรายจา่ ยท้งั หมดตามเง่อื นไขการใชบ้ รกิ าร แนวคดิ การหาคำ�ตอบ แยกแยะขอ้ มูลค่าบริการการสง่ ค่าสินค้าและคา่ สนิ ค้าที่ลูกคา้ ตอ้ งจา่ ย คำ�ตอบ - ค่าบรกิ ารส่งสินคา้ ประกอบดว้ ย ค่าบริการส่งและค่ามารบั สนิ ค้าทบี่ า้ น - คา่ สนิ ค้าและค่าเกบ็ เงนิ ปลายทางทีล่ ูกคา้ ต้องจา่ ยให้ Kerry Express ในวันทร่ี บั สนิ ค้า 1,545 บาท 32 คมู่ ือการใชแ้ บบฝึกพัฒนาทกั ษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ

สถานการณ์ : ผลการส่งออกปี 60 ชดุ คำ�ถามท่ี 1 : กระบวนการทางคณิตศาสตร ์ การคิดสถานการณ์ปญั หาในเชิงคณติ ศาสตร์ เจตนาของชุดคำ�ถาม ฝกึ ทกั ษะการเชื่อมโยงสถานการณใ์ นชวี ิตประจำ�วันกับความร้ทู างคณิตศาสตร์และ ลงขอ้ สรปุ ไดว้ า่ สถานการณ์ปญั หาเกีย่ วขอ้ งกบั คณิตศาสตรใ์ นเร่ืองใด แล้วแปลงปัญหาน้ัน ให้อยู่ในรปู ของคณิตศาสตร์ โดยการอ่านและฝกึ มาทำ�ความเขา้ ใจข้อมูล ในสถานการณ์ แนวคดิ การหาคำ�ตอบ สงั เกตความสมั พันธ์ของชุดตวั เลขและสรุปเป็นสมการเพอื่ แสดงความสัมพันธ์ คำ�ตอบ 1.1 21,306.7 ล้านเหรียญสหรฐั 1.2 28,565.5 ล้านเหรียญสหรัฐ 1.3 ปี 2560 การส่งออกเท่ากับ 9.9 % การนำ�เข้าเท่ากบั 14.71 % 1 .4 A = B C- C x 100 ชดุ คำ�ถามท่ี 2 : กระบวนการทางคณิตศาสตร ์ ใชห้ ลักการและกระบวนการทางคณติ ศาสตรใ์ นการแกป้ ัญหา เจตนาของชุดคำ�ถาม ใชค้ วามคดิ รวมยอดทางคณิตศาสตรไ์ ปใชใ้ นการหาคำ�ตอบ แนวคดิ การหาคำ�ตอบ ใชส้ ตู ร A = B C- C x 100 ในการหาคำ�ตอบ คำ�ตอบ - มูลคา่ การส่งออก มกราคม 2561 เทา่ กบั 250,895.8 - การนำ�เข้า มกราคม 2561 รอ้ ยละ 5.29 หรือ 5.29 % - ดุลการคา้ มกราคม 2561 เท่ากับ 16,345.8 ชดุ คำ�ถามที่ 3 : กระบวนการทางคณิตศาสตร ์ ใชห้ ลักการและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแกป้ ัญหา เจตนาของชุดคำ�ถาม เช่ือมโยงสถานการณข์ องปญั หาเข้ากับความหมายของร้อยละ แลว้ ประเมนิ ว่า สถานการณท์ กี่ ำ�หนดใหส้ ามารถนำ�ความรรู้ ้อยละไปใชใ้ นการหาคำ�ตอบไดห้ รอื ไม่ แนวคดิ การหาคำ�ตอบ พิจารณาความสัมพนั ธแ์ ละเปรียบเทียบข้อมลู การนำ�เขา้ และสง่ ออกแต่ละปี และสรา้ งสมการรอ้ ยละเพ่อื แกป้ ญั หาหรือหาคำ�ตอบ คูม่ อื การใช้แบบฝกึ พฒั นาทักษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมินของ 33

คำ�ตอบ ไมไ่ ด้ และแสดงเหตผุ ลประกอบ เช่น สรา้ งตาราง ดังตัวอยา่ ง หนว่ ย ปี 58 ปี 59 ปี 60 มลู ค่า 205,130.95 215,387.5 236,694.2 การส่งออก ไม่สามารถหาได้ (+5.0%) (+9.9%) มูลค่า 202,648.44 194,198.0 222,763.5 การนำ�เขา้ ไมส่ ามารถหาได้ (-4.17%) (+14.71%) ดลุ การค้า 2,482.51 21,198.5 13,930.7 หรอื การอธิบายวา่ การหารอ้ ยละการสง่ ออกและนำ�เข้าตอ้ งเปรียบเทยี บกบั ข้อมูล ปี 57 ซง่ึ ไม่มีในแผนภาพ ชุดคำ�ถามท่ี 4 : กระบวนการทางคณิตศาสตร ์ ตีความและประเมนิ ผลลัพธ์ทางคณติ ศาสตร์ เจตนาของชดุ คำ�ถาม แปลความหมายของข้อมลู จากสัญลกั ษณท์ ่ีใช้ในการสือ่ สารและความสมั พนั ธ์ในชุดขอ้ มูล แนวคดิ การหาคำ�ตอบ พิจารณาข้อมูล แปลความหมาย และลงข้อสรุป คำ�ตอบ ใช่ ใช่ สรปุ ไม่ได้ สรปุ ไม่ได้ ไม่ใช่ สถานการณ์ : การประเมนิ ราคาบ้าน ชดุ คำ�ถามท่ี 1 : กระบวนการทางคณิตศาสตร ์ การคดิ สถานการณป์ ญั หาในเชงิ คณติ ศาสตร์ เจตนาของชุดคำ�ถาม เชอ่ื มโยงปัญหาจากสถานการณ์กบั ความรู้คณิตศาสตร์เพ่อื หาแนวคิดคณิตศาสตร์ ท่ีสามารถนำ�มาใชห้ าคำ�ตอบได้ แนวคิดการหาคำ�ตอบ ระบุดา้ นทีส่ ามารถใชห้ าพ้นื ทไ่ี ด้ และใช้เครอื่ งมอื วัดความยาวหาความยาวแต่ละดา้ น แล้วนำ�มาใชห้ าพ้นื ทใ่ี นหน่วยตารางเมตร คำ�ตอบ 1.1 สามารถตอบได้ ดังนี้ 3. (a,e,g,h,d,f) 1. (a,c,g,h,b,d ) 2. (a,e,g,h,b,f) 6. (a,c,e,h,b,f) 4. (a,e,g,b,d,f) 5. (a,c,e,h,b,d) 9. (a,c,e,g,h,b,d) 7. (a,c,e,h,d,f) 8. (a,c,e,b,d,f) 12. (a,c,g,b,d,f) 10. (a,c,g,h,b,f) 11. (a,c,g,h,d,f) 15. (c,e,g,h,d,f) 13. (c,e,g,h,b,d) 14. (c,e,g,h,b,f) 16. (c,e,g,b,d,f) 1.2 52.2 ตารางเมตร 34 คู่มือการใชแ้ บบฝึกพัฒนาทักษะการแกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมนิ ของ

ชดุ คำ�ถามท่ี 2 : กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ตีความและประเมินผลลพั ธท์ างคณิตศาสตร์ เจตนาของชดุ คำ�ถาม เลอื กใช้ขอ้ มลู จากสถานการณม์ าใช้ประกอบการตดั สนิ ใจไดอ้ ย่างสมเหตสุ มผล แนวคดิ การหาคำ�ตอบ ประเมนิ ราคาบ้านตามเงื่อนไข และพิจารณาเปรียบเทยี บราคาประเมินท่ีไดก้ บั ราคา ที่หมบู่ ้านประกาศขาย ถา้ ราคาประเมินมากกว่าราคาประกาศขายแสดงวา่ “เป็นราคาทีด่ มี ากสำ�หรบั ผู้ซ้อื ” คำ�ตอบ 2.1 ราคาประเมิน 1+2+3+4+5 - ค่าทดี่ นิ = 150x2500 = 375,000 [2500/m2] - คา่ วสั ดุและค่าก่อสรา้ ง = 52.5x14,000 = 735,000 [1,400/m2] - ระยะเวลาเดนิ ทางสตู่ ัวเมอื ง 25,000 บาท - ระยะทางไปถงึ ทท่ี ำ�งาน 20,000 บาท - มที จ่ี อดรถ 30,000 บาท สรุป ราคาประเมิน 1,185,000 บาท 2.2 ไมเ่ หน็ ดว้ ย เพราะ ราคาประกาศขายสงู กว่าราคาประเมิน 315,000 บาท สถานการณ์ : ตลาด ชดุ คำ�ถามที่ 1 : กระบวนการทางคณติ ศาสตร ์ การคดิ สถานการณ์ของปัญหาในเชิงคณิตศาสตร์ เจตนาของชดุ คำ�ถาม ใชค้ วามร้เู ก่ียวกบั สมบตั ขิ องรูปส่ีเหลยี่ มมุมฉาก และใชเ้ ป็นคำ�ถามนำ�สำ�หรับ สรา้ งประสบการณ์เกีย่ วกบั ส่เี หลยี่ มมมุ ฉาก แนวคิดในการหาความตอบ วิเคราะหเ์ ช่อื มโยงสถานการณ์เพือ่ หาองคค์ วามรูท้ างคณติ ศาสตร์ท่เี ก่ยี วขอ้ งมาใช้ ประกอบการหาคำ�ตอบ ตวั อยา่ งคำ�ตอบ สีเ่ หลย่ี มจตั ุรัส เพราะด้านยาวและดา้ นกวา้ งเท่ากัน คือ 30 เมตร ชุดคำ�ถามท่ี 2 : กระบวนการทางคณิตศาสตร์ การคดิ สถานการณ์ปญั หาในทางคณิตศาสตร์ เจตนาของชุดคำ�ถาม วเิ คราะห์สถานการณแ์ ละเชอื่ มโยงเข้ากับความร้ทู างคณติ ศาสตร์สำ�หรับนำ�มาใช้ ในการหาคำ�ตอบ แนวคดิ การหาคำ�ตอบ เชอื่ มโยงข้อมูลเกย่ี วกับอตั ราคา่ เชา่ แผง/เดอื น กบั ประเภทของแผงแต่ละชนิดแลว้ จึงนำ�มาคำ�นวณหาคำ�ตอบโดย คำ�ถามที่ 2.1 และ 2.2 ตอ้ งการใหน้ กั เรยี นจำ�แนก จำ�นวนแผงแลว้ นำ�มาหาค่าเชา่ แผงแต่ละชนดิ คำ�ถามที่ 2.3 ค่าเช่าแผงทั้งหมด คอื ผลรวมของคำ�ตอบในข้อ 2.1 และ 2.2 คู่มือการใชแ้ บบฝึกพัฒนาทกั ษะการแก้ปญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ 35

คำ�ตอบ 2.1 312,000 2.2 280,000 2.3 592,000 ชดุ คำ�ถามท่ี 3 : กระบวนการทางคณติ ศาสตร ์ ใช้หลักการและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแกป้ ญั หา เจตนาของชุดคำ�ถาม ฝึกทักษะการใชค้ วามรูเ้ ร่ืองการหาพื้นที่ มาตราสว่ น และกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ในการหาคำ�ตอบอยา่ งเป็นขั้นตอน แนวคิดการหาคำ�ตอบ หาจำ�นวนเงินท่ีใชใ้ นการลงทุนและประมาณปรมิ าณก๋วยเตี๋ยวทจี่ ะตอ้ งขายใหไ้ ด้ ต่อเดอื นตอ่ วนั คำ�ตอบ 3.1 พ้นื ทเ่ี ชา่ แผง 60 ตารางเมตร 3.2 คา่ เช่าแผงเดือนละ (5x12,000) + (3x10,000) = 60,000 + 30,000 = 90,000 3.3 เงนิ ลงทุนเดือนละ 30 x 2,000 = 60,000 3.4 คา่ ใชจ้ ่ายต่อเดือน 90,000 + 60,000 = 150,000 3.5 อย่างน้อยวนั ละ 100 ชาม (150,000/30 x 50 = 100) ชุดคำ�ถามที่ 4 : กระบวนการทางคณติ ศาสตร ์ ใชห้ ลกั การและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ในการแกป้ ัญหา เจตนาของชุดคำ�ถาม ฝึกทักษะการวางแทนท่ีตามมาตราสว่ นที่กำ�หนดให้ แนวคิดการหาคำ�ตอบ ใชม้ าตราสว่ นการวางของจดุ A และ B และเปรียบเทยี บความสามารถในการ ให้บริการใหด้ มี ากทส่ี ดุ คำ�ตอบ 4.1 16 ชดุ 4.2 13 ชดุ 4.3 เลือกแบบ A เพราะจะได้ทน่ี ง่ั สำ�หรับบรกิ ารลูกคา้ ไดม้ ากกว่า สถานการณ์ : ก๊าซธรรมชาติและนำ�้ มนั ดบิ ชดุ คำ�ถามที่ 1 : กระบวนการทางคณิตศาสตร ์ ใช้หลกั การและกระบวนการทางคณติ ศาสตรใ์ นการแก้ปญั หา เจตนาของชดุ คำ�ถาม ใชส้ มบัตกิ ารของการบวกและลบเลขยกกำ�ลงั มาใช้ในการแก้ปัญหา แนวคดิ การหาคำ�ตอบ เขยี นอัตราการผลติ และอตั ราการบริโภคในหน่วยลกู บาศก์ฟตุ ต่อวัน ในรปู ของ เลขยกกำ�ลงั หาผลต่างของอัตราการผลิตและอตั ราการบรโิ ภคของแตล่ ะประเทศ และเปรียบเทียบวา่ ประเทศไทยมผี ลต่างมากทส่ี ดุ ใช้ความรเู้ กีย่ วกับการลบเลขยกกำ�ลงั เพือ่ หาปริมาณท่ีมากกวา่ 36 คู่มือการใช้แบบฝกึ พฒั นาทกั ษะการแกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมินของ

คำ�ตอบ 1.1 อตั ราการผลิตและอตั ราการบรโิ ภคในหน่วยลกู บาศก์ฟตุ ต่อวัน ประเทศ อตั ราการผลติ อตั ราการบรโิ ภค (ลกู บาศกฟ์ ุตตอ่ วัน) (ลกู บาศก์ฟุตต่อวัน) รสั เซยี 5.87x1010 4.17x1010 สหรฐั อเมรกิ า 6.3x1010 6.68x1010 ซาอดุ อิ าระเบีย 9.6x109 สาธารณรัฐประชาชนจนี 9.9x109 9.6x109 สาธารณรฐั อินโดนเี ซีย 7.3x109 9.27x1010 มาเลเซีย 6x109 ไทย 3.6x109 3.7x109 2.8x109 4.5x109 1.2 สาธารณรฐั ประชาชนจีน 1.3 อัตราการบรโิ ภคมากกว่าอตั ราการผลติ 2.8x109 ชุดคำ�ถามท่ี 2 : กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ใชห้ ลักการและกระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นการแกป้ ัญหา เจตนาของชดุ คำ�ถาม ฝึกทักษะการแปลงหนว่ ยการวดั และการบวก ลบ คูณ หาร เลขยกกำ�ลัง แนวคดิ การหาคำ�ตอบ ใชม้ าตราสว่ นทก่ี ำ�หนดให้ในการแปลงหนว่ ยจากลูกบาศกฟ์ ุตเป็นหนว่ ยกโิ ลกรัม 2.1 อตั ราการผลิต เทา่ กบั 1.08x1011 kg อัตราการบริโภค เท่ากบั 1.35x1011 kg 2.2 2.7x1010 kg 2.3 25% ชดุ คำ�ถามที่ 3 : กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ตีความและประเมินผลลัพธ์ทางคณิตศาสตร์ เจตนาของชดุ คำ�ถาม ฝกึ ทักษะการประเมินข้อความทางคณิตศาสตรโ์ ดยให้เหตผุ ลทางคณติ ศาสตร์ ประกอบการตัดสนิ ใจหรอื ลงขอ้ สรุป แนวคิดการหาคำ� ตอบ ใชอ้ ตั ราการบริโภคกา๊ ซธรรมชาติและนำ�้ มันดิบตอ่ วันจากสถานการณ์ค�ำนวณ หาปริมาณทลี่ ดลงร้อยละ 25 ต่อวนั และ 1 ปี และลงขอ้ สรปุ ด้วยการเปรียบเทียบ ค่าทไี่ ดจ้ ากการคำ� นวณและจำ� นวนในข้อความ คำ�ตอบ ถูกต้อง และแสดงวิธกี ารตรวจสอบ เชน่ 1 วันว จัน ะ จ ไ ะด ล ้ 0ด .อ0 ัต0 ร 1 า1 ก xา ร 3ใ ช6 ้ก5 า๊ =ซ ไ0 ด . ้ 4 11 200505 ลx้า0น.ล0้า0น4ล5กู =บา0ศ.0ก0์ฟ1ุต1 365 คมู่ ือการใช้แบบฝกึ พฒั นาทกั ษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมินของ 37

สถานการณ์ : จำ�นวนนกั ทอ่ งเทีย่ วรายปี ชุดคำ�ถามที่ 1 : กระบวนการทางคณติ ศาสตร ์ ตคี วามและประเมินผลลพั ธท์ างคณติ ศาสตร์ เจตนาของชุดคำ�ถาม อ่าน และแปลความหมายของขอ้ มลู จำ�นวนนกั ทอ่ งเทย่ี วรายปแี ละลงข้อสรุป ด้วยการตอบคำ�ถาม แนวคิดการหาคำ�ตอบ การอ่านและแปลความหมายของกราฟเสน้ คำ�ตอบ คำ�ตอบทแ่ี สดงถงึ การแปลความหมายจากกราฟท่สี ่อื ความหมาย ดังนี้ 1.1 นักทอ่ งเท่ียวกลุม่ ประเทศจีนที่เขา้ มาเทยี่ วในประเทศมีจำ�นวนมากขึ้นทุก ๆ ป ี 1.2 เพ่อื ให้เหน็ แนวโนม้ การเปลีย่ นแปลงจำ�นวนนักทอ่ งเทย่ี วทเ่ี ขา้ มาเทยี่ ว ในประเทศไทย 1.3 ปี 2545 - 2552 จำ�นวนนักท่องเท่ยี วกล่มุ ประเทศจนี ในแต่ละปไี มแ่ ตกตา่ งกันมาก ปี 2552 - 2558 จำ�นวนนักทอ่ งเที่ยวกลมุ่ ประเทศจีนแต่ละปแี ตกตา่ งกันและ เพม่ิ ขึ้นทกุ ปี ชดุ คำ�ถามท่ี 2 : กระบวนการทางคณิตศาสตร ์ ใชห้ ลกั การและกระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นการแกป้ ัญหา เจตนาของชดุ คำ�ถาม นำ�เสนอขอ้ มลู เพอ่ื เปรยี บเทยี บสดั ส่วนจำ�นวนนักทอ่ งเทยี่ วดว้ ยวิธกี ารท่ีเหมาะสม แนวคิดการหาคำ�ตอบ อา่ นและแปลความหมายของข้อมูลการนำ�เสนอของกราฟเสน้ และสอื่ สารด้วย สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ คำ�ตอบ 2.1 32,175,000 คน 2.2 13,292,500 คน 2.3 11,107,500 คน 2.4 7,775,000 คน 2.5 ตวั อยา่ งคำ�ตอบ หรือกราฟอื่น ๆ 38 คมู่ อื การใช้แบบฝึกพฒั นาทักษะการแก้ปญั หาตามแนวทางการประเมินของ

สถานการณ์ : คา่ บรกิ ารสระวา่ ยน้ำ� ชดุ คำ�ถามที่ 1 : กระบวนการทางคณิตศาสตร์ คิดสถานการณป์ ัญหาในเชิงคณติ ศาสตร์ เจตนาของชุดคำ�ถาม เปรยี บเทยี บข้อมูล 2 ชดุ เพ่อื การตดั สินใจเลอื กส่งิ ท่ีคุม้ ค่ากับการเลือกใชบ้ ริการ แนวคิดการหาคำ�ตอบ ทำ�ความเข้าใจสถานการณ์ และร้วู า่ ความ “คุ้มคา่ ” จะเกดิ ขึน้ เมอ่ื ไร คำ� ตอบ 1.1 ความคมุ้ คา่ จะเกดิ ข้นึ เมอื่ นนทไ์ ปใช้บริการสระวา่ ยนำ�้ ในฐานะของสมาชกิ แลว้ มคี ่าบริการร่วมกบั ค่าใชบ้ รกิ ารโดยรวมน้อยกว่าหรือเท่าค่าใชบ้ รกิ ารโดยไม่สมคั ร สมาชกิ 1.2 ให้ y เป็นคา่ ใช้จ่าย โดย y1 ไม่เปน็ สมาชิก y2 เป็นสมาชกิ y1 = 50n และ y2 = 600 + 30n ความคมุ้ ค่าเกนิ ขน้ึ เม่ือ y2 ≤ y1 หรอื 600 + 30n ≤ 50n 1.3 30 สัปดาห์ หรอื ตอ้ งไปว่ายน้�ำอยา่ งนอ้ ย 30 ครัง้ ชุดคำ�ถามที่ 2 : กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ คิดสถานการณป์ ญั หาในเชิงคณติ ศาสตร์ เจตนาของชุดค�ำถาม ฝึกทกั ษะการแปลงปัญหาในชวี ิตใหเ้ ป็นปัญหาคณติ ศาสตร์ ดว้ ยการแสดงแทนดว้ ย ปัญหาคณติ ศาสตร์และใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการหาค�ำตอบ แนวคิดการหาค�ำตอบ - พิจารณาสถานการณ์เพือ่ ดูวา่ ในช่วงของการปดิ เทอมไปวา่ ยนำ้� ตามชว่ งเวลา ท่ีเสียคา่ บรกิ ารตา่ งกัน ช่วงตามเวลาละกี่ครงั้ - ค�ำนวณค่าใชบ้ รกิ ารสระว่ายน�ำ้ ตามชว่ งเวลาและจำ� นวนคร้งั ของการใช้บรกิ าร ตามประเภทของการเป็นสมาชิกและไม่เป็นสมาชกิ - เปรียบเทยี บคา่ ใช้จ่าย เพอ่ื ใชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจว่าควรสมัครเปน็ สมาชิกของ สระวา่ ยนำ้� หรือไม่ เพราะเหตใุ ด คำ� ตอบ 2.1 วนั จนั ทร์ 11 ครง้ั และวันเสาร์ 11 คร้ัง 2.2 ตารางแสดงคา่ ใช้บรกิ าร ประเภท คา่ สมาชกิ ค่าบรกิ ารตามช่วงเวลา จ�ำนวนเงินรวม 13.00-15.30 18.00-20.30 เป็นสมาชิก 400 25 x 11 = 275 30 x 11 = 330 1,005 ไม่เปน็ สมาชกิ - 50 x 11 = 550 60 x 11 = 660 1,210 2.3 ควรสมคั รเป็นสมาชกิ ของสระวา่ ยนำ�้ เพราะจะเสียคา่ ใช้จ่ายนอ้ ยกว่า คมู่ ือการใชแ้ บบฝึกพฒั นาทักษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมินของ 39

ชดุ คำ�ถามที่ 3 : กระบวนการทางคณติ ศาสตร ์ ตีความและประเมนิ ผลลัพธท์ างคณติ ศาสตร์ เจตนาของชุดคำ�ถาม ใชเ้ ง่อื นไขทมี่ ีประกอบในการพิจารณาเพือ่ ประเมินวา่ ข้อความกำ�หนดสามารถสรุปได้ จากเงื่อนไขทมี่ อี ยู่หรือไม่ แนวคิดการหาค�ำตอบ A และ B ไปใช้บรกิ ารสระว่ายน�้ำในวันและเวลาเดยี วกัน ซ่ึงสามารถสรา้ งตาราง เปรยี บเทียบคา่ ใช้จา่ ยระหว่างการเป็นสมาชิกและไม่เป็นไดด้ ังตาราง ประเภท ค่าใช้จ่ายท้ังหมดในสปั ดาห์ท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เปน็ สมาชกิ 860 920 980 1,040 1,100 1,160 1,220 1,280 1,340 1,400 ไมเ่ ปน็ สมาชกิ 120 240 360 480 600 720 840 960 1,080 1,200 เม่อื เปรียบเทยี บคา่ ใชจ้ ่ายในการไปใชบ้ รกิ ารสระว่ายน�้ำ คำ�ตอบ - ผทู้ ่เี ปน็ สมาชกิ จะมีคา่ ใชจ้ า่ ยนอ้ ยท่สี ุด คอื 860 บาท (คา่ สมคั รสมาชกิ และคา่ ใช้ บรกิ ารในสปั ดาหแ์ รก) และเพ่มิ ขน้ึ สัปดาห์ละ 60 บาท ผทู้ ่ไี ม่เป็นสมาชิกจะมีค่าใชจ้ ่าย นอ้ ยที่สดุ คือ 120 บาท (ค่าใชบ้ รกิ ารในสปั ดาหแ์ รก) และเพ่ิมขน้ึ สัปดาห์ละ 120 บาท แตไ่ มม่ สี ัปดาห์มคี ่าใช้จ่ายรวมทั้งหมดเท่ากับ 1,040 ยกเวน้ คนทเ่ี ปน็ สมาชิก - จากคา่ ใช้จ่ายท่ปี รากฏ คนเป็นสมาชกิ ไปใชบ้ ริการเปน็ สัปดาหท์ ี่ 4 (ครงั้ ที่ 8) ไมเ่ ป็นสมาชิกใช้บรกิ ารเปน็ สปั ดาหท์ ี่ 6 (ครงั้ ท่ี 12) - สปั ดาหท์ ี่ 4 สมาชิกมคี า่ ใชจ้ า่ ย 1,460 บาท ผไู้ ม่เป็นสมาชิก ค่าใช้จ่าย 1,320 บาท ใช่ ไมใ่ ช่ ไม่ใช่ สถานการณ์ : โรงเรอื นปลูกผักปลอดสารพษิ ชดุ คำ�ถามท่ี 1 : กระบวนการทางคณติ ศาสตร ์ ตีความและประเมนิ ผลลัพธท์ างคณิตศาสตร์ เจตนาของชุดคำ�ถาม การเชอื่ มโยงภาพสองมติ กิ บั สามมิติ แนวคิดการหาคำ�ตอบ ใชค้ วามรู้เกี่ยวกบั การมองภาพด้านหน้า ดา้ นขา้ ง ดา้ นหลงั และดา้ นบน คำ�ตอบ 40 คมู่ อื การใช้แบบฝึกพัฒนาทกั ษะการแกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมินของ

ชุดคำ�ถามท่ี 2 : กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ใชห้ ลกั การและกระบวนการทางคณติ ศาสตรใ์ นการแกป้ ญั หา เจตนาของชุดคำ�ถาม ใช้ความรู้เก่ียวกบั การเปรียบเทยี บปรมิ าณสองปรมิ าณประเมินขอ้ สรปุ ทางคณิตศาสตร์ว่าเป็นจรงิ หรอื ไม่ แนวคดิ การหาคำ�ตอบ หาพ้ืนทขี่ องรปู แตล่ ะส่วน และนำ�พื้นทท่ี ไ่ี ดไ้ ปใชป้ ระกอบในการพิจารณาเพอ่ื ตอบ คำ�ถาม คำ�ตอบ 2.1 พ้นื ทที่ ั้งหมด [2 x (2+0.5+2)] x [2(1.5+0.5+1.5)] = 9x7 = 63 ตารางเมตร 2.2 พ้ืนทป่ี ลูกผัก 2x1.5x2x2x4 = 48 ตารางเมตร 2.3 พน้ื ที่ทางเดิน 63 - 48 = 15 ตารางเมตร 2.4 ใช่ ใช่ ใช่ ไมใ่ ช่ ชุดคำ�ถามที่ 3 : กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ใช้หลกั การและกระบวนการทางคณติ ศาสตรใ์ นการแก้ปัญหา เจตนาของชดุ คำ�ถาม ใช้สมบัตขิ องรูปสามเหลี่ยมมมุ ฉากเพอื่ ความยาวของหลักคาบน และใชค้ วามสัมพันธ์ ของพ้นื ท่ขี องรปู สเี่ หล่ยี มผืนผ้า 2 รูป ท่มี ีความสมั พนั ธ์กนั หาสว่ นประกอบของรปู ใด รปู หน่งึ ใน 2 รูปน้ัน โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับการหาพื้นที่ แนวคดิ การหาคำ�ตอบ ใชท้ ฤษฎีบทพีทาโกรสั หาความกวา้ งของหลังคาบนเพอื่ หาพนื้ ที่ ใช้ความสัมพนั ธ์ ระหว่างพน้ื ที่ของหลงั คาบนและหลงั คาล่าง หาความกว้างของหลงั คาล่าง คำ�ตอบ 3.1 ความกวา้ งของหลงั คาบน 10 เมตร 3.2 ความกว้างของหลังคาบน 5 เมตร สถานการณ์ : โดมตากแห้ง ชุดคำ�ถามที่ 1 : กระบวนการทางคณติ ศาสตร ์ ใชห้ ลกั การและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปญั หา เจตนาของชดุ คำ�ถาม เชอ่ื มโยงปญั หาจากสถานการณส์ ปู่ ญั หาการหาพืน้ ทีข่ องรูปสเี่ หลย่ี มพน้ื ผ้าเพ่อื หา คำ�ตอบ แนวคิดการหาคำ�ตอบ ใชแ้ นวคิดการหาพืน้ ทีใ่ ชง้ านของโดม ซง่ึ หมายถงึ พน้ื ท่ขี องโดมซ่ึงเป็นรูปสเ่ี หลี่ยม ผนื ผา้ ซงึ่ หาได้จาก ความกวา้ ง x ความยาว คำ�ตอบ (49.2) (99.2) (166.2) คู่มือการใชแ้ บบฝึกพัฒนาทักษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ 41

ชุดคำ�ถามที่ 2 : กระบวนการทางคณิตศาสตร์ คิดสถานการณ์ปัญหาในเชิงคณิตศาสตร์ เจตนาของชดุ คำ�ถาม ใช้แนวคดิ คณิตศาสตร์ในการหาปรมิ าณของผลิตภณั ฑ์ท่สี ามารถอบได้ของรปู A B และ C ตามเง่อื นไขทีก่ ำ�หนดให้ แนวคดิ การหาคำ�ตอบ ตคี วามประโยคสัญลกั ษณท์ างคณิตศาสตร์โดยอ้างอิงข้อมลู จากปรมิ าณของผลติ ภัณฑ์ ท่สี ามารถอบได้ของรูป A B และ C คำ�ตอบ (✗) (✓) (✓) (✗) ชดุ คำ�ถามที่ 3 : กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ตีความและประเมนิ ผลลัพธท์ างคณิตศาสตร์ เจตนาของชุดคำ�ถาม เชอื่ มโยงภาพทป่ี รากฏเพือ่ แสดงแทนด้วยภาพทางคณติ ศาสตร์ แนวคดิ การหาคำ�ตอบ 4.1 ความยาวโคง้ พาราโบลาของโดมจะขึ้นอยกู่ บั ความกวา้ งของพน้ื ที่ใชง้ านของโดม ดังนั้น ซ่งึ โดมขนาดใหญ่และกลางมีความกว้างของพืน้ ทีใ่ ชง้ านเทา่ กัน จึงมีความยาว โคง้ พาราโบลาของโครงหลงั คาเทา่ กัน 4.2 โคง้ พาราโบลาของโครงหลังคาเมอ่ื คลอี่ อกจะเป็นเส้นตรง ดงั นัน้ แผน่ โพลี คาร์บอเนตทใี่ ชม้ งุ หลังคาทีม่ ีความยาวเท่ากบั ความยาวของพื้นท่ีใช้งาน และกวา้ งเทา่ โคง้ พาราโบลาของโครงหลงั คา 4.3 แผ่นโพลีคารบ์ อเนตทใ่ี ช้มุงหลังคาเป็นรูปสเ่ี หลย่ี มผืนผ้าท่ีมขี นาดของขนึ้ อยู่กับ พ้ืนที่ ใช้งาน คำ�ตอบ ไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ สถานการณ์ : IT SHOP ชดุ คำ�ถามที่ 1 : กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ตคี วามและประเมินผลลัพธท์ างคณิตศาสตร์ เจตนาของชดุ คำ�ถาม ใช้ความหมายของร้อยละ และสัดส่วนในการตีความขอ้ สรปุ ทางคณิตศาสตร์ แนวคดิ การหาคำ�ตอบ บริษัทเอส โมบาย ผลิตสินค้าอเิ ล็กทรอนิกส์ 2 ประเภท คอื สมารท์ โฟนและแท็บเลต็ โดยเฉลย่ี 12,000 เครอื่ งตอ่ วัน 1.1 สองในสามของ 12,000 เทา่ กบั 8,000 1.2 รอ้ ยละ 5 เป็นจำ�นวนแทบ็ เล็ตทช่ี ำ�รุดโดยเฉลีย่ ตอ่ วัน ในความเป็นจริงทุก ๆ การผลิต 100 เครื่องอาจมีแทบ็ เลต็ ท่ชี ำ�รุดมากกว่า น้อยกว่า หรือเทา่ กับ 5 เคร่อื ง 1.3 การส่มุ สมาร์ทโฟนในแต่ละวันไปตรวจสอบ ความนา่ จะเป็นทจ่ี ะได้เคร่อื งท่ีชำ�รดุ ป ร ะ ม า ณ 1 040 = 0.04 คำ�ตอบ ไมใ่ ช่ ไม่ใช่ ใช่ 42 คมู่ ือการใช้แบบฝึกพัฒนาทักษะการแก้ปญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ

ชดุ คำ�ถามที่ 2 : กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ตีความและประเมนิ ผลลัพธท์ างคณิตศาสตร์ เจตนาของชดุ คำ�ถาม ใหเ้ หตุผลทางคณิตศาสตร์สนบั สนุนการลงขอ้ สรปุ ทางคณติ ศาสตรท์ ี่สมเหตุสมผล แนวคดิ การหาคำ�ตอบ พิจารณาว่าข้อความทางคณิตศาสตร์ทีก่ ำ�หนดให้ ไมถ่ ูกตอ้ งอย่างไร และใชแ้ นวคดิ หรอื ความรเู้ กยี่ วกับคา่ เฉล่ียแสดงวธิ ีการคดิ โดยการยกตัวอย่าง เพอื่ ยนื ยันวา่ เปน็ ขอ้ สรปุ ท่ีไม่ถูกตอ้ ง คำ�ตอบ ตวั อย่าง การแสดงเหตผุ ล/วิธคี ดิ เพอื่ สนบั สนนุ ขอ้ สรปุ : จำ�นวนสมารท์ โฟนทีส่ ่งซอ่ ม ต่อวัน 288 เครอ่ื ง จำ�นวนแทบ็ เล็ตท่สี ง่ ซ่อมตอ่ วัน 240 เครือ่ ง ดังนน้ั จำ�นวน สมาร์ทโฟนทส่ี ่งซ่อมต่อวันมากกว่าจำ�นวนแท็บเล็ตทีส่ ง่ ซ่อมตอ่ วัน ชุดคำ�ถามท่ี 3 : กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ใชห้ ลกั การและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ในการแกป้ ัญหา เจตนาของชุดคำ�ถาม แสดงการคำ�นวณโดยใชค้ วามรู้เก่ยี วกบั ร้อยละประกอบการลงขอ้ สรุป แนวคิดการหาคำ�ตอบ หาจำ�นวนของสินคา้ ท่ชี ำ�รุดของทง้ั 2 บริษทั จำ�แนกตามประเภทของสินคา้ ผลติ คำ�ตอบ 3.1 จำ�นวนของสนิ คา้ ท่ชี ำ�รุดของทง้ั 2 บรษิ ัทจำ�แนกตามประเภทของสนิ ค้าผลติ สมารท์ โฟน เอส โมบาย สยาม โฟน แท็บเลต็ จำ�นวนสนิ ค้าทีผ่ ลติ โดย จำ�นวนสินคา้ ท่ชี ำ�รุดโดย จำ�นวนสนิ ค้าทีผ่ ลิตโดย จำ�นวนสนิ คา้ ท่ชี ำ�รุดโดย รวม เฉล่ียตอ่ วนั เฉลยี่ ต่อวนั เฉลย่ี ตอ่ วนั เฉล่ียตอ่ วนั 7,200 288 9,400 282 4,800 240 2,600 156 12,000 428 12,000 438 3.2 428 3.3 438 3.4 ไมถ่ กู ตอ้ ง เพราะ 428 < 438 คู่มือการใชแ้ บบฝึกพัฒนาทกั ษะการแกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมินของ 43

สถานการณ์ : แรงงานสูงอายุ ชดุ คำ�ถามท่ี 1 : กระบวนการทางคณิตศาสตร ์ ตีความและประเมนิ ผลลพั ธท์ างคณิตศาสตร์ เจตนาของชดุ คำ�ถาม อา่ นแผนภาพการนำ�เสนอข้อมูล โดยใชค้ วามรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกับสดั ส่วน แนวคดิ การหาคำ�ตอบ สัดสว่ น เปน็ การเปรยี บเทยี บปริมาณทก่ี ลา่ วถงึ กับปริมาณทัง้ หมดเป็น 100 ดังนนั้ 1.1 จากแผนภาพทุกประเทศให้ประชากรสูงอายุเปน็ 100 มปี ระชากรสงู อายุอยใู่ น ภาคแรงงานเปน็ ร้อยละทป่ี รากฏตามภาพ ดังนนั้ สัดสว่ นประชากรสูงอายุอยใู่ น ภาคแรงงานของสเปนจึงน้อยที่สุด 1.2 สดั สว่ นหรอื ร้อยละไม่สามารถบอกได้วา่ มีปรมิ าณมากกว่าหรือน้อยกวา่ ได้ เนือ่ งจาก ไมท่ ราบปรมิ าณทั้งหมดท่มี อี ยจู่ รงิ ดังน้นั ไมส่ ามารถบอกไดว้ ่าแรงงานผู้สูงอายุของ ญ่ปี ุ่นและนวิ ซแี ลนด์มีจำ�นวนใกลเ้ คียงกนั ถงึ แม้สดั ส่วนแรงงานผูส้ งู อายจุ ะใกลเ้ คียงกัน 1.3 แผนภาพดา้ นบนเรียงลำ�ดบั ข้อมูลตามสดั สว่ นแรงงานผูส้ ูงอายุไมใ่ ชจ่ ำ�นวน แรงงานผู้สูงอายุ คำ�ตอบ ใช่ สรุปไม่ได้ ไม่ใช่ ชดุ คำ�ถามท่ี 2 : กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ตีความและประเมินผลลัพธท์ างคณติ ศาสตร์ เจตนาของชดุ คำ�ถาม ใหเ้ หตุผลทางคณิตศาสตร์เพ่อื โต้แย้งขอ้ ทางคณิตศาสตรท์ ไ่ี มถ่ กู ต้อง แนวคดิ การหาคำ�ตอบ ใชห้ ลักการทางคณติ ศาสตร์เกย่ี วกับรอ้ ยละหรือสัดส่วน แสดงให้เหน็ ว่าข้อสรุปนั้น ไม่เป็นไปตามหลกั การของร้อยละหรือสัดสว่ นอย่างไร คำ�ตอบ (ตัวอยา่ งคำ�ตอบ ขอ้ มลู ในแผนภาพเป็นการเปรียบเทียบจำ�นวนผู้สงู อายุทีอ่ ยู่ในภาคแรงงานกับจำ�นวน ผู้สูงอายทุ ้ังหมด 100 คน ซง่ึ ไม่สามารถบอกจำ�นวนผสู้ งู อายทุ ้ังหมดหรอื ผ้สู งู อายุท่อี ยู่ ในภาคแรงงานของแตล่ ะประเทศได้ ชุดคำ�ถามที่ 3 : กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ใช้หลกั การและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์แก้ปัญหา เจตนาของชุดคำ�ถาม อา่ นข้อมูลจากการนำ�เสนอขอ้ มูลดว้ ยแผนภูมิรูปวงกลม แนวคดิ การหาคำ�ตอบ เชื่อมโยงขอ้ มูลจากแผนภาพวงกลมและกราฟแท่ง และใช้ความรรู้ อ้ ยละในการหาคำ�ตอบ คำ�ตอบ 3.1 18,760,000 คน 3.2 1,181,880 คน 44 คู่มือการใชแ้ บบฝกึ พฒั นาทกั ษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมินของ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook