Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี 2552

รายงานประจำปี 2552

Published by เพชรรัตน์ กิมยู่ฮะ, 2015-08-25 04:31:45

Description: รายงานประจำปี 2552

Keywords: รายงานประจำปี 2552

Search

Read the Text Version

รายงานประจําปี 2552 สํานักหอสมุด มหาวทิ ยาลยั บรู พา

๒ คํานํา รายงานประจําปี 2552 สํานกั หอสมดุ มหาวิทยาลัยบูรพา ฉบบั น้ี จดั ทําข้นึ โดยรวบรวมผลการดาํ เนนิ งานในรอบปีงบประมาณ 2552 (ตุลาคม 2551 - กันยายน 2552) โดยสรุปขอ้ มูลประวตั ิความเป็นมา การแบง่ ส่วนราชการ อัตรากาํ ลัง งบประมาณ และสถิติตา่ ง ๆ เก่ียวกบัการให้บริการ รวมท้ังกิจกรรมทไี่ ด้ดาํ เนนิ การในรอบปีที่ผา่ นมา เพ่อื แสดงให้เหน็ ถึงภาพรวมในการดําเนนิ งานของสํานกั หอสมุด มหาวทิ ยาลัยบูรพา ขอขอบคุณผ้เู กีย่ วขอ้ งทกุ ฝ่ายฯ ทไี่ ดใ้ ห้ความรว่ มมือในการให้ข้อมูล ทําให้รายงานประจาํ ปีฉบับนี้สาํ เร็จลุลว่ งได้ด้วยดี และหากการจัดทํารายงานฉบบั นีม้ ขี อ้ บกพร่องในสว่ นใดกรณุ าให้ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื ปรบั ปรงุ แกไ้ ขในแนวทางทดี่ ขี ึ้น อนั จะเป็นประโยชนส์ าํ หรับในการจดั ทํารายงานประจําปขี องสํานักหอสมุดต่อไป สํานกั หอสมุด มหาวทิ ยาลัยบูรพา พฤษภาคม 2552

๓สาํ นกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลัยบรู พาประวตั คิ วามเป็นมา สาํ นักหอสมุด มหาวทิ ยาลัยบรู พา เป็นหน่วยงานส่งเสริมวชิ าการของมหาวทิ ยาลัยทาํ หนา้ ท่ี เป็นศนู ยบ์ ริการสารสนเทศเพอ่ื การศึกษา ค้นควา้ และวิจัย พฒั นามาจากหอ้ งอ่านหนังสือซ่ึงเปิดบริการคร้งั แรกเม่ือวันท่ี ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ โดยใชห้ ้องเลขท่ี ๒๐๓ ในอาคารเรยี นของวทิ ยาลยั วชิ าการศึกษาบางแสน ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๙๙ ห้องสมุดได้ย้ายมาอยอู่ าคารอํานวยการ โดยได้ใช้หอ้ งชน้ั ลา่ งของอาคารเป็นที่ปฏบิ ตั ิงานจนถึงปี พ.ศ. ๒๕๐๓ วิทยาลยั ได้สร้างอาคารเรยี นหลังใหมเ่ สร็จเรยี บร้อย ห้องสมดุ ได้ย้ายอีกครงั้ มาอยูใ่ นหอ้ งโถงช้นั ล่างของอาคารเรียนซกี หนงึ่ จนกระทั่งปี พ.ศ.๒๕๑๖ วิทยาลัยไดง้ บประมาณก่อสรา้ งอาคารหอสมดุ เป็นเอกเทศ มีลักษณะเป็นอาคาร ๒ ชนั้ และเปิดใช้เมอื่ วนั ที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ เมือ่ วทิ ยาลัยวชิ าการศกึ ษาได้รบั การเปลี่ยนฐานะเป็นมหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ วทิ ยาเขตบางแสน และมหาวทิ ยาลัยบรู พา ตามลาํ ดบั นั้น ในปีงบประมาณ ๒๕๓๖-๒๕๓๙สาํ นักหอสมดุ ได้รบังบประมาณการกอ่ สรา้ งอาคารสํานกั หอสมดุ หลงั ใหมส่ งู 7 ช้นั มีพน้ื ท่ีใช้สอย ๑๑,๕๐๐ ตารางเมตร และได้รับพระกรณุ าธิคุณจากสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี โปรดเกลา้ ฯ พระราชทานช่อื“อาคารเทพรตั นราชสดุ า” และเสดจ็ พระราชดําเนนิ ทรงเปดิ อาคาร เมื่อวนั ที่ ๑๖ ธนั วาคม ๒๕๓๘

๔ปรัชญา: หอ้ งสมดุ เปน็ แหลง่ เรียนรู้สู่การพฒั นาสังคมปณธิ าน: กา้ วสู่ความเปน็ เลิศทางการให้บริการสารสนเทศ พร้อมกับมงุ่ ม่ันให้บริการดว้ ยความสะดวก รวดเร็ว แมน่ ยาํ นา่ เช่ือถือและเต็มไปดว้ ยความมีมติ รไมตรีวสิ ัยทศั น:์ มงุ่ พฒั นาสูค่ วามเป็นเลิศในการใหบ้ รกิ ารสารสนเทศ ด้วยบคุ ลากรท่ีมีคณุ ภาพ และเทคโนโลยีทที่ ันสมยั เพอื่ ความเปน็ มาตรฐานสากลภารกจิ หลัก ๑. จดั สาํ นกั หอสมดุ ให้เปน็ ศนู ยร์ วมวิชาการในรูปแบบของศนู ย์บริการสารสนเทศ ในทกุ รปู แบบตลอดจนเป็นศนู ย์บริการเทคโนโลยที างการศึกษาและเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพื่อสนับสนุนและพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นการสอน การศึกษาคน้ ควา้ และการวิจยั ของนสิ ิต อาจารย์ และบคุ ลากรอืน่ ๆ ของมหาวทิ ยาลัย ๒. พฒั นาสํานกั หอสมุดให้เป็นหอ้ งสมดุ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ และหอ้ งสมุดดจิ ิทลั ทสี่ มบรู ณแ์ บบ ๓. ส่งเสริมการใชท้ รพั ยากรสารสนเทศรว่ มกนั ของหนว่ ยงานภายในมหาวิทยาลยัโดยพฒั นาเครือข่ายห้องสมุดของมหาวิทยาลัยบรู พา (Burapha University Library Network) ๔. ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ให้บคุ ลากรสํานักหอสมุดผลติ ผลงานวิจยั เพอื่ พฒั นาการดาํ เนินงานและการให้บรกิ ารสารสนเทศ ๕. พัฒนากลไกการประกนั คุณภาพการดาํ เนินงานและการใหบ้ ริการของสํานกั หอสมดุเปา้ หมายการดาํ เนินงาน ๑. เพื่อสนับสนุนดา้ นวชิ าการของมหาวิทยาลยั ใหบ้ รรลตุ ามภารกิจหลัก ๔ ประการ คอืการเรยี นการสอน การวจิ ยั การบริการวชิ าการแก่ชมุ ชน และการสง่ เสริมทาํ นบุ ํารงุ ศลิ ปวัฒนธรรม ๒. เพือ่ จดั หาและให้บรกิ ารทรัพยากรสารสนเทศทุกรปู แบบ ตอบสนองความตอ้ งการของผู้ใชบ้ ริการ ๓. เพอ่ื จดั ระบบทรพั ยากรสารสนเทศใหผ้ ใู้ ชเ้ ข้าถึงได้สะดวก รวดเร็ว ถกู ตอ้ ง และตรงตามความต้องการโดยใชเ้ ทคโนโลยสี มัยใหม่ ๔. เพ่อื สนบั สนุนการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ ของชุมชนพนั ธกจิ สาํ นักหอสมุด มีหน้าท่หี ลกั ในการสนบั สนนุ การเรยี นการสอนและการวจิ ัยในมหาวิทยาลยั บูรพาโดยการจดั หา จดั เก็บ จัดระบบ บาํ รงุ รกั ษา และให้บรกิ ารสารสนเทศทางวชิ าการในทกุ รปู แบบ ตลอดจนพฒั นาระบบหอ้ งสมุดอเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละห้องสมุดดิจทิ ัล สาํ นักหอสมุดใหบ้ ริการเทคโนโลยีการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศทที่ ันสมยั มีประสิทธภิ าพ เป็นมาตรฐานสากล สามารถเชอ่ื มโยงการดาํ เนนิ งานและการใหบ้ รกิ ารในลกั ษณะเครอื ขา่ ยหอ้ งสมดุ ทั้งภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลัย ในระดบั ชาติและนานาชาติ โดยเน้นการให้บริการท่ีมีประสทิ ธภิ าพสงู สุดด้วยความสะดวก รวดเรว็ และจติ สํานกึ ในการให้บรกิ ารทด่ี ี

๕โครงสร้างการบริหารงานของสว่ นงาน โครงสร้างการบรหิ ารงานของสว่ นงาน ผูอํานวยการรองผอู าํ นวยการฝายบริการ รองผูอ ํานวยการฝาย วชิ าการและประกันคุณภาพผูช ว ยผูอํานวยการ ฝายบรกิ ารหัวหนา สาํ นักงาน หัวหนาฝายบริการ หัวหนา ฝา ย หวั หนา ฝายวเิ คราะห เลขานุการ สารสนเทศ พัฒนาทรพั ยากร ทรพั ยากรสารสนเทศ สารสนเทศหวั หนา ฝา ยเอกสาร หัวหนา ฝาย หัวหนา ฝา ย และวารสาร โสตทัศนศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ

๖บคุ ลากรของสว นงาน ตําแหน่ง ข้าราชการ พนกั งาน ลูกจ้าง พนักงาน รวม มหาวิทยาลยั ประจํา มหาวิทยาลัย๑. บรรณารักษ์ ๖ (เงนิ แผ่นดิน) ๒๐๒. เจา้ หนา้ ท่ีบริหารงานทว่ั ไป - (เงินรายได้) ๑๓. นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ๑ ๙ -๕ ๑๔. บุคลากร ๑ ๑ -- ๑๕. นกั วชิ าการเงนิ และบัญชี ๑ - -- ๒๖. นกั วิชาการโสตทศั นศกึ ษา ๑ - -- ๓๗. ผปู้ ฏิบัตงิ านโสตทศั นศกึ ษา ๑ - -๑ ๑๘. ผู้ปฏบิ ตั ิงานหอ้ งสมดุ - ๑ -๑ ๒๒๙. ผปู้ ฏิบัตงิ านหอ้ งสมดุ ชาํ นาญการ ๑ - -- ๑๑๐. นกั วชิ าการพัสดุ - ๒ - ๒๐ ๑๑๑. นกั วิชาการคอมพวิ เตอร์ - - -- ๑๑๒. พนกั งานเย็บเล่ม - ๑ -- ๓๑๓. พนักงานขบั รถยนต์ - ๑ -- ๑๑๔. พนกั งานบรกิ ารเอกสารท่ัวไป - - ๓- ๑๑๕. ผูป้ ฏบิ ตั ิงานบรหิ าร - - -๑ ๑๑๖. นกั วิชาการศึกษา - - ๑- ๑๑๗. ชา่ งเทคนคิ - - -๑ ๑๑๘. ชา่ งเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ - - -๑ ๑รวม ๑๒ - -๑ ๖๓ - -๑ ๑๕ ๔ ๓๒ จาํ นวนบคุ ลากร ๑๒ ขาราชการ พนกั งานฯ เงนิ แผน ดนิ๓๒ ลูกจา งประจาํ ๑๕ ๔ พนักงานฯ เงนิ รายได

๗งบประมาณของสว นงานงบประมาณปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ตามหมวดรายจ่ายหมวดรายจ่าย / งบประมาณ งบประมาณ รวมเงนิ (หน่วยนับ: บาท)แหล่งเงิน แผน่ ดิน เงินรายได้๑ งบดาํ เนินการ รอ้ ยละ ๑.๑ เงนิ เดอื นและคา่ จา้ งประจํา ๓,๘๙๑,๒๐๐ ๓,๓๑๒,๗๐๐ ๓,๘๙๑,๒๐๐ ๑๐.๔๐ ๑.๒ เงนิ เดอื นคา่ จ้างช่วั คราว ๓,๒๗๑,๓๐๐ ๑๘,๑๐๕,๘๐๐ ๓,๓๑๒,๗๐๐ ๘.๘๕ ๑.๓ ค่าตอบแทนใชส้ อยและวัสดุ ๙๒,๐๐๐ ๙๖๐,๐๐๐ ๒๑,๓๗๗,๑๐๐ ๕๗.๑๐ ๑.๔ คา่ สาธารณูปโภค ๑,๘๙๕,๙๐๐ ๙๖๐,๐๐๐ ๒.๕๖ ๑.๕ เงินอุดหนนุ ๓,๓๕๘,๗๐๐ ๑,๙๘๗,๙๐๐ ๕.๓๑ ๑.๖ งบกลาง ๓,๓๕๘,๗๐๐ ๘.๙๗๒. งบลงทุน ๕๐๐,๐๐๐ ๒,๐๕๐,๐๐๐ ๒,๐๕๐,๐๐๐ ๖.๘๑ ๒.๑ ค่าครภุ ณั ฑ์ทดี่ นิ และสงิ่ ก่อสร้าง ๗,๗๕๔,๕๐๐ ๒๙,๖๘๓,๑๐๐ ๓๗,๔๓๗,๖๐๐ ๑๐๐รวมทัง้ สน้ิงบประมาณท่ีไดรับจําแนกตามหมวดรายจา ย ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ๘.๙๗% ๖.๘๑% ๑๐.๔๐% เงินเดอื นและคาจา งประจาํ ๕.๓๑% ๘.๘๕% เงินเดอื นคาจา งชว่ั คราว๒.๕๖% คาตอบแทนใชส อยและวสั ดุ คา สาธารณปู โภค ๕๗.๑๐% เงนิ อดุ หนนุ งบกลาง คา ครภุ ัณฑท ่ดี ินและสงิ่ กอสรา ง

๘ สรุปเปรยี บเทยี บแหล่งงบประมาณทไี่ ด้รับจดั สรร ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๒แหลง่ เงนิ ปี ๒๕๕๐ ปี ๒๕๕๑ ปี ๒๕๕๒ ๑๒,๐๑๗,๘๐๐ ๗,๗๕๔,๕๐๐๑. เงนิ งบประมาณแผ่นดนิ ๒,๗๖๙,๘๐๐ ๒๙,๒๗๒,๘๐๐ ๒๙,๖๘๓,๑๐๐๒. เงินงบประมาณรายจ่ายจาก ๒๕,๘๔๘,๒๐๐ ๔๑,๒๙๐,๖๐๐ ๓๗,๔๓๗,๖๐๐ ๔๔.๒๘ ๙.๓๓เงินรายได้รวมทงั้ สน้ิ ๒๘,๖๑๘,๐๐๐ลดลงรอ้ ยละ ๒๙,๒จ๒,๘๐๐ ๒๙,๖๘๓,๑๐๐ ๒๕,๘๔๘,๒๐๐๒,๗๖๙,๘๐๐ ๑๒,๐๑๗,๘๐๐ ๗,๗๕๔,๕๐๐ ป ๒๕๕๐ ป ๒๕๕๑ ป ๒๕๕๒ เงินงบประมาณแผน่ ดิน เงินงบประมาณรายจา่ ยจากเงินรายได้

๙สรปุ เปรยี บเทียบงบดาํ เนนิ การของมหาวทิ ยาลัย และสํานักหอสมดุ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒แหล่งเงิน มหาวิทยาลยั บรู พา สาํ นกั หอสมุด รวมเงนิ๑. เงนิ งบประมาณแผน่ ดนิ ๙๑,๘๗๓,๕๐๐ ๓,๒๗๑,๓๐๐ ๙๕,๑๔๔,๘๐๐๒. เงินงบประมาณรายจ่าย ๗๔๔,๑๒๒,๑๐๐ ๑๙,๐๖๕,๘๐๐ ๗๖๓,๑๘๗,๙๐๐จากเงนิ รายได้รวมทั้งสน้ิ ๘๓๕,๙๙๕,๖๐๐ ๒๒,๓๓๗,๑๐๐ ๘๕๘,๓๓๒,๗๐๐คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙๗.๔๐ ๒.๖๐ ๑๐๐สรุปงบดําเนนิ การท่ไี ดร ับจากมหาวทิ ยาลัย ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ๒.๖๐ % มหาวทิ ยาลัยบูรพา สาํ นักหอสมุด ๙๗.๔๐ % หมายเหตุ งบดําเนินการ หมายถึง งบหมวดเงนิ เดอื น ค่าตอบแทน คา่ ใช้สอย ค่าวสั ดหุ อ้ งสมุดและค่าวัสดสุ ํานกั งาน คา่ ใช้จ่ายในการพัฒนาระบบหอ้ งสมดุ ค่าสาธารณูปโภค เงนิ อดุ หนุน งบกลาง และค่าเสอ่ื มราคา โดยไมร่ วมงบลงทุน (งบครุภณั ฑ์ ที่ดนิ ส่ิงก่อสร้าง)

วสิ ัยทศั น แผนผงั แสดงความสัมพันธข องวสิ ยั ทัศน ประเด็นยุทธศาสตรแ ละเปาประสงค รายงานการประเมนิ ตนเอง ปก ารศกึ ษา 2552 สาํ นกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลัยบรู พาพนั ธกจิ ใหบ รกิ ารทมี่ ปี ระสิทธภิ าพและมาตรฐานระดบั สากลดวยเทคโนโลยที ี่ทันสมัย และบคุ ลากรที่มคี ุณภาพ สนบั สนนุ ดา นวชิ าการของมหาวิทยาลยั จดั หาและใหบ ริการทรัพยากรสาร จัดระบบทรัพยากรสารสนเทศ ใหผูใ ชเขาถึง สนับสนุนการเรยี นรตู ลอดชีวติ ของ ใหบรรลุตามภารกิจหลกั 4 ประการ คือ การเรียน สนเทศทุกรปู แบบ ครอบคลุมทุกสาขาวิชาท่ี ไดสะดวก รวดเรว็ ถกู ตอง และตรงตาม ประชาคมในมหาวิทยาลยั และสงั คม การสอน การวจิ ัย การบริการวชิ าการแกช มุ ชน และ ความตองการ โดยใชเ ทคโนโลยีทีท่ ันสมยั เปดสอนในมหาวทิ ยาลยั สง เสรมิ ศิลปวฒั นธรรม ประเดน็ บริการสารสนเทศเพ่อื การเรียนการสอน การวจิ ัย การบริการ สรางศนู ยรวมทรัพยากรสารสนเทศท่ี พัฒนาระบบการจดั การทรพั ยากร เสริมสรา งสงั คม ยทุ ธศาสตร วชิ าการแกชุมชน และการสง เสริมศลิ ปวัฒนธรรมทส่ี มบูรณ สมบูรณ ครอบคลมุ สารสนเทศทท่ี ันสมยั และมี แหง การเรยี นรูตลอดชวี ิต ประสิทธภิ าพเปา ประสงค ครบถว นและมปี ระสิทธภิ าพ ทกุ สาขาวชิ าทีเ่ ปด สอนในมหาวิทยาลัย●ดานผลสมั ฤทธิ์สูงสุด เปน องคก รใหบ รกิ ารสารสนเทศท่ีมีบุคลากรซงึ่ มีความเชย่ี วชาญ เปนศูนยร วมทรพั ยากรสารสนเทศท่ีสมบูรณครบถว นพรอมทั้งระบบการ เปนศูนยก ลางการเรยี นรูของภมู ิภาคและ และมีจิตสาํ นกึ ในการใหบ ริการ จัดการและการบริการดว ยเทคโนโลยีท่ที นั สมยั ชุมชนภาคตะวนั ออก●เปาประสงคดา นผรู บั บรกิ าร เปนองคก รที่เปนแบบอยา งในการใหบริการสารสนเทศ ระบบทรพั ยากรสารสนเทศเขา ถงึ ไดส ะดวก รวดเร็ว ผรู ับบริการใหการยอมรับและเชอื่ มั่นในคณุ ภาพของ ทม่ี มี าตรฐานระดบั สากล ถกู ตองครบถว นตามความตองการของผใู ช การบรกิ ารสารสนเทศ●เปา ประสงคดา นการบรหิ าร เปนหอ งสมุดดจิ ทิ ลั และเปน ศนู ยกลางการเรยี นรูด ว ยตนเองทีม่ ี เปนองคกรช้ันนําดา นการบรกิ ารสารสนเทศทไี่ ดรับการยอมรบัจดั การภายใน มาตรฐานระดบั สากล ในระดับประเทศและระดับภมู ิภาค●เปาประสงค บุคลากรเปนผูม คี วามรูความสามารถดา นการจดั การและการบริการสารสนเทศ ๑๐ดา นการพัฒนา พรอ มทั้งมีจิตสํานกึ ในการใหบ ริการองคกร ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศทนั สมยั มปี ระสิทธภิ าพ และมกี ารพัฒนาอยา งตอ เน่ือง

๑๑กรรมการบริหาร๑. กรรมการประจําสํานกั ประกอบดว้ ยรายชอื่ กรรมการ ดงั ตอ่ ไปน้ี๑.๑ รองศาสตราจารย์ ดร.เรณา พงษเ์ รอื งพนั ธ์ุ ประธานกรรมการ๑.๒ รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีวรรณ มคี ณุ รองประธานกรรมการ๑.๓ รองศาสตราจารย์เฉลยี ว พันธ์ุสีดา กรรมการ๑.๔ รองศาสตราจารยป์ ราณี เชียงทอง กรรมการ๑.๕ รองศาสตราจารยว์ าณี ฐาปนวงศศ์ านติ กรรมการ๑.๖ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ างคนา ธรรมลขิ ิต กรรมการ๑.๗ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยด์ วงกมล อ่นุ จติ ติ กรรมการ๑.๘ นางรศั มี ปานดษิ ฐ์ กรรมการ๑.๙ นายชวลติ ฮะกิมี กรรมการ๑.๑๐ นางอาภากร ธาตุโลหะ กรรมการ๑.๑๑ นางวนั ทนา กติ ิศรวี รพันธ์ุ กรรมการและเลขานกุ าร๒. ผบู้ รหิ ารสาํ นกั หอสมุด ประกอบด้วยรายชอื่ ดงั ตอ่ ไปนี้๒.๑ รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีวรรณ มคี ณุ อํานวยการ๒.๒ นางสายสณุ ี ฤทธริ งค์ รองผูอ้ ํานวยการฝ่ายบรกิ ารสารสนเทศ๒.๓ นางวนั ทนา กิตศิ รีวรพนั ธุ์ รองผู้อํานวยการฝา่ ยวชิ าการ และประกนั คณุ ภาพการศึกษา๒.๔ นางสาวจรญั ญา ศภุ วิฑติ พัฒนา ผู้ชว่ ยผอู้ ํานวยการฝา่ ยบริการสารสนเทศ๒.๕ นางวนั ทนา กิตศิ รวี รพันธุ์ หัวหนา้ ฝา่ ยพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ๒.๖ นางรัศมี ปานดษิ ฐ์ หัวหน้าฝา่ ยวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ๒.๗ นางสายสุณี ฤทธริ งค์ หัวหนา้ ฝา่ ยบรกิ ารสารสนเทศ๒.๘ นางสาวจรัญญา ศภุ วิฑิตพัฒนา หวั หน้าฝ่ายเอกสารและวารสาร๒.๙ นายชวลติ ฮะกีมี หัวหน้าฝ่ายโสตทัศนศกึ ษา๒.๑๐ นายเฉลมิ เกียรติ ดสี ม หัวหน้าฝา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ๒.๑๑ นายเกษตรพันธุ์ ชอบทาํ กิจ หัวหน้าสํานักงานเลขานุการ

๑๒ทรัพยากรสารสนเทศ หนว่ ยนบั จาํ นวนรายการ เลม่ ๒๖๙,๔๘๕๑. หนังสือ เลม่ ๗๗,๑๑๐ ๑.๑ ภาษาไทย ชอ่ื ๑,๖๘๕ ๑.๒ ภาษาต่างประเทศ ช่ือ ๙๒๗๒. วารสาร/ หนังสอื พมิ พ์ ๒.๑ วารสาร ชอื่ ๒๒ ชอ่ื ๔ ๒.๑.๑ ภาษาไทย ๒.๑.๒ ภาษาตา่ งประเทศ ชอ่ื เรอ่ื ง ๓,๔๕๖ ๒.๒ หนังสอื พมิ พ์ ชอ่ื เรื่อง ๑,๕๑๒ ๒.๒.๑ ภาษาไทย แผน่ ๖๘ ๒.๒.๒ ภาษาตา่ งประเทศ ม้วน ๑๘๓. สอ่ื โสตทศั นแ์ ละสอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์ เรอ่ื ง ๔๘๖ ๓.๑ เทปวีดทิ ัศน์ ชื่อเรอ่ื ง ๕,๘๙๐ ๓.๒ เทปเสยี ง ลกู ๓ ๓.๓ ไมโครฟิช ชุด ๕๐ ๓.๔ ไมโครฟลิ ์ม ชอ่ื เร่ือง ๓,๑๘๖ ๓.๕ สไลด์ ชื่อเรื่อง ๑,๒๐๑ ๓.๖ วซี ดี /ี ดวี ดี ี ชือ่ เรอ่ื ง ๑,๐๑๙ ๓.๗ ลูกโลก ชอ่ื เรอ่ื ง ๔๖๗ ๓.๘ แผนที่ ช่อื เรื่อง ๒๔๘ ๓.๙ ซีดีรอม - มัลติมีเดยี ฐาน ๙ ๓.๑๐ ซดี เี สยี ง ๓.๑๑ ซดี รี อมประกอบหนังสือ ชอื่ เรื่อง ๒๙๖ ๓.๑๒ ซดี ีรอมประกอบคมู่ ือ ชื่อเรอื่ ง ๑,๖๔๒ ๓.๑๓ เทปเสียงประกอบคมู่ อื ๓.๑๔ ฐานข้อมลู อิเล็กทรอนกิ ส์๔. หนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์ (E-book) ๔.๑ ภาษาไทย ๔.๒ ภาษาต่างประเทศ

๑๓ขอมลู ดา นการใหบ ริการรายการ หนว่ ยนบั ปรมิ าณงาน๑. ผู้ใชบ้ รกิ าร คน ๗๑๘,๖๙๓๒. การบรกิ ารยมื -คืน รายการ ๖๔๓,๖๐๗/ ๖๔๓,๕๒๒ ๒.๑ บรกิ ารยมื / คืนหนังสือ รายการ ๗๕,๕๔๙/ ๗๕,๕๓๙ ๒.๒ บรกิ ารยืม/ คนื สอื่ โสตทศั น์, สือ่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รายการ ๗๑๙,๑๕๖ รวมบริการยืมทรพั ยากรสารสนเทศ (๒.๑+๒.๒) รายการ ๓๐๕ ๒.๓ บริการยืมระหวา่ งหอ้ งสมดุ รายการ ๒๒๖ ที่นั่ง ๑,๑๑๘ ๑) ขอยมื เคร่อื ง ๕๙ ๒) ใหย้ มื๓. บรกิ ารทน่ี ง่ั อ่าน เคร่อื ง ๑๕๘๔. บริการเครอ่ื งคอมพิวเตอรเ์ พอ่ื สืบคน้ ฐานข้อมลูทรพั ยากรสารสนเทศของหอ้ งสมุด (OPAC) ชดุ ๙๕. บรกิ ารเครือ่ งคอมพวิ เตอรเ์ พ่ือสืบคน้ สารสนเทศจากอนิ เทอร์เนต็ และมลั ติมเี ดีย- ซีดีรอม๖. ชุดศึกษาเทปเสยี ง๗. ชุดศึกษาเทปวีดทิ ศั น์ ชดุ ๑๕๘. ชุดศึกษาวซี ดี ี/ ดวี ีดี ชดุ ๔๐๙. ชุดศึกษารายการโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียม ชดุ ๔๐๑๐. การฝึกอบรมการสืบค้นสารสนเทศ คน ๑,๕๓๕๑๑. การใหก้ ารศึกษาดงู านแกห่ นว่ ยงานอนื่ คน/ ครัง้ ๗๒๕/ ๒๐๑๒. ให้การฝึกงานแกน่ สิ ติ สาขาบรรณารกั ษศาสตร์ และ คน/ สถาบนั ๓๓/ ๗สารนิเทศศาสตร์ และสาขาอน่ื ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง๑๓. บริการตอบคาํ ถามและช่วยค้นควา้ คร้งั ๔,๘๒๑๑๔. บรกิ ารศูนย์การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง ครงั้ ๑๖,๕๔๓๑๕. บรกิ ารอนิ เทอร์เน็ต ครงั้ ๑๘๗,๗๖๒หมายเหตุ ขอ้ มลู ๑ มิถนุ ายน ๒๕๕๒ – ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓

๑๔กจิ กรรมในรอบปี๑. โครงการพฒั นาผบู้ รหิ ารระดบั กลาง ห้องสมดุ สถาบนั อดุ มศกึ ษา รุ่นท่ี ๓ ๑.๑ ความเปน็ มาของโครงการ ด้วยคณะกรรมการอํานวยการข่ายงานหอ้ งสมดุ มหาวทิ ยาลยั ส่วนภูมิภาค หรอื PULINETเห็นว่าการพัฒนาห้องสมุดใหม้ ีคณุ ภาพนน้ั ปัจจยั สาํ คญั ประการหนึ่งคอื การมบี คุ ลากรท่มี คี วามรู้ความสามารถ มีวสิ ยั ทัศน์กว้างไกล มีทักษะและความชํานาญดา้ นการบริหารจัดการ มคี ณุ ธรรม จริยธรรมตลอดจนมคี วามสามารถในการสรา้ งสมั พันธภาพกับหนว่ ยงานอ่นื โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงบุคลากรซง่ึ เปน็ผู้บรหิ ารระดบั หัวหน้าฝา่ ย เนอ่ื งจากเป็นบุคคลที่มบี ทบาทในการบริหารจดั การ รวมทัง้ ประสานความรว่ มมอืควบคุม กาํ กับดูแล และผลักดนั ใหน้ โยบายของห้องสมดุ ไดร้ ับการถา่ ยทอดไปสูบ่ คุ ลากรในฝา่ ยต่างๆ นาํ ไปปฏิบัติ เพอื่ ให้เกดิ การดําเนินงานอย่างมีประสิทธผิ ล ด้วยเหตผุ ลดังกลา่ วคณะกรรมการอาํ นวยการฯ จงึ มอบให้สํานักหอสมุด มหาวทิ ยาลัยบรู พา เปน็ผ้ดู าํ เนินการจัดการอบรมผบู้ ริหารระดบั กลาง ห้องสมุดสถาบันอุดมศกึ ษา ให้กบั บุคลากรของสถาบนั ในขา่ ยงานฯ รวมท้งั บคุ ลากรจากห้องสมุดสถาบันอุดมศกึ ษาอนื่ ๆ ทวั่ ประเทศ โดยจัดเปน็ หลกั สตู รการฝกึ อบรมระยะสัน้ ๑.๒ ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ สาํ นกั หอสมุด มหาวทิ ยาลยั บูรพา 1.3 ระยะเวลาดําเนนิ การ วันท่ี ๗-๑๐ สงิ หาคม 1.4 กิจกรรมของโครงการ ๑. บรรยายทางวชิ าการและสมั มนากลมุ่ ณ สาํ นกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลยั บรู พา ๒. ศึกษาดูงานห้องสมุดและองคก์ รที่เปน็ ตัวอย่างปฏิบตั ิทดี่ ี 1.5 ผลท่ีเกดิ จากความสาํ เร็จของโครงการ 1. ผ้บู ริหารห้องสมดุ ที่เขา้ รบั การอบรม ไดร้ ับความรู้ หลกั การ แนวคดิ และวิสัยทศั น์ ซึ่งสามารถนําความรทู้ ่ไี ด้รับการพฒั นาเหลา่ น้ีไปใช้ในการบริหารงานห้องสมุดให้ประสบผลสาํ เรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์ขององคก์ ร 2. สาํ นักหอสมดุ มหาวทิ ยาลยั บรู พา ได้รบั การยอมรับว่าเป็นสถาบันพฒั นาผ้บู ริหารหอ้ งสมุดระดบั กลางใหก้ ับสถาบันอุดมศึกษาท้ังในข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลยั ส่วนภูมภิ าคและสถาบนั อุดมศึกษาต่าง ๆ ท่ัวประเทศอยา่ งตอ่ เนือ่ งเป็นประจาํ ทุกปี

๑๕1.6 ภาพกจิ กรรม

๑๖2. โครงการมอบโลกใบใหม่แห่งการเรียนรแู้ กผ่ ู้สงู วัย 2.1 ความเปน็ มาของโครงการ โครงการมอบโลกใบใหมแ่ หง่ การเรยี นรู้แก่ผู้สูงวยั เปน็ กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านท่สี ํานักหอสมดุจัดการให้บรกิ ารวิชาการแกผ่ ู้สงู อายุในชมุ ชนต่าง ๆ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2552 สํานกั หอสมดุ จัดโครงการสง่ เสริมการเรยี นร้แู กผ่ สู้ ูงอายุใหก้ บั ผสู้ งู อายเุ ทศบาลตาํ บลบางพระ จังหวดั ชลบรุ ี โดยม่งุ หวังให้ผสู้ งู อายุได้รบั ความรู้ ความเพลดิ เพลินและจรรโลงใจจากการเรียนรู้ด้วยตนเองจากสื่อสารสนเทศในรปู แบบตา่ ง ๆให้สามารถนาํ ความรทู้ ีไ่ ด้รับมาประยุกตใ์ ช้ให้เหมาะสมกบั การดาํ เนินชีวติ ทง้ั ในด้านการดูแลสขุ ภาพอนามยัและจติ ใจการดํารงชวี ิตในบนั้ ปลายอย่างมคี วามสุขและมคี ุณค่า มกี าํ ลังใจในการสรา้ งสรรคส์ ิง่ ดี ๆ ทเ่ี ป็นประโยชน์ตอ่ สังคมตอ่ ไป 2.2 ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ นางสาวนสิ าชล กาญจนพชิ ติ 2.3 ระยะเวลาดําเนนิ การ วนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2552 2.4 กิจกรรมโครงการ 1. ประชาสัมพนั ธร์ ับบริจาคหนงั สือ และซือ้ หนงั สอื เพอื่ มอบให้ชมรมผู้สงู อายุเทศบาลตาํ บลบางพระ 2. แนะนาํ บริการของสํานักหอสมุด 3. จัดกิจกรรมนนั ทนาใหก้ บั ผูส้ งู อายุ เช่น เกมวรรณกรรม....ยังจําได้ไหม, การรอ้ งคาราโอเกะ 2.5 ผลท่เี กดิ จากความสาํ เร็จของโครงการ 1. ผูส้ งู อายุสามารถนาํ ความร้ทู ่ีได้รบั มาประยุกตใ์ ช้ใหเ้ หมาะสมกบั การดาํ เนินชีวิตท้งั ในด้านสขุ ภาพและจิตใจ 2. ผู้สูงอายุสามารถเรียนรูไ้ ดด้ ว้ ยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตผา่ นสื่อสารสนเทศในรูปแบบตา่ ง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม 3. ผสู้ ูงอายเุ กิดทศั นคติทดี่ ี ไดร้ ับความจรรโลงใจและมคี วามสุขกบั การเข้ารว่ มกิจกรรม

๑๗2.6 ภาพประกอบ

๑๘3. โครงการคลงั หนังสอื สชู่ มุ ชน3.1 ความเปน็ มาของโครงการจากการดําเนนิ งานของ พระศุภคณชิ ย์ สภุ จิตโต ซึ่งต้องการจัดตง้ั หอหนังสอื พุทธวงศ์นสุ รณ์เพือ่ เป็นศนู ยร์ วมในการเรยี นรแู้ ละสง่ เสรมิ สรา้ งสรรคป์ ัญญาในการพฒั นาคนจึงไดด้ ําเนินการติดต่อขอรับบรจิ าคหนังสอื จากหน่วยงานตา่ ง ๆ ทั้งในจงั หวัดชลบรุ ี และกรงุ เทพมหานคร เพื่อนาํ หนงั สือเหล่าน้ันมาให้เป็นแหลง่ บรกิ ารการเรยี นรแู้ ละศึกษาค้นคว้าสําหรับพระภิกษุ สามเณร และผทู้ สี่ นใจทัว่ ไปในชุมชนโดยเป็นหนังสือเกย่ี วกบั หนงั สือธรรมะและหนังสือทั่วไป รวมทัง้ ซีดีเก่ยี วกับธรรมะ อีกทั้งยังตอ้ งการทจ่ี ะสง่ เสรมิ ใหบ้ คุ คลดงั กลา่ วเห็นความสาํ คญั ของการอา่ นหนงั สือ การเรียนรแู้ ละมีความใฝ่รูเ้ พิม่ มากขนึ้จากความสาํ คัญดังกลา่ ว สาํ นกั หอสมดุ มหาวิทยาลยั บูรพา จึงได้จดั กจิ กรรมคลังความรู้ส่ชู ุมชน โดยนําบุคลากรจากฝา่ ยตา่ ง ๆ ไปดําเนินการจดั ทาํ หนังสือที่หอหนงั สือพทุ ธวงศน์ สุ รณ์เพ่ือใหเ้ ป็นแหลง่ บริการการเรียนรู้ของพระภกิ ษุ สามเณร และผู้ที่สนใจทัว่ ไป เขา้ มาศกึ ษาค้นควา้อีกท้ังยงั เป็นการบริการแกช่ ุมชนและทํานบุ ํารงุ ศลิ ปวัฒนธรรมอีกด้วย3.2 ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ สํานักหอสมุด มหาวทิ ยาลัยบรู พา3.3 ระยะเวลาดาํ เนนิ โครงการ วันท่ี 5-6 กนั ยายน 2552 รวม 2 วัน3.4 กจิ กรรมโครงการ1. สถานทที่ ี่ดําเนินโครงการ หอหนังสอื พทุ ธวงศ์นสุ รณ์ วัดเขาพทุ ธโคดม ตําบลสุรศักดิ์อําเภอศรรี าชา จังหวัดชลบุรี 201102.. ดาํ เนินการคัดเลือกและแยกหนังสอื ออกเปน็ หมวดต่าง ๆ ได้แก่ การเมอื ง-การปกครองความรู้ทวั่ ไป คอมพวิ เตอร์ คู่มือต่าง ๆ บริหารธรุ กิจ ศาสนา อาหารและสุขภาพ นวนิยายและหนังสอื ภาษาต่างประเทศ3. ทาํ สญั ลกั ษณโ์ ดยการตดิ แถบสีตามหมวดของหนงั สือ ดังนี้ การเมือง-การปกครอง สเี ขยี วเขม้ ความรู้ทัว่ ไป สีเหลอื งออ่ น คอมพวิ เตอร์ สดี าํ คู่มือต่าง ๆ สีแดง บริหารธรุ กจิ สีนํ้าเงนิ ศาสนา สีเหลอื งเขม้ อาหารและสขุ ภาพ สีฟา้ นวนยิ าย สเี ขยี วอ่อน หนังสอื ภาษาต่างประเทศ สีสม้4. นาํ หนังสือจัดเกบ็ บนชั้นหนังสือ โดยแยกเปน็ หมวดหมู่5. หนงั สอื ทีช่ ํารดุ นาํ มาซ่อมและเขา้ ปกใหม่6. หนงั สือทีเ่ ปน็ แบบเรียน นาํ ไปบรจิ าคใหโ้ รงเรียนตา่ ง ๆ สว่ นทเี่ ปน็ จลุ สาร คมู่ อื สวดมนต์คดั แยกไว้เพอ่ื แจกให้กบั ผ้ทู สี่ นใจ3.5 ผลท่ีเกดิ จากความสาํ เร็จของโครงการ 1. หนงั สือที่จัดไว้เป็นหมวดหมใู่ นหอหนังสือ เกดิ ความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย สามารถคน้ หาได้งา่ ยข้ึน

๑๙ 2. เปน็ แหลง่ บริการการเรยี นรู้ของพระภิกษุ สามเณร และประชาชนท่ัวไป ซึ่งสามารถมาใชบ้ รกิ ารทห่ี อหนังสือได้ โดยการนง่ั อา่ นหนังสือหรือยืมหนังสือออกไปได้ 3.6. ภาพประกอบ

๒๐4. โครงการเปดิ โลกใบใหมด่ ้วยการอา่ น4.1 ความเปน็ มาของโครงการโครงการเปดิ โลกใบใหมด่ ว้ ยการอ่าน เปน็ กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นและการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติทสี่ าํ นักหอสมดุ จดั การใหบ้ ริการแกผ่ ้ดู ้อยโอกาสในทัณฑสถานหญิง จงั หวดั ชลบุรี โดยมงุ่ หวังใหผ้ ตู้ อ้ งขังดังกล่าว ตระหนักถึงความสาํ คัญของการอ่านและการเรยี นรผู้ ่านสื่อสารสนเทศในรปู แบบต่าง ๆ สามารถนาํ ความรูท้ ่ีไดจ้ ากการอ่านมาประยุกตใ์ ชใ้ นการดําเนินชีวิตได้อยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสมกบั ตนเอง เป็นการจุดประกายนสิ ยั รักการอา่ น พฒั นาความคิดรเิ ร่ิมในทางสรา้ งสรรค์และความจรรโลงใจใหก้ ับผู้ต้องขังที่แม้จะเปน็ ผูข้ าดโอกาสในการมาใช้บริการหอ้ งสมุดภายนอก แตก่ ลมุ่ บุคคลดังกล่าวกย็ งั มพี ละกาํ ลัง ความรู้ความสามารถทีจ่ ะทําประโยชน์ใหก้ บั ครอบครัว สังคม และประเทศชาติได้ในโอกาสต่อไป4.2 ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ นางวงเดือน เจริญ4.3 ระยะเวลา 1 วนั วนั ที่ 16 กรกฎาคม 25524.4 กิจกรรมทข่ี องโครงการ1. จัดนทิ รรศการ เช่น การจัดบอร์ดสง่ เสริมการอ่าน จัดแสดงหนังสอื ใหม่ทน่ี า่ สนใจให้ผู้ต้องขังเลอื กอา่ น2. มอบหนังสือใหห้ ้องสมดุ ทณั ฑสถานหญงิ ชลบุรี3. กิจกรรมเกมสง่ เสรมิ การอา่ น เชน่ เกมสุภาษติ4. กจิ กรรมตอบปญั หาชงิ รางวัลจากผ้ทู ่อี ่านไดย้ อดเย่ยี ม5. กจิ กรรมนนั ทนาการ เช่น การแสดงดนตรี การแสดงบนเวที4.5 ผลทเ่ี กดิ จากความสาํ เร็จของโครงการ1. ทณั ฑสถานหญงิ ชลบรุ ี มีห้องสมดุ และสื่อสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ เพือ่ การศึกษาเรียนรูแ้ ก่ผตู้ ้องขงั หญงิ ซ่งึ ขาดโอกาสมาใชบ้ รกิ ารภายนอก2. ผู้ต้องขังในทัณฑสถานหญงิ ชลบรุ ี ไดค้ วามรู้จากการอา่ นและการเรียนรผู้ ่านส่ือสารสนเทศในรปู แบบต่าง ๆ เพ่อื นําไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดําเนินชวี ิตอยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม

๒๑4.6 ภาพกจิ กรรม

๒๒ การพฒั นาบคุ ลากร1. การส่งเสรมิ บคุ ลากรไปศกึ ษาต่อ ฝกึ อบรม ดงู าน และการประชมุ สัมมนาตารางสรปุ จํานวนการส่งบุคลากรไปศกึ ษาตอ่ ฝกึ อบรม ดงู าน และประชุมสัมมนาในประเทศและต่างประเทศลาํ ดบั ประเภท ในประเทศ ต่างประเทศ รวมท้งั หมด คน คร้งั คน ครง้ั คน ครง้ั1. ศกึ ษาตอ่ 11 - - 1 12. ฝกึ อบรม 139 18 - - 139 183. ดูงาน 108 6 50 4 158 104. ประชมุ สัมมนา 91 69 1 1 92 705. อ่ืนๆ2. การเปน็ วทิ ยากรและการบรรยายพเิ ศษ 2.1 สรปุ บุคลากรไดร้ ับเชญิ เป็นวิทยากรและการบรรยายพเิ ศษ จํานวน 7 คน 11 เรอื่ ง 2.2 ตารางรายละเอยี ดการเปน็ วทิ ยากรและการบรรยายพเิ ศษลําดบั องค์กร/หน่วยงานทจี่ ดั เรือ่ ง สถานที่ ชอ่ื ผ้ไู ดร้ บั เชญิ เปน็ วิทยากร1. กองบริการการศกึ ษา แนะนาํ วธิ กี ารปฏิบัติ หอ้ งประชมุ 101- งานประกนั คุณภาพการศึกษา ในการเข้าระบบการ 102 ชน้ั 1 นส.นิสาชล2. มหาวทิ ยาลยั บูรพา Citation ในฐานขอ้ มูล อาคาร กาญจนพชิ ติ3. ระดับชาติ หรือระดบั หอประชมุ ธาํ รง4. ภาควชิ าสารสนเทศศึกษา นานาชาติ บวั ศรี นางวนั ทนา คณะมนุษยศาสตร์และ การบรหิ ารระบบคุณภาพ หอ้ งประชุม 201 กติ ิศรีวรพันธ์ุ สงั คมศาสตร์ การให้บรกิ ารของสํานัก สาํ นกั หอสมุด หอสมุด มหาวิทยาลยั นายเฉลมิ เกียรติ ดสี ม ภาควิชาสารสนเทศศกึ ษา บูรพา ห้องประชมุ 202 คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละ ระบบสารสนเทศเพอ่ื การ คณะมนุษยศาสตร์ นส.นสิ าชล สังคมศาสตร์ ใหบ้ รกิ ารขององค์การ และสังคมศาสตร์ กาญจนพชิ ิต บริหารสว่ นตําบลในภาค คณะการจัดการและ ตะวนั ออก หอ้ ง KA-500 การท่องเทย่ี ว บรรยายวิธกี ารสืบค้น มหาวิทยาลัยบูรพา วิธกี ารใชฐ้ านขอ้ มูลและ แนะนําการใช้หอ้ งสมดุ ของสํานกั หอสมุด

๒๓ลําดบั องค์กร/หนว่ ยงานทจี่ ดั เร่อื ง สถานที่ ช่ือผู้ไดร้ บั เชญิ เปน็ วิทยากร5. คณะแพทยศาสตร์ แนะนําในการสบื ค้น คณะแพทยศาสตร์ นส.นิสาชลมหาวิทยาลัยบรู พา ข้อมลู วารสาร งานวิจยั กาญจนพชิ ิต และข้อมลู ทว่ั ไปเกีย่ วกบั เอกสารทางการแพทย์6. โรงแรมโคซี่ บชี พัทยา เครอื ข่ายห้องสมุดเฉพาะ: รศ.ดร.ศรวี รรณ มีคณุจงั หวดั ชลบรุ ี ความรว่ มมอื สู่ความ เปน็ เลศิ7. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี กระบวนการ Facilitator หอ้ งโสตทัศน นางรศั มี ปานดิษฐ์พระจอมเกลา้ พระนครเหนือ ศกึ ษา ชน้ั 7 นส.นสิ าชล สาํ นกั หอสมดุ กลาง กาญจนพชิ ิต นางนิตยา ปานเพชร นางวชั รยี ์พร คุณสนอง8. วิทยาเขตสารสนเทศสระแกว้ แนะนําการใช้หอ้ งสมุด หอ้ งปฏิบัตกิ าร นส.นิสาชลมหาวิทยาลยั บรู พา และฐานข้อมูลออนไลน์ คอมพวิ เตอร์ กาญจนพิชติ9. สํานักหอสมดุ มหาวทิ ยาลยั การจดั ทาํ เวบ็ ไซตค์ ณะ ห้องประชุม ชนั้ 7 นายเฉลิมเกียรติ ดสี มเกษตรศาสตร์ ทํางานฝา่ ยเทคโนโลยี สาํ นกั หอสมดุ ทางการศกึ ษา กลาง10. คณะมนุษยศาสตรแ์ ละ ระบบเครือข่ายของ หอ้ ง QS2-313 นายเฉลิมเกียรติ ดีสมสังคมศาสตร์ สํานักหอสมุด11. สถาบันวิทยบรกิ าร การจดั หมวดหมู่หนงั สอื ห้องประชมุ 201 นางรศั มี ปานดิษฐ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ระบบทศนิยมของดวิ อ้ี สาํ นักหอสมุด และการลงรายการตาม มหาวิทยาลัยบรู พา แบบ AACRR และ MARC 21 ระดบั ห้องสมดุ โรงเรียน

๒๔การประกนั คุณภาพการศกึ ษาผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศกึ ษา ๒๕๕๒ ของสวนงาน ปการศกึ ษา ๒๕๕๒ ผลการดําเนนิ งานของสํานกั หอสมุดในภาพรวมมีคณุ ภาพอยใู น ระดบั ดีโดยพจิ ารณาแยกตามประเภท ดังน้ี ๑. พจิ ารณาตามผลการประเมินตามองคป ระกอบคุณภาพ ๙ องคป ระกอบ พบวาองคป ระกอบท่ี ๑ และ ๙ อยูในระดบั ดมี าก องคป ระกอบที่ ๕ และ ๗ อยูในระดับดี องคประกอบท่ี ๘ อยใู นระดบั พอใช ๒. พิจารณาตามมาตรฐานอดุ มศึกษา พบวา มาตรฐานท่ี ๑ มาตรฐานดา นคุณภาพนิสิตไมสอดคลองกบั ภารกจิ หลกั ของสาํ นักหอสมดุ มาตรฐานท่ี ๒ ก อยูในระดบั ดี มาตรฐานท่ี๒ ข อยูในระดบั ดี และมาตรฐานท่ี ๓ อยูในระดบั ดมี าก ๓. พจิ ารณาตาม Balance Score Card พบวา ท้ัง ๔ มมุ มองอยูในระดบั ดี พบวา ดา นท่ี ๑Customer อยใู นระดบั ดมี าก ดา นที่ ๒ Internal Process อยใู นระดบั ดมี าก ดานที่ ๓ Financeและดา นที่ ๔ Learning & Innovation อยูใ นระดบั พอใช โดยสรุป ปจ จยั นําเขามีคุณภาพระดับดมี าก โดยท่ีสว นงานสามารถจัดกระบวนการบริหารไดค ณุ ภาพระดบั ดี ทาํ ใหผ ลผลิตภาพรวมอยูใ นระดบั ดี จุดเดน ๑. มีระบบคณุ ภาพมาตรฐานสากล ไดแ ก กิจกรรม ๕ส เปนแบบปฏบิ ตั ทิ ด่ี ี(Best Practice) ๒. มรี ะบบคณุ ภาพมาตรฐาน เพื่อการอนรุ ักษพลังงานและสง่ิ แวดลอม (ISO ๑๔๐๐๑) ๓. มดี ัชนบี ง ชคี้ ณุ ภาพท่สี ะทอ นภารกจิ หลกั (อตั ลกั ษณ) ของสาํ นกั หอสมุด ไดแ ก ตวั บงชี้คุณภาพหอ งสมดุ สถาบนั อดุ มศึกษา ขายงานหอ งสมดุ มหาวิทยาลยั สวนภมู ภิ าค (PULINET) ๔. มบี ุคลากรวชิ าชพี ซ่ึงมคี วามรู ความชาํ นาญเฉพาะ รวมทงั้ เทคโนโลยสี ารสนเทศทท่ี ันสมยัสามารถเปนทพ่ี ึง่ ทางวชิ าการแกชมุ ชนได แนวทางการสง เสรมิ ๑. เสนอกจิ กรรมการดาํ เนนิ งาน 5ส ของสํานักหอสมดุ เพือ่ รับรางวลั ระดบั ประเทศ ๒. พัฒนาและธาํ รงรักษาระบบการจัดการสิง่ แวดลอม ISO ๑๔๐๐๑ เพื่อรบั การรับรองผลการดําเนนิ งานตามมาตรฐาน ISO ๑๔๐๐๑ เปนสมัยที่ ๓ ๓. พัฒนาตัวบงชี้คุณภาพหอ งสมดุ ตามกรอบของ TQA (Thailand Quality Award) เพือ่ ใหมีพฒั นาการดาํ เนนิ งานการใหบ รกิ ารหอ งสมดุ อยา งมีมาตรฐานสงู ยง่ิ ข้ึน

๒๕ ๔. จดั ทาํ แผนบรู ณาการโครงการบริการวชิ าการกับองคความรทู างดา นบรรณารกั ษศาสตรและเทคโนโลยีสารสนเทศทที่ นั สมัยของสํานกั หอสมุด เพื่อใหบ รกิ ารวิชาการแกชุมชนใหห ลากหลายและเพ่มิ จํานวนมากย่ิงข้ึนแนวทางการปรับปรงุ พฒั นา องคประกอบที่ ๑ ๑. อบรมหัวหนาฝา ยและบคุ ลากรผูรับผดิ ชอบในการทาํ แผนงานของสํานกั หอสมุด เพื่อใหมีความเขาใจทีถ่ ูกตอ ง ๒. ประสานงานในการจดั ทาํ แผนปฏิบตั งิ าน โดยการกําหนดตัวบงช้ีใหช ดั เจน สามารถนับจํานวนบงช้ไี ด ๓. พิจารณาจดั ทําแผนปฏิบตั ิงานประจาํ ปล ว งหนา กอ นการจดั ทาํ รายละเอียดคําขอตง้ั งบประมาณเงนิ รายไดประจําป ๔. ใชผ ลการประเมนิ การดาํ เนนิ งานตามแผน โดยเฉพาะการวิเคราะหปญหาเพ่ือการปรับปรุงพัฒนาการดาํ เนนิ งานของแตละฝาย/ งาน เพ่อื แกป ญหารวมกัน ตลอดจนนํามาใชในการปรบั ปรงุ การจดั ทาํ แผนในปต อ ไปใหเ หมาะสมยิ่งขน้ึ ๕. จัดการประชุมฝา ยงาน สรุปผลกจิ กรรมท่ีดําเนินงานไปแลวในป ๒๕๕๒เพือ่ นาํ ผลทไ่ี ดม าวางแผนท่ดี าํ เนนิ กิจกรรมในปต อ ไป ๖. จดั การประชมุ คณะกรรมการบริหาร เพอ่ื เตรียมจดั ทาํ แผนการปฏบิ ตั ิงานประจาํ ปลวงหนา และกําหนดวงเงินประมาณในการจดั ทาํ งบประมาณประจาํ ป เพอื่ รองรบั แผนการปฏบิ ัตงิ านประจําป องคป ระกอบที่ ๕ จัดกจิ กรรมสง เสริมการอานและการเรียนรทู ี่หลากหลายรูปแบบย่ิงขึน้ เพอ่ื ใหผ ูทไี่ ดรับนาํ ความรูไ ปประยกุ ตไ ดในชวี ิตประจําวนั และเปนการปลูกฝง ใหเ ยาวชนและประชาชนในทอ งถิน่ ภูมภิ าคตะวนั ออกและทัว่ ประเทศ มนี ิสยั รักการอา น การศกึ ษาคนควา และการเรยี นรูอยา งตอเน่ืองตลอดชีวิต องคประกอบที่ ๗ ๑. จัดทําแผนและกลไกการพฒั นาศกั ยภาพผบู รหิ ารทกุ ระดบั ๒. กาํ หนดตวั บง ชีแ้ ละเปาหมายการดาํ เนินงาน สําหรับบคุ ลากรทุกระดบั ๓. จดั ทาํ คาํ รบั รองการปฏิบัติงานของผบู รหิ ารและบคุ ลากรทกุ ระดบั และติดตามประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านทุก ๖ เดอื น

๒๖ การวจิ ัย1. การวจิ ัยจากงบประมาณเงนิ รายได้ 1.1 สรปุ ทนุ วิจยั จากงบประมาณเงนิ รายได้ ปีงบประมาณ 2552 จํานวน 2 ทนุ เปน็ จํานวนเงิน36,000 บาท 1.2 ตารางรายละเอยี ดโครงการวจิ ยั จากงบประมาณเงินรายได้ จํานวน โครงการเดมิ โครงการลาํ ดบั ช่อื โครงการวจิ ัย ผู้วิจัย เงนิ (ปีงบประมาณ) ปี (บาท) 25521 การใชฐ้ านข้อมูลจดั เก็บ นส.อฬุ ารนิ เฉยศริ ิ 18,000 / เอกสารฉบบั เต็มในรปู แบบ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ของ สาํ นกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลัย บูรพา (DCMS)2 ความพงึ พอใจและความ นางวงเดือน เจริญ 18,000 / คาดหวังของผู้ใชบ้ ริการ ที่มตี ่อบริการสารสนเทศ ของสํานักหอสมดุ มหาวทิ ยาลยั บูรพา1.3 โครงการวิจยั ทไ่ี ดร้ บั ตพี มิ พ์ในวารสารวิชาการ 1.3.1 สรปุ โครงการวจิ ัยได้รบั ตีพิมพใ์ นวารสารวชิ าการ จาํ นวน 3 เรอ่ื ง 1.3.2 ตารางรายละเอียดโครงการวิจัยท่ไี ด้รบั ตพี ิมพใ์ นวารสารวชิ าการช่ือผวู้ จิ ยั ชื่อเรอื่ ง ช่ือวารสารทต่ี พี มิ พ/์ โครงการเดิม โครงการ ผลงานวิจัย ปที พี่ มิ พ/์ ฉบบั ที่ (ทีม่ ใิ ช่ของ ปงี บประมาณ พิมพ/์ วนั เดอื นป/ี ปที ่ี ปงี บประมาณ 2552 พมิ พ/์ หน้าทพี่ มิ พ์ 2552 /รศ.ดร.ศรวี รรณ มคี ุณ เพศวถิ ขี องวยั รุน่ หญงิ วารสารการศกึ ษาและนางสาวสุพนดิ า การพัฒนาสงั คม / ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ชัยวทิ ย์ หน้า 59-72 (ฐานข้อมลู TCI)รศ.ดร.ศรีวรรณ มคี ุณ วรรณกรรมวิจารณ์ เรอื่ ง Action Research in วารสารการศกึ ษาและ Education การพัฒนาสังคม ปที ่ี 4 ฉบบั ที่ 1 หน้า 111– 113 (ฐานข้อมูล TCI)

๒๗ช่อื ผูว้ ิจัย ชื่อเรือ่ ง ชอ่ื วารสารทต่ี พี มิ พ/์ โครงการเดิม โครงการ ผลงานวิจัย ปที พ่ี มิ พ/์ ฉบบั ท่ี (ทีม่ ิใช่ของ ปงี บประมาณ พมิ พ/์ วนั เดอื นป/ี ปที ่ี ปงี บประมาณ 2552 พิมพ/์ หน้าทพ่ี มิ พ์ 2552 /รศ.ดร.ศรวี รรณ มีคณุ ยุทธศาสตร์การ วารสารห้องสมุด บรหิ ารงานห้องสมุด ปีท่ี 52 ฉบับที่ 1 สถาบนั อดุ มศกึ ษา หนา้ 16-22 (ฐานขอ้ มลู TCI)

๒๘ การดาํ เนนิ งานวิเทศสมั พันธ์ 1. การตกลงความรว่ มมือกบั ตา่ งประเทศตารางชื่อสถาบันและประเทศทีต่ งั้ ของสถาบันไดม้ กี ารลงนามตกลงรว่ มมือกันชอื่ สถาบนั ต่างประเทศ ชื่อประเทศที่สถาบนั ตง้ั อยู่Library Universiti Brunei Darussalam Brunei DarussalamRoyal University of Phnom Penh Library CambodiaLibrary, UPT Perpustakaan UGM Universitas IndonesiaGadjah MadaLibrary, Perpustakaan Pusat Universitas IndonesiaIndonesiaCentral Library of the National University Of LaosLaosLibrary , Perpustakaan Hamzah Sendut MalaysiaUniversiti Sains MalaysiaLibrary , Perpustakaan Universiti Malaya MalaysiaInstitute of Economics Library MyanmmarUniversity of Yangon Library MyanmmarDe La Salle University Library PhilippinesUniversity Library, University of the Philippines PhilippinesDilimanNanyang Technological University Lee SingaporeWee Nam LibraryNational University of Singapore Library SingaporeLibrary and Information Centre, Vietnam VietnamNational University HanoiNatural Sciences Library Vietnam National VietnamUniversity Ho Chi Minh City

๒๙ตารางแสดงโครงการเครือข่ายมหาวิทยาลยั อาเซยี น (ASEAN University Network : AUN)หนว่ ยงาน กจิ กรรม ประเทศ บุคลากร รวม เวียดนามVietnam ประชมุ ASEAN รศ.ดร.ศรวี รรณ มคี ุณ 1 คนNational UniversityUniversity Network Inter-Ho Chi Minh Library OnlineCity, (AUNILO) Committeeตารางแสดงโครงการความรว่ มมือกับหนว่ ยงานต่างประเทศอนื่ ๆหนว่ ยงาน กจิ กรรม ประเทศ บคุ ลากร รวม 1 คน- Brock ศึกษาดูงาน - แคนาดา รศ.ดร.ศรีวรรณ มคี ุณ 1 คนUniversity - สหรฐั อเมริกา 47 คน- MontclairState - สหรฐั อเมริกาUniversity- New YorkUniversityหอสมดุ แห่งชาติ ศึกษาดูงาน สาธารณรัฐ นางสาวสภุ าวดีเซยี่ งไฮ้ และ ประชาชนจีน เพชรชืน่ สกุลห้องสมุดมหาวิทยาลยัเซ่ียงไฮ้ห้องสมุด Central ศึกษาดูงาน เวียดนาม ผู้บรหิ ารและบคุ ลากรLibrary – สังกดั สาํ นักหอสมดุVietnam มหาวิทยาลยั บูรพาNationalUniversity – HoChi Minh Cityและหอ้ งสมุด TheUniversity ofSocial Sciences& Humanitie


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook