Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้-ม.ปลาย

ใบความรู้-ม.ปลาย

Published by speed_prm, 2022-05-03 13:29:53

Description: ใบความรู้-ม.ปลาย

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ครั้งที่ 2 วิชาภาษาองั กฤษเพ่ือชีวิตและสังคม รหัสวิชา พต31001 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย เรอื่ ง Everyday English การจะพดู ภาษาใดนน้ั ต้องเรมิ่ ต้นดว้ ยการออกเสียงให้ถกู ต้องกอ่ นแล้วจงึ หดั พูดเป็นประโยค เราเรียน ภาษาองั กฤษมาเป็นเวลานานแตไ่ ม่ไดเ้ รยี นเพอ่ื การพูด เราเรียนเกย่ี วกบั การออกเสยี งก็เพยี งเพ่ือใหร้ จู้ ัก ภาษาอังกฤษและก็ได้เรยี นกันมาโดยถกู ต้องเป็นบางสว่ นเทา่ นน้ั เราจะมาเรม่ิ ต้นการออกเสยี งอักษร 26 ตวั ใหถ้ กู ต้อง ดงั นี้ A, a ปกตเิ ราจะออกเสียงวา่ เอ การออกเสียงทีถ่ ูกต้อง ออกเสยี งวา่ เอ+อิ เพ่อื ไม่ใหย้ ุ่งยากต่อการออกเสียงใหท้ า ดังน้คี อื เหยียดริมฝีปากออกใหก้ ว้าง ออกเสยี ง เอ แล้วเลื่อนขากรรไกรพร้อมกับลิ้นสงู ข้ึนเพอ่ื ออกเสยี ง อิ คาใด ๆ ทมี่ อี ักษร a อย่ดู ว้ ยแล้วอ่านออกเสียงอยา่ งท่ีกลา่ ว เช่นคาว่า day, way, cake ออกเสยี ง เอ เทา่ นั้นฝรงั่ กเ็ ขา้ ใจแต่ ไม่ไดเ้ ป็นเสยี ง ที่เขาออกเสียงกัน B, b ออกเสยี ง บี ออกเสียงสระ อี โดยเหยยี ดริมฝีปากออกกวา้ งกวา่ เสียง อี ของไทย C, c ออกเสยี ง ซี ออกเสียงสระ อี โดยเหยยี ดริมฝปี ากออกเชน่ กัน D, d ออกเสียง ดี ออกเสียงสระ อี โดยเหยียดรมิ ฝีปากออกเช่นกนั E, e ออกเสียง อี ออกเสยี งสระ อี โดยเหยียดรมิ ฝีปากออกเช่นกัน F, f ออกเสยี งว่า เอฟ โดยตอนทา้ ยออกเสียง ฟ โดยให้ไดย้ ินเสยี งลมเสียดสรี ะหว่างฟันบนกับริมฝีปากลา่ ง สว่ นมากคนไทยจะไม่ออกเสยี งพยญั ชนะท้ายคา G, g เราออกเสียงว่า จี โดยออกเสียง จ แบบภาษาไทย ถ้าหากจะออกเสียงใหถ้ ูกต้องแล้วต้องดดั แปลงจากเสียง จ ภาษาไทยให้เปน็ เสียงทีฝ่ รงั่ เขาออกกนั ดังนี้คือ ให้ห่อรมิ ฝปี ากเขา้ มาเล็กน้อยและทารมิ ฝีปากใหย้ นื่ ออกไปข้างหนา้ เล็กน้อยแลว้ ออกเสยี ง จ ให้แรงกว่าการออกเสียง จ ของไทยแลว้ จงึ ออกเสียง อี โดยเหยียดรมิ ฝีปากออก H, h ปกติเราออกเสยี งวา่ เอช ออกเสียง a ดงั ทก่ี ล่าวไปแล้วคือ เอ+อิ แล้วออกเสยี ง ช เสียงตอนท้ายต้องออก เสียง ช ให้ชดั เจนแต่ต้องดัดแปลงเสียง ช แบบไทย ๆ เป็นเสยี ง ch ของฝรงั่ คือทาเชน่ เดียวกนั กับลักษณะการออก เสียง g โดยหอ่ รมิ ฝีปากนดิ หน่อยและทาริมฝีปากให้ยน่ื ออกไปข้างหน้าเลก็ น้อยแล้วจงึ ออกเสยี ง ช ออกมาให้ ค่อนข้างแรง เพอื่ ให้งา่ ยต่อการออกเสียงใหท้ าอยา่ งออกเสยี ง a แบบทก่ี ล่าวไปแลว้ และหอ่ ปากเขา้ มาเล็กนอ้ ยและ ใหย้ น่ื ออกไปเล็กนอ้ งแล้วออกเสยี ง ช แรง ๆ มบี างคนออกเสยี งว่า เฮช จะวา่ ผิดก็ไมเ่ ชงิ เพราะชาว Irish ซึง่ พูด ภาษาอังกฤษเหมือนกันออกเสยี งแบบน้ัน เพยี งแตไ่ มเ่ ป็นที่นยิ มของคนทั่วไป I, i ปกติเราจะออกเสยี งว่า ไอ ต้องแก้ไขโดยออกเสยี งว่า อาย แบบออกเสียง eye คาต่าง ๆ ท่เี ราเคยออกเสยี งว่า ไอ ใหเ้ ปลย่ี นเป็นออกเสียง อาย แทน บางครงั้ เสยี ง อาย นี้ก็สั้นจนฟังแลว้ เหมือนเสยี ง ไอ เสียงจะสัน้ หรอื ยาว เอาไว้เรยี นกันทีหลงั ซึ่งข้ึนกับพยัญชนะที่ตามมา ถ้าออกเสียง I โดด ๆ กเ็ ป็นเสียง อาย ไม่ส้นั ความจริงแล้ว

เสยี ง ไอ ของฝรัง่ ไมม่ ี มีแต่เสียง อาย ยาวหรือส้ัน ตวั อยา่ งการออกเสียงนี้ได้แก่ bicycle, side, direct เสยี ง อาย จะสน้ั ในคาท่ีมีเสียงพยญั ชนะเสยี งหนกั ตามเช่นคาวา่ bite, kite, light, life พยัญชนะเสียงหนกั มีอะไรบ้างแล้วจะ กลา่ วในภายหลงั J, j ออกเสียงวา่ เจ+อิ การออกเสียงตวั จ ให้ออกเสยี งแบบท่กี ลา่ วตอนออกเสียง จ ของตัว g ( อยา่ ลมื เหยียดรมิ ฝปี ากออกทันทีเมื่อออกเสยี ง จ เสร็จเพ่อื ออกเสยี ง เอ และ อิ ตามมา) K, k ออกเสียงวา่ เค+อิ เสยี ง ค ของฝรัง่ ไมเ่ หมือน ค ของไทย ออกเสียง ค ของฝรง่ั โดยยกโคนล้ินข้นึ ไปให้ยันกบั เพดาน ปลายลิน้ อย่ตู ่า จะแน่ใจวา่ โคนลิน้ ยันเพดานแลว้ โดยทดลองยกโคนล้ินข้ึนไปแลว้ พยายามอัดลมขน้ึ มา ถา้ ลมออกทางปากไม่ได้กแ็ สดงว่าโคนลนิ้ ยันเพดานแลว้ เม่อื ลมโดนอดั ขน้ึ มาแลว้ ให้ลดลิน้ ลงแล้วออกเสียง ค กจ็ ะ เป็นเสียง k ของฝรั่ง ( ขณะออกเสยี งริมฝีปากเหยียดออกตลอดเวลา ) L, l ปกติออกเสียงกนั ว่า แอล ให้เปล่ยี นเป็นออกเสียง เอล โดยรมิ ฝีปากเหยียดออกมากกวา่ เอ ของไทยซ่ึงทาให้ ฟังแล้วคลา้ ยเสียงสระ แอ M, m ออกเสียงว่า เอ็ม ตอนทา้ ยที่ออกเสยี ง ม ใหเ้ มม้ ริมฝีปากให้แน่น N, n ออกเสียงวา่ เอน็ ตอนท้ายท่ีออกเสียง น ให้กดปลายลน้ิ เขา้ กบั แนวปุ่มเหงือกหลังฟันบนใหแ้ นน่ O, o ออกเสียงกนั ว่า โอ เสียงน้ีชาวองั กฤษออกอย่างหนึง่ ชาวอเมรกิ นั ออกอีกอย่างหนึง่ ชาวอังกฤษจะออกเสียง เป็นสระประสมโดยออกเสยี ง เออ+อุ อ้าปากเล็กน้อย อย่าเกร็งริมฝปี ากและลน้ิ แล้วออกเสยี ง เออ หอ่ ริมฝีปาก และใหร้ ิมฝีปากยืน่ ออกไปแล้วออกเสียง อุ สว่ นอเมริกันจะออกเสยี ง โอ+อุ โดยหอ่ ริมฝีปากและให้ริมฝปี ากยนื่ ออกแลว้ ออกเสยี ง โอ ต่อดว้ ยเสยี ง อุ โดยทส่ี ่วนหลังของลิน้ เลือ่ นขึน้ เลก็ น้อย อยา่ ออกเสียง โอ เฉย ๆ P, p ออกเสียงว่า พี เม้มรมิ ฝีปากใหแ้ น่นแลว้ อดั ลมขนึ้ มาก่อนแลว้ จงึ เปดิ ปาก Q, q ออกเสยี งวา่ คิว ตัว ค ออกเสยี งให้เหมือนกับที่ออกเสียงตัว ค ของ k R, r ออกเสียง อา ถา้ เป็น r ทปี่ ระกอบเปน็ คาให้ม้วนปลายล้ินไปทางดา้ นหลงั อย่าใหป้ ลายล้ินตดิ เพดาน ล้ินจะไม่ รวั เหมือน ร ของภาษาไทย S, s ออกเสียงวา่ เอส ให้มีเสียงลมพน่ ออกตอนท้ายดว้ ย T, t ออกเสียงว่า ที พ่นลมออกเสยี ง ท ใหแ้ รงกวา่ ท ของไทย U, u ออกเสยี งว่า ยู V, v ออกเสียงว่า วี แต่ ว ของไทยไมใ่ ช่เสียง V ของฝรั่งให้ออกเสียงโดยนารมิ ฝปี ากลา่ งเขา้ ไปใต้ฟันบนแลว้ เปลง่ เสยี งใหเ้ สยี งก้องออกจากลาคอ

W, w ให้ออกสยี งว่า ดับ๊ เบลิ ยู โดยออกเสียงหนักท่ี ดบ๊ั และออกเสยี งเบาและเร็วที่ เบลิ ยู อย่าออกเสียง ยู ยาว และหนักเหมือนที่ออกเสยี งกัน พยางค์แรกออกเสยี งหนักและเสียงจะสงู และยาวกวา่ สองพยางคต์ ่อไป X , x ออกเสยี งวา่ เอคซ ตอนทา้ ยใหม้ เี สยี งลมเสียดสีระหวา่ งลิน้ กบั เพดานชว่ งฟนั บนดว้ ย Y, y ออกเสยี งว่า วาย Z, z ออกเสียงวา่ เซด แบบชาวองั กฤษ ชาวอเมริกนั ออกเสียงว่า ซี เสยี งนี้ไมม่ ใี นภาษาไทย ตอ้ งออกเสียงโดยให้ ก้องจากลาคอเป็นเสียงบ่งึ จากลาคอ เอามือแตะท่ีคอหอยแลว้ ออกเสียง ถ้ารู้สกึ วา่ ทีก่ ล่องเสยี งสั่นกใ็ ช้ได้ ภาษาอังกฤษใช้อกั ษรละตินเปน็ อักษรหลกั ในการเขียน และการสะกดคาหลายคาจะไม่ตรงกับการอ่านออกเสยี ง ซ่งึ ทาให้ภาษาอังกฤษเปน็ ภาษาทย่ี ากภาษาหนึง่ ในการเรียน เสยี งสูงต่า ภาษาองั กฤษเป็นภาษาในลกั ษณะ ภาษา intonation ซึ่งหมายถงึ การใช้เสยี งสงู ต่าข้นึ อยู่กับประโยคที่ใช้ ต่างกับภาษาไทยท่ีใช้วรรณยกุ ต์เป็นตวั กากับของเสยี งสงู ต่า ประโยคในรปู แบบต่างกัน จะใชเ้ สียงสูงตา่ แตกตา่ งกัน เชน่ ประโยคแสดงความตกใจ ประโยคคาถาม ประโยคสนทนา การขนึ้ เสียงสงู และลงเสยี งต่ายงั คงสามารถบอกได้ถึงความหมายของประโยค ตวั อย่างเชน่ When do you want to be paid? (คณุ ต้องการชาระเงินเม่ือไร) เรียนภาษาอังกฤษ การเนน้ เสียงในคา่ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาในลกั ษณะ ภาษา stress-timed ซึ่งจะมีการเนน้ เสียงท่ีคาคาหน่ึงโดยการเนน้ ให้ เสียงดงั ข้นึ หรอื เสียงสงู ขนึ้ ในดกิ ชนั นารี จะนิยมเขยี นเครื่องหมายอะพอสทรอฟี ( ˈ ) ไวด้ า้ นหน้า (เช่น IPA หรือ พจนานุกรมออกซ์ฟอร์ด) หรือเขยี นไวด้ า้ นหลัง (พจนานุกรมเว็บสเตอร์) โดยทว่ั ไป คาศัพทภ์ าษาองั กฤษที่มี 2 พยางค์ สามารถกล่าวไดว้ ่า ถ้าเนน้ เสียงทีพ่ ยางคแ์ รก คาน้ันส่วนใหญจ่ ะเป็น คานาม หรือ คาคุณศัพท์ และถา้ เนน้ เสยี งทพี่ ยางคท์ ่ี 2 คานัน้ สว่ นใหญ่จะเปน็ คากริยา การเนน้ เสียงในประโยค การเนน้ เสียงในประโยคใช้ในการบอกความสาคัญของประโยค โดยประโยคท่วั ไปจะเนน้ เสียงท่คี าหลกั ที่มี ความหมายเฉพาะ โดยจะไมเ่ น้นเสียงที่ คาสรรพนาม และกรยิ าช่วย

ใบความรู้คร้งั ท่ี 3 วิชาภาษาองั กฤษเพื่อชีวติ และสงั คม รหสั วิชา พต31001 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย เรอ่ื ง Hello, could you tell me……..? การรูจ้ กั ประโยคต่างๆท่ใี ช้ในการสนทนาโตต้ อบหรือติดต่อสอื่ สารทางโทรศัพทเ์ ปน็ ทกั ษะเบื้องตน้ ที่สาคัญสาหรบั การนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในการประกอบอาชีพและการดาเนินชวี ิตประจาวนั ตวั อยา่ งประโยคทใี่ ชใ้ นการสนทนาใน สถานการณ์ต่างๆ เช่น Introductions เรม่ิ การสนทนาทางโทรศัพท์ด้วยการแนะนาตวั เอง เช่น \"Hello, this is Louis Barker. ถ้าผู้ทโ่ี ทรเขา้ มาไมไ่ ดแ้ นะนาตัวเขา เราสามารถใช้ประโยคคาถามวา่ \"May I ask who's calling, please?\" Asking for someone / Making a request ประโยคท่ีใช้ในการถามหาคนทึต่ ้องการพูดดว้ ย เช่น \"May I speak to Alax Johnson, please?\" หรอื ถ้ามเี บอร์ต่อแต่ไม่ทราบชื่อของเจ้าของเบอร์น้นั ควรพูดวา่ \"Could I have extension number 635?\" ถา้ โทรเพ่ือจดุ ประสงคช์ ัดเจนไมไ่ ด้อยากคยุ กับใครเปน็ การเจาะจง ควรบอกวัตถุประสงค์ของการโทร เช่น \"I’m calling to make a reservation.\" ถือสายรอหรือโอนสาย \"Please hold\" เป็นภาษาทางโทรศัพท์ทีห่ มายถงึ \"รอสักคร\"ู่ ถา้ transferred (โอนสาย) ไปทีเ่ บอร์ตอ่ อน่ื เรา มกั จะได้ยินการบอกกลา่ วว่า\"Connecting your call...\" หรอื \"Please hold, I'll transfer you.\" แตถ่ า้ ติดต่อ ทางธุรกจิ ในช่วงเวลาทยี่ ่งุ ๆ เราอาจไดย้ นิ เพียงคาบอกสั้นๆ ให้ถอื สายรอว่า\"Hello, please hold!\" ก่อนทีโ่ อปะเร เตอร์จะตัดไปรับสายอ่ืน ฝากขอ้ ความ ประโยคท่ถี ามวา่ จะฝากข้อความไวห้ รือไม่ เชน่ \"Would you like to leave a message?\" และประโยคทใี่ ชบ้ อกวา่ จะฝากขอ้ ความไว้ เช่น \"May I leave a message?\" และถ้าตองการให้ติดต่อกลับก็อาจฝากเบอรโ์ ทรศัพท์ของเราไว้ ซงึ่ พูดว่า call back number ขอให้อีกฝา่ ยพดู ชา้ ลง ในกรณีที่ฟังไมเ่ ข้าใจหรือฟังไมท่ ันสามารถบอกใหอ้ ีกฝา่ ยพูดช้าลง โดยใช้ประโยค เชน่ could you please speak slowly? หรอื อาจขอให้อีกฝา่ ยรู้วา่ เราไม่เกง่ ภาษาอังกฤษ อาจใช้คา่ วา่ \"My English isn't very strong, could you please speak slowly?\" สิง่ ท่ีสาคัญในการพูดโทรศพั ท์คอื การใชค้ าและนา้ เสียงทส่ี ภุ าพเรียบรอ้ ย เมื่อต้องการขอร้องให้ใครทาอะไร ให้ ควรใชค้ าตอ่ ไปนีใ้ นประโยคดว้ ย ไม่ว่าจะเปน็ 'Could you' และ 'Please' และอยา่ ลืมจบการสนทนาด้วยคาวา่ 'Thank you' และ 'Goodbye'!

ตัวอยา่ งบทสนทนา การพดู โทรศพั ท์ ( Talking on the phone ) Roi : Hello. This is 043-851249. Roi, speaking. May I help you ? สวัสดีครบั ที่นหี่ มายเลขศนู ย์สสี่ ามแปดหา้ หนึ่งสองสเ่ี ก้า รอยพดู ครับ ใหช้ ว่ ยอะไรครับ Tom : May I speak to Nida, please? Is she in ? ขอสายคณุ นิดาดว้ ยครับไมท่ ราบวา่ อยู่ไหม Roi : Yes, hold the line a moment, please. I’ll see if she’s in ครับ กรุณาถือสายรอสักครู่ ผมจะดกู ่อนวา่ เขาอยู่ไหม (ครหู่ น่ึงตอ่ มา รอยจงึ พูดต่อ) Oh, she is now talking to someone on another phone ออ้ เขากาลังพดู อยู่อีกเครื่องหน่งึ ครบั Would you like to tell her to call you back ? จะให้ผมบอกเขาโทรกลบั ไหมครบั Tom : No. Thank you. I’ll call again in a while ไมล่ ะครบั ขอบคุณ ผมจะโทรกลบั เองอีกสักครู่ Roi : Would you wish to leave a message for her ? คณุ จะสง่ั อะไรถึงหล่อนไหมครบั Who shall I say have call ? จะให้ผมเรียนเขาวา่ ใครโทรฯ มาครบั Tom : Tell her that I’m Tom, her old friend. บอกเขาดว้ ยวา่ ผมทอมเป็นเพ่ือนเกา่ Roi : I will. Bye. แลว้ ผมจะบอกใหน้ ะครบั สวัสดีครบั

ใบความรู้ครงั้ ที่ 4 วชิ าภาษาอังกฤษเพื่อชีวติ และสังคม รหัสวิชา พต31001 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย เรื่อง What is your e-mail address? 1. การขอมี e-mail somchai @ hotmail . com 123 4 1. ชอ่ื สมาชิกผ้ใู ช้ (user name) อาจใชช้ ่อื อ่นื ได้ 2. เครอื่ งหมาย @ 3. โดเมนเนม (Domain Name) เป็นที่อยู่ของอินเทอรเ์ น็ตเซริ ฟ์ เวอร์ทีส่ มัครเป็นสมาชิก เช่น yahoo , hotmail. เปน็ ต้น 4. รหสั .com = commercial บริการดา้ นการค้า .edu = education สถานศึกษา .org = organization องค์กร .net = network หน่วยงานบริการเครือข่าย 2. การเปิด-ปิด e-mail 1. เปิดหนา้ เว็บไซด์ของ e – mail ท่ไี ดส้ มคั รเปน็ สมาชิกพร้อมกรอก ID และ Password 2. Sign in เพื่อยืนยันและขออนญุ าตการใช้ e – mail 3. เลอื กหนา้ ทีต่ ้องการใช้งาน เช่น กล่องขาเข้า ตอบรับ หรือ สง่ ต่อ 3. ภาษา e-mail Sign in หมายถึง การเข้าสูร่ ะบบ Sign out หมายถงึ การออกจากระบบ Sent Items หมายถึง กลอ่ งหรอื ที่เกบ็ e-mail ท่ีสง่ ไปแล้ว Delete Items หมายถงึ กลอ่ งหรือท่เี ก็บ e-mail ทลี่ บทง้ิ แลว้ แต่ยงั เก็บสารองไวอ้ ยู่ Compose หรอื New mail จะเป็นการเขยี น e-mail ใหม่เพือ่ จะสง่ Forward จะเปน็ การส่งต่อ e-mail ท่ไี ดร้ ับมาไปหาผ้อู น่ื CC เป็นการสง่ copy e-mail นั้น ๆ ไปยงั ผู้อ่นื ดว้ ย 4. การอ่านค่าแนะนา่ ตัวเองจาก e-mail แบ่งเป็น 1. ขอ้ ความทักทายพูดคุยท่ัวไป เช่น การแนะนาตนเอง บอกช่อื อายุ ครอบครวั การศึกษา การงาน งาน อดเิ รก ฯลฯ เชน่ Hi! My name is ………………………… I am ……………years old. I have one sister and two brothers. I am studying in ………………….school I live in …………………………………….. etc. 2. ข้อความนาเสนอตัวเองเพ่ือสมคั รงาน เปน็ การแนะนาตนเอง พรอ้ มบอกทักษะความสามารถ การศกึ ษา เป็น ตน้ เช่น I am …………………….. I graduated from ………………………….

I am an active person. I am good at ………………. etc. การเขียน e-mail เปน็ ภาษาองั กฤษ 5. การสรา้ งประโยคค่าถามจากคา่ ตอบ การสร้างประโยคคาถามจากคาตอบทีใ่ หม้ าหรือตอบคาถามเวลาโตต้ อบ email ผเู้ รียนต้องจาลกั ษณะ ของประโยคเหลา่ น้ีให้ได้ แยกเปน็ คานามเก่ยี วกบั 1. ขอ้ มูลส่วนตวั เชน่ What’s your name? ตอบ Sam Can you ……….? ตอบ Yes, I can. or No, I can’t. 2. การพูดทักทาย เช่น How do you do? ตอบ How do you do? It’s nice to meet you How are you? ตอบ Fine, thanks 3. คานามท่ีใช้คาว่า “Like” เช่น What do you like to …..? ตอบ I like to …………. What does he look like? ตอบ He is tall and handsome. 4. คาถามเก่ยี วกบั ความคิดเห็นและข้อมูล เชน่ How was the food? ตอบ It was delicious. What do you think about this book? ตอบ It’s interesting. คาคุณศพั ทเ์ วลาใช้มกั จะอยู่ในรปู ของการเปรียบเทียบ ดงั น้ี 1. เปรยี บเทยี บขน้ั ปกติ (Positive Degree) ในการเปรยี บเทียบส่งิ ทเ่ี ท่ากนั หรอื ไม่เทา่ กนั โดยใช้ กบั as………….as หรอื not so (as)………as She is as good as her mother. He is not so fat as his son. 2. เปรียบเทียบนามสองสงิ่ ที่ไมเ่ ท่ากัน (Comparative Degree) โดยการใช้กบั more + adjectives + than หรือ adjective + er + than เชน่ * This house is more beautiful than mine. That boy is taller than his brother. 3. เปรยี บเทียบนามท่มี ากกว่าสองสิ่งขึ้นไป (Superlative Degree) ใช้กบั the most + adjective (+noun) หรอื the adjective + est (+noun) เช่น * This is the most difficult test of all. This is the hottest season of the year.

ใบความรู้คร้งั ท่ี 4 วชิ าภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม รหัสวิชา พต31001 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย เรื่อง Let’s Travel วลี หรือ สานวนท่ใี ชใ้ นการถาม-ตอบ เกี่ยวกับเวลาในการเดินทาง เชน่ one hour and a half = หนึ่งชัว่ โมงครึ่ง an half an hour = ครึง่ ชว่ั โมง every half hour = ทกุ ๆ ครึ่งชั่วโมง daily = รายวนั /แต่ละวนั weekly = รายสัปดาห์ ศพั ท์ สานวน ทจ่ี าเป็นต้องใช้ขณะเดินทางโดยใช้ยานพาหนะแตล่ ะประเภท ดังน้ี 1. การเดินทางโดยรถไฟ (By train) 1. แสดงความจานงในการซอื้ ต๋วั I would like to buy a ticket to ……………………. 2. ถามราคาตวั๋ เทย่ี วเดียว (one – way ticket) หรือ ตว๋ั ไป-กลับ (round-trip ticket) How much is a one – way ticket to ………………..? round-trip 3. คาถามที่ใชเ้ กีย่ วกับขบวนรถไฟ - Does this train go to? รถไฟขบวนน้ีไป.............หรือไม่ - When will the next express train leave? รถดว่ นขบวนต่อไปออกเมื่อไร - What time does the train arrive in Bangkok? รถไฟถึงกรงุ เทพฯ กีโ่ มง - How long does it take to Phuket? การเดินทางไปภเู กต็ ใช้เวลานานเทา่ ไร - I will get off at the next station. ผมจะลงสถานีต่อไป 2. การเดินทางโดยรถประจาทาง (By bus) get on = ข้นึ รถ get off = ลงจากรถ bus stop = ปา้ ยรถประจาทาง take the bus number ……… = ขน้ึ รถประจาทางหมายเลข ........... catch 3. คาถามสาหรบั ใชใ้ นการถามข้อมลู มีดงั น้ี - Excuse me Pardon me = ขอโทษที่รบกวน Sorry to trouble you - Could you please tell me if/whether this bus Would the Victory Monument? goes to passes - Please tell me where this bus stops? กรุณาบอกผมได้ไหมครบั วา่ รถจอดท่ีไหน/เมื่อไร - Do you know how long it takes? ใชเ้ วลานานเท่าไหร่ ทา่ นทราบไหมว่า how far it is? ไกลแค่ไหน how I can catch the bus number 8? ผมจะข้นึ รถประจาทางหมายเลข 8 ไดอ้ ย่างไร

สานวนและประโยคทน่ี ยิ มใชใ้ นการถามทศิ ทาง มีดังน้ี - Excuse me Where is the post office? ขอโทษครบั ไปรษณยี ์อยทู่ ีไ่ หนครับ How can I get to the post office? ผมจะไปไปรษณยี ์ได้อยา่ งไร Which is the best way to the post office? ทางไหนไปไปรษณยี ์ดที ส่ี ุด *- (Could you) please tell me กรณุ าบอกทางผม Do you know คณุ ทราบไหมครับ where the post office is? ไปรษณีย์อย่ทู ่ีไหนครบั How I can get to the post office? ผมจะไปไปรษณยี ์ได้อยา่ งไร สานวนและประโยคทน่ี ิยมใชใ้ นการบอกทศิ ทาง มดี ังน้ี Go straight on = เดินตรงไป Walk Turn left / right = เลีย้ วซ้าย / ขวา Take the second turning on the right = เล้ียวขวาแยกที่ 2/เลี้ยวขวาครัง้ ที่ 2 Keep on walking = เดนิ /ขับ ต่อไป driving The (place) is on your left. = สถานทน่ี น้ั อยดู่ ้านซ้าย / ขวา ของคุณ right. The (place) is next to the police station = สถานทน่ี ้ันอยู่ถัดจากสถานตี ารวจ It’s about ten minute’s walk from here = เดิน /ขับรถ 10 นาที จากทน่ี ่ี drive คาศัพท์ วลี สานวน และประโยคที่ใชใ้ นการวางแผนการท่องเทยี่ วมี ดังน้ี 1. การเขียนกาหนดการเดินทางเนน้ เรื่องเวลาและสถานท่ตี ้องกาหนดวนั วนั ท่ี เวลาให้ชดั เจน รวมถงึ กิจกรรมที่ต้องทาแต่ละวนั เช่น 08.00 Pick up at the hotel lobby 09.30 Visit Vimanmek Palace 12.00 Lunch 13.00 Visit the Grand Palace 2. การจองตั๋วเคร่ืองบิน ประโยคทใ่ี ชโ้ ดยทวั่ ไป เช่น I’d like to book a flight to ………… ผมขอจองต๋ัวไป.............. May I have your name, please? ขอทราบช่ือดว้ ยครับ / ค่ะ The seat has already been booked. ที่นงั่ ได้มกี ารจองแลว้ ครับ / ค่ะ สว่ นคาศพั ท์ทีม่ ักใช้ในการจองต๋วั เคร่ืองบิน เชน่ direct flight = บินตรง transit = เปลยี่ น / ถ่ายเครอ่ื ง departure time = เวลาเครอ่ื งบนิ ออก arrival time = เวลาเคร่อื งบินถึง land = เครอื่ งบินจอดลง take off = เครือ่ งบนิ ข้ึน

ใบความรู้ครั้งท่ี 5 วิชาภาษาอังกฤษเพ่ือชีวติ และสงั คม รหัสวิชา พต31001 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เร่อื ง Will it rain tomorrow? ศัพท์ท่คี วรรเู้ ก่ยี วกบั การพยากรณอ์ ากาศ 1. Weather Factors (องคป์ ระกอบของกาลอากาศ) 1.1 Rain = ฝน (1) Feather of rain (ลักษณะของฝน) - rain, rain shower, shower = ฝนทตี่ กลงมาเปน็ ช่วง ๆ - thundershower = ฝนฟา้ คะนอง - thunderstorm = พายุฝนฟ้าคะนอง (2) Area of raining (พื้นท่ีฝนตก) - scattered (adj.) = กระจัดกระจาย - widespread (adj.) = แผ่เป็นวงกว้าง - isolated (adj.) = กระจายไปทั่วทุกพนื้ ท่ี 1.2 Wind (ลม) (2) windy = ลมแรง (1) light/breezy = ลมพัดเอ่ือย ๆ (4) gale = ลมพายุ (3) dusty = ลมกรรโชก 1.3 Sky (ทอ้ งฟา้ ) (2) sunny = แดดจ้า (1) clear = แจ่มใส (3) dusty = ลมกรรโชก (4) partly cloudy = มเี มฆเป็นบางสว่ น 2. Weather condition (สภาพดินฟ้าอากาศ) - frost/frosty = นา้ ค้างแข็ง - snow/snowy = หิมะ มหี มิ ะตก - icy = หนาวจัด มีหมิ ะจบั ทั่วไป - misty = มหี มอกบาง ๆ ไม่หนานกั - fog/foggy = หมอกหนา/มีหมอกลงจดั 3. Temperature (อณุ หภมู ิ) - minimum (min) = ตา่ สุด - maximum (max) = สูงสดุ - low/high pressure = ความกดอากาศต่า/สูง - average = normal = ปกติ - Celsius = หนว่ ยวดั อณุ หภูมสิ ากล (องศา °C) - standard = มาตรฐาน - Fahrenheit = องศาฟาเรน็ ไฮต์ 4. Humidity (ความชนื้ ) คดิ เปน็ รอ้ ยละ % - average humidity = ความชื้นเฉลย่ี - relative humidity = ความช้นื สัมพทั ธ์ 5. Time : a.m./p.m. (เวลานา้ ขน้ึ นา้ ลง) = low (ตา่ ) / high (สูง) 6. Sea (ทะเล) - moderate = มคี ล่ืนปานกลาง - smooth = สงบ - slight = มคี ล่นื เลก็ น้อย - rough = มีคล่ืนจัด 7. Areas /regions (เขตพน้ื ท)่ี - Cent S (Central South) = ใตต้ อนกลาง - Cent (Central) = ตอนกลาง - Cent N (Central North) = เหนอื ตอนกลาง - SW (South West/ Southwest) = ตะวนั ตกเฉยี งใต้

- SE (South East/Southeast) = ตะวันออกเฉยี งใต้ - NE (North East/Northeast) = ตะวันออกเฉียงเหนอื - NW (North West/Northwest) = ตะวันตกเฉียงเหนือ 8. Sun / Moon / a.m. / p.m. = พระอาทติ ย์ / พระจันทร์ - set (v) = ตก - rise (v) = ขึ้น 9. Other words : คาศัพท์สานวนอนื่ ทพ่ี บบอ่ ย ๆ เกยี่ วกับการพยากรณ์อากาศ - rainfall = ปรมิ าณนา้ ฝน - tropical depression = พายคุ วามกดอากาศต่าเขตรอ้ น - intensify (v.) = ทาให้รนุ แรงข้ึน - Northeasternly winds = ลมมรสมุ ตะวันออกเฉียงเหนือ - Southwesternly winds = ลมมรสมุ ตะวันตกเฉียงใต้ - prevail = ลมพัดแรง - flash flood = น้าทว่ มฉบั พลัน - decline (v.) = ลดลง - kph (a kilometer per hour ) = 1 กิโลเมตรตอ่ ชว่ั โมง - hail (n.) = ฝนลูกเห็บ - likely = เป็นไปได้ - flooding condition = สภาวะนา้ ทว่ ม - mostly (adv.) = ส่วนมาก ส่วนใหญ่ - partly (adv.) = บางส่วน - widely (adv.) = อยา่ งกวา้ งขวาง/เป็นบริเวณกวา้ ง Tense ทนี่ ิยมใชเ้ กย่ี วกับดินฟ้าอากาศ คือ Present Simple Tense ซึ่งมีโครงสรา้ งดงั น้ี ประธาน + กริยา ชอ่ ง 1 + กรรม (สว่ นขยาย) ตัวอยา่ ง : The weather is hot today. หมายเหตุ : 1. ถา้ ประธานของประโยคเปน็ เอกพจนบ์ ุรุษท่ี 3 เช่น a man (he) , a girl (she) , a dog (it) กรยิ าปกติทัว่ ไปใหเ้ ติม s หรอื es (กรณกี ริยานั้นลงท้ายดว้ ย o , sh , ch , ss) ถ้ากริยาลงทา้ ยด้วย y หลงั พยัญชนะใหเ้ ปลีย่ น y เป็น ies. เช่น The sun sets in the west. A girl washes the dishes everyday. He cries (cry) in the morning. ถ้าเปน็ ประโยคปฏเิ สธหรือประโยคคาถามให้ใช้ “does” ช่วย แลว้ เปล่ียนกรยิ าเปน็ รูปเดิมที่ไมม่ ี s หรือ es เชน่ The sun doesn’t set in the East. Does he cry in the morning? 2. ถา้ ประธานของประโยคเป็นพหพู จน์ หรือ I , We , You , They กริยาไม่ต้องเตมิ s หรือ es เชน่ They go home in the evening. ถา้ เป็นประโยคปฏิเสธหรือประโยคคาถามให้ใช้ “do” ชว่ ย เช่น They do not go home in the evening. Do Sam and Mary live here? หมายเหตุ : ถา้ บนั ทึกขอ้ มูลเรอ่ื งอากาศใหใ้ ช้ Past Simple (กริยารูปอดีต) ค่าศพั ท์ท่ีใช้สว่ นใหญเ่ ป็นคา่ คุณศพั ท์ทม่ี ากจากค่านาม ตัวอยา่ งเช่น snow หิมะ snowy หิมะตกหนัก sun ดวงอาทิตย์ sunny แดดจัด

ใบความรู้ครงั้ ที่ 5 วชิ าภาษาอังกฤษเพ่ือชีวติ และสงั คม รหัสวิชา พต31001 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย เร่ือง Urgently Wanted ค่าศัพท์ ส่านวนภาษาองั กฤษทมี่ ักพบบอ่ ยในโฆษณารบั สมัครงาน มดี ังน้ี attractive = นา่ ดึงดดู ใจ benefit = ผลประโยชน์ good command of… = มีความรู้ดดี า้ น experience = ประสบการณ์ male = เพศชาย female = เพศหญงิ graduate = จบการศึกษา(ปรญิ ญาตร)ี offer = เสนอให้ recent = เรว็ ๆ นี้ , ไมน่ านมาน้ี salary = เงนิ เดอื น wages = ค่าจ้าง well – established = ม่ันคง ค่าศพั ท์ ส่านวน วลี และโครงสรา้ งทีเ่ กีย่ วข้องกับการสมัครงานมดี ังนี้ Clerk = เสมยี น Typist = พนกั งานพมิ พด์ ดี Secretary = เลขานกุ าร Receptionist = พนักงานต้อนรับ Sales Representative = ตวั แทนการขาย accountant = พนักงานบัญชี librarain = บรรณารกั ษ์ reporter = ผูส้ อื่ ข่าว ค่าศัพท์ ส่านวนภาษอังกฤษที่พบบ่อยในการสมัครงาน มีดังนี้ Graduate = จบการศึกษา Bachelor’s degree = ปริญญาตรี BA = Bachelor of Arts = ปริญญาตรดี า้ นศิลปศาสตร์ BS = Bachelor of Science = ปริญญาตรีด้านวิทยาศาสตร์ Master’s degree = ปรญิ ญาโท Doctoral degree = ปรญิ ญาเอก Certificate = ใบประกาศนยี บตั ร Computer Science = คอมพวิ เตอรศ์ าสตร์ Civil Engineering = วิศกรรมโยธา Business Administration = บรหิ ารธรุ กจิ คา่ ศัพท์ วลี ท่ใี ช้ในประกาศรบั สมัครงานเก่ยี วกับความสามารถทางภาษา เช่น - Fluent or Fluency in English = ใชภ้ าษาองั กฤษได้คลอ่ ง - a fair knowledge of English = มีความรู้ภาษาองั กฤษปานกลาง - good command of English = มีความรภู้ าษาองั กฤษดี - proficiency in spoken and written English = มีความสามารถในการพูดและเขียนภาษาองั กฤษไดด้ ี คา่ ศพั ท์ วลี ทีใ่ ชใ้ นการเขยี นประวตั ิส่วนตวั ในการสมคั รงาน ( Resume ) เชน่ hobbies = งานอดิเรก religion = ศาสนา issued on = ออกให้ ณ วนั ที่...... issued by = ออกให้โดย.......... post code หรือ zip code = รหสั ไปรษณีย์ residence = ทพ่ี ักอาศยั marital status = สถานภาพสมรส single = โสด married = แต่งงานแลว้ engaged = หมน้ั แลว้ divorced = หย่าร้าง widowed = หม้าย spouse = คสู่ มรส military service = สถานภาพทางทหาร

ใบความรู้ครัง้ ที่ 6 วชิ าสังคมศึกษา รหสั วิชา สค31001 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย เร่อื ง ภมู ศิ าสตร์ กายภาพ ภมู ิศาสตรก์ ายภาพประเทศไทย ท่าเลท่ตี ง้ั ประเทศไทยต้ังอยู่ในภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ ซ่งึ ประกอบด้วยสว่ นทีเ่ ปน็ แผน่ ดินใหญห่ รือ เรยี กว่าคาบสมุทรอินโดจีนหรอื แหลมทอง และส่วนท่ีเป็นหมูเ่ กาะใหญน่ ้อยหลายพนั เกาะ ตง้ั อยู่ในแหลมทอง ระหว่างละติจดู 5 องศา 37 ลิปดาเหนือกบั 20 องศา22 ลิปดาเหนอื และลองจิจดู 97 องศา 22 ลปิ ดา ตะวนั ออก กบั 105 องศา 37 ลิปดาตะวนั ออก ขนาด ประเทศไทยมีเนอื้ ที่ 513,115 ตารางกโิ ลเมตร ถา้ เปรยี บเทียบขนาดของประเทศไทยกับ ประเทศในภมู ภิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ดัวยกนั แล้ว จะมพี ื้นท่ีขนาดใหญเ่ ป็นอนั ดับที่สาม รองจากอินโดนเี ซีย และพมา่ ความยาวของประเทศวดั จาก เหนือสุด ทีอ่ าเภอแม่สายจงั หวดั เชียงรายไปจดใตส้ ดุ ที่อาเภอเบตง จังหวดั ยะลา ประมาณ 1,260 กิโลเมตร สว่ นความกวา้ งมากทส่ี ุด วดั จากด่านพระเจดีย์สามองค์อาเภอสังขละบุรี จงั หวดั กาญจนบุรไี ปจดตะวันออกสุด ที่อาเภอสิรนิ ธร จังหวดั อุบลราชธานี ยาวประมาณ 780 กโิ ลเมตร สาหรับ ส่วนทแ่ี คบทสี่ ดุ ของประเทศไทยอยู่ในเขตจงั หวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ วดั จากพรมแดนพม่า ถึงฝงั่ ทะเลอ่าวไทยเปน็ ระยะทางประมาณ 10.5 กิโลเมตร อาณาเขตติดต่อ ประเทศไทยมีอาณาเขตตดิ ต่อกับประเทศเพ่ือนบ้านโดยรอบ 4 ประเทศคือ พมา่ ลาว กมั พชู า และมาเลเซยี รวมความยาวของพรมแดนทางบก ประมาณ 5,300 กิโลเมตร และมีอาณาเขตติดต่อกับชายฝั่งทะเลยาว 2,705 กิโลเมตร คือ แนวฝง่ั ทะเลดา้ นอ่าวไทย ยาว 1,840 กโิ ลเมตร และแนวชายฝงั่ ดา้ นทะเลอนั ดามันยาว 865 กิโลเมตร 1. เขตแดนที่ติดต่อกบั พมา่ เรม่ิ ต้นทีอ่ าเภอแมส่ ายจังหวดั เชียงรายไปทางตะวันตกผา่ นท่ีจังหวดั แมฮ่ ่องสอน ไปส้นิ สุดที่จงั หวัดระนอง จงั หวัดชายแดนดา้ นน้ีมี 10 จงั หวัดคอื เชยี งราย เชียงใหม่ แมฮ่ ่องสอน ตาก กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบรุ ี ประจวบคีรีขันธ์ ชมุ พร และ ระนอง มีทิวเขา 3 แนว เปน็ เสน้ กัน้ พรมแดน ได้แก่ ทิวเขาแดนลาว ทวิ เขาถนนธงชัยและทิวเขาตะนาวศรี นอกจากน้ันยังมแี ม่นา้ สายส้ันๆ เปน็ แนวกนั้ พรมแดน อยู่อีกคือแม่น้าเมย จังหวัดตากและแม่นา้ กระบุรี จงั หวัดระนอง 2. เขตแดนทตี่ ิดต่อกบั ลาว เขตแดนดา้ นน้ี เริ่มต้นท่ใี นอาเภอเชียงแสน ไปทางตะวนั ออกผา่ นที่อาเภอ เชียงของ จังหวดั เชยี งรายเข้าสู่จังหวดั พะเยา ไปสิน้ สดุ ท่จี ังหวดั อบุ ลราชธานดี นิ แดนทตี่ ดิ ตอ่ กบั ลาวมี 11 จงั หวดั คือ เชยี งราย พะเยา นา่ น อตุ รดิตถ์ พษิ ณโุ ลก เลยหนองคาย นครพนม มกุ ดาหาร อานาจเจริญ และอุบลราชธานี มแี ม่นา้ โขงเป็นเส้นก้นั พรมแดนทางนา้ ทส่ี าคัญ สว่ นพรมแดนทางบกมที วิ เขาหลวงพระบางกนั้ ทางตอนบนและทวิ เขาพนมดงรักบางสว่ นกนั้ เขตแดนตอนลา่ ง เขตแดนท่ีติดต่อกบั กมั พูชา เรม่ิ ต้นท่ีพืน้ ท่ีบางส่วนของภาค ตะวันออกเฉยี งเหนือตอนลา่ ง

3. จากอาเภอนา้ ยืน จังหวัดอุบลราชธานี มาทางทิศตะวันตก แลว้ วกลงใตท้ จี่ งั หวัดบรุ รี ัมย์ ไปสิน้ สุดท่ี จังหวัดตราด จงั หวัดชายแดนที่ตดิ ตอ่ กับกัมพชู า มี 7 จังหวดั คอื อุบลราชธานี ศรสี ะเกษ สรุ ินทร์ บุรรี ัมย์ สระแก้ว จนั ทบรุ ี และ ตราด มีทวิ เขาพนมดงรักและทวิ เขาบรรทดั เป็นเส้นก้ันพรมแดน 4. เขตแดนท่ีตดิ ต่อกับมาเลเซยี ได้แก่ เขตแดนทางใต้สุดของประเทศ ในพ้ืนท่ี 4 จงั หวดั คอื สตลู สงขลา ยะลา และนราธิวาส มีแนวเทอื กเขาสันกาลาคีรี และแมน่ ้าโก-ลกจังหวดั นราธิวาสเป็นเส้นก้ันพรมแดน ภาคเหนอื ภาคเหนือประกอบด้วยพนื้ ทีข่ อง 9 จงั หวดั ได้แก่ 1. เชียงราย 2. แม่ฮ่องสอน 3.พะเยา 4. เชียงใหม่ 5. นา่ น 6. ลาพูน 7. ลาปาง 8. แพร่ 9. อุตรดิตถ์ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศทั่วไป เปน็ เทอื กเขาสงู ทอดยาวขนานกันในแนวเหนอื -ใต้ และระหว่างเทอื กเขาเหล่านี้ มีท่ีราบและมหี บุ เขาสลับอยู่ท่ัวไปเทือกเขาทสี่ าคัญ คือ เทอื กเขาหลวงพระบาง เทอื กเขาแดนลาว เทอื กเขาถนน ธงชยั เทือกเขาผปี นั น้า เทอื กเขาขุนตาลและเทือกเขาเพชรบูรณ์ ยอดเขาท่สี งู ที่สุดในภาคนี้ ไดแ้ ก่ ยอดอินทนนท์ อยใู่ นจังหวัดเชียงใหม่ มคี วามสงู ประมาณ2,595 เมตร เทอื กเขาในภาคเหนือ เปน็ แหลง่ กาเนิดของแมน่ ้าสาย ยาว 4 สาย ไดแ้ ก่ แม่นา้ ปิง วัง ยม และนา่ น แมน่ า้ ดงั กล่าว นีไ้ หลผ่านเขตที่ราบหุบเขา พน้ื ท่ีทัง้ สองฝ่งั ลานา้ จงึ มี ดนิ อุดมสมบูรณเ์ หมาะแกก่ ารเพาะปลูก ทาใหม้ ีผู้คนอพยพไปต้ังหลกั แหล่งในบริเวณดงั กลา่ วหนาแนน่ นอกจากน้ีภาคเหนอื ยังมีแมน่ ้าสายสน้ั ๆ อกี หลายสาย ได้แก่แม่น้ากก และแม่น้าองิ ไหลลงสู่ แมน่ า้ โขง สว่ นแมน่ า้ ปายแมน่ า้ เมย และแม่น้ายม ไหลลงสู่แมน่ ้าสาละวนิ ภาคกลาง ภาคกลางประกอบดว้ ยพื้นที่ของ 22 จงั หวัด ไดแ้ ก่ 1.สุโขทยั 2.พษิ ณโุ ลก3.กาแพงเพชร 4.พจิ ติ ร 5. เพชรบรู ณ์(ภาคกลางตอนบน) 6.นครสวรรค์ 7.อุทัยธานี 8.ชยั นาท 9.ลพบุรี 10.สงิ ห์บรุ ี 11.อ่างทอง 12.สระบุรี 13.สุพรรณบุรี 14.พระนครศรีอยุธยา 15.นครนายก 16.ปทุมธานี 17.นนทบรุ ี 18.นครปฐม19. กรงุ เทพมหานคร 20. สมุทรปราการ 21. สมุทรสาคร 22. สมทุ รสงคราม ลักษณะภูมปิ ระเทศทัว่ ไป เปน็ ท่ีราบดนิ ตะกอนที่ลาน้าพัดมาทบั ถม ในบรเิ วณท่ีราบน้ีมีภูเขาโดดๆ ซงึ่ ส่วน ใหญ่เป็นภเู ขาหนิ ปนู กระจาย อย่ทู วั่ ไป ภมู ิประเทศตอนบนของภาคกลางเปน็ ทร่ี าบลกู ฟูก คอื เป็นท่ีสงู ๆต่าๆ และมี ภเู ขาทมี่ แี นวต่อเนื่องจากภาคเหนอื เขา้ มาถงึ พนื้ ที่บางส่วนของจงั หวดั พษิ ณุโลก และเพชรบรู ณ์ ส่วนพน้ื ทต่ี อนล่าง ของภาคกลางนน้ั เป็นดนิ ดอนสามเหลีย่ มปากแมน่ า้ เจ้าพระยา ซง่ึ เกิดจากการรวมตัวของแมน่ ้าปงิ วัง ยมน่าน นอกจากแม่น้าเจ้าพระยาแลว้ ตอนลา่ งของภาคกลางยงั มีแม่นา้ ไหลผา่ นอีกหลายสายไดแ้ ก่ แม่น้าแม่กลอง แม่ นา้ ทา่ จนี แมน่ า้ ป่าสัก และแม่นา้ นครนายก เขตนีเ้ ปน็ ท่รี าบกวา้ งขวางซึ่งเกดิ จากดินตะกอน หรอื ดนิ เหนยี วท่ีแมน่ ้า พดั พามาทับถมเป็นเวลานาน จึงเปน็ พ้นื ที่ทอ่ี ดุ มสมบรู ณ์เหมาะแก่การเพาะปลกู มาก และเป็นเขตทม่ี ีประชากร มากท่สี ดุ ในประเทศไทยฉะน้ันภาคกลางจึงได้ชือ่ วา่ เปน็ อู่ข้าว อ่นู า้ ของไทยแมน่ า้ เจา้ พระยา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วยพน้ื ที่ของ 19 จงั หวดั ได้แก่ 1.เลย2.หนองคาย 3.อดุ รธานี 4. สกลนคร 5.นครพนม 6.ขอนแก่น 7.กาฬสินธ์ุ 8.มกุ ดาหาร9.ชัยภมู ิ 10.มหาสารคาม 11.ร้อยเอด็ 12.ยโสธร 13.นครราชสมี า 14.บรุ รี ัมย์ 15. สุรนิ ทร์16.ศรีสะเกษ 17.อบุ ลราชธานี 18.อานาจเจรญิ 19.หนองบัวลาภู ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทว่ั ไป มีลกั ษณะเปน็ แอ่งคล้ายจาน ลาดเอียงไปทางตะวนั ออก เฉยี งใตม้ ีขอบเป็นภเู ขาสงู ทางตะวันตกและทางใต้ขอบทางตะวันตก ไดแ้ ก่ เทอื กเขา

เพชรบรู ณ์ และเทอื กเขาดงพญาเย็น สว่ นทางใต้ ไดแ้ ก่ เทือกเขาสันกาแพง และเทือกเขาพนม ดงรัก พน้ื ทีด่ ้านตะวันตกเปน็ ท่ีราบสงู เรียกวา่ ทีร่ าบสงู โคราช ภูเขาบริเวณน้เี ปน็ ภเู ขา หนิ ทราย ท่ีรู้จกั กนั ดีเพราะเป็นแหลง่ ท่องเท่ยี ว คือ ภูกระดึง ภูหลวง ในจงั หวัดเลย แม่น้าท่ี สาคญั ของภาคน้ีไดแ้ ก่ แม่นา้ ชี และแมน่ ้ามลู ซึ่งมีแหล่งกาเนิดจากเทือกเขาทางทิศตะวันตก และทางใต้ แล้วไหลลงสู่แม่น้าโขง ทาให้สองฝั่งแม่น้าเกิดเปน็ ที่ราบน้าท่วมถงึ เปน็ ตอนๆพนื้ ทีร่ าบในภาคะวนั ออกเฉยี งเหนือมัก มีทะเลสาบรปู แอ่ง เปน็ จานวนมาก แต่ทะเลสาบเหล่าน้จี ะมนี า้ เฉพาะฤดูฝนเทา่ นน้ั เม่ือถึงฤดรู ้อนนา้ ก็จะเหือดแห้ง ไปหมด เพราะดินสว่ นใหญเ่ ป็น ดนิ ทรายไม่อมุ้ น้า น้าจึงซมึ ผา่ นไดเ้ รว็ ภาคนจ้ี งึ มีปญั หาเรือ่ งการขาดแคลนน้า และดนิ ขาดความอุดมสมบรู ณ์ ทาใหพ้ ื้นท่บี างแห่งไม่สามารถใช้ประโยชน์ในการเกษตรได้อยา่ งเต็มที่ เช่น ทุง่ กุลา ร้องไห้ซ่ึงมเี น้ือที่ถึงประมาณ 2 ลา้ นไร่ ครอบคลุมพ้ืนที่ 5 จังหวัด ไดแ้ กร่ ้อยเอ็ด สรุ ินทร์ มหาสารคามยโสธร และ ศรีสะเกษ ซ่ึงปัจจบุ นั รัฐบาลไดพ้ ยายามปรับปรงุ พนื้ ท่ีใหด้ ีข้ึน โดยใชร้ ะบบชลประทานสมัยใหม่ ทาใหส้ ามารถ เพาะปลูกได้จนกลายเป็นแหล่งเพาะปลกู ข้าวหอมมะลิทีด่ ีที่สุดแห่งหนง่ึ ของประเทศไทย แตก่ ป็ ลูกไดเ้ ฉพาะหน้า ฝนเท่านั้น หนา้ แล้งสามารถทาการเพาะปลกู ไดเ้ ฉพาะบางส่วนเท่านั้น ยังไม่ครอบคลุมบริเวณท้ังหมด ภาคตะวันตก ภาคตะวันตก ประกอบดว้ ยพ้ืนทขี่ อง 5 จงั หวดั ไดแ้ ก่ 1.ตาก 2.กาญจนบรุ ี 3.ราชบุรี 4.เพชรบุรี 5.ประจวบครี ขี ันธ์ ลกั ษณะภูมิประเทศทว่ั ไป สว่ นใหญเ่ ป็นเทือกเขาสูง ได้แก่ เทอื กเขาถนนธงชยั และเทือกเขาตะนาวศรี เปน็ แนวภเู ขาทซ่ี ับซ้อนมที ร่ี าบแคบๆ ในเขตหบุ เขาเปน็ แห่งๆ และมีทร่ี าบเชงิ เขาต่อ เนื่องกับทร่ี าบภาคกลาง เทือกเขาเหล่านีเ้ ปน็ แหลง่ กาเนิดของ แมนา้ แควนนอ้ ย (แมน่ า้ ไทรโยค) และแม่นา้ แควใหญ่ (ศรสี วสั ดิ์) ซึ่งไหลมาบรรจบกนั เปน็ แมน่ า้ แม่กลองระหวา่ งแนวเขามี ช่องทางติดต่อกบั พมา่ ได้ ทส่ี าคัญคือ ดา่ นแมล่ ะเมาในจงั หวัดตาก และด่านพระเจดีย์สามองค์ ในจังหวัด กาญจนบุรี ภาคตะวนั ออก ภาคตะวันออก ประกอบด้วยพ้นื ทีข่ อง 7 จังหวัดได้แก่ 1.ปราจนี บรุ ี 2.ฉะเชิงเทรา 3.ชลบุรี 4.ระยอง 5.จันทบรุ ี 6. ตราด 7.สระแกว้ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทั่วไป คือ เป็นทรี่ าบใหญ่อยู่ทางตอนเหนอื ของภาค มีเทือกเขาจนั ทบุรีอย่ทู าง ตอนกลางของภาคมีเทอื กเขาบรรทัดอย่ทู างตะวนั ออกเป็นพรมแดนธรรมชาติระหวา่ งประเทศไทยกบั ประเทศ กมั พชู า และมีทรี่ าบชายฝ่งั ทะเลซ่งึ อย่รู ะหว่างเทือกเขาจันทบรุ ีกับอ่าวไทย ถึงแมจ้ ะเป็นที่ราบแคบๆ แตก่ เ็ ป็น พืน้ ดินท่ีอุดมสมบรู ณเ์ หมาะสาหรบั การปลูกไม้ผล ในภาคนี้มจี ังหวดั ปราจนี บุรีและจังหวัดสระแก้วเป็นจังหวัดที่ไม่ มีอาณาเขตจดทะเล นอกนั้นทกุ จงั หวัดล้วนมที างออกทะเลท้ังสิน้ ชายฝ่ังทะเลของภาคเร่มิ จากแม่น้าบางปะกง จงั หวดั ฉะเชิงเทราไปถงึ แหลมสารพัดพิษ จงั หวดั ตราด ยาวประมาณ 505 กโิ ลเมตรเขตพืน้ ทชี่ ายฝ่ังของภาคมี แหลมและอ่าวอยูเ่ ปน็ จานวนมากและมีเกาะใหญ่นอ้ ยเรยี งรายอยไู่ ม่ห่างจากฝ่งั นัก เช่น เกาะช้าง เกาะกูด เกาะสี ชัง เกาะล้าน เป็นต้นอ่าวมะนาว จังหวดั ประจวบครี ีขันธ์ เกาะสชี งั

ภาคใต้ ภาคใต้ประกอบด้วยพ้นื ที่ของ 14 จงั หวัดได้แก่ 1.ชมุ พร 2.สรุ าษฎร์ธานี 3.นครศรธี รรมราช 4.พทั ลงุ 5.สงขลา 6.ปตั ตานี 7.ยะลา 8.นราธิวาส 9.ระนอง 10.พังงา 11.กระบี่ 12.ภูเกต็ 13.ตรงั 14.สตลู ลักษณะภูมิประเทศทวั่ ไป เปน็ คาบสมทุ รยนื่ ไปในทะเล ทางตะวันตกของคาบสมุทรมเี ทือกเขาภูเก็ต ทอดตวั เลยี บชายฝ่งั ไปจนถึงเกาะภเู ก็ต ตอนกลางของภาคมเี ทอื กเขานครศรีธรรมราช สว่ นทางตอนใตส้ ดุ ของ ภาคใต้มีเทือกเขาสันกาลาคีรี วางตวั ในแนว ตะวนั ออก-ตะวันตก และเป็นพรมแดนธรรมชาติก้ันระหว่างไทยกับ มาเลเซยี ด้วยพ้นื ท่ีทางชายฝัง่ ตะวันออกมีทร่ี าบมากกว่าชายฝั่งตะวนั ตก ไดแ้ ก่ ทรี่ าบในเขตจงั หวดั นครศรธี รรมราชพัทลุง สงขลา ปัตตานี และนราธิวาส ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของภาคใต้มีชายหาดเหมาะ สาหรบั เปน็ ท่ตี ากอากาศหลายแหง่ เชน่ หาดสมิหลา จงั หวดั สงขลาและหาดนราทศั น์ จงั หวัดนราธวิ าส เป็นตน้ เกาะทส่ี าคัญทางด้านน้ี ไดแ้ ก่ เกาะสมุยและเกาะพงนั สว่ นชายฝ่งั ทะเลดา้ นมหาสมุทรอินเดยี มีเกาะที่สาคัญคือ เกาะภูเก็ต เกาะตรเุ ตา เกาะยาวและเกาะลันตานอกจากนี้ ในเขตจงั หวดั สงขลาและพัทลุงยงั มีทะเลสาบเปิด (lagoon) ทใี่ หญ่ทส่ี ดุ แห่งหน่ึงในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ คอื ทะเลสาบสงขลา มีความยาวจากเหนอื จดใต้ ประมาณ 80 กิโลเมตร สว่ นท่กี ว้างท่สี ดุ ประมาณ 20 กโิ ลเมตร คดิ เป็นเน้อื ทป่ี ระมาณ 974 ตารางกิโลเมตร ส่วนเหนอื สุดของทะเลสาบเป็นแหล่งน้าจืดเรียกวา่ ทะเลนอ้ ย แตท่ างส่วนลา่ งน้าของทะเลสาบจะเค็ม เพราะมี น่านน้าตดิ กับอ่าวไทย นา้ ทะเลจึงไหลเข้ามาได้ ในทะเลสาบ สงขลามเี กาะอยู่หลายเกาะ บางเกาะเป็นทที่ ารังของ นกนางแอ่น บางเกาะเปน็ ท่ีอยูข่ องเต่า ทะเลนอกจากน้ีในทะเลสาบยังมี ปลา และก้งุ ชกุ ชมุ อีกด้วย สว่ นชายฝง่ั ทะเลด้านตะวนั ตกของภาคใต้มลี ักษณะเวา้ แหวง่ มากกวา่ ด้านตะวันออก ทาใหม้ ีทวิ ทัศน์ที่สวยงามหลาย แหง่ เชน่ หาดนพรตั น์ธารา จงั หวัดกระบี่ หมูเ่ กาะซิมลิ ัน จังหวัดพังงา ชายฝ่ังตะวนั ตกของ ภาคใตจ้ งึ เปน็ สถานทท่ี ่องเทย่ี ว ท่สี าคญั แหง่ หนง่ึ ของประเทศ แม่นา้ ในภาคใต้ สว่ นใหญ่เปน็ แมน่ า้ สายส้นั ๆ ไหลจากเทือกเขาลงสู่ทะเล ทีส่ าคญั ได้แก่ แมน่ า้ โก-ลกซงึ่ ก้นั พรมแดนไทยกับมาเลเซียในจงั หวดั นราธิวาส แมน่ ้ากระบรุ ซี ึง่ กั้นพรมแดนไทยกับพมา่ ใน เขตจงั หวัดระนองแม่น้าตาปีในจงั หวัดสรุ าษฏร์ธานี และแม่นา้ ปตั ตานีในจงั หวัดยะลาและปตั ตานี ทวปี เอเชีย 1. ขนาดทต่ี ้ังและอาณาเขตติดตอ่ ทวปี เอเชียเป็นทวีปท่ีมีขนาดใหญท่ ีส่ ดุ มพี น้ื ทปี่ ระมาณ 44 ลา้ น ตารางกิโลเมตร เปน็ ทวีปที่มีพน้ื ท่ีกวา้ งที่สุดในโลกตงั้ อยทู่ างทศิ ตะวนั ออกของโลก ทวีปเอเชยี ตงั้ อยู่ระหว่างละตจิ ูด 1 องศา 15 ลปิ ดาเหนอื ถงึ 77 องศา 41 ลิปดาเหนือและลองตจิ ดู 24 องศา 4ลปิ ดา ตะวันออกถึง 169 องศา 40 ลปิ ดาตะวันตก อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนอื ตดิ กับมหาสมทุ รอารก์ ติก ทศิ ใต้ ติดกบั มหาสมุทรอนิ เดีย ทศิ ตะวนั ออก ติดกับมหาสมทุ รแปซิฟิก ทิศตะวนั ตก ติดกับเทือกเขาอูราล ทวปี ยโุ รป 2. ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของทวปี เอเชยี ทวปี เอเชียมลี ักษณะเด่นคอื มภี ูมปิ ระเทศท่เี ปน็ ภูเขาสงู อยู่เกือบใจ กลางทวปี ภูเขาดังกล่าวทาหน้าทเี่ หมือนหลังคาโลกเพราะเปน็ จุดรวมของเทือกเขาสาคญั ๆ ในทวปี เอเชียจุดรวม สาคญั ได้แก่ ปามรี น์ อต ยนู นานนอต และอามีเนียนนอต เทือกเขาสูงๆ ของทวีปเอเชยี วางแนวแยกย้ายไปทุกทศิ

ทกุ ทางจากหลงั คาโลกเช่น เทอื กเขาหมิ าลัย เทือกเขาคุนลุ้นเทอื กเขาเทยี นชาน เทือกเขาอัลตนิ ตกั เทอื กเขาฮินดู กซู เทือกเขาสไุ ลมาน ยอดเขาเอเวอร์เรสต์ มรี ะดับสูง 8,850 เมตร (29,028 ฟตุ ) เป็นยอดเขาสูงทสี่ ุดในโลก ตัง้ อยู่บนเทือกเขาหิมาลยั ระหว่างเทอื กเขาเหลา่ นม้ี ีพน้ื ที่คอ่ นข้างราบแทรกสลับอยู่ ทาให้เกดิ เป็นแอง่ แผ่นดินท่ีอยู่ ในท่ีสงู เช่น ทร่ี าบสูงทเิ บต ที่ราบสงู ตากลามากัน ท่ีราบสงู มองโกเลีย ท่ีราบสงู ยูนาน ลักษณะภมู ปิ ระเทศดังกลา่ ว ขา้ งตน้ ทาให้บรเิ วณใจกลางทวปี เอเชียกลายเป็นแหล่งตน้ กาเนดิ ของแม่นา้ สายสาคญั ทม่ี รี ูปแบบการไหลออกไป ทกุ ทิศโดยรอบหลังคาโลก เชน่ ไหลไปทางเหนือมีแม่นา้ ออ็ บ เยนิเซ ลีน่า ทางตะวนั ออกเฉียงเหนือมีแมน่ ้าอามรู ์ ทางตะวันออกมแี มน่ า้ ฮวงโห (หวงเหอ แยงซีเกียง (ฉางเจยี ง) ซีเกียง (ซเี จยี ง) ทางตะวนั ออกเฉียงใต้มีแมน่ ้าแดง โขง เจา้ พระยา สาละวนิ อิระวดี ทางใตม้ แี ม่น้าพรหมบตุ ร คงคา สนิ ธุ ทางตะวนั ตกมีแมนา้ อามดู ารยจ์ ากที่สงู อามี เนียนนอต มแี มนา้ ไทกรสี ยเู ฟรตีส บทบาทของลุม่ น้าเหล่าน้ี คือ พัดพาเอาตะกอนมาทับถมท่รี าบอนั กว้างใหญ่ ไพศาล กลายเป็นแหล่งเกษตรกรรมและที่อยู่ อาศยั สาคญั ๆ ของชาวเอเชีย โดยเฉพาะท่ีราบดนิ ดอนสามเหลีย่ ม ปากแม่น้า จึงกลายเป็นแหลง่ ท่ีมีประชากรอาศยั อยู่หนาแน่นทสี่ ุด 3. ลกั ษณะภมู ิอากาศของทวีปเอเชยี ทวีปเอเชียโดยสว่ นรวมประมาณครึง่ ทวีปอย่ภู ายใตอ้ ิทธิพลของลม มรสมุ ตงั้ แตป่ ากีสถานถงึ คาบสมทุ รเกาหลี เป็นผลทาใหม้ ฝี นตกชุกในฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และมีอากาศหนาว ในฤดูมรสุมตะวนั ออกเฉยี งเหนือในเขตละตจิ ูดกลางหรือเขตอบอุ่น แถบจนี และญปี่ นุ่ จะไดร้ ับอทิ ธิพลจากแนว ปะทะอากาศบ่อยครั้ง ทางชายฝั่งตะวนั ออกของทวีปต้งั แต่ญ่ีปุ่น อินโดนีเซีย จะไดร้ ฐั อทิ ธพิ ลของลมไตฝ้ ุ่น และ ดีเปรสชน่ั ทาใหด้ ินแดนชายฝั่งตะวันออกของหมูเ่ กาะไดร้ บั ความเสียหายจากลมและฝนเสมอ ทางเอเชียตะวนั ออก เฉยี งใตแ้ ละเอเชยี ใต้ ซงึ่ อยู่ใกลศ้ นู ยส์ ตู ร จะมีปรากฏการณ์ของหย่อมความกดอากาศต่าทาใหม้ ีอากาศลอยตัว กอ่ เป็นพายุฟ้าคะนองเกดิ ข้นึ เปน็ ประจาในเวลาบา่ ยๆ หรือใกล้คา่ แถบที่อย่ลู กึ เขา้ ไปในทวปี ห่างไกลจากทะเลจะมี ภูมอิ ากาศแห้งแล้งเป็นทะเลทราย 4. สภาพทางสังคม วฒั นธรรม ภาษา ศาสนาเช้อื ชาตเิ ผ่าพันธ์ุ ประชากร 2 ใน 3 ของประชากรทง้ั หมด เปน็ พวกมองโกลอยด์มีพวกคอเคซอยด์อยู่บ้าง เชน่ ชาวรสั เซียอพยพมาจากยุโรปตะวันออก ประชากรของเอเชียมี ความหลากหลาย ด้านประกอบอาชีพ เศรษฐกิจของประเทศในเอเชยี ขน้ึ อยู่กับภาคเกษตรกรรม ประชากรสว่ น ใหญ่ ประกอบอาชพี ด้านการเกษตร คือ การเพาะปลูก ขา้ วขา้ วโพด และมีการเลยี้ งสตั ว์ ทัง้ เล้ียงไว้เปน็ อาหาร และทางาน นอกจากน้ียงั มีการคา้ ขาย การประมง การทาเหมืองแร่ ลกั ษณะทางเศรษฐกิจ 1. การเพาะปลูกทาในที่ราบลุ่มของแมน่ า้ ต่างๆ ไดแ้ ก่ ข้าว ยางพารา ปาล์ม ปอฝ้าย ชา กาแฟ ขา้ วโพด 2. การเลยี้ งสตั ว์ ในเขตอากาศแหง้ แล้งจะเลย้ี งแบบเรร่ ่อนซึ่งเล้ียงไวใ้ ชเ้ นอ้ื และนมเป็นอาหารไดแ้ ก่ อฐู แพะ แกะ โค มา้ และจามรี 3. การทาปา่ ไม้ ปา่ ไม้ในเขตเมอื งร้อนจะเปน็ ไมเ้ นื้อแข็ง ผลผลิตทไี่ ด้สว่ นใหญ่นาไปก่อสร้าง 4. การประมง ทาในบริเวณแมน่ ้าลาคลอง หนอง บงึ และชายฝัง่ ทะเล 5. การทาเหมืองแร่ ทวปี เอเชียอุดมไปด้วยแร่ธาตนุ านาชนิด 6. อุตสาหกรรม การทาอตุ สาหกรรมหลายประเทศในเอเชีย เรม่ิ จากอุตสาหกรรมในครวั เรอื นแล้ว พัฒนาขึ้นเป็นโรงงานขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่

ประชากร ทวปี เอเชียมีประชากรมากที่สุดในโลกประมาณ 3,155 ล้านคน ประชากรสว่ นใหญม่ าจากพนั ธ์ุ มองโกลอยด์ประชากรอาศัยอยหู่ นาแน่นบรเิ วณชายฝงั่ ทะเลและท่ีราบล่มุ แม่นา้ ต่างๆ เชน่ ลมุ่ แม่น้าเจา้ พระยา ลุ่ม แมน่ า้ แยงซีเกยี ง ลมุ่ แม่นา้ แดงและลุ่มแมน่ ้าคงคาส่วนบรเิ วณที่มปี ระชากรเบาบาง จะเป็นบริเวณทีแ่ ห้งแล้งกันดาร หนาวเย็นและในบริเวณท่เี ป็นภูเขาซบั ซ้อน ซงึ่ ส่วนใหญจ่ ะเป็นบรเิ วณกลางทวีป ภาษา 1. ภาษาจีน ภาษาทใี่ ชก้ ันมากในทวีปเอเชีย โดยใชก้ นั ในประเทศจนี ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ เชน่ สงิ คโปร์ ประมาณวา่ ประชากรเอเชีย 1,000 ล้านคน พดู ภาษาจนี แต่เปน็ ภาษาท่แี ตกต่างกันไป เช่น ภาษาแตจ้ ิว๋ ไหหลา จีนกลาง หรือทเ่ี รยี กวา่ ภาษาแมนดาริน 2. ภาษาอินเดยี เป็นภาษาที่ใชก้ ันแพร่หลายรองลงมาอนั ดับ 2 โดยสว่ นใหญใ่ ชก้ ันในประเทศอินเดยี และ ปากีสถาน 3. ภาษาอาหรับเปน็ ภาษาท่ีใชก้ันแพรห่ ลายมากอนั ดับ 3 โดยใชก้ันในแถบเอเซียตะวันตกเฉยี งใต้ 4. ภาษารสั เซยี เปน็ ภาษาท่ีใช้กันมากอนั ดบั 4 โดยใชก้ นั ในรสั เซยี และเครือจกั รภพ ศาสนา ทวปี เอเชยี เป็นแหล่งกาเนดิ ศาสนาทส่ี าคัญของโลก เชน่ ศาสนาครสิ ต์ ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาพทุ ธ ศาสนาฮินดู และยดู าห์ ในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ประชากรส่วนใหญ่นบั ถอื ศาสนาฮนิ ดูกวา่ 500 ล้านคนในอนิ เดยี รองลงมาคอื ศาสนาอสิ ลามมีผ้นู บั ถอื ประมาณ 450ลา้ นคน นอกจากน้ยี งั มลี ัทธเิ ต๋า ลทั ธขิ งจอ๋ื ท่ีแพร่หลายในจนี ลทั ธชิ นิ โตในญ่ีปุ่น

ใบความรู้ครัง้ ที่ 7 วชิ าสงั คมศึกษา รหสั วชิ า สค31001 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย เรอ่ื ง ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติทเี่ กดิ ขึ้นในโลก ก ปรากฏการณ์ธรรมชาติ คือ การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ ทง้ั ในระยะยาวและระยะส้นั สภาพแวดลอ้ ม ของโลกเปลย่ี นแปลงไปตามเวลา ทั้งเปน็ ระบบและไมเ่ ป็นระบบ เปน็ สิ่งท่ีอยรู่ อบตัวเรา มักสง่ ผลกระทบต่อเรา ใน ธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงบางอยา่ งมผี ลกระทบต่อเรารนุ แรงมาก สาเหตุของการเปลีย่ นแปลงมที ง้ั เกิดขึน้ เองตาม ธรรมชาตแิ ละเป็นสิง่ ท่ีมนุษย์ทาใหเ้ กิดขึ้น ในเรือ่ งนจ้ี ะกล่าวถงึ สาเหตุและลักษณะปรากฏการณท์ างธรรมชาตทิ ่ี สาคญั ดังนี้ 1) พายุ คือ สภาพบรรยากาศทีเ่ คล่ือนตัวด้วยความเรว็ มีผลกระทบต่อพืน้ ผวิ โลกโดยบางครัง้ อาจมี ความเร็วทีศ่ นู ย์กลางถึง 400 กโิ ลเมตร/ชวั่ โมง อาณาบริเวณท่ีจะได้รับความเสียหายจากพายุวา่ ครอบคลุมเท่าใด ข้นึ อยู่กับความเร็วของการเคล่อื นตัวของพายุขนาด ความกว้าง เส้นผ่าศนู ย์กลางของตวั พายุ หน่วยวดั ความเรว็ ของพายคุ ือ หนว่ ยริกเตอรเ์ หมอื นการวัดความรุนแรงแผน่ ดินไหว พายุแบง่ เป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 3 ประเภท คือ 2.1 พายฝุ นฟา้ คะนอง มีลักษณะเป็นลมพัดย้อนไปมา หรือพดั เคล่ือนตวั ไปในทิศทางเดียวกนั อาจเกิด จากพายุทอ่ี ่อนตวั และลดความรนุ แรงของลมลง หรือเกิดจากหยอ่ มความกดอากาศต่า รอ่ งความกดอากาศต่า อาจ ไมม่ ีทิศทางทแี่ นน่ อน หากสภาพการณ์แวดล้อมตา่ งๆ ของการเกดิ ฝนเหมาะสม กจ็ ะเกิดฝนตก มีลมพัด 2.2 พายหุ มนุ เขตรอ้ น (Tropical cyclone) ได้แก่ เฮอรร์ ิเคน ไตฝ้ ่นุ และไซโคลนซง่ึ ล้วนเปน็ พายุหมนุ ขนาดใหญเ่ ชน่ เดียวกนั และจะเกิดขนึ้ หรือเร่มิ ต้นก่อตัวในทะเล หากเกิดเหนือเส้นศูนย์สตู ร จะมที ิศทางการ หมนุ เวยี นทวนเข็มนา ิกา และหากเกดิ ใตเ้ ส้นศูนย์สตู รจะหมุนตามเข็มนา ิกา โดยมชี ื่อต่างกันตามสถานที่เกิด คอื 2.1.1 พายเุ ฮอร์รแิ คน (hurricane) เป็นชื่อเรยี กพายหุ มุนทเ่ี กดิ บริเวณทิศตะวันตกของมหาสมุทร แอตแลนติก เชน่ บรเิ วณฟลอริดา สหรัฐอเมริกา อ่าวเม็กซโิ ก ทะเลแคริบเบียน เป็นต้น รวมท้ังมหาสมทุ รแปซิฟิก บรเิ วณชายฝงั่ ประเทศเมก็ ซิโก 2.1.2 พายไุ ต้ฝุ่น (typhoon) เปน็ ช่อื พายหุ มุนที่เกิดทางทิศตะวนั ตกของมหาสมุทรแปซิฟกิ เหนือ เชน่ บรเิ วณทะเลจีนใต้ อา่ วไทย อ่าวตังเกีย๋ ประเทศญ่ปี นุ่ แต่ถ้าเกิดในหมู่เกาะฟลิ ิปปินส์ เรยี กวา่ บาเกียว (Baguio) 2.1.3 พายุไซโคลน (cyclone) เป็นชือ่ พายุหมนุ ที่เกดิ ในมหาสมุทรอนิ เดยี เหนอื เชน่ บริเวณอ่าวเบ งกอล ทะเลอาหรบั เป็นตน้ แตถ่ ้าพายุนี้เกดิ บรเิ วณทะเลติมอร์และทศิ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ของประเทศ ออสเตรเลีย จะเรยี กว่า พายุวิลลี-วิลลี (willy-willy) 2.1.4 พายโุ ซนรอ้ น (tropical storm) เกดิ ข้ึนเมื่อพายเุ ขตร้อนขนาดใหญ่อ่อนกาลังลง ขณะเคล่อื นตวั ในทะเล และความเรว็ ที่จุดศนู ย์กลางลดลงเมื่อเคลอ่ื นเขา้ หาฝั่ง 2.1.5 พายุดีเปรสชนั (depression) เกดิ ขึน้ เม่อื ความเรว็ ลดลงจากพายุโซนร้อน ซึง่ ก่อให้เกิดพายฝุ นฟา้ คะนองธรรมดาหรือฝนตกหนัก 2.1.6 พายทุ อร์นาโด (tornado) เป็นชอื่ เรียกพายุหมุนทีเ่ กิดในทวีปอเมรกิ ามีขนาดเนื้อท่เี ลก็ หรือ เสน้ ผ่าศนู ย์กลางนอ้ ย แตห่ มุนดว้ ยความเรว็ สูง หรอื ความเร็วที่จดุ ศนู ยก์ ลางสูงมากกวา่ พายหุ มุนอื่นๆ กอ่ ความ เสยี หายไดร้ ุนแรงในบรเิ วณที่พัดผา่ นเกดิ ไดท้ ั้งบนบก และในทะเล หากเกดิ ในทะเล จะเรยี กว่า นาคเลน่ นา้่ (water spout) บางครงั้ อาจเกิดจากกลมุ่ เมฆบนท้องฟ้า แตห่ มนุ ตวั ยืน่ ลงมาจากท้องฟ้าไมถ่ งึ พ้นื ดิน มรี ปู ร่าง เหมือนงวงช้าง จงึ เรียกกนั ว่า ลมงวง

อนั ตรายของพายุ 1. ความรุนแรงและอนั ตรายอันเกดิ จากพายไุ ต้ฝุ่นเมื่อพายุท่มี ีกาลังขนาดไตฝ้ นุ่ พดั ผา่ นท่ใี ดยอ่ มทาให้ เกดิ ความเสยี หายร้ายแรงทวั่ ไปเชน่ บนบกตน้ ไมจ้ ะล้ม ถอนราก ถอนโคน บา้ นเรอื นพังทับผู้คนในบ้านและที่ ใกลเ้ คียงบาดเจบ็ หรอื ตาย สวน ไร่นาเสียหายหนักมาก เสาไฟฟา้ ล้ม สายไฟฟ้าขาด ไฟฟ้าช็อต เกดิ เพลิงไหม้และ ผคู้ นอาจเสียชีวติ จากไฟฟ้าดูดได้ ผคู้ นที่มีอาคารพักอาศยั อยู่รมิ ทะเลอาจถูกนา้ พัดพาลงทะเลจมน้าตายได้ ดงั เชน่ ปรากฎการณ์ทแี่ หลมตะลุมพุก จังหวดั นครศรีธรรมราชในทะเลลมแรงจดั มากคลื่นใหญ่ เรอื ขนาดใหญ่ ขนาดหมนื่ ตนั อาจจะถกู พดั พาไปเกยฝ่งั ล่มจมได้ บรรดาเรือเลก็ จะเกดิ อันตรายเรอื ล่ม ไมส่ ามารถจะตา้ นความรนุ แรงของพายุ ได้ คลื่นใหญ่ซดั ขึน้ ริมฝั่งจะทาให้ระดบั น้าขนึ้ สูงมากจนท่วมอาคารบ้านช่องริมทะเลได้บรรดาโป๊ะจับปลาในทะเล จะถูกทาลายลงโดยคลืน่ และลม 2. ความรุนแรงและอันตรายจากพายโุ ซนร้อน พายุโซนร้อนมีความรนุ แรงน้อยกว่าพายุไตฝ้ นุ่ ฉะน้ัน อันตรายจะเกดิ จากการท่ีพายุนพ้ี ัดมาปะทะลดลงในระดบั รองลงมาจากพายุไตฝ้ นุ่ แต่ความรุนแรงที่จะทาให้ความ เสยี หายกย็ ังมีมากเหมือนกัน ในทะเลลมจะแรงมากจนสามารถทาให้เรือขนาดใหญ่ๆ จมได้ ต้นไม้ ถอนรากถอน โคน ดงั พายโุ ซนรอ้ นทป่ี ะทะฝั่งแหลมตะลุมพุก จังหวดั นครศรธี รรมราชถ้าการเตรียมการรับสถานการณ์ไม่ เพียงพอ ไม่มีการประชาสมั พันธ์ให้ประชาชนได้ ทราบเพื่อหลกี เล่ียงภัยอนั ตรายอย่างทัว่ ถึง ไม่มวี ธิ ีการดาเนินการที่เข้มแข็งในการอพยพการช่วยเหลือ ผู้ประสบภยั ตา่ งๆ ในระหวา่ งเกิดพายุ การสูญเสยี ก็ย่อมมีการเสียทงั้ ชีวิตและทรัพยส์ มบตั ิของประชาชน 3. ความรุนแรงและอันตรายจากพายดุ เี ปรสช่นั พายุดีเปรสชน่ั เป็นพายุทม่ี ีกาลังอ่อน ไม่มีอนั ตราย รุนแรงแตท่ าให้มีฝนตกปานกลางท่วั ไป ตลอดทางท่ีพายุดเี ปรสชนั่ พดั ผ่าน และมฝี นตกหนกั เปน็ แห่งๆ พร้อมด้วย ลมกรรโชกแรงเป็นครง้ั คราว ซึง่ บางคราวจะรุนแรงจนทาให้เกดิ ความเสียหายได้ ในทะเลคอ่ นขา้ งแรงและคล่นื จัด บรรดาเรอื ประมงเลก็ ขนาดต่ากวา่ 50 ตนั ควรงดเว้นออกทะเลเพราะอาจจะล่มลงได้ และพายดุ เี ปรสช่นั นี้เม่ืออยู่

ในทะเลได้รบั ไอน้าหล่อเลย้ี งตลอดเวลา และไมม่ ีสงิ่ กีดขวางทางลมอาจจะทวีกาลงั ขึ้นได้ โดยฉบั พลนั ฉะน้นั เม่ือ ไดร้ บั ทราบข่าวว่ามีพายุดเี ปรสชั่นขน้ึ ในทะเลก็อย่าวางใจว่าจะมีกาลงั อ่อนเสมอไปอาจจะมีอันตรายไดเ้ หมอื นกัน สาหรับพายพุ ดั จดั จะลดน้อยลงเป็นลาดบั มแี ต่ฝนตกทวั่ ไปเปน็ ระยะนานๆ และตกได้มากถงึ 100 มิลลิเมตร ภายใน 12 ชว่ั โมง ซง่ึ ตอ่ ไปก็จะทาให้เกิดน้าปา่ ไหลบ่าจากภูเขาและป่าใกลเ้ คยี งลงมาทว่ มบา้ นเรอื นได้ใน ระยะเวลาส้ันๆ หลงั จากพายไุ ด้ผ่านไปแลว้ 4.ความรุนแรงและอนั ตรายจากพายุฤดูรอ้ นพายฤุ ดรู ้อนเปน็ พายุท่ีเกิดข้นึ โดยเหตุและวธิ กี ารต่างกับพายุ ดีเปรสชนั่ และเกิดบนผืนแผ่นดนิ ทีร่ อ้ นอบอ้าวในฤดรู ้อนแต่เป็นพายุท่ีมบี รเิ วณย่อมๆ มีอาณาเขตเพยี ง 20-30 ตารางกโิ ลเมตร แตอ่ าจมีลมแรงมากถึง 47 น็อต หรือ 87 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง พายุนม้ี กี าลงั แรงที่จะทาใหเ้ กิด ความเสียหายได้มาก แตเ่ ปน็ ชว่ งระยะเวลาสนั้ ๆ ประมาณ 2-3 ชัว่ โมง อนั ตรายทเี่ กดิ ขึน้ คือ ต้นไมห้ ักลม้ ทับ บ้านเรือนผคู้ น ฝนตกหนักและอาจมีลกู เหบ็ ตกได้ ในกรณีท่ีพายุมีกาลงั แรง การเตรยี มการปอ้ งกันอันตรายจากพายุ 1. ตดิ ตามสภาวะอากาศ ฟงั คาเตอื นจากกรมอตุ ุนิยมวทิ ยาสม่าเสมอ 2. สอบถาม แจ้งสภาวะอากาศร้อนแกก่ รมอุตุนิยมวทิ ยา 3. ปลูกสรา้ ง ซ่อมแซม อาคารใหแ้ ขง็ แรง เตรยี มป้องกนั ภยั ให้สตั ว์เล้ียงและพืชผลการเกษตร 4. ฝกึ ซอ้ มการป้องกันภัยพบิ ัติ เตรยี มพร้อมรบั มือ และวางแผนอพยพหากจาเป็น 5. เตรียมเครื่องอุปโภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยกุ ระเป๋าห้วิ เพอ่ื ติดตามข่าวสาร 6. เตรียมพร้อมอพยพเม่ือได้รับแจง้ ใหอ้ พยพ 2) นา่้ ท่วม สาเหตสุ าคญั ขนึ้ อยกู่ บั สภาพทอ้ งที่ และความวปิ รติ ผนั แปรของธรรมชาตแิ ต่ในบางท้องท่ี การกระทาของมนุษย์ก็มีส่วนสาคญั และ เกดิ จากมีน้าเป็นสาเหตุ อาจจะเป็นน้าท่วม น้าปา่ หรอื อื่นๆ โดยปกติ อุทกภยั เกิดจากฝนตกหนกั ต่อเน่ืองกนั เปน็ เวลานาน บางคร้ังทาใหเ้ กิดแผน่ ดนิ ถลม่ อาจมีสาเหตจุ ากพายุหมนุ เขต รอ้ น ลมมรสุมมีกาลงั แรง รอ่ งความกดอากาศ ตา่ มีกาลังแรงอากาศแปรปรวน นา้ ทะเลหนุน แผ่นดินไหว เขอ่ื นพงั ซึ่งทาใหเ้ กิดอุทกภยั ได้ สาเหตุการเกดิ อุทกภัยแบ่งไดเ้ ป็น 2 ชนิด ดังนี้ 2.1 จากน้่าป่าไหลหลากและน้า่ ท่วมฉับพลัน เกดิ จากฝนตกหนกั ตดิ ต่อกันหลาย ชว่ั โมง ดินดดู ซบั ไมท่ ัน นา้ ฝนไหลลงพ้ืนราบอย่างรวดเรว็ ความแรงของน้าทาลายต้นไม้ อาคาร ถนน สะพาน ชีวติ ทรัพย์สนิ 2.2 จากน้่าทว่ มขังและน้า่ เอ่อนอง เกดิ จากนา้ ในแม่นา้ ลาธารล้นตลง่ิ มรี ะดับสูงจากปกติ ทว่ มและแช่ ขงั ทาให้การคมนาคมชะงัก เกดิ โรคระบาด ทาลายสาธารณูปโภค และพชื ผลการเกษตร การป้องกันน้่าทว่ มปฏบิ ตั ิได้ดงั น้ี 1. ตดิ ตามสภาวะอากาศ ฟงั คาเตอื นจากกรมอตุ ุนิยมวทิ ยา 2. ฝึกซอ้ มการป้องกันภัยพบิ ัติ เตรียมพร้อมรบั มือ และวางแผนอพยพหากจาเปน็ 3. เตรียมน้าดมื่ เครอื่ งอปุ โภค บรโิ ภค ไฟฉาย แบตเตอร่ี วทิ ยุกระเป๋าห้วิ เพื่อตดิ ตามข่าวสาร 4. ซอ่ มแซมอาคารให้แข็งแรง เตรียมป้องกนั ภัยใหส้ ัตว์เลี้ยงและพชื ผลการเกษตร 5. เตรียมพร้อมเสมอเม่ือได้รับแจ้งใหอ้ พยพไปท่ีสูง เม่อื อยู่ในพ้ืนทเี่ สี่ยงภัย และฝนตกหนกั ต่อเน่ือง 6. ไม่ลงเล่นนา้ ไมข่ บั รถผ่านนา้ หลากแม้อยบู่ นถนน ถ้าอยู่ใกล้น้า เตรียมเรือเพื่อการคมนาคม 7. หากอยู่ในพ้ืนท่นี ้าท่วมขงั ปอ้ งกันโรคระบาด ระวังเรื่องน้าและอาหารต้องสุก และสะอาดก่อนบรโิ ภค 3) แผ่นดินไหว เป็นปรากฏการณ์ การสั่นสะเทือนหรือเขย่าของพืน้ ผิวโลก สาเหตขุ องการเกดิ แผ่นดนิ ไหวนนั้ สว่ นใหญ่เกดิ จากธรรมชาติ โดยแผน่ ดินไหวบางลกั ษณะสามารถเกิดจากการกระทาของมนุษย์ได้ เช่น การทดลองระเบิดปรมาณู การปรบั สมดลุ เน่ืองจากน้าหนกั ของน้าท่ีกกั เก็บในเขื่อนและแรงระเบิดการทา เหมอื งแรเ่ ป็นต้น การปฏิบตั ิปอ้ งกันตวั เองจากการเกิดแผ่นดนิ ไหว ก่อนเกิดแผน่ ดินไหว

1. ควรมไี ฟฉายพรอ้ มถา่ นไฟฉาย และกระเปา๋ ยาเตรยี มไว้ในบา้ น และใหท้ ุกคนทราบวา่ อย่ทู ่ีไหน 2. ศึกษาการปฐมพยาบาลเบื้องต้น 3. ควรมีเครื่องมือดับเพลิงไวใ้ นบ้าน เช่น เครอื่ งดับเพลิง ถงุ ทราย เปน็ ต้น 4. ควรทราบตาแหน่งของวาลว์ ปิดนา้ วาล์วปดิ กา๊ ซ สะพานไฟฟา้ สาหรับตดั กระแสไฟฟ้า 5. อย่าวางสงิ่ ของหนักบนชั้น หรอื หิ้งสูงๆ เมอื่ แผน่ ดนิ ไหวอาจตกลงมากเป็นอนั ตรายได้ 6. ผกู เครื่องใช้หนักๆ ให้แน่นกับพื้นผนังบ้าน 7. ควรมกี ารวางแผนเร่ืองจดุ นดั หมาย ในกรณีทต่ี ้องพลัดพรากจากกนั เพ่ือมารวมกันอีกคร้ังในภายหลัง ระหว่างเกิดแผน่ ดนิ ไหว 1. อย่าต่นื ตกใจ พยายามควบคมุ สตอิ ยู่อย่างสงบ 2. ถ้าอยู่ในบา้ นให้ยนื หรือหมอบอยู่ในส่วนของบ้านท่มี ีโครงสร้างแข็งแรงที่สามารถรบั น้าหนกั ได้มาก และ ใหอ้ ยูห่ ่างจากประตู ระเบียง และหน้าต่าง 3. หากอยู่ในอาคารสูง ควรต้ังสติ และรบี ออกจากอาคารโดยเรว็ หนใี หห้ ่างจากส่งิ ทีจ่ ะล้มทับได้ 4. ถ้าอยู่ในท่โี ลง่ แจง้ ใหอ้ ยหู่ ่างจากเสาไฟฟา้ และสิง่ ห้อยแขวนต่างๆ ทป่ี ลอดภัยภายนอกคือที่ โล่งแจง้ 5. อย่าใช้ เทยี น ไมข้ ีดไฟ หรอื สิ่งท่ที าให้เกดิ เปลวหรอื ประกายไฟ เพราะอาจมแี ก๊สรั่วอยู่บริเวณนั้น 6. ถ้ากาลงั ขับรถใหห้ ยุดรถและอยู่ภายในรถ จนกระทง่ั การสัน่ สะเทือนจะหยดุ 7. หา้ มใช้ลิฟทโ์ ดยเด็ดขาดขณะเกดิ แผน่ ดินไหว 8. หากอย่ชู ายหาดให้อยู่หา่ งจากชายฝ่ัง เพราะอาจเกิดคล่ืนขนาดใหญ่ซัดเข้าหาฝ่ัง หลงั เกดิ แผ่นดนิ ไหว 1. ควรตรวจตวั เองและคนข้างเคยี งว่าได้รับบาดเจ็บหรือไม่ ใหท้ าการปฐมพยาบาลขน้ั ต้นกอ่ น 2. ควรรบี ออกจากอาคารทีเ่ สียหายทนั ที เพราะหากเกิดแผ่นดินไหวตามมา อาคารอาจพังทลายได้ 3. ใส่รองเท้าหมุ้ ส้นเสมอ เพราะอาจมเี ศษแก้ว หรือวัสดแุ หลมคมอน่ื ๆ และสิ่งหักพังท่มิ แทงได้ 4. ตรวจสายไฟ ทอ่ นา้ ทอ่ แก๊ส ถ้าแกส๊ รว่ั ใหป้ ดิ วาล์วถังแก๊ส ยกสะพานไฟ อยา่ จดุ ไม้ขดี ไฟ หรือกอ่ ไฟ จนกว่าจะแนใ่ จว่าไม่มีแกส๊ รว่ั 5. ตรวจสอบว่า แกส๊ รัว่ ดว้ ยการดมกลิ่นเท่าน้นั ถา้ ไดก้ ลิ่นให้เปิดประตหู น้าต่างทุกบาน 6. ใหอ้ อกจากบรเิ วณทส่ี ายไฟขาด และวสั ดสุ ายไฟพาดถึง 7. เปดิ วิทยฟุ งั คาแนะนาฉุกเฉิน อยา่ ใช้โทรศพั ท์ นอกจากจาเป็นจรงิ ๆ 8. สารวจดูความเสยี หายของท่อสว้ ม และทอ่ น้าท้งิ ก่อนใช้ 9. อย่าเข้าไปในเขตที่มคี วามเสยี หายสูง หรืออาคารพัง 4) ปรากฏการณ์เรอื นกระจก คาว่า เรอื นกระจก (greenhouse) หมายถงึ อาณาบริเวณที่ปิดล้อมดว้ ย กระจกหรือวัสดอุ ืน่ ซ่ึงมีผลในการเกบ็ กักความร้อนไวภ้ ายใน ในประเทศเขตหนาวนิยมใชเ้ รอื นกระจกในการ เพาะปลูกตน้ ไม้เพราะพลงั งานแสงอาทิตยส์ ามารถผ่านเข้าไปภายในได้แต่ความร้อนท่ีอยู่ภายในจะถูกกักเกบ็ โดย กระจกไม่ให้สะท้อนหรอื แผอ่ อกสภู่ ายนอกได้ทาให้อณุ หภูมขิ องอากาศภายในอบอุ่น และเหมาะสมต่อการ เจรญิ เติบโตของพืชแตกต่างจากภายนอกที่ยงั หนาวเยน็ นักวทิ ยาศาสตร์จึงเปรยี บเทยี บปรากฏการณ์ที่ความร้อน ภายในโลกถกู กับดกั ความรอ้ นหรอื กา๊ ซเรือนกระ(Greenhouse gases) เก็บกกั เอาไว้ไม่ให้สะท้อนหรือแผ่ออกสู่ ภายนอกโลกว่าปรากฏการณเ์ รอื นกระจกโลกของเราตามปกตมิ กี ลไกควบคุมภูมิอากาศโดยธรรมชาติอยแู่ ลว้ กระจกตามธรรมชาติของโลก คือ ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์และไอน้่าซงึ่ จะคอยควบคมุ ใหอ้ ณุ หภมู ขิ องโลกโดย เฉล่ียมีคา่ ประมาณ 15 °C และถา้ หากในบรรยากาศไมม่ ีกระจกตามธรรมชาติอณุ หภูมิของโลกจะลดลงเหลือเพียง -20°C มนษุ ย์และพืชก็จะล้มตายและโลกกจ็ ะเข้าสู่ยุคน้าแขง็ อีกครัง้ หน่ึงสื าเหตุสาคญั ของการเกดิ ปรากฎการณ์ เรอื นกระจกมาจากการเพิ่มขึ้นของก๊าซเรือนกระจกประเภทตา่ งๆ ไดแ้ ก่ คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) ไอน้า (H2O) โอโซน (O3) มเี ทน(CH4)ไนตรสั ออกไซด์ (N2O) และคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFCs) ในส่วนของกา๊ ซ

คารบ์ อนไดออกไซด์จะเกิดการหมนุ เวียนและรักษาสมดลุ ตามธรรมชาติ ปญั หาในเรอื่ งปรากฏการณเ์ รือนกระจก จะไม่สง่ ผลกระทบที่รนุ แรงต่อมนุษยช์ าตโิ ดยเด็ดขาดแตป่ ญั หาท่โี ลกของส่ิงมชี วี ติ กาลงั ประสบอย่ใู นปจั จบุ นั กค็ ือ ปรมิ าณกา๊ ซเรือนกระจกท่ีอยู่ในบรรยากาศเกดิ การสญู เสียสมดลุ ขึ้น ปรมิ าณความเข้มของก๊าซเรอื นกระจกบางตวั เชน่ คารบ์ อนไดออกไซด์ มเี ทน ไนตรัสออกไซด์และคลอโรฟลูออโรคารบ์ อนกลบั เพิ่มปริมาณมากขึน้ นบั ตงั้ แต่เกิด การปฏวิ ตั ิอตุ สาหกรรม (industrial revolution) หรอื ประมาณปี พ.ศ. 2493 เปน็ ต้นมากจิ กรรมต่างๆ ทีท่ าให้ เกิดการเพมิ่ ข้ึนของกา๊ ซเรอื นกระจกมดี งั นคี้ ือ 57% เกดิ จากการเผาไหมข้ องเช้ือเพลงิ ฟอสซิล (น่า้ มนั เช้อื เพลงิ ถ่านหินและก๊าซธรรมชาติ) 17%เกดิ จากการใช้สารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน 15% เกดิ จากการผลติ ในภาค เกษตรกรรม 8% เกิดจากการตดั ไมท้ า่ ลายปา่ สว่ นอีก 3% เกิดจากการเปลีย่ นแปลงตามธรรมชาติ นักวิทยาศาสตร์ท่ัวโลกได้ติดตามการเพ่ิมขึ้นของปริมาณก๊าซเรือนกระจก โดยการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อันทันสมัย เช่น การใช้ดาวเทียมสารวจอากาศและสามารถสรุปได้ว่าในแต่ละปีสัดส่วนของก๊าซเรือนกระจกท่ีถูก ปลอ่ ยออกจากโลก โมเลกุลของคาร์บอนไดออกไซด์จะมีผลต่อการตอบสนองในการเก็บกักความร้อนน้อยมาก แต่ เน่ืองจากปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ท่ีเกิดจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์มีมากท่ีสุด ดังนั้น หัวใจสาคัญของการ แก้ปัญหาจึงต้องมุ่งประเด็นตรงไปที่การลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ซ่ึงเกิดจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง ฟอสซลิ ก่อนเปน็ อนั ดบั แรก ต่อจากนนั้ จงึ ค่อยลดและเลกิ การใช้คลอโรฟลูออโรคาร์บอนรวมถึงการควบคุมปริมาณ ของมเี ทนและไนตรสั ออกไซดท์ ี่จะปล่อยขน้ึ สู่บรรยากาศ 5) ภาวะโลกรอ้ น ภาวะโลกร้อน หมายถงึ การเปลย่ี นแปลงภูมิอากาศทเ่ี กิดจากการกระทาของมนุษย์ท่ี ทาใหอ้ ุณหภูมเิ ฉลย่ี ของโลกเพ่ิมสูงขึน้ เราจึงเรยี กวา่ ภาวะโลกรอ้ น (Global Warming)กจิ กรรมของมนษุ ย์ท่ีทา ใหเ้ กิดภาวะโลกร้อนคอื กจิ กรรมทท่ี าให้ปริมาณกา๊ ซเรือนกระจกในบรรยากาศเพ่ิมมากขึ้น ได้แก่ การเพิ่มปรมิ าณ กา๊ ซเรอื นกระจกโดยตรง เช่น การเผาไหม้เช้ือเพลงิ และการเพ่มิ ปรมิ าณก๊าซเรือนกระจกโดยทางอ้อม คอื การตัด ไม้ทาลายปา่ หากไม่มีการชว่ ยกันแก้ไขปัญหาโลกในวนั น้ี ในอนาคตจะสง่ ผลกระทบดังน้ี 1. ทาใหฤ้ ดูกาลของฝนเปลี่ยนแปลงไป กระบวนการระเหยและการกลั่นตัวจะเรว็ ขนึ้ หมายถึงวา่ ฝน อาจจะตกบ่อยขนึ้ แตน่ ้าจะระเหยเร็วขึน้ ด้วย ทาให้ดินแห้งเรว็ กว่าปกติในช่วงฤดกู าลเพาะปลูก 2. ผลผลติ ทางการเกษตรจะลดลง นอกจากผลกระทบโดยตรงจากอุณหภูมิ ฝนชว่ งระยะเวลาฤดกู าล เพาะปลูกแล้ว ยงั เกิดจากผลกระทบทางออ้ มอีกด้วย คือ การระบาดของโรคพืช ศัตรูพชื และวชั พืช 3. สตั ว์นา้ จะอพยพไปตามการเปล่ียนแปลงของอณุ หภมู นิ ้าทะเล แหล่งประมงทีส่ าคัญๆ ของโลกจะ เปล่ียนแปลงไป 4. มนษุ ยจ์ ะเสียชวี ิตเนอื่ งจากความร้อนมากขนึ้ ตวั นาเชอ้ื โรคในเขตร้อนเพ่ิมมากขนึ้ ปัญหาภาวะมลพิษ ทางอากาศภายในเมืองจะรุนแรงมากขึน้

ใบความรู้ครัง้ ท่ี 7 วิชาสังคมศึกษา รหัสวิชา สค31001 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย เรอ่ื ง ประวัติศาสตร์ การแบ่งช่วงเวลาทางประวตั ิศาสตร์ การนับเวลาเปน็ ศักราชจะมปี ระโยชนเ์ พือ่ ทาใหท้ ราบเรื่องราวในประวัตศิ าสตร์ แต่ในบางครั้งเราอาจจะ นาเอาเหตุการณท์ เี่ กดิ ขึน้ ในอดตี มาระบเุ ป็นการแบ่งช่วงเวลาไดเ้ ช่นเดยี วกนั ซ่งึ การแบ่งช่วงเวลาทาง ประวตั ิศาสตร์จะสามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ ตามระบบสากล และตามแบบไทย การแบง่ ช่วงเวลาตามแบบสากล 1. สมยั ก่อนประวัตศิ าสตร์ เปน็ สมัยทีม่ นุษย์ยังไม่มกี ารประดษิ ฐต์ ัวอักษรขน้ึ ใช้บันทึกเร่ืองราวต่างๆ จงึ ต้องอาศยั การวิเคราะห์ตีความจากหลกั ฐานท่ีมีการค้นพบ เช่น เครอ่ื งมือเคร่ืองใช้ โครงกระดูก งานศลิ ปะต่างๆ โดยรวมจะเห็นวา่ ในช่วงสมยั ก่อนประวัตศิ าสตร์น้ี เคร่ืองมือเครื่องใช้ต่างๆ มักทาด้วยหนิ และโลหะ จงึ เรยี กวา่ ยุค หนิ และยุคโลหะ ตารางแสดงการแบง่ ยุคสมัยกอ่ นประวตั ิศาสตร์ในระบบสากล ช่อื ยุค ชื่อยคุ แบ่งตาม ชว่ งระยะเวลา โดยประมาณ ลักษณะการดารงชวี ติ เคร่อื งมือเครื่องใช้ ยุคหินเก่า 1,700,000-10,000 ปีกอ่ น มกี ารล่าสตั วเ์ ปน็ อาหาร อาศัยอย่ใู นถ้าใช้ ปัจจบุ ัน เคร่ืองมอื หินแบบหยาบๆ รู้จักเขยี นภาพ ตามผนงั ถ้า มีการดารงชวี ติ เหมือนยุคหินเกา่ ร้จู ักทา ยคุ หนิ ยุคหินกลาง 10,000-5,000 ปี กอ่ นปัจจบุ ัน เคร่อื งมือหินให้มคี วามปราณีตย่ิงขน้ึ รูจ้ ัก ทาเครอ่ื งปนั้ ดินเผาให้มีผวิ เรียบ เริม่ ร้จู ักการเพาะปลูก เลย้ี งสัตว์ ต้งั หลัก ยคุ หินใหม่ 5,000-2,000ปีกอ่ นปัจจบุ ัน แหลง่ ท่ีถาวร รูจ้ ักทาเคร่อื งมือหนิ ขดั เครื่องปน้ั ดินเผาและเคร่อื งประดบั ยุคสารดิ (ทองแดงผสม 3,500-2,500ปกี ่อนปัจจบุ ัน อาศัยอยเู่ ป็นชุมชน ดารงชีวติ ด้วยการ ยคุ ดีบกุ ) เพาะปลูก เชน่ ปลูกข้าว เล้ียงสัตว์ เปน็ ต้น โลหะ รจู้ กั ทาเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ เคร่ืองประดบั ดว้ ยสาริด ยุคเหลก็ 2,500-1,500ปีกอ่ นปัจจุบัน มีการติดต่อคา้ ขายกับดนิ แดนอน่ื เครอ่ื งมือเคร่ืองใช้ทาด้วยเหลก็

2. สมยั ประวัติศาสตร์ เริ่มต้นเม่ือมนุษยเ์ รม่ิ รจู้ กั คดิ ประดิษฐ์ตวั อักษรข้ึน เพื่อใชบ้ นั ทึกเรอ่ื งราวต่างๆ ที่ เก่ียวกับความเชื่อและพธิ ีกรรม จึงทาให้รบั รูเ้ ร่อื งราวทางประวตั ิสาสตร์ให้มากข้ึน การบันทึกในระยะแรกจะ ปรากฏอยใู่ นกระดูก ไม้ไผ่ แผ่นหนิ ใบลาน เป็นตน้ สมัยประวตั ศิ าสตรน์ ิยมแบ่งเปน็ ช่วงเวลาตา่ งๆ ดงั นี้ 1) ประวัติศาสตรส์ มยั โบราณ แตล่ ะประเทศจะเริ่มไม่พร้อมกัน ในสมัยประวตั ศิ าสตรส์ ากลเร่มิ ตง้ั แต่ อารยธรรมเมโสโปเตเมยี อารยธรรมลุม่ แมน่ ้าไนล์ อารยธรรมกรกี -โรมันและส้ินสุดใน ค.ศ.476 เมื่อกรงุ โรมแตก 2) ประวตั ศิ าสตรส์ มยั กลาง เริ่มภายหลงั ที่กรุงโรมแตกในค.ศ. 476 จนกระท่ังค.ศ. 1453 เม่ือพวกที่ นบั ถอื ศาสนาอสิ ลามตีกรงุ คอนสเตนติโนเปลิ ของโรมนั ตะวันออกแตกจนกระทัง่ ส้นิ สดุ สงครามโลกครัง้ ที่ 2 3) ประวัตศิ าสตรส์ มยั ใหม่ เริม่ หลังจากที่กรุงคอนสเตนตโิ นเปิลแตกจนกระท่ังสิน้ สุดสงครามโลกครงั้ ท2่ี 4) ประวัตศิ าสตรร์ ่วมสมัย เรมิ่ ภายหลังส้ินสุดสงครามโลกครัง้ ท่ี 2 จนถงึ ปจั จุบัน การแบ่งยุคสมัยดงั กลา่ ว นิยมใชก้ นั อยา่ งแพร่หลาย ทาให้เข้าใจชว่ งเวลาต่างๆ ได้งา่ ย เพราะไมไ่ ด้มีการ กล่าวถึงศักราช แตใ่ นประวตั ิศาสตร์ไทยไม่คอ่ ยนยิ มใช้ มักจะใชอ้ าณาจักรหรือราชธานีเปน็ ตวั กาหนดแทน การแบ่งช่วงเวลาตามแบบไทย การแบง่ ชว่ งเวลาทางประวัติศาสตรไ์ ทย จะมีความสอดคลอ้ งและความแตกต่างจากแบบสากล กลา่ วคอื ในสว่ นท่สี อดคลอ้ ง คือ ในสมัยก่อนประวตั สิ าสตร์จะมีการแบ่งยุคหนิ และยคุ โลหะ แต่ในความแตกตา่ ง เม่ือมาถึง สมยั ประวัตศิ าสตรจ์ ะจดั แบ่งตามความเหมาะสมกบั สภาพสังคมไทย ดงั รูปแบบต่อไปน้ี 1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เปน็ ช่วงท่ยี ังไม่มีการใชต้ ัวอักษรในการบนั ทึกเร่อื งราวต่างๆ จะอาศัย หลกั ฐานทีม่ กี ารขดุ ค้นพบเพ่ือการวิเคราะห์ตีความ เชน่ โครงกระดูก เคร่ืองมือเครื่องใชต้ า่ งๆ ซ่งึ สามารถแบง่ การ ดารงชวี ิตของมนุษยส์ มยั ก่อนประวัตศาสตร์ในประเทศไทยออกเปน็ ดังนี้ 1) ยคุ หนิ เป็นยคุ สมัยเริ่มแรกที่มนุษยอ์ ยรู่ ว่ มกนั เปน็ กลมุ่ ขนาดเล็ก ไม่มีอยู่อาศัยแนน่ อน เคลอ่ื นย้ายไป เรื่อยๆ อาศัยเคร่ืองมือหินกะเทาะเพื่อการล่าสตั ว์ และป้องกันตัว ซงึ่ ในยคุ หนิ น้จี ะสามารถแบ่งเปน็ 3 ยคุ ดังนี้ - ยุคหนิ เก่า จะเป็นพวกแรร่ ่อน อาศัยตามถา้ ใช้เครื่องมอื หินกรวดกะเทาะดา้ นเดียวท่ีไมม่ ีความประณีต เช่น ขวาน หนิ กาปน้ั หลกั ฐานทีพ่ บในประเทศไทย ได้แก่ บรเิ วณบา้ นแม่ทะ และบา้ นดอลมลู จ. ลาปาง รวมถึงที่บ้านเก่าอต. จระเข้เผอื ก อ. เมือง จ.กาญจนบรุ ี - ยุคหนิ กลาง จะเร่ิมมีพัฒนาการทด่ี ีขึ้นโดยเครือ่ งมอื หินจะมีความประณตี ยงั อาศยั อยใู่ นถ้า และนาเอา วัสดธุ รรมชาติมาดัดแปลงเปน็ ยอปุ กรณ์ในการดารงชวี ิต ซงึ่ พบได้จากเคร่ืองประดับเครื่องปนั้ ดินเผา หลักฐานท่พี บ ในประเทศไทย ได้แก่ บริเวณถา้ ผี จ.แมฮ่ อ่ งสอน -ยุคหินใหม่ มนษุ ย์ในยุคนีจ้ ะเริ่มรู้จักการเพาะปลูก เลย้ี งสตั ว์ และต้งั หลักแหลง่ ที่อยู่อาศัย มกี ารสร้างเคร่ืองมือ ที่ เรยี กว่า ขวานหนิ ขดั หรอื ขวานฟ้า รวมทง้ั การสรา้ งภาชนะเคร่ืองป้นั ดนิ เผา และการนากระดกู สตั ว์มาประยุกต์ ดดั แปลงเป็นเครื่องใชไ้ ม้สอยตา่ งๆ หลักฐานท่ีพบในประเทศไทย ได้แก่ บรเิ วณบา้ นโนนกทา ต.บ้านนาดี อ.ภเู วยี ง จ.ขอนแกน่ และที่ถา้ ผาแต้ม อ.โขงเจียน จ. อบุ ลราชธานี 2) ยคุ โลหะ เปน็ ยุคทีม่ นุษยร์ ู้จักใช้แรธ่ าตมุ าประดษิ ฐเ์ ป็นอุปกรณ์เคร่ืองใชต้ ่างๆ ซ่ึงสามารถแบ่งเปน็ 2 ยคุ ย่อย ได้แก่

- ยคุ ส่ารดิ โดยมนษุ ยใ์ นยคุ น้ีมีพัฒนาการความคิดในการประดษิ ฐ์เครื่องมือต่างๆ โดยเอาสารดิ คอื แร่ ทองแดงผสมกบั ดีบุก มาหล่อหลอมเป็นอปุ กรณ์ต่างๆ ใชใ้ นการดารงชีวิต รวมถึงมีการสร้างสรรคผ์ ลงาน เครอื่ งปั้นดินเผาทม่ี ลี วดลายสวยงามเป็นเอกลักษณเ์ ด่นหลักฐานท่พี บในประเทศไทย ได้แก่ บา้ นเชยี ง อ.หนอง หาน จ.อุดรธานี - ยคุ โลหะ มนุษย์ในยคุ นีจ้ ะเป็นชุมชนเกษตรทม่ี ีการขยายตวั ใหญข่ น้ึ มีการติดตอ่ กับชุมชนอืน่ ๆ เกดิ การ แลกเปล่ยี นวฒั นธรรม สาหรบั เคร่อื งมือเครือ่ งใช้ตา่ งๆ จะนาเอาแร่เหลก็ มาหลอมสรา้ งเปน็ อุปกรณ์ เนื่องจากจะมี ความทนแขง็ แรงมากกวา่ รวมถึงรูจ้ กั การสรา้ งพธิ ีกรรมโดยอาศยั ภาชนะดนิ เผาตา่ งๆ ตกแตง่ ให้เกิดความสวยงาม หลกั ฐานทพี่ บในประเทศไทย ไดแ้ ก่ บา้ นดอลตาเพรช อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี รวมถึงหมูบ่ ้านใหมช่ ัยมงคล จ. นครสวรรค์ 2. สมัยประวตั ศิ าสตร์ไทย การเข้าสู่ช่วงเวลาสมยั ประวัตศิ าสตร์ไทย นกั วิชาการไดก้ าหนดจากหลักฐาน ท่เี ปน็ ลายลักษณอ์ ักษรทเ่ี กา่ แก่ท่สี ดุ ที่พบในเมืองไทย คือ ศิลาจารึกของพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช พ.ศ. 1826 สาหรับการแบง่ ยุคสมยั ของไทย นิยมแบ่งตามราชอาณาจักรหรอื ราชธานี คือ สมยั สุโขทยั สมยั อยุธยา สมัยธนบรุ ี และรตั นโกสนิ ทร์ หรือแบ่งตามลกั ษณะทางการเมอื งการปกครองเป็นสมยั สมบรู ณาญาสิทธริ าช สมยั ประชาธิปไตยเป็นตน้ กล่าวโดยสรุป การแบง่ ชว่ งเวลาทางประวัติศาสตรไ์ ทย สามารถจัดแบง่ อย่างกว้างๆ ได้เปน็ 2 ชว่ ง ดังน้ี 1) สมัยกอ่ นประวตั ิศาสตรไ์ ทย เป็นสมัยท่ีมนุษย์ยงั ไมม่ ีการคดิ ตงั อักษรขนึ้ ใชส้ าหรบั บันทกึ เรอ่ื งราว ตา่ งๆ การศึกษาทางประวตั ศิ าสตร์ จึงตอ้ งอาศยั การวเิ คราะหแ์ ละตีความจากหลักฐาน ชั้นต้นที่ไดจ้ าการคน้ พบ ตามท้องที่ตา่ งๆในประเทศไทย เชน่ เครอ่ื งมือ เคร่ืองใชท้ ่ที าด้วยหิน โลหะสารดิ เหลก็ เคร่อื งประดับ ภาชนะดนิ เผา โครงกระดูก ภาพเขยี นสีตามผนงั ถา้ เป็นต้น โดยแบ่งเป็นยคุ สมัยต่างๆ ตามพฒั นาการทางดา้ นเทคโนโลยี เครือ่ งมือเคร่อื งใช้ 2) สมัยประวัติศาสตรไ์ ทย เป็นช่วงเวลาทีม่ นษุ ย์ได้มีการประดิษฐ์คดิ ค้นตัวอักษรข้ึนใช้แลว้ นกั วิชาการ จึงอาศยั หลกั ฐานทเ่ี ปน็ ลายลักษณ์อกั ษรเช่น จารึก จดหมายเหตบุ ันทึกการเดินทาง พงศาวดาร เปน็ ตน้ และ หลักฐานทีไ่ ม่เปน็ ลายลักษณ์อักษร ทง้ั ท่ีเป็นโบราณสถาน เชน่ เจดยี ์ปราสาทหนิ วดั เปน็ ต้น และโบราณวตั ถุ เช่น พระพทุ ธรูป เงนิ เหรยี ญ เคร่ืองมือเคร่อื งใชร้ วมทัง้ งานศลิ ปะตา่ งๆ เป็นต้น มาเป็นข้อมลู ในการวเิ คราะหต์ ีความ เพอ่ื ให้ทราบประวัตคิ วามเป็นมาในอดีตใหช้ ดั เจนมากย่งิ ขนึ้

ใบความรู้ครัง้ ท่ี 8 วชิ าสังคมศึกษา รหสั วชิ า สค31001 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย เรอื่ ง เศรษฐศาสตร์ ความเป็นมาและองค์ประกอบ การคา้ ระหว่างประเทศเกดิ ขึ้นเนือ่ งจากการทีโ่ ลกได้ถูกแบ่งออกเปน็ ประเทศ แตล่ ะประเทศตา่ งผลติ สนิ คา้ หรอื บริการแตกตา่ งกนั เมื่อแตล่ ะประเทศต่างเกิดความต้องการที่จะแลกเปล่ียนสนิ คา้ และบริการท่ตี นผลติ ได้เปน็ จานวนมากสนิ ค้าและบรกิ ารทตี่ นผลติ ไดน้ อ้ ยหรือผลติ ไมไ่ ดเ้ ลยกับประเทศอ่นื ประกอบกับการคมนาคมไปมาหาสู่ กนั สะดวก การค้าระหวา่ งประเทศจึงเกดิ ขน้ึ การทแ่ี ต่ละประเทศผลติ สนิ ค้าหรอื บรกิ ารได้แตกต่างกนั เปน็ เพราะสาเหตุต่อไปน้ี 1. แต่ละประเทศต่างมลี ักษณะที่ตั้งต่างกนั ลกั ษณะทีต่ ง้ั ของบางประเทศเออ้ื อานวยให้เกิดการผลิตสินค้า หรือบริการ เช่น ประเทศทมี่ ีชายฝงั่ ทะเลกจ็ ะมีอุตสาหกรรมต่อเรือเพ่ือขนส่งเสริมหรอื การใหก้ ารบริการขนถ่าย สินค้าโดนใช้ทา่ เรือน้าลึกบางประเทศมีภูมปิ ระเทศงดงาม 2. จะมีอตุ สาหกรรมการท่องเทย่ี วเกดิ ข้นึ แตล่ ะประเทศมีแรธ่ าตซุ ึ่งเป็นทรัพยากรธรรมชาตมิ ากน้อย ต่างกัน เชน่ สวีเดนมเี หล็ก เยอรมนั มีถา่ นหนิ เวเนซูเอลาและตะวนั ออกกลางมีน้ามัน แอฟริกาใต้มีทองคาและ ยเู รเนยี ม ประเทศเหล่านก้ี ็จะนาแร่ธาตุขึ้นมาใช้และสง่ เปน็ สนิ คา้ ออก 3. แต่ละประเทศมลี กั ษณะดินฟา้ อากาศทแ่ี ตกตา่ งกนั เชน่ สหรฐั อเมริกาและแคนาดาประเทศทอี่ ยู่ใน เขตอบอุ่นสามารถปลกู ข้าวสาลีได้ ไทยอยู่ในเขตมรสมุ สามารถปลกู ข้าวได้ บราซิลเป็นประเทศในเขตศูนย์สูตร สามารถปลูกกาแฟได้ จากการท่พี ืชผลสามารถข้นึ ได้ดี ตามสภาพดนิ ฟา้ อากาศแตล่ ะชนดิ ดังกลา่ วทาให้แตล่ ะ ประเทศสามารถผลิตพืชผลชนิดนน้ั ไดเ้ ปน็ จานวนมากเมื่อมีเหลือก็สามารถส่งเปน็ สินคา้ ออกนอกจากน้ยี ังมที ฤษฎี ยืนยันว่า ทุกประเทศแบ่งงานผลิตสนิ ค้า และบรกิ ารตามที่ตนถนัดหรอื เม่ือเปรยี บเทยี บแล้วจะทาให้มีผลผลติ เกดิ ข้นึ มากกว่าต่างคนต่างผลติ ” ดุลการค้าและดุลการชา่ ระเงิน ในการทาการค้าระหว่างประเทศน้นั ประเทศหน่งึ ๆ ย่อมต้องบนั ทึกรายการทีเ่ กิดขน้ึ เพราะจะทาใหไ้ ด้ ทราบผลการติดต่อคา้ ขายกบั ตา่ งประเทศ รายการคา้ กับต่างประเทศนอ้ี าจบันทกึ อยู่ใน 2 รูปแบบ ด้วยกัน คือ ดุลการค้าและดุลการชาระเงิน ดุลการคา้ (Balance of Trade) ได้แก่ การเปรียบเทียบมูลค่าของสนิ ค้าทีป่ ระเทศหนึง่ ส่งออกขาย (Export) ให้ประเทศอนื่ ๆ กบั มลู ค่าของสินค้าทปี่ ระเทศนนั้ ส่งั ซื้อเข้ามาจาหนา่ ยวา่ มากน้อยตา่ งกนั เท่าไรในระยะ 1 ปี เพื่อเปรียบเทยี บวา่ ตนได้เปรียบหรือเสยี เปรยี บตวั อยา่ งเช่น ประเทศไทยส่งสนิ ค้าออกหลายประเภทไปขาย ส่งประเทศญ่ปี ุน่ สิงคโปร์ และอีกหลายประเทศ มีมลู ค่ารวมกัน 589,813 ลา้ นบาท ในปี พ.ศ. 2533 และในปี

เดียวกันกไ็ ด้สั่งสนิ ค้าเขา้ จากประเทศตา่ งๆ มมี ูลค่า 844,448 ล้านบาท เมอื่ นามาเปรียบเทียบกันจะทาให้ทราบ ไดว้ ่าได้เปรยี บหรือเสียเปรียบดลุ การค้า ในการเปรียบเทยี บนอี้ าจแบ่งออกได้เปน็ 3 ประเภท คือ 1. ดุลการคา้ ได้เปรียบ หรอื เกินดุล ได้แก่การทปี่ ระเทศหนึ่งสง่ สนิ ค้าไปขายยงั ต่างประเทศมมี ลู ค่า มากกว่าสงั่ สนิ ค้าเข้ามาอุปโภคบริโภค 2. ดลุ การคา้ เสียเปรยี บ หรอื ขาดดลุ ได้แก่ การทีป่ ระเทศหนึง่ ส่งสนิ ค้าไปขายยังต่างประเทศ มมี ูลคา่ น้อย กวา่ ที่สง่ั สินค้าเข้ามาอุปโภคบริโภค 3. ดลุ การคา้ สมดุล ไม่ได้เปรียบเสียเทียบกนั หรอื เทา่ กนั มีผลลบเปน็ ศูนยก์ ลา่ วคือมูลคา่ สินคา้ เข้าเท่ากบั มูลค่าสนิ คา้ สง่ ออกโดยทั่วไปการใชด้ ุลการเพยี งอยา่ งเดยี วอาจไม่ทาใหท้ ราบฐานะท่ีแท้จริงของประเทศได้กล่าวคือ ดุลการค้าท่เี สยี เปรยี บนนั้ อาจไม่เปน็ ผลเสยี ใดๆ ตอ่ ประเทศกไ็ ด้ เน่อื งจากบันทึกเทยี่ วกับดลุ การคา้ นัน้ จะไม่ รวมถงึ การนาเขา้ สินค้าบางชนิด ทีไ่ ม่ต้องชาระเป็นเงินตราตา่ งประเทศก็ไดเ้ น่ืองมาจากสินคา้ ชนดิ นนั้ จะมาจาก การบริจาคช่วยเหลอื ถา้ นาเอารายการนมี้ า หกั ออกอาจทาให้ดุลการคา้ ลดลงหรือการคิดราคาสนิ คา้ เข้าและสนิ ค้าออกต่างกนั กล่าวคือขณะท่ีสินคา้ เข้ารวม มูลคา่ ขนส่งและการประกันภัยแตส่ ินคา้ ออกไม่ได้รวมไว้ หรือการส่งั สินคา้ ประเภททุน เช่น เครอ่ื งจกั รกลเข้ามาทา การผลติ สนิ คา้ ดเู หมือนว่าจะทาให้เสยี เปรียบดลุ การคา้ กจ็ รงิ แต่ในระยะยาวแลว้ เมือ่ มีการผลิตสินคา้ เพ่อื การ สง่ ออก โดยสินคา้ น้นั อาจ ทาให้ไดเ้ ปรยี บดลุ การค้าในระยะยาวประเทศทด่ี ลุ การคา้ ไดเ้ ปรยี บถือวา่ ภาวะเศรษฐกิจของประเทศน้ันเจริญ แต่ อาจจะไมเ่ ปน็ ผลดีต่อเศรษฐกิจเสมอไป เช่น เมอื่ ได้รับเงนิ ตราต่างประเทศ ธนาคารกลางสามารถเพิ่มปรมิ าณเงนิ ในทอ้ งตลาดได้มาก พอ่ คา้ สามารถ แลกเงินตรา ตา่ งประเทศมาเปน็ เงินในประเทศไดม้ าก เม่ือปริมาณเงินใน ท้องตลาดมากอาจเกดิ ภาวะเงินเฟ้อ หรือการที่ประเทศใดประเทศหน่ึงไดเ้ ปรยี บดลุ การค้ากบั ประเทศอืน่ ติดต่อกัน หลายปจี ะทาใหป้ ระเทศคู่ค้าไม่สามารถมเี งินมาซ้ือสินคา้ หรือชาระเงินได้ ย่อมเป็นผลเสียต่ออตุ สาหกรรม ภายในประเทศดงั นน้ั นกั คดิ ทางเศรษฐศาสตร์จงึ เห็นวา่ ไม่ควรเปรียบเทียบเฉพาะราย การสนิ คา้ เทา่ น้นั จงึ จะทาให้ ทราบสภาวะเศรษฐกิจท่แี ทจ้ รงิ ของประเทศ แต่ควรมีรายการอนื่ ๆ เขา้ มาแสดงเปรียบเทียบด้วยและรายการอืน่ ๆ ทีแ่ สดงเปรียบเทยี บนน้ั แต่ละประเทศจะแสดงไวใ้ นรปู ของดลุ ชาระเงินระหวา่ งประเทศดุลการชาระเงินระหว่าง ประเทศ คือสถิติในรูปบญั ชีแสดงรายรบั (หรอื credit = +)ทปี่ ระเทศหนึง่ ไดร้ ับจากตา่ งประเทศ และรายจา่ ย (หรือ debit = - ) ทป่ี ระเทศนนั้ จา่ ยแก่ตา่ งประเทศในรอบ 1 ปี นามาเปรียบเทยี บกัน เพ่ือทราบตนได้เปรียบหรือ เสียเปรียบ โดยปกตดิ ุลการชาระเงนิ จะประกอบไปด้วย 1. บัญชีดุลการค้า 2. บญั ชดี ลุ บริการ เศรษฐศ3. บญั ชีดุลบริจาค 4. บญั ชีทุนหรือบัญชีเงนิ ทุน 5. บญั ชีการเคล่ือนยา้ ยเงินทุนของระบบการเงิน 6. จานวนไม่ประจักษ์หรือค่าคลาดเคลื่อนสุทธิ

จากบัญชีดุลชาระเงินทั้ง 6 ชนิดน้ี บญั ชดี ลุ การคา้ บญั ชดี ุลบริการ และบัญชดี ุลบริจาค เรยี กรวมกันว่า บญั ชเี ดนิ สะพดั (Current Account) เป็นบญั ชีแสดงถงึ การแลกเปลี่ยนเงินระหว่างประเทศเฉพาะสว่ นทีเ่ ป็น ผลิตภณั ฑ์ (สนิ คา้ และบรกิ าร) เท่านน้ั แตไ่ ม่มรี ายการแสดงการเคลอ่ื นย้ายทรพั ยส์ ินหรือทุน ซ่ึงดลุ การชาระเงินจะ พิจารณาจาก ดุลการชา่ ระเงิน = ดลุ บัญชีเดินสะพัด + ดุลบัญชที นุ + จ่านวนไม่ประจักษ์ซ่ึงจะแสดงผลอย่ใู น 3 ลักษณะ คือ ถา้ ยอดรายรบั มากวา่ รายจ่าย เรียกวา่ ดลุ การช่าระเงนิ เกินดลุ ถ้ายอดรายรบั นอ้ ยกวา่ ยอดรายจา่ ยเรยี กว่า ดุลการชาระเงนิ ขาดดุลและถ้ายอดรายรับหรอื รายจา่ ยเทา่ กันหรือเปน็ ศนู ย์เรียนกว่าดลุ การชาระเงนิ สมดุล อัตราแลกเปลี่ยนเงนิ ตราต่างประเทศเงินตราต่างประเทศ หมายถึง เงนิ ตราของประเทศอ่นื ซง่ึ อยใู่ นความ ครอบครองของรฐั บาลหรือเอกชนของประเทศใดประเทศหนึง่ ตวั อยา่ งเชน่ เงนิ ตราตา่ งประเทศในทศั นะของ เอกชนและรฐั บาลไทยก็คือเงิน ดอลลาร์ มารค์ เยน ปอนด์ เปน็ ต้น สว่ นเงนิ บาทเป็นเงนิ ที่ออกโดยรฐั บาลไทย ถือ เป็นเงนิ ตราต่างประเทศทศั นะของรฐั บาลและเอกชนของประเทศอืน่ นอกจากประเทศไทย เงนิ ตราของประเทศ ต่างๆ แตล่ ะหน่วยจะมีอานาจซอื้ แตกต่างกนั ไปตามค่าของเงนิ ในแต่ละประเทศ ซึ่งค่าของเงนิ แต่ละประเทศจะถกู กาหนดไว้ในรูปของอตั ราแลกเปลีย่ นเงินตราระหว่างประเทศอัตราแลกเปล่ียนเงนิ ตราระหว่างประเทศมี ความสัมพันธ์อยา่ งใกล้ชดิ กับการคา้ ระหว่างประเทศ เพราะอัตราแลกเปล่ียน หมายถึง ราคาของเงนิ ตราสกลุ หนง่ึ เม่อื เปรียบเทยี บกับเงินตราของสกลุ อน่ื ๆ อัตราแลกเปลี่ยนเปน็ ราคาทส่ี าคัญเม่ือเทียบกับราคาสินคา้ โดยทัว่ ไป ท้ังนี้ เพราะอัตราแลกเปลยี่ นจะเป็นตวั เช่ือมโยงของราคาสินคา้ ของประเทศต่างๆ หากเราไม่ทราบอตั รา แลกเปลย่ี นจะทาให้เราไม่สามารพเปรียบเทยี บราคาสนิ ค้าระหว่างประเทศได้ และเม่อื อัตราแลกเปลย่ี น ราคา สินค้าทกุ ชนิดในต่างประเทศ ซ่ึงคิดเป็นเงนิ ตราของประเทศใดประเทศหน่ึงจะเปล่ยี นไปด้วย ตวั อย่างเช่น อตั รา แลกเปลีย่ นระหวา่ งปอนดก์ ับบาทเปน็ 1 ปอนดต์ ่อ 45 บาท เสอ้ื ขนสัตวต์ วั หน่ึงมรี าคา 20 ปอนด์ในประเทศ องั กฤษจะมี ราคา 900 บาทในประเทศไทย แตถ่ า้ ประเทศองั กฤษลดค่าเงนิ ปอนดเ์ ป็น 1 ปอนดเ์ ท่ากับ 35 บาท เส้ือขนสัตว์ตวั เดมิ จะมรี าคาในประเทศไทยเพยี ง 700 บาท เทา่ นั้น โดยต้งั ข้อสมมติในชน้ั นีว้ า่ ราคาเสือ้ ขนสัตว์?ใน องั กฤษไม่เปลี่ยนแต่ในทางปฏิบัติจริง เมอื่ องั กฤษลดค่าเงนิ ปอนด์ ราคาสนิ คา้ ในอังกฤษจะเปลย่ี นจากระดบั เดมิ และราคาเปรียบเทียบระหว่างเงนิ บาทกับเงนิ ปอนดจ์ ะเปล่ียนไป ดังน้ันราคาสนิ คา้ ทสี่ ่งั จากประเทศไทยไปประเทศ อังกฤษจะเปล่ียนไปเช่นกนั กล่าวคอื ที่อตั ราแลกเปลยี่ นเดิมทเี งนิ 1 ปอนด์มีคา่ เทา่ กับ 45 บาทนนั้ ถา้ ประเทศ อังกฤษต้องการซ้ือรองเทา้ ซง่ึ มีราคา 450 บาทจากประเทศไทย องั กฤษจะต้องจ่ายเงิน 10 ปอนด์ แตเ่ มื่ออัตรา แลกเปลี่ยนเงนิ ตราเปลีย่ นไปเป็น 1 ปอนด์มีคา่ เท่ากับ35 บาท จะทาให้อังกฤษต้องจ่ายค่ารองเท่าคูเ่ ดียวกนั ถึง 12.8 ปอนด์ ดงั น้นั จึงกลา่ วไดว้ ่าอัตราแลกเปล่ยี นเป็นปจั จัยหน่ึงทม่ี อี ิทธพิ ลต่อสินคา้ เข้าและสนิ ค้าออกของ ประเทศ ตลอดจนการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ของประเทศอกี ด้วย ฉะนั้นประเทศต่างๆ จงึ พยายามหาวธิ ี ร่วมกนั ในการกาหนดอัตราแลกเปลีย่ นท่ีเหมาะสม ผลจากการร่วมกลุม่ ทางเศรษฐกจิ การรวมกลมุ่ เศรษฐกิจ (Regional Economic integration) หมายถึง การท่ปี ระเทศมากว่า 1 ประเทศขึน้ ไปมารวมกนั อย่างเป็นทางการ (Offi cial integration) เพื่อเช่อื มเศรษฐกิจ ของภูมภิ าคเดยี วกนั การทปี่ ระเทศในภูมภิ าคเดยี วกนั มารวมตวั กนั นัน้ เพราะประสบปัญหาทางการคา้ นานาประการ โดยเฉพาะปัญหาการขาดดุลการคา้ ซึง่ มสี าเหตมุ าจากการไรป้ ระสทิ ธิภาพในการผลติ และความไม่

ม่ันคงในสนิ ค้าทีเ่ ป็นวัตถดุ บิ ท่ีใช้ในการผลิต จึงเกดิ มีการรวมกลุ่มกันเพื่อการผลติ และขยายตลาดและมีการทา สัญญาตา่ งๆ เพอ่ื แกป้ ัญหาเฉพาะเร่ืองการรวมกลุ่มเศรษฐกิจมหี ลายประเภท แตม่ ลี กั ษณะเหมือนกนั อยู่ประการ หนงึ่ คือ “การใช้กาแพงภาษกี ีดกันสนิ คา้ จากประเทศนอกกลมุ่ สมาชิก และให้มสี ทิ ธิพิเศษในการนาเข้าสนิ คา้ จาก ประเทศสมาชกิ ในกลุ่ม” การรวมกลมุ่ จงึ มลี ักษณะของการคา้ แบบเสรี และการค้า คมุ้ กนั อยใู่ นตวั ซ่งึ สามารถแบ่งออกเปน็ ประเภทได้ดังน้ี 1. เขตปลอดภาษี (Free Trade) เปน็ การวมกลมุ่ ประเทศท่งี า่ ยทส่ี ดุ คือประเทศสมาชิกจะยกเว้นการเก็บ ภาษีขาเข้าระหว่างกันเอง โดยทีแ่ ต่จะประเทศสมาชิกมีอิสระเตม็ ที่ในการตั้งอตั ราภาษีเรียกเก็บจากประเทศนอก กลมุ่ เชน่ เขตการค้าเสรแี ปซิฟคิ (Pacifi cFree Trade Area : PAFTA) เขตการค้าเสรลี าตินอเมริกา (Latin Amereac FreeTrade: LAFTA) การรวมกล่มุ ประเทศในลักษณะนมี้ ักจะมปี ัญหาเน่ืองมาจากการทีแ่ ต่ละประเทศ สมาชิกมรี ะดบั การพฒั นาที่แตกตา่ งกนั และการตั้งอตั ราภาษสี าหรับประเทศนอกกลุ่มมีความแตกต่างกัน ทาให้ ประเทศคคู่ า่ สามารถเลือกค้ากับประเทศสมาชิกที่ตั้งอัตราภาษไี ว้ตา่ 2. สหภาพศุลกากร (Custom Union) เปน็ การรวมกลุ่มเหมือนเขตปลอดภาษีแต่มขี ้อตกลงเรือ่ งการตั้ง กาแพงภาษีร่วมกนั เพ่ือเกบ็ จากประเทศนอกกลุ่ม แตม่ ักจะมีปญั หาคืออัตราภาษีท่ีรว่ มกันตงั้ ใหม่ถา้ แตกต่างจาก เดิมมากจะมีผลกระทบต่ออตั ราภาษเี ดิมทีเ่ กบ็ ภายในประเทศและสง่ ผลกระทบถึงราคาสินค้าในประเทศ 3. ตลาดรว่ ม (Common Market) มีลกั ษณะเหมือนสหภาพศลุ กากรทุกประการแตเ่ พม่ิ เง่อื นไขวา่ ไม่ เพียงแตส่ นิ ค้าเทา่ น้ันที่สามารถเคลอ่ื นย้ายได้โดยเสรรี ะหวา่ งประเทศสมาชกิ แต่ไมว่ า่ จะเปน็ การเคล่ือนย้ายทุน แรงงาน สามารถทาไดโ้ ดยเสรี การตงั้ ตลาดร่วมจาเปน็ ต้องมีนโยบายหลายๆ ดา้ นทปี่ ระสานกัน เช่น การเกบ็ ภาษี รายได้ นโยบายการเงนิ ภายใน นโยบายการคา้ ตลอดจนกฎหมายตา่ งๆ 4. สหภาพเศรษฐกจิ (Economic Union) เปน็ การรวมกลุ่มกนั อย่างสมบรู ณ์แบบสมาชิกอยภู่ ายใต้ นโยบายเดียวกนั ใช้เงินตราสกลุ เดยี วกนั และอยูภ่ ายใต้อาณาจกั รเศรษฐกจิ เดียวกนั กลมุ่ ทางเศรษฐกิจท่สี ่าคัญมีดังน้ี 1. กลมุ่ ประชาคมยโุ รป (European Community : EC) เกิดจากการรวมตัวกนั ของประเทศสมาชกิ ใน ยโุ รป 12 ประเทศ ได้แก่ อังกฤษ เดนมาร์ก ไอร์แลนด์ กรีซสเปน โปรตเุ กส ฝรัง่ เศส เยอรมันนี อติ าลี เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ และลกั แซมเบริ ์กปัจจบุ ันประชาคมยุโรปมีสภาพเป็นสภาพศุลกากร กล่าวคือมีข้อกาหนดใหป้ ระเทศ สมาชิกยกเลกิ การเกบ็ ภาษีขาเข้า การควบคุมสนิ คา้ เข้าและสนิ คา้ ออกระหวา่ งประเทศสมาชกิ และได้มกี ารดาเนิน นโยบายและมาตรการทางการคา้ กบั ประเทศนอกประชาคมร่วมกนั โดยใช้ระบบประกันคาราผลิตผลเกษตรแบบ เดยี วกัน และใชง้ บประมาณสว่ นกลางของประชาคมยุโรปเขา้ สกู่ ารเปน็ ตลาดรว่ มต้ังแต่ปี 2535 และคาดว่าในปี 2539 จะรวมตัวกนั เป็นสหภาพเศรษฐกิจและการเงนิ (Economic and Monetary Union) ซง่ึ จะมกี ารใช้ เงินตราในสกุลเดียวกัน 2. สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป (European Free Trade Association) มีสมาชิกในปัจจุบนั 7 ประเทศ คือ นอรเวย์ สวีเดน ออสเตรีย สวีเดน ออสเตรีย สวซิ เซอรแลนด์ ไอแลนด์ ฟินแลนด์ และลกิ เตนสไตน์ มี

วตั ถุประสงค์การก่อตั้งเป็นเขตการคา้ เสรีมากกว่าเปน็ สหภาพศลุ กากร ในปี 2527 กลุ่ม ประเทศน้ีได้เคย แถลงการณ์ ร่วมมอื กันจดั ต้งั เป็นเขตเศรษฐกิจยโุ รป (European Economic Area : EEA) โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพื่อ ขยายความรว่ มมือระหว่างกลุ่มประเทศทัง้ สองสว่ น ขน้ั ตอนในการจดั ตงั้ ยังไม่ได้กาหนดไว้ชัดเจน จนกระทัง่ ปี 2532 กลุ่มประเทศสแกนดเิ นเวียวิตกว่าการเป็นตลาดเดียวของประเทศสมาชกิ ประชาคมยุโรปอาจส่งผลกระทบ ต่อการคา้ ระหว่างประเทศของตน จึงไม่มีความประสงค์จะกอ่ ตง้ั เขตเศรษฐกิจยุโรป แตป่ ระชาชนยุโรปยังใหก้ าร สนบั สนุน เน่ืองจากสมาคมการค้าเสรแี ห่งยโุ รปเปน็ ตลาดสนิ ค้าท่สี าคญั และใหญ่ทสี่ ดุ ของประชาคมยุโปจงั ได้มี การจัดตง้ั อย่างเป็นทางการและมกี ารใหส้ ัตยาบันรว่ มกนั โดยมีผลบังคับต้งั แต่ วันท่มี กราคม 2536 เปน็ ต้นไป 3. ขอ้ ตกลงการคา้ เสรอี เมริกาเหนือ (North American Free Trade Agreement: NAFTA) มีประเทศ สมาชกิ ในปจั จบุ ัน 3 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา แคนาดาและเม็กซิโก มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื ยกเลิกการกีดกนั ทาง การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศสมาชิกทัง้ สามและเพื่อสรา้ งเขตการค้าเสรีทีย่ อมรบั การคุ้มครองสิทธิใน ทรัพยส์ ินทางปัญญา 4. กลุ่มประเทศอาเซยี น ประกอบไปดว้ ยประเทศสมาชิก 10 ประเทศ คอื ไทยสิงคโปร์ มาเลเซีย อนิ โดนีเซยี ฟลิ ิปปนิ ส์ บรูไน เวยี ดนาม ลาว กัมพูชา และเมียนมาร์มวี ตั ถปุ ระสงค์ในการวมตวั กันในครง้ั แรก คอื การแบง่ งานกันผลติ สินคา้ เพ่อื ลดความซ้าซอ้ นในการผลติ และสร้างอานาจตอ่ รองทางการค้าภายหลังได้มี ข้อเสนอใหจ้ ัดต้งั เขตการค้าเสรีอาเซียน (Asean Free Trade Agreement : AFTA) มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อให้ ประเทศสมาชิกค่อยๆ ยกเลิกหรอื ลดภาษีศลุ กากร สาหรบั สินค้าสว่ นใหญ่ท่ีค้าขายกนั อยู่ให้เหลอื รอ้ ยละ 5 ภายใน ระยะเวลา 15 ปี เชอื่ วา่ จะทาให้การค้าและการลงทุนของกลมุ่ อาเซยี นขยายตวั มากขึ้นประเทศไทยได้รว่ มมือทาง เศรษฐกิจกบั ประเทศอน่ื ๆ อย่างกวา้ งขวาง และได้เขา้ รว่ มเป็น สมาชกิ ขององค์กรระหว่างประเทศ หลายองคก์ ร ดังนี้ กลมุ่ อาเซียน หรอื สมาคมประชาชาตเิ อเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ (Association ofSoutheast Asian Nations : ASEAN) ประกอบด้วย 6 ประเทศ ได้แก่ อินโดนเี ซียมาเลเซีย ฟิลปิ ปินส์ สงิ คโปร์ บรูไน และไทย สานักงานใหญต่ ้ังอยู่ท่ีเมืองจาการต์ าประเทศอินโดนเี ซียองค์กรนี้มวี ตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ส่งเสรมิ ความรว่ มมือทาง เศรษฐกจิ วิทยศาสตร์ และเทคโนโลยี สังคม และวฒั นธรรม ตลอดจน การเมืองระหวา่ งประเทศสมาชกิ จากการ กอ่ ตั้งกล่มุ อาเซยี น มาต้งั แต่ พ.ศ. 2510 มาถึงปัจจุบัน ประเทศสมาชกิ อาเซียน มีการขยายตวั ทางเศรษฐกิจอย่าง รวดเร็ว โครงสรา้ งทางเศรษฐกิจก็เปล่ยี นแปลงจากภาคเกษตร ไปสภู่ าค อตุ สาหรรมมากขึน้ ส่งผลให้ประเทศ สมาชิกประสบปัญหาท้ังทางด้าน การขาดดุลการค้า การเพ่ิมอัตราคา่ จา้ งแรงงาน และการขาดแคลน การบริการ พืน้ ฐาน กลุ่มเอเปค (Asia – Pacifi c Economic Cooperation : APEC) ก่อตัง้ ข้ึนเม่ือพ.ศ. 2532 มี สมาชกิ 12 ประเทศ ไดแ้ ก่ สหรฐั อเมรกิ า เกาหลใี ต้ สิงคโปร์ ฟิลปิ ปินส์นิวซีแลนด์ มาเลเซยี ญี่ปนุ่ อนิ โดนีเซีย แคนาดา บรไู น ออสเตรเลยี และไทยองคก์ รนีว้ ัตถุประสงคเ์ พื่อส่งเสรมิ ความรว่ มมือในการแก้ปัญหาร่วมกนั สง่ เสริม การค้า เสรีตลอดจนการปรับปรงุ แบบแผนการตดิ ต่อการคา้ ระหว่างกัน และเพ่ือตั้งรับการรวมตัวเป็น ตลาดเดียวกนั ระหว่างประเทศสมาชิกคณะกรรมาธกิ ารเศรษฐกิจ และสงั คมสาหรบั เอเชียและแปซิฟิก (Economic andSocial Commission for Asia and Pacifi c : ESCAP) องค์กรนเี้ ปน็ องค์กรทจี่ ัดตงั้ ข้ึนโดยองค์การสหประชาชาติ มี

วัตถุประสงค์เพอ่ื ส่งเสริมความร่วมมือในการพฒั นาด้านเศรษฐกิจ และสงั คมของประเทศสมาชกิ ที่อยใู่ นเอเชยี และ แปซฟิ ิก รวมทง้ั ประเทศไทยด้วย ESCAP เป็นองค์กรท่ีขยายมาจากคณะกรรมาธิการเศรษฐกจิ แหง่ เอเชยี และ ตะวันออกไกล (Economic Commission for Asia and theFar East : ECAFE)ซ่ึงจัดตงั้ ขนึ้ เมื่อ พ.ศ. 2490 และ ใน พ.ศ. 2517 ไดข้ ยายมาเปน็ ESCAP ทัง้ นเ้ี พื่อให้ครอบคลุมประเทศในพืน้ ท่ีเอเชยี และแปซิฟิกทัง้ หมด ประเทศทเ่ี ป็นสมาชิกจะไดร้ บั ความชว่ ยเหลือในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คม สานกั งานตง้ั อยู่ท่ีกรุงเทพมหานคร ประเทศไทยขอ้ ตกลงท่วั ไปดว้ ยภาษีศลุ กากรและการค้า (General Agreement on Tariff sand Trade : GATT) ก่อต้ังเมื่อวนั ท่ี 30 ตุลาคม พ.ศ. 2409 มปี ระเทศสมาชิกเกอื บท่วั โลก ประเทศไทย เขา้ เปน็ สมาชกิ เม่ือวนั ที่ 20 พฤศจิกายน 2525 องค์กรนี้มีวตั ถุประสงคเ์ พื่อสง่ เสรมิ ระบบการคา้ เสรี แบะสง่ เสรมิ สัมพนั ธภาพ ทางการค้า และเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ โดยทุกประเทศสมาชิกต้อง ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของ GATT ประเทศไทยไดร้ ับ การส่งเสรมิ ด้านการขยายตัวทางการค้า ความเสยี เปรียบดา้ นการเจรจาการคา้ ระหวา่ งประเทศกบั มหาอานาจทาง เศรษฐกิจลดลงไปมาก ความสมั พนั ธร์ ะหว่างเศรษฐกจิ ของไทยกับกล่มุ เศรษฐกจิ โลกประเทศไทยเป็นประเทศทเี่ ป็นประเทศ สมาชิกในข้อตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียนซึง่ มีวัตถุประสงคข์ องการรวมกล่มุ คลา้ ยกบั การรวมกลมุ่ ของประเทศใน ภูมิภาคอ่ืนๆ คอื การยกเลิกกาแพงภาษีที่มรี ะหวา่ งประเทศสมาชิก และกาหนดมาตรการทางเศรษฐกิจอื่นๆร่วมกนั เชน่ การผลติ สินค้าบริการ การกาหนดอัตราภาษีศุลกากร ในขณะเดยี วกันก็สรา้ งกาแพงภาษีเพื่อสกัดสินคา้ ทมี าจากนอกเขต ในขณะเดยี วกันประเทศไทยก็สังกดั อย่ใู นกลุม่ “ข้อตกลงทั่วไปวา่ ด้วยภาษีศลุ กากรและสินค้า (General Agreement on Tariff andTrade : GATT) ซ่ึงเปน็ องค์กรทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการปฏิบตั ิทางการคา้ ของโลก ซง่ึ ประเทศไทยมีพนั ธะสัญญาท่จี ะตอ้ งปฏบิ ตั ิตามข้อตกลงเหล่านั้น เช่น การสง่ เรมิ การค้าแบบเสรกี ารลดอตั ราภาษี นาเขา้ การถือหลกั การที่ไมใ่ ห้มกี ารกีดกนั ทางการค้าแตกตา่ งกนั ตามประเทศคู่ค้า การคุ้มครองสิทธใิ นทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา เปน็ ตน้ ซง่ึ มขี ้อตกลงบางอย่างก็เปน็ สิง่ ท่ขี ดั กับการค้าภายในประเทศ เช่น การยอมรบั ในขอ้ ตกลงวา่ ด้วยการคุ้มครองสทิ ธิทางปญั ญา แตก่ ารประกอบธรุ กิจในประเทศไทยหลายประเภทมีลกั ษณะละเมดิ สทิ ธิทาง ปญั ญาเนอื่ งจากการทแ่ี ต่ละประเทศต่างรวมตัวกนั เป็นเขตเศรษฐกจิ ในลกั ษณะตา่ งๆ กนั ประกอบกจิ กรรมทาง เศรษฐกิจจะดาเนินการเฉพาะภายในกลมุ่ ในขณะเดยี วกันก็มนี โยบายกดี กนั สินค้าจากภายนอกกลมุ่ ทาให้เปน็ การ ยากทปี่ ระเทศไทยจะหาตลาดทางการคา้ ประเทศไทยจึงต้องดาเนนิ นโยบายทางการคา้ โดยการเจรจาทางการค้า กบั ประเทศคู่ค้าโดยตรงเพื่อรักษาตลาดทางการคา้ ในขณะเดยี วกันก็พยายามหาทางขยายตลาดไปสู่ภูมภิ าคทย่ี ังมี การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจที่ไมค่ อ่ ยเข้มแข็งนัก เช่น ตลาดยโุ รปตะวนั ออก

ใบความรู้ครง้ั ท่ี 9 วชิ าศาสนาและหน้าทพ่ี ลเมือง รหัสวิชา สค31002 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย เรือ่ ง หลักธรรมของศาสนาต่างๆ หลักธรรมของศาสนาตา่ ง ๆ ของโลก ศาสนามีความสาคญั ต่อการดาเนนิ ชวี ติ ของบคุ คลในสังคม เพราะศาสนาทุกศาสนามจี ดุ มุ่งหมายเพื่อให้ทา ความดลี ะเว้นความช่ัว ศาสนาจงึ มีอิทธพิ ลต่อคนในสังคม องค์ประกอบของศาสนา 1. ศาสดา คือ ผู้ก่อต้ังศาสนา 2. คมั ภีร์ คือ หลักคาสอนเกี่ยวกับศีลธรรมจรรยา 3. นักบวช คอื ผูส้ ืบทอดคาสอน 4. พธิ ีกรรม คือ การปฏบิ ัตใิ นการทาพธิ ที างศาสนา 5. ศาสนสถาน คือ สถานท่คี วรเคารพบชู าและใช้ประกอบพธิ ีทางศาสนา **ศาสนาอสิ ลาม ไมม่ ีนักบวช แต่มีศาสดา มีคัมภีร์ มีศาสนสถาน และพธิ ีกรรม นบั เปน็ ศาสนาเชน่ กัน** ความสา่ คญั ของศาสนา 1. เป็นพ้ืนฐานของกฎศีลธรรมของสังคม 2. เปน็ แหลง่ กาเนิดจรยิ ธรรม 3. เป็นแหลง่ ท่ีทาให้เกิดศิลปวฒั นธรรม และประเพณี 4. เปน็ กลไกของรัฐในการควบคุมสังคม 5. เป็นบรรทัดฐานของสงั คมท่ีใชใ้ นการปฏิบัติเพื่อใหเ้ ป็นไปในแนวเดียวกัน ประโยชนข์ องศาสนา 1. ช่วยใหส้ มาชิกของสงั คมสงบสขุ 2. ทาใหผ้ ู้นับถือเปน็ คนดี มศี ลี ธรรม 3. เปน็ บ่อเกดิ ของศลิ ปวัฒนธรรม 4. เปน็ ท่ีพึ่งทางจติ ใจของสมาชิกในสงั คม 5. เป็นแนวทางในการดาเนินชวี ติ เพอื่ ใหเ้ กิดความสขุ ศาสนาท่ีสา่ คญั ของโลก 1. ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู ศาสนาพราหมณ์ แหล่งกาเนิดในประเทศอินเดีย เป็นศาสนาดั้งเดิมของชนเผา่ อารยัน มีความเชอื่ เรือ่ งพระเจ้าหลาย องค์ โดยเฉพาะตรีมรู ติ (พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ) ต่อมาววิ ัฒนาการเป็นศาสนาฮินดู เทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์ – เทพเจ้าสงู สุด คือ พระปรมาตมัน – ความเชอื่ เกยี่ วกบั ตรีมูรติ คือ พระพรหม คอื ผู้สรา้ ง พระวษิ ณ(ุ พระนารายณ)์ คือ ผู้คุม้ ครองและพระอศิ วร

(พระศิวะ) คือ ผทู้ าลาย – คัมภีรพ์ ระเวท มีอยู่ 3 คมั ภีร์ ถอื ว่าเป็นคัมภีร์ที่เกา่ แก่ท่ีสุดในโลก ตอ่ มาเพ่ิมอาถรรพเวทเขา้ ไป ไดแ้ ก่ ฤคเวท (บทสวดสรรเสริญเทพเจ้า) ยชรุ เวท(คมู่ ือพราหมณใ์ นการทาพิธบี ชู ายญั ) สามเวท (ใช้สวดขบั กลอ่ มเทพเจ้า) อาถรรพเวท (เป็นมนต์คาถาทางไสยศาสตร)์ ศาสนาฮินดู ความเช่ือศาสนาฮินดูที่แตกต่างไปจากศาสนาพราหมณ์ ได้แก่ – เช่ือเร่ืองวญิ ญาณเปน็ อนนั ตะ คือเวยี นว่ายตายเกดิ ไม่สิ้นสดุ จนกว่าจะหลุดพ้นโมกษะ – ให้คนทเ่ี กิดในตระกูลพราหมณ์ กษัตรยิ ์ ไวศยะ ปฏบิ ตั ติ ามหลกั อาศรม 4 อยา่ งเครง่ ครัด – สันตสิ ุขจะเกดิ ขน้ึ ได้ต้องมพี ราหมณ์ คมั ภรี พ์ ระเวท วรรณะ 4 ไดแ้ ก่ วรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตรยิ ์ วรรณไวศ ยะ(แพทย)์ และวรรณะศทู ร นิกายในศาสนาฮินดู 1. นกิ ายพรหม นับถือพระพรหมเป็นเทพเจา้ สูงสุด 2. นิกายไวษณพ (ลทั ธอิ วตาร) นับถอื พระวษิ ณ 3. นกิ ายไศวะ นบั ถือพระศวิ ะ มีศิวลงึ ค์เปน็ สัญลักษณ์ 4. นกิ ายศากติ นับถือเทพเจ้าทีเ่ ป็นสตรี หลกั ธรรมของศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู 1. หลักธรรม 10 ประการ 1. ธฤติ คอื ความพอใจ 6. อินทรียนิครหะ คือ การสารวมอินทรยี ์(ร่างกาย) 2. กษมา คือ ความอดทน 7. ธี คอื ความรู้ (ปัญญา) 3. ทมะ คือ ความขม่ ใจ 8. วิทยา คือ ความรู้ (ปรชั ญา) 4. อสั เตยะ คือ การไมก่ ระทาเยยี่ งโจร 9. สัตยะ คือ ความซ่ือสตั ย์ 5. เศาจะ คอื ความบริสทุ ธ์ิ 10. อโกธะ คือ ความไม่โกรธ 2. หลักอาศรม 4 1. พรหมจารี คือ เปน็ วัยศกึ ษาเล่าเรียน 2. คฤหัสถ์ คอื เปน็ วยั ครองเรอื น 3. วานปรสั ถ์ คือ เปน็ วยั ออกไปอยปู่ ่า 4. สันยาสี คอื เปน็ วยั สุดท้ายของชวี ติ ออกบวชเป็นสนั ยาสี บาเพญ็ เพียรเพ่ือความหลุดพน้ 3. หลกั ปรมาตมัน และโมกษะ 1. หลักปรมาตมัน มคี วามเช่ือวา่ ปรมาตมนั หมายถงึ พลงั ธรรมชาติ เป็นอมตะไมม่ ีเบ้อื งต้นและส้ินสดุ สว่ น วิญญาณย่อยเรยี กว่า อาตมนั สามารถไปรวมกบั ปรมาตมันได้เมื่อบรรลโุ มกษะ 2. หลกั โมกษะ เปน็ หลกั ปฏบิ ัตเิ พือ่ หลดุ พน้ จากวฏั จกั รแหง่ ชวี ติ ด้วยการนาอาตมันของตนเขา้ สู่ปรมาตมนั 4. หลกั ปรชั ญาภควัทคีตา ได้แก่ 1. กรรมโยคะ การทาความดโี ดยไม่หวังผลตอบแทน

2. ชยานโยคะ การปฏิบัติเพอ่ื ให้เกดิ ปญั หา ความรู้แจง้ 3. ภกั ตโิ ยคะ ความรกั ความภกั ดีอทุ ิศตนต่อพระเจา้ เพ่อื นาไปสูก่ ารหลดุ พน้ 5. หลักทรรศนะหก ไดแ้ ก่ 1. สางขยะ ทรรศนะเก่ียวกบั ชวี ิต 2. โยคะ ทรรศนะเกยี่ วกับการปฏบิ ัติโดยสารวมอนิ ทรีย์ ทาจติ ใจใหบ้ รสิ ทุ ธ์ิ 3. นยายะ ทรรศนะเกี่ยวกบั ความรู้ 4. ไวเศษิกะ ทรรศนะเก่ียวกับสงิ่ ท่ีมอี ยู่จริงช่วั นิรนั ดร 9 อย่าง คือ ดนิ นา้ ลม ไฟ อากาศ กาละเทศะ อาตมัน มนะ 5. มางสา ทรรศนะเก่ยี วกับปรัชญานา่ เช่อื ถือ 6. เวทานตะ ทรรศนะเกี่ยวกับอปุ นษิ ัท (อปุ นษิ ัท คือ คัมภรี ใ์ นส่วนสุดท้ายของพระเวท เป็นคมั ภีร์ทเ่ี ป็นหลักปรัชญาลกึ ซึง้ ) พิธีกรรมท่ีส่าคัญของศาสนาพราหมณ์ – ฮนิ ดู 1. พธิ ีศราทธ์ คือ พธิ ีทาบญุ ให้แกญ่ าติผู้ลว่ งลับไปแล้ว 2. พธิ ีประจาบ้าน ได้แก่ – พธิ อี ปุ นยนั คือ พธิ เี รม่ิ การศึกษา ถ้าเปน็ หญิงยกเวน้ – พธิ ีวิวาหะ คือ พิธแี ต่งงาน 3. ข้อปฏิบตั เิ กย่ี วกับวรรณะ คือ พราหมณ์ กษตั รยิ ์ แพทศย์ ศทู รแต่ละวรรณะมกี ารดาเนินชีวิตทตี่ า่ งกันจึง ตอ้ งปฏบิ ัตติ ามวรรณะของตน เชน่ การแต่งงาน การแต่งกาย เปน็ ตน้ 4. พิธีบชู าเทพเจ้า แต่ละวรรณะจะมีการปฏบิ ัติต่างกันในเทศกาลต่าง ๆ เช่น งานศิวะราตรี (พิธลี อยบาป) งานบชู าเจา้ แม่ลกั ษมี (เทวีแหง่ สมบตั ิและความงาม) เป็นต้น 2. ศาสนาพุทธ ศาสนาพทุ ธมีถิน่ กาเนดิ ในประเทศอินเดีย ประเภทอเทวนิยม (ไมน่ บั ถอื พระเจ้า) มีพระพุทธเจ้าเป็น ศาสดา คัมภรี ข์ องศาสนาพุทธ คอื พระไตรปิฎก หมายถงึ ตาราท่บี ันทึกคาสอนของพระพุทธเจ้า แบ่งออกเป็น 3 คมั ภีร์ คือ 1. พระวินัยปิฎก ว่าดว้ ยศลี หรอื วนิ ยั ของภิกษุ ภกิ ษุณี อุบาสก อุบาสกิ า 2. พระสตุ ตันตปฎิ ก (พระสูตร) ว่าด้วยคาสอนของพระพุทธเจา้ และสาวก รวมทัง้ ชาดกต่าง ๆ 3. พระอภธิ รรมปฎิ ก วา่ ดว้ ยหลกั ธรรมล้วน นิกายสา่ คัญของศาสนาพุทธ 1. นกิ ายเถรวาท หรือหีนยาน ปฏบิ ตั ิตามคาสอนของพระพุทธเจ้าอย่างเคร่งครดั ไมม่ ีการเปลย่ี นแปลงพระ ธรรมวนิ ยั ประเทศทีน่ ับถือ ได้แก่ ไทย พม่า ศรลี ังกา ลาว กัมพชู า 2. นกิ ายอาจรยิ วาท หรอื มหายาน ดดั แปลงพระธรรมวนิ ัยได้ ประเทศทน่ี บั ถือ ได้แก่ จนี ทเิ บต ญ่ีปุ่น เวยี ดนาม เกาหลี หลกั ค่าสอนของศาสนาพทุ ธ 1. อริยสจั 4 คือ ความจรงิ อันประเสรฐิ 4 ประการ คือ – ทกุ ข์ คือ ความไม่สบายกายไม่สบายใจ

– สมุทยั คอื เหตุของความเปน็ ทุกข์ ไดแ้ ก่ ตณั หา – นิโรธ คือ ความดับทุกข์ หรือนิพพาน – มรรค คือ ขอ้ ปฏบิ ตั เิ พ่อื นาไปส่คู วามดับทกุ ข์ หมายถึง อรยิ มรรค 8 ประกอบด้วย 1. สัมมาทิฐิ คือ ความเห็นชอบ 2. สัมมาสังกปั ปะ คือ ความดาริชอบ 3. สมั มาวาจา คือ การเจรจาชอบ 4. สมั มากมั มันตะ คือ การกระทาชอบ 5. สัมมาอาชีวะ คอื การเล้ยี งชีพชอบ 6. สมั มาวายามะ คือ ความพยายามชอบ 7. สัมมาสติ คือ การต้ังสตชิ อบ 8. สมั มาสมาธิ คอื การตั้งใจชอบ อรยิ มรรค 8 เมอื่ สรุปรวมแล้วเรยี กวา่ ไตรสิกขา อันได้แก่ ศีล สมาธิ ปญั ญา 2. ขันธ์ 5 หรอื เบญจขนั ธ์ หมายถงึ องคป์ ระกอบของชวี ิตมนษุ ย์ คือ ส่วนท่เี ป็นรา่ งกาย และส่วนทเ่ี ปน็ จติ ใจ ไดแ้ ก่ 1. รปู ขันธ์ คอื ร่างกายและพฤติกรรมตา่ ง ๆ ประกอบด้วยธาตุ 4 คือ ดิน นา้ ลม ไฟ 2. วิญญาณขันธ์ คือ ความรูอ้ ารมณ์ทผ่ี า่ นมาทางตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ 3. เวทนาขันธ์ คือ ความรูส้ กึ ซ่ึงเป็นผลมาจากสุขเวทนา ความสุขทางกายและใจ , ทุกขเวทนา คอื ทุกขท์ างกายและใจ ,อเุ บกขาเวทนา คือ ความไม่ทุกข์ไมส่ ุขทางกายและใจ 4. สัญญาขนั ธ์ คือ การกาหนดได้ 6 อย่างจากวญิ ญาณและเวทนา คอื รูป รส กล่นิ เสียง 5. สังขารขนั ธ์ คือ ความคิด แรงจูงใจ สภาพที่ปรงุ แต่งจติ ใจใหค้ ิดดี คิดชั่ว เปน็ ผลมาจากวญิ ญาณและ เวทนา 3. ไตรลกั ษณ์ หมายถึง ลกั ษณะท่ัวไปของสงิ่ ท้งั หลายทง้ั ปวงในโลก ไดแ้ ก่ 1. อนจิ จตา คือ ความไม่เที่ยง 2. ทกุ ขตา คือ ความเปน็ ทกุ ข์ 3. อนัตตา คือ ความไมใ่ ชต่ วั ตน 3. ศาสนาคริสต์ ศาสนาคริสตก์ าเนิดในดินแดนปาเลสไตน์ หรืออิสราเอลในปัจจุบนั ศาสดาคือพระเยซู ซงึ่ เป็นบตุ รของโย เซพและมาเรีย เป็นศาสนาท่ีมีผู้นบั ถือมากทสี่ ดุ ววิ ัฒนาการมาจากศาสนายดู าย จงึ มีพระเจ้าหรอื ทเ่ี รียกวา่ พระยะ โฮวาห์ คมั ภีร์ของศาสนาคริสต์ คือ คมั ภีร์ไบเบลิ ซ่ึงแบ่งออกเป็น 2 สว่ น คอื – พระคัมภีร์เกา่ มสี าระเกี่ยวกบั พระเจ้าสรา้ งโลก ซง่ึ ประกอบดว้ ย บทเพลง บทสวด และสภุ าษิต – พระคัมภีรใ์ หม่ เป็นคมั ภีร์ทม่ี ีสาระเกี่ยวกับประวัตแิ ละคาสอนของพระเยซู การเผยแผศ่ าสนาของ สาวก จดหมายเหตุ และวิวรณ์ บน้ั ปลายชีวิตของมนุษยชาติ นิกายที่ส่าคญั ของศาสนาคริสต์ 1. นกิ ายโรมนั คาทอลิก เปน็ นิกายทีน่ บั ถอื และปฏบิ ตั ิตามคาสอนของพระเยซู มีพิธีกรรมทเ่ี คร่งครัด มี สนั ตะปาปาเปน็ ผูน้ าศาสนาสงู สดุ ประเทศที่นบั ถือ ได้แก่ ฝร่ังเศส อติ าลี เยอรมนี สเปน โปรตุเกส ฟิลปิ ปินส์ ผูท้ ่ี นับถอื เรยี กตนเองวา่ ครสิ ตัง 2. นิกายออรโ์ ธดอกซ์ เป็นนกิ ายท่ีแยกจากนิกายโรมันคาทอลิก ดว้ ยเหตผุ ลทางการเมอื งและวัฒนธรรม

ประเทศท่นี ับถือ ได้แก่ กรีซ โรมาเนีย บัลแกเรยี สหภาพโซเวียต และประเทศในยโุ รปตะวันออกบางประเทศ 3. นิกายโปรแตสแตนต์ เปน็ นกิ ายทแ่ี ยกมาจากนกิ ายโรมันคาทอลิก ผ้กุ ่อตง้ั คือ มาติน ลูเธอร์ พิธีกรรมที่สาคัญคือ ศลี ลา้ งบาป และศีลมหาสนิท ผ้ทู ี่นบั ถือนกิ ายนี้เรยี กวา่ คริสเตยี น หลักค่าสอนของศาสนาคริสต์ 1. หลกั คาสอน เร่ืองตรเี อกานุภาพ คือ การนับถือพระเจ้าองค์เดียว แบ่งเป็น 3 ภาค คอื – พระบิดา หมายถึง พระเจ้า – พระบุตร หมายถึง พระเยซู – พระจติ หมายถงึ วญิ ญาณบรสิ ทุ ธ์ใิ นจติ ใจของชาวครสิ ต์ทม่ี ศี รัทธา 2. หลกั คาสอนเร่ืองความรกั ศาสนาคริสตเ์ ป็นศาสนาทีไ่ ด้ช่ือวา่ เปน็ ศาสนาแห่งความรกั สอนใหร้ ักพระ เจ้า รกั เพอ่ื นมนุษยเ์ หมอื นรักตวั เอง 3. คาสอนเร่ืองบัญญัติ 10 ประการ ได้แก่ – จงนับถอื พระเจ้าองค์เดยี ว คือ พระยะโฮวาห์ – อย่าออกนามพระเจ้าโดยไม่สมเหตุ ุ – ถอื วันพระเจ้าเปน็ วนั ศักดส์ิ ิทธิ์ – จงนบั ถอื บิดามารดา – อย่าฆา่ คน – อยา่ ผิดประเวณี – อยา่ ลักทรพั ย์ – อย่าใสค่ วามนินทาว่าร้ายผู้อ่นื – อยา่ คิดมิชอบ – อยา่ โลภในสง่ิ ของผ้อู ่ืน 4. อาณาจกั รพระเจ้า หมายถงึ อาณาจกั รแห่งจิตใจที่มีพระเจ้าเปน็ เปา้ หมาย พธิ กี รรมที่ส่าคญั ของครสิ ต์ศาสนา 1. พิธีศลี จ่มุ กระทาแก่ทารกเมื่อเร่มิ เข้าเปน็ ครสิ ตศ์ าสนกิ ชน โดยใช้น้าศกั ดส์ิ ิทธ์ิเทลงบนศีรษะเพ่ือลา้ งบาป 2. พิธศี ีลลา้ งบาป เปน็ การยืนยนั ว่าตนยอมรับนับถือศาสนาครสิ ตจ์ รงิ 3. พธิ ศี ลี มหาสนิท เป็นการรับประทานขนมปงั และดืม่ เหลา้ องุน่ เพ่ือระลกึ ถึงเพราะเจา้ ทีท่ รงสละพระวรกายเพอื่ มนษุ ยจ์ ะไดห้ ลดุ พ้นจากบาป 4. พธิ ศี ลี สมรส กระทาแก่คู่บา่ วสาวกอ่ นการจดทะเบียนสมรส 5. พิธสี ารภาพบาป ต้องไปกระทาตอ่ หนา้ บาทหลวงเพื่อสารภาพบาป 6. พิธเี จิมคร้ังสุดทา้ ย กระทาแกผ่ ู้ป่วย 7. พธิ เี ขา้ บวช เปน็ การบวชบุคคลเปน็ บาทหลวงในคริสตศ์ าสนา 4.ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาอสิ ลามกาเนดิ ท่ีนครมกั กะห์ ประเทศซาอดุ ิอาระเบยี นบั ถือพระเจา้ องค์เดยี ว คอื พระอลั เลาะห์ ศาสดาของศาสนาคอื พระนบมี ุฮัมหมดั ผ้ทู ีน่ ับถือศาสนาอิสลามเรียกตนเองวา่ มุสลิม

คัมภรี ข์ องศาสนาอสิ ลาม ศาสนาอสิ ลามมคี ัมภีร์อัลกรุ อานเป็นคัมภรี ท์ ี่พระผูเ้ ปน็ เจ้าประทานให้แก่มนุษย์ นกิ ายทีส่ ่าคัญของศาสนาอสิ ลาม 1. นกิ ายซุนนี จะปฏบิ ัติเครง่ ครัดในคมั ภรี ์อลั กุรอานและคาสอนของศาสดาท่ีสุด ใชห้ มวกสีขาวเปน็ เคร่อื งหมาย 2. นิกายชอี ะห์ ยกย่องอาลี ใช้หมวกสแี ดงเปน็ เคร่ืองหมาย 3. นกิ ายวาฮะบีห์ นบั ถือพระอัลเลาะหเ์ พยี งองคเ์ ดียว ไมม่ ีพธิ ีกรรมใด ๆ นอกเหนอื จากพระคัมภรี ์ หลักค่าสอนของศาสนาอิสลาม 1. หลักศรทั ธา 6 ประการ – ศรัทธาในพระอัลเลาะหเ์ พยี งองค์เดยี ว – ศรทั ธาในบรรดามลาอีกะห์ คือ เทวทูต – ศรัทธาในพระคมั ภีร์ – ศรทั ธาในบรรดาศาสนทูต – ศรทั ธาในวันพิพากษา – ศรทั ธาในกฎกาหนดสภาวการณ์ 2. หลกั ปฏิบตั ิ 5 ประการ 1. การปฏญิ าณตน ยอมรับว่าพระอลั เลาะห์เปน็ พระเจ้าองคเ์ ดียว 2. การละหมาด หรือ นมาซ วนั ละ 5 ครัง้ 3. การถือศลี อด หรือ อัศศยิ าม หมายถงึ การละหรืองดเวน้ บรโิ ภคอาหาร 4. การบริจาคซะกาต หมายถงึ การบรจิ าคทานหรือบรจิ าคทรพั ย์ท่ีได้มาดว้ ยความสจุ รติ แกผ่ ้ทู ค่ี วรรับซะ กาต 5. การประกอบพธิ ฮี จั ญ์ ณ วิหารกะบะห์ ทีเ่ มืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบยี ***ความสอดคล้องของหลักค่าสอนทัง้ 4 ศาสนา ***ได้แก่ 1. การทาความดี ละเวน้ ความช่วั 2. การแสดงความรกั ความเมตตา และเสยี สละ 3. การเสียสละเพื่อเพ่อื นมนษุ ย์ 4. การพัฒนาตนเองใหด้ ีข้นึ ขยันหมน่ั เพยี ร 5. สอนให้อยรู่ ่วมกนั อยา่ งสงบสขุ ไม่เบียดเบยี นกัน

ใบความรู้ครัง้ ที่ 10 วชิ าศาสนาและหน้าที่พลเมือง รหัสวชิ า สค31002 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย เร่อื ง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 เป็นรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย ฉบบั ที่ 20 ซง่ึ จดั ร่างโดยคณะกรรมการร่างรฐั ธรรมนูญ ในระหว่าง พ.ศ. 2557–2560 ภายหลงั การรัฐประหารในประเทศ โดยคณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ เมือ่ วนั ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 โดยรัฐธรรมนญู ฉบบั นี้ พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกล้าเจ้าอยหู่ ัว ทรงลงพระปรมาภิไธยเมื่อวันท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2560 ณ พระท่นี ่ังอนันตสมาคม พระราชวัง ดุสิต กรุงเทพมหานคร และมีพลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรฐั มนตรี เป็นผรู้ ับสนองพระราชโองการ สบื เนือ่ งจากรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 และการยกเลกิ รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย ฉบับท่ีผา่ นมา ทาใหม้ กี ารรา่ งรัฐธรรมนญู ฉบับใหม่ โดยเม่อื วนั ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 ไดม้ กี ารตั้ง คณะกรรมาธกิ ารร่างรฐั ธรรมนูญชดุ แรก จานวน 36 คน ซงึ่ สมาชกิ มาจากการแตง่ ตง้ั ทั้งหมด มีบวรศกั ด์ิ อวุ รรณ โณ เป็นประธาน[1] แตใ่ นวนั ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2558 สภาปฏิรปู แหง่ ชาติ มีมตไิ มร่ บั รา่ งรฐั ธรรมนูญของ คณะกรรมาธกิ ารฯ[2] ทาให้มีการตง้ั คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญขน้ึ ใหม่ จานวน 21 คน เม่ือวนั ที่ 5 ตลุ าคม พ.ศ. 2558 และมีมชี ัย ฤชพุ ันธุ์ เป็นประธาน[3] โดยนับเป็นรัฐธรรมนญู ฉบับที่ 2 ท่ีผา่ นการออกเสียงประชามติ ตอ่ จากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2550 โดยได้รับเสียงเห็นชอบท่วมทน้ ถงึ 16.8 ลา้ นเสยี ง ต่อเสียงคัดค้าน 10.5 ล้านเสยี ง[4] ประวตั ิรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย[1] สมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ตราไว้ ณ วันท่ี ๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๖๐ เปน็ ปีท่ี ๒ ในรชั กาลปัจจบุ นั ศุภมัสดุ พระพทุ ธศาสนกาลเป็นอดตี ภาค ๒๕๖๐ พรรษา ปจั จุบันสมยั จันทรคตนิ ยิ ม กุกกฏุ สมพตั สร จิตร มาส ชณุ หปกั ษ์ ทสมีดิถิ สรุ ยิ คตกิ าล เมษายนมาส ฉัฏฐสรุ ทิน ครวุ าร โดยกาลบรเิ ฉท สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมให้ ประกาศว่า นายกรฐั มนตรไี ด้นาความกราบบังคมทลู วา่ นับแต่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธปิ ก พระปกเกล้าเจา้ อย่หู วั ได้ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมพระราชทานรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักร สยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕ เป็นตน้ มา การปกครองของประเทศไทยไดด้ ารงเจตนารมณ์ยึดม่นั ในระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ ทรงเป็นประมุขต่อเน่ืองมาโดยตลอด แม้ได้มกี ารยกเลกิ แก้ไขเพิ่มเติม และ ประกาศใช้รัฐธรรมนญู เพ่ือจดั ระเบยี บการปกครองใหเ้ หมาะสมหลายครั้ง แต่การปกครองกม็ ิได้มเี สถยี รภาพหรอื ราบรื่นเรียบรอ้ ยเพราะยังคงประสบปัญหาและข้อขัดแย้งต่าง ๆ บางคร้งั เปน็ วกิ ฤติทางรัฐธรรมนูญท่ีหาทางออก ไมไ่ ด้ เหตสุ ว่ นหนึ่งเกดิ จากการท่มี ีผู้ไมน่ าพาหรือไม่นบั ถือยาเกรงกฎเกณฑ์การปกครองบ้านเมอื ง ทุจริตฉอ้ ฉลหรือ บดิ เบือนอานาจ หรือขาดความตระหนักสานึกรบั ผิดชอบต่อประเทศชาตแิ ละประชาชน จนทาใหก้ ารบังคบั ใช้ กฎหมายไมเ่ ป็นผล ซ่ึงจาต้องป้องกันและแก้ไขดว้ ยการปฏิรูปการศึกษาและการบังคับใช้กฎหมาย และเสริมสร้าง

ความเขม้ แข็งของระบบคุณธรรมและจรยิ ธรรมแตเ่ หตุอกี สว่ นหน่งึ เกิดจากกฎเกณฑ์การเมืองการปกครองท่ียังไม่ เหมาะสมแกส่ ภาวการณบ์ ้านเมอื งและกาลสมยั ให้ความสาคญั แก่รูปแบบและวิธีการยิ่งกว่าหลกั การพน้ื ฐานใน ระบอบประชาธปิ ไตยหรือไม่อาจนากฎเกณฑท์ ม่ี ีอยู่มาใช้แก่พฤติกรรมของบคุ คลและสถานการณ์ในยามวิกฤติที่มี รปู แบบและวธิ กี ารแตกตา่ งไปจากเดมิ ให้ไดผ้ ล รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบบั ชวั่ คราว) พุทธศกั ราช ๒๕๕๗ แก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบับท่ี ๑) พุทธศักราช ๒๕๕๘ จึงได้บัญญัตใิ ห้มคี ณะกรรมการร่างรฐั ธรรมนญู มีหนา้ ท่รี ่างรัฐธรรมนูญเพ่อื ใช้เปน็ หลักในการ ปกครอง และเป็นแนวทางในการจัดทากฎหมายประกอบรัฐธรรมนญู และกฎหมายอนื่ โดยไดก้ าหนดกลไกเพ่ือจัด ระเบยี บและสรา้ งความเข้มแข็งแก่การปกครองประเทศข้ึนใหม่ด้วยการจดั โครงสรา้ งของหน้าทีแ่ ละอานาจของ องค์กรต่าง ๆ ตามรัฐธรรมนูญ และสัมพนั ธภาพระหวา่ งฝ่ายนติ บิ ญั ญัตกิ บั ฝ่ายบรหิ ารให้เหมาะสม การใหส้ ถาบนั ศาลและองค์กรอิสระอน่ื ซ่ึงมีหนา้ ที่ตรวจสอบการใช้อานาจรฐั สามารถปฏบิ ัติหน้าทไี่ ด้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ สจุ ริต เทย่ี งธรรมและมีสว่ นในการป้องกนั หรือแก้ไขวิกฤติของประเทศตามความจาเป็นและความเหมาะสม การรับรอง ปกปอ้ ง และคุ้มครองสทิ ธิเสรภี าพของปวงชนชาวไทยให้ชดั เจนและครอบคลุมอย่างกว้างขวางยิ่งขน้ึ โดยถือว่าการ มสี ทิ ธิเสรภี าพเป็นหลกั การจากัดตัดสิทธเิ สรีภาพเป็นข้อยกเว้น แตก่ ารใชส้ ิทธเิ สรภี าพดงั กล่าวตอ้ งอย่ภู ายใต้ กฎเกณฑเ์ พื่อคุ้มครองสว่ นรวม การกาหนดใหร้ ฐั มีหน้าท่ตี ่อประชาชนเช่นเดยี วกับการให้ประชาชนมีหน้าทีต่ ่อรฐั การวางกลไกปอ้ งกัน ตรวจสอบ และขจดั การทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบท่เี ข้มงวด เด็ดขาดเพื่อมิใหผ้ บู้ ริหารที่ ปราศจากคุณธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภิบาลเขา้ มามีอานาจในการปกครองบา้ นเมืองหรือใชอ้ านาจตาม อาเภอใจ และการกาหนดมาตรการป้องกนั และบรหิ ารจัดการวิกฤติการณ์ของประเทศใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพยิง่ ขน้ึ ตลอดจนได้กาหนดกลไกอน่ื ๆ ตามแนวทางท่ีรัฐธรรมนญู ฉบบั ชั่วคราว พุทธศักราช ๒๕๕๗ ระบุไว้ เพื่อใช้เปน็ กรอบในการพัฒนาประเทศตามแนวนโยบายแห่งรัฐและยุทธศาสตร์ชาตซิ ง่ึ ผเู้ ขา้ มาบริหารประเทศแตล่ ะคณะจะได้ กาหนดนโยบายและวิธีดาเนนิ การทเี่ หมาะสมต่อไป ทง้ั ยังสรา้ งกลไกในการปฏิรูปประเทศในดา้ นตา่ ง ๆ ท่ีสาคญั และจาเปน็ อย่างรว่ มมือรว่ มใจกนั รวมตลอดท้งั การลดเงื่อนไขความขดั แย้งเพ่ือให้ประเทศมคี วามสงบสขุ บน พ้นื ฐานของความร้รู ักสามัคคีปรองดอง การจะดาเนินการในเรื่องเหล่านใ้ี ห้ลุลว่ งไปไดจ้ าตอ้ งอาศยั ความรว่ มมือ ระหว่างประชาชนทกุ ภาคส่วนกับหน่วยงานท้งั หลายของรัฐตามแนวทางประชารฐั ภายใตก้ ฎเกณฑ์ตามหลักการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยและประเพณีการปกครองทเ่ี หมาะสมกบั สถานการณ์และลักษณะสังคมไทย หลัก ความสจุ ริต หลักสทิ ธมิ นษุ ยชน และหลักธรรมาภิบาล อันจะทาให้สามารถขับเคลือ่ นประเทศให้พัฒนาไปขา้ งหนา้ ได้อย่างเปน็ ข้ันตอนจนเกิดความม่นั คง มง่ั คั่งและย่ังยนื ทั้งในทางการเมอื งการปกครอง เศรษฐกจิ และสังคมตาม ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ในการดาเนนิ การดังกล่าว คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญได้สร้างความรบั รู้ความเขา้ ใจแก่ประชาชนใน หลกั การและเหตุผลของบทบัญญตั ิตา่ ง ๆ เปน็ ระยะ ๆ เปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนเข้าถึงร่างรัฐธรรมนูญและ ความหมายโดยผา่ นทางสื่อต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง และให้ประชาชนมสี ่วนร่วมในการพัฒนาสารัตถะของร่าง รฐั ธรรมนูญด้วยการเสนอแนะขอ้ ควรแก้ไขเพ่ิมเตมิ เมอื่ การจัดทารา่ งรฐั ธรรมนูญแล้วเสร็จ กไ็ ด้เผยแพร่ร่าง รฐั ธรรมนูญและคาอธบิ ายสาระสาคัญของรา่ งรฐั ธรรมนญู โดยสรปุ ในลกั ษณะท่ีประชาชนสามารถเขา้ ใจเนอื้ หา สาคัญของร่างรฐั ธรรมนญู ได้โดยสะดวกและเป็นการท่วั ไป และจัดให้มีการออกเสยี งประชามตเิ พื่อให้ความ เห็นชอบแกร่ ่างรัฐธรรมนญู ท้ังฉบับ การออกเสียงลงประชามติปรากฏผลวา่ ประชาชนผู้มีสทิ ธิออกเสยี งประชามติ โดยคะแนนเสยี งข้างมากของผมู้ าออกเสยี งประชามตเิ ห็นชอบกบั ร่างรัฐธรรมนูญและประเดน็ เพ่ิมเตมิ ดังกล่าว คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนญู จึงดาเนนิ การแกไ้ ขร่างรัฐธรรมนญู ในส่วนที่เกีย่ วข้องให้สอดคล้องกับผลการออก เสียงประชามติในประเดน็ เพิ่มเติม และไดส้ ง่ ให้ศาลรัฐธรรมนญู ว่าเป็นการชอบดว้ ยผลการออกเสยี งประชามตแิ ล้ว หรือไม่ ซ่ึงตอ่ มาศาลรฐั ธรรมนูญได้วินิจฉัยให้คณะกรรมการรา่ งรฐั ธรรมนูญแก้ไขเพ่ิมเตมิ ในขอ้ ความบางสว่ น และ คณะกรรมการรา่ งรฐั ธรรมนญู ได้ดาเนินการแก้ไขตามคาวนิ ิจฉัยของศาลรฐั ธรรมนญู แลว้ นายกรัฐมนตรจี ึงนารา่ ง รัฐธรรมนูญข้ึนทูลเกล้าทูลกระหมอ่ มถวาย ต่อมารฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชัว่ คราว) พุทธศักราช

๒๕๕๗ แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ บญั ญตั ใิ หน้ ายกรฐั มนตรีขอรบั พระราชทานร่างรฐั ธรรมนญู น้นั คนื มาแกไ้ ขเพ่ิมเติมเฉพาะบางประเดน็ ได้ เมื่อดาเนนิ การแล้วเสรจ็ นายกรัฐมนตรจี ึงนารา่ งรัฐธรรมนญู นั้นขน้ึ ทลู เกลา้ ทลู กระหม่อมถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภไิ ธย ประกาศใชเ้ ปน็ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยสบื ไป ทรงพระราชดารวิ า่ สมควรพระราชทานพระราชานุมัติ จงึ มพี ระราชโองการดารัสเหนือเกล้าเหนือกระหม่อมใหต้ รารฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยฉบบั น้ีขึ้นไว้ ให้ใช้แทนรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ซ่ึงไดต้ ราไว้ ณ วันท่ี ๒๒ กรกฎาคม พทุ ธศักราช ๒๕๕๗ ต้งั แตว่ ันประกาศนเี้ ปน็ ตน้ ไป ขอปวงชนชาวไทย จงมีความสมัครสโมสรเป็นเอกฉันท์ ในอันที่จะปฏบิ ตั ติ ามและพิทกั ษ์รักษารัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยนี้ เพื่อธารงคงไวซ้ งึ่ ระบอบประชาธิปไตยและอานาจอธปิ ไตยของปวงชนชาวไทย และนามา ซ่ึงความผาสุกสริ สิ วสั ดพ์ิ ิพัฒนชัยมงคล อเนกศภุ ผลสกลเกยี รตยิ ศสถาพรแก่อาณาประชาราษฎรทว่ั สยามรัฐสีมา สมดง่ั พระบรมราชปณธิ านปรารถนาทกุ ประการ เทอญ หมวด ๑ บทท่ัวไป หมวด ๒ พระมหากษตั รยิ ์ หมวด ๓ สทิ ธิและเสรภี าพของปวงชนชาวไทย หมวด ๔ หนา้ ท่ขี องปวงชนชาวไทย หมวด ๕ หน้าท่ขี องรฐั หมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ หมวด ๗ รัฐสภา หมวด ๘ คณะรัฐมนตรี หมวด ๙ การขัดกันแห่งผลประโยชน์ หมวด ๑๐ ศาล หมวด ๑๑ ศาลรฐั ธรรมนญู หมวด ๑๒ องคก์ รอสิ ระ หมวด ๑๓ องค์กรอัยการ หมวด ๑๔ การปกครองสว่ นท้องถิน่ หมวด ๑๕ การแกไ้ ขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญ หมวด ๑๖ การปฏิรปู ประเทศ บทเฉพาะกาล ผรู้ ับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี

ใบความรู้ครง้ั ที่ 11 วิชาการพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม รหัสวิชา สค31003 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย เร่ือง ข้อมลู ด้านต่างๆ ส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ***************************************************************************************************************************** *** ข้อมลู (data) หมายถึง รายละเอียด ข้อเท็จจริง ในการเกบ็ รวบรวมตามจดุ มุ่งหมายท่กี าหนดไว้ เป็นสิ่งที่ จะนามาเป็นหลักฐานเพื่อใช้บรรยายประเด็นต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับส่ิงที่เราต้องการศึกษาหรือต้องการทราบ ชนิด ของขอ้ มูล แบง่ ตามแหล่งท่ีมาของขอ้ มูลไดเ้ ปน็ 2 ชนดิ คือ 1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) คือ ข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมมาจากแหล่งข้อมูลข้ันต้นที่ได้มาจาก แหล่งข้อมูลโดยตรง เป็นข้อมูลที่ลงมือเก็บคร้ังแรกด้วยตนเอง หรือจากบุคคลใดบุคคลหนึ่ง แล้วนาเอาข้อมูล เหล่านั้นใช้เป็นเอกสารอ้างอิง เมื่อต้องการข้อมูลเหล่านี้ก็จะไปทาการวัดหรือสังเกตเอามาโดยตรง ได้มาจากการ สารวจ การสัมภาษณ์ การทดลอง และการส่งแบบสอบถามไปให้กรอก เป็นต้น ข้อมูลที่ได้จะมีความถูกต้องและ ทนั สมยั เปน็ ปจั จุบนั มากกวา่ ข้อมูลทตุ ยิ ภูมิ 2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) คือ ข้อมูลท่ีได้จากแหล่งท่ีรวบรวมข้อมูลไว้แล้ว ท่ีมีผู้หน่ึงผู้ใด หรอื หนว่ ยงานไดท้ าการเก็บรวบรวมหรือเรยี บเรียงไวเ้ รียบรอ้ ยแลว้ เชน่ ขอ้ มูลทางสถิติต่างๆ ที่มีการบันทึกไว้แล้ว ข้อมูลจากรายงานการวิจัย บันทึกการนิเทศ เป็นต้น แล้วสามารถนาข้อมูลเหล่านั้นมาใช้อ้างอิงได้เลย ข้อมูลท่ีได้ อาจมกี ารเปล่ยี นแปลง หรอื มขี อ้ เทจ็ จรงิ ที่คลาดเคลอ่ื นไปจากความเป็นจรงิ ได้ การท่ีจะตัดสินใจว่าข้อมูลไหนเป็นข้อมูลปฐมภูมิหรือข้อมูลทุติยภูมิน้ัน มีหลักสังเกตง่ายๆ คือ ถ้าเป็น ขอ้ มูลปฐมภูมิจะต้องเป็นขอ้ มูลท่ผี ู้เขยี นหรอื ผปู้ ระเมินผลได้พบเหตุการณต์ ่างๆ หรือลงมือสารวจศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง หรอื เป็นการแสดงความคิดเห็นเริ่มแรกด้วยตนเอง มิได้คัดลอกมาจากผู้อ่ืน แต่ถ้าเป็นข้อมูลท่ีได้คัดลอกมา จากบุคคลอ่นื ๆ แลว้ นามาเรยี บเรียงใหม่ ถอื วา่ เปน็ ข้อมลู ทตุ ยิ ภูมิ ลกั ษณะขอ้ มลู จา่ แนกได้เป็น 2 ประเภท คอื 1. ขอ้ มูลเชิงปรมิ าณ (quantitative data) เปน็ ขอ้ มูลท่ีบอกเป็นตวั เลขหรือปริมาณท่ีมีอยู่จริงของตัวแปร แต่ละตวั ทีก่ าลงั สนใจศึกษาอยู่ เชน่ จานวนเกษตรกร รายไดข้ องเกษตรกร พน้ื ที่ปลูกหมอ่ น เปน็ ต้น 2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ (qualitative data) เป็นข้อมูลไม่สามารถบอกเป็นตัวเลขได้ แต่จะบอกในลักษณะ คาพูดหรือบรรยายที่แสดงคุณลักษณะท่ีแตกต่างของตัวแปรต่างๆ โดยพยายามแยกเป็นกลุ่มตามคุณสมบัติ เช่น อาชพี เพศ ศาสนา พันธห์ุ มอ่ นทป่ี ลกู พันธุ์ไหมทเี่ ล้ยี ง การใช้ปยุ๋ เป็นตน้ ลักษณะของข้อมลู ท่ีดี ตอ้ งมีคุณลักษณะดงั ต่อไปนี้ 1. มคี วามถูกต้อง แม่นยา สามารถให้ข้อเทจ็ จรงิ ท่ปี ราศจากความลาเอยี งหรืออคติ 2. มคี วามเป็นปจั จบุ ัน ทันสมยั อยู่เสมอ 3. มีความสมบรู ณ์ครบถว้ น สามารถให้ข้อเทจ็ จริงที่ครบถ้วนทุกดา้ นตามประเดน็ ทตี่ ้องการ 4. มีความชดั เจน กะทัดรดั ไมเ่ ย่ินเย่อ หรือมีรายละเอยี ดมากจนเกนิ ไป 5. มีความสอดคล้องกับความตอ้ งการของผู้ใช้และอยู่ในขอบเขตของความต้องการทจ่ี ะศึกษา การวิเคราะหข์ อ้ มูล (Analysis) เป็นการจัดระเบียบแยกแยะสว่ นต่าง ๆ ของหลักฐาน หรอื ข้อมูลที่ได้ ออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อหาคาตอบตามความมุ่งหมาย และตามสมมติฐานท่ีได้กาหนดไว้ การวิเคราะห์ขอ้ มูลนีเ้ ป็น ขนั้ การทางานที่ต่อเน่ืองมาจากการวดั การนับ และจัดเรยี งลาดับขอ้ มูล ส่วนใหญ่เปน็ เรือ่ งเก่ียวกบั การนาเอา วิธกี ารทางสถิติมาวเิ คราะห์หาค่าตวั แปรหรือหาลักษณะของตวั แปร ผูว้ ิจัยจะตอ้ งวางแผนและเตรียมการณ์ ลว่ งหน้าตง้ั แตเ่ ร่มิ ทาการวจิ ยั โดยมีขอ้ แนะนาในการวเิ คราะหด์ ังน้ี 1. กลบั ไปอา่ นจดุ มุ่งหมายหรือข้อความท่ีเปน็ ปัญหาจนแจ่มแจ้งก่อน 2. ดูแตล่ ะหัวข้อปญั หาว่าต้องการข้อมูลประเภทใด และจะใชว้ ิธีการสถิตอิ ะไร

3. สถิตเิ หลา่ นนั้ หาได้หรอื ไม่จากข้อมูล เพื่อไปแกป้ ญั หาจากจุดมงุ่ หมายแต่ละข้อ 4. เลือกข้อมูลท่ไี ด้มา นามาจัดเปน็ หมวดหมู่ แบ่งตามเนอื้ หาของปัญหาแต่ละขอ้ 5. คานวณคา่ สถติ ิใหต้ รงตามหัวขอ้ ปญั หาที่จะตอบ 6. พยายามแปลความหมายของข้อมลู เปน็ ระยะ ๆ ไป 7. พยายามนกึ ถึงรปู รา่ งของตารางทจ่ี ะเสนอ ลักษณะควรยอ่ สัน้ แต่บรรยายความไดม้ าก 8. ถ้าข้อมลู จดั เสนอเป็นกราฟชนดิ ตา่ ง ๆ ก็ต้องหาวธิ กี ารทาให้เขา้ ใจไดง้ ่ายทสี่ ุด อย่าใหซ้ บั ซ้อน อย่างไรกต็ าม การวเิ คราะหข์ ้อมูลใด ๆ มักไม่พ้นการใช้วธิ กี ารทางสถติ ิ ดังนนั้ ในการวิเคราะห์ขอ้ มลู ควร มขี ั้นตอนในการดาเนนิ การ ดังนี้ ขนั้ ตอนในการวิเคราะหข์ ้อมูล 1. จดั หรอื แยกประเภทข้อมลู ทจ่ี ะศึกษาออกเปน็ หมวดหมู่ เพ่ือสะดวกและง่ายตอ่ การท่จี ะนาไปวิเคราะห์ ตอ่ ไป รวบรวมและจดบันทกึ ข้อมูลลงในกระดาษท่ีได้เตรยี มไว้ 2. ทาการวิเคราะห์ข้อมลู โดยเลอื กใชเ้ ทคนคิ ต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับลักษณะของข้อมูลและระดบั ของ ข้อมลู ท่ีนามาศึกษาและสามารถตอบคาถามตามจดุ มงุ่ หมายการวิจยั ทตี่ ้งั ไว้ 3. เสนอผลการวิเคราะห์ที่ได้ โดยพยายามเสนอให้มีความแจ่มชัดและเขา้ ใจงา่ ย ซ่ึงนิยมเสนอในรูป ตารางหรอื แผนภมู ิ 4. สถิตทิ ่ใี ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล เปา้ หมายหลกั ในการดาเนินการวิจยั คือ การศึกษาหาข้อสรปุ เกย่ี วกับคุณลกั ษณะของประชากร การทีจ่ ะบรรลุเปา้ หมายนไี้ ด้ โดยหลกั การควรศึกษาและวิเคราะห์ข้อมลู ท่ีได้ จากประชากร แต่เป็นการยากมากหรือในบางคร้ังอาจเปน็ ไปไม่ได้ตามหลกั การดงั กลา่ ว ในทางปฏิบตั งิ านวจิ ยั จึง ใช้วิธีการศกึ ษาและวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งทาหน้าที่เป็นตวั แทนของประชากรนั้น ๆ การวเิ คราะห์ ข้อมลู จากกลุ่มตัวอยา่ งจึงเปน็ การหาคา่ คณุ ลกั ษณะประจากลุม่ ตัวอย่างน้ัน แล้วจงึ ใช้คา่ สถติ ขิ องกลุม่ ตัวอยา่ งไป ประมาณค่าคุณลกั ษณะของประชากร โดยการทดสอบสมมตฐิ านและการสรปุ อ้างองิ การนา่ เสนอขอ้ มูล เป็นการนาขอ้ มลู ทีร่ วบรวมข้อมูลท่ีได้จากการศึกษามานาเสนอ หรือทาการเผยแพร่ ให้ผทู้ ส่ี นใจไดร้ ับทราบ หรือนาไปวิเคราะห์เพ่ือไปใชป้ ระโยชน์ แบง่ ออกได้ 2 ลกั ษณะ คือ 1. การนาเสนออย่างไม่เปน็ แบบแผน 1.1. การนาเสนอในรูปของบทความ เชน่ \" ในระยะเวลา 1 ปีท่ผี า่ นมาการเมืองของไทยอย่ใู น สภาพทข่ี าดเสถียรภาพ มกี ารเดินขบวนเรียกรอ้ งในด้านต่างๆมากมาย เน่ืองจากความเปน็ อยทู่ ่แี ตกต่าง กนั พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ทา่ นไดใ้ หแ้ นวทางในการดาเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพยี งและแนวทาง สมานฉันทเ์ พอ่ื ให้ความเปน็ อยทู่ ดี่ แี ละเกิดความปองดองในชาต\"ิ 1.2. การนาเสนอข้อมลู ในรปู ของข้อความก่งึ ตาราง เปน็ การนาเสนอข้อมูลที่มขี ้อความและมสี ว่ น หนง่ึ นาเสนอข้อมลู ดว้ ยตาราง เช่น \"การทอ่ งเทีย่ วจงั หวัดเชยี งใหม่ไดม้ ีแผนกลยทุ ธในการจัดการด้านการทอ่ งเท่ยี ว ทาใหม้ นี กั ท่องเท่ยี วทัง้ นอกประเทศและในประเทศสนใจมาท่องเทย่ี วในจงั หวดั เชียงใหม่ ดังตาราง

ตารางแสดงจานวนนกั ท่องเท่ียวจงั หวดั เชยี งใหม่ พ.ศ 2545 - 2547 พ.ศ ชาวตา่ งชาติ ชาวไทย 2545 1,558,317 1,639,473 2546 1,431,351 1,714,843 2547 1,746,201 1,877,197 2. การนาเสนอข้อมูลอยา่ งเป็นแบบแผน 2.1. การนาเสนอข้อมูลโดยใช้ตาราง อตั ราการเสียชีวิตจากอบุ ตั เิ หตุในปี พ.ศ. 2546 สาเหตกุ ารเสียชีวิต จานวนผ้เู สยี ชีวติ (คน) อุบัติเหตุทางรถยนต์ 168,943 ไฟฟ้าชอ๊ ต 32,945 ทะเลาะววิ าท 18,644 ส่งิ ของตกใส่ 2,587 2.2. การนาเสนอข้อมลู โดยใชแ้ ผนภมู แิ ทง่ 2.2.1 แผนภมู ิแทง่ แนวต้ัง 2.2.2 แผนภูมิแทง่ แนวนอน 2.3 การนาเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภมู วิ งกลม

2.4 การนาเสนอข้อมูลโดยใชแ้ ผนภมู ริ ูปภาพ 2.5 การนาเสนอข้อมลู โดยใชแ้ ผนทีส่ ถติ ิ แผนทแี่ สดงความหนาแน่นของการเลย้ี งสตั ว์รายจงั หวดั โคเน้อื ปี 2546 2.6. การนาเสนอข้อมูลโดยใชแ้ ผนภูมแิ ท่งเปรียบเทยี บ 2.6.1 แผนภูมแิ ทง่ เปรียบเทียบแนวตั้ง

2.6.2 แผนภมู เิ ปรียบเทยี บแนวนอน 2.7 การนาเสนอข้อมูลโดยใชก้ ราฟเสน้ การวางแผน การวางแผนมคี วามสา่ คญั ต่อการจดั การ ทาให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้ทรพั ยากร การวางแผนทาใหร้ แู้ นว ปฏิบตั งิ านในอนาคต ชว่ ยใหอ้ งคก์ รลดความเสี่ยงท่ีอาจเกิดขึ้นจากการประกอบธุรกจิ ทาให้เกดิ ความเช่ือมน่ั ในการ ปฏิบตั งิ าน นอกจากนีอ้ งค์กรยงั สามารถตรวจสอบความสาเรจ็ ของเปา้ หมายได้ การวางแผนยงั ช่วยแบ่งเบา ภาระหนา้ ที่ของผ้บู ริหาร และเกิดการประสานงานที่ดขี ององคก์ ร การวางแผนมอี งคป์ ระกอบพ้ืนฐาน ดงั น้ี ความเป็นมาของแผน วตั ถุประสงค์ของแผน เปา้ หมายของแผน แผนงาน และโครงการ ความเป็นมาของแผน คือ บอกใหท้ รายถึงเหตผุ ลทีจ่ ัดทาแผนขึน้ มาว่ามีเหตผุ ลหรือความเปน็ มาอย่างไร วัตถปุ ระสงค์ในการจดั ทา่ แผน ได้แก่ วตั ถุประสงคห์ ลกั คือ วัตถปุ ระสงค์ซงึ่ เปน็ ตวั ชี้วัดความสาเร็จหรอื ความล้มเหลวของแผนงาน นอกจากนแี้ ผนยังมีวัตถุประสงคท์ หี่ ากสามารถบรรลุได้จะทาใหเ้ กดิ ผลดี แตห่ ากไม่ สามารถตอบสนองก็ไมม่ ีต่อความสาเร็จหรอื ล้มเหลวขององคก์ ร เปา้ หมายในเชงิ คุณภาพ เปน็ การกาหนดเป้าหมายทีผ่ ลสมั ฤทธิ์ของการทากิจกรรม เปน็ เปา้ หมาย ท่ีวัดและประเมนิ ผลไดย้ าก เชน่ เป้าหมายในการพฒั นาทักษะทางความคิดสร้างสรรค์ เปน็ ตน้

เปา้ หมายในเชิงปริมาณ เปน็ การกาหนดเป้าหมายท่เี ป็นตัวเลข สามารถวัดและตรวจสอบได้ โดยงา่ ย เช่น เปา้ หมายเพื่อเพ่ิมยอดขายให้ได้ 20 % กระบวนการในการจัดท่าแผน 1. ข้ันเตรียมการ 2. การวิเคราะห์ข้อมลู 3. การกาหนดแผน 4. การปฏบิ ตั ติ ามแผน 5. การประเมินผล

ใบความร้คู รัง้ ท่ี 12 วชิ าการพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม รหัสวิชา สค31003 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย เร่ือง การมสี ่วนรว่ มในการท่าแผนพัฒนาชุมชน ภาวะผู้น่า-ผตู้ าม ***************************************************************************************************************************** *** ความหมายของแผน 1. เป็นการพจิ ารณาแตล่ ะกาหนดแนวทางปฏิบตั งิ าน ใหบ้ รรลุเป้าหมายท่ปี รารถนาเปรียบเทียบเป็น สะพานเชอื่ มโยงระหวา่ งปจั จุบันและอนาคต เปน็ การคาดการณ์ส่งิ ทย่ี ังไม่เกิดขึ้น 2. ความหมายที่เป็นระบบ (Systematic attempt) เพอื่ ตัดสินใจเลอื กแนวทางปฏบิ ตั ิท่ีดีทสี่ ดุ สาหรับอนาคต เพอ่ื ใหอ้ งค์การบรรลุทปี่ รารถนา ความส่าคัญของการวางแผน 1. เป็นการลดความไม่แน่นอน และปญั หาความย่งุ ยากซับซอ้ นทีจ่ ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต 1.1 มองเหตุการณต์ ่างๆ ในอนาคตท่อี าจเกิดขนึ้ เชน่ การเปลย่ี นแปลงด้าน เทคโนโลยี ปญั หา ความต้องการของประชาชนในสงั คมน้ัน ซ่ึงส่งิ เหล่าน้ี อาจสง่ ผลกระทบต่อการบรรลุ เปา้ หมายขององค์การ 1.2 องค์การจึงจาเปน็ ต้องเตรยี มตัว และเผชญิ กบั สงิ่ ทเี่ กิดขนึ้ อนั เน่ืองจากความผันผวนของ ส่ิงแวดล้อมอนั ได้แก่สภาพเศรษฐกิจ สงั คม และการเมอื ง เปน็ ตน้ 2. ทาใหเ้ กดิ การยอมรับแนวคิดใหม่ๆ เข้ามาในองคก์ ารทง้ั นีเ้ น่อื งจากปัญหา ของการวางแผนยึดถือและ ยอมรบั เรื่องการเปลยี่ นแปลง ไม่มีสงิ่ ใดอยู่อยา่ งนริ นั ดร จงึ ทาให้มีการยอมรับแนวคดิ เชงิ ระบบ (System approach) เขา้ มาใช้ในองค์การยุคปจั จบุ ัน 3. ทาให้การดาเนนิ การเป็นไปด้วยความมนั่ คงและมคี วามเจรญิ เตบิ โต 3.1 เป็นหลกั ประกนั การดาเนินการเปน็ ไปดว้ ยความมนั่ คงและมคี วามเจริญเติบโต 3.2 เปน็ การลดความสูญเปล่า ของหน่วยงานทซ่ี ับซ้อน เพราะการวางแผน ทาใหม้ องเห็น ภาพรวมขององคก์ ารท่ีชัดเจน 3.3 เป็นการอานวยประโยชน์ในการ จัดระเบยี บขององค์การให้มีความเหมาะสมกบั ลักษณะ งานมากยง่ิ ขึ้น 3.4 เปน็ การจาแนกงานแตล่ ะแผนก ไม่ได้เกิดความซ้าซ้อนกนั 4. ทาใหเ้ กิดความแจ่มชดั ในการดาเนินงาน 4.1 เน่อื งจาก การวางแผนเปน็ การกระทาโดยอาศยั ทฤษฎี หลักการและงานวิจยั ตา่ งๆ (a rational approach) มาเป็นตวั กาหนดจุดม่งุ หมายและแนวทางปฏิบัติทชี่ ดั เจนในอนาคตอยา่ งเหมาะสมกบั สภาพ องค์การทด่ี าเนินอยู่ 4.2 กล่าวโดยสรุป ไม่มีองค์การใดท่ีประสบผลสาเรจ็ ได้ โดยปราศจากการวางแผน ดังนน้ั การวางแผนจงึ เป็นภารกจิ อันดบั แรกที่มีความสาคัญของกระบวนการจดั การทีด่ ี ประโยชนข์ องการจัดท่าแผน 1. บรรลุจุดมุง่ หมาย (Attention of Adjectives) 2. ประหยดั (Economical Operation)

3. ลดความไม่แนน่ อน (Reduction of Uncertainty) 4. เปน็ เกณฑ์ในการควบคุม (Basis of control) 5. สง่ เสริมให้เกิดนวตั กรรมและการสรา้ งสรรค์ ( Encourages innovation and Creativity) 6. พัฒนาแรงจงู ใจ (Improves Motivation) 7. พฒั นาการแขง่ ขัน ( Improves Competitive strength) 8. ทาใหเ้ กดิ การประสานงานทดี่ ี (Better Coordination) เทคนคิ การจัดทา่ แผน 1. การศึกษาดว้ ยตนเอง การศึกษาข้อมูลการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ และแผนอน่ื ๆ ในรปู เอกสาร ออนไลน์ เชน่ หนงั สือ วีดที ัศน์ เวบ็ ไซต์หนว่ ยงานองค์การต่างๆ ทง้ั ในประเทศและต่างประเทศเป็นตน้ 2. การศกึ ษาจากผูอ้ ่ืนการศึกษาจากผรู้ แู้ ละผู้อน่ื ๆ ที่มปี ระสบการณ์ และเพื่อนร่วมงาน หรือการเข้า ฝกึ อบรม การศึกษาต่อ เปน็ ตน้ 3. การศกึ ษาและปรบั ใช้ประโยชนก์ ารศกึ ษาเพ่ือนามาปรับใชป้ ระโยชน์ในงานขององค์การตนเองหรือ งานของตนเอง และการเปรียบประยุกต์ความเป็นเลศิ 4. การศึกษาวัฒนธรรมองค์การและความเหมาะสมสายกลางการศึกษาวัฒนธรรมองค์การและความ เหมาะสมสายกลางเพื่อหาจุดสมดลุ ของการปฏิบตั ิงานและการวางแผนคณุ ภาพชวี ิตของตนเองในการทางานและ การดารงชีวิตแบบพึ่งตนเอง วธิ ีการจัดท่าแผนพัฒนา วิธกี ารจัดทาแผนพัฒนาและปรบั ปรุง 1. การกาหนดเป้าหมาย 2. การวเิ คราะห์ตนเอง 3. การวิเคราะห์ปัญหา 4. การจดั ทาแผนพฒั นาและกาหนดตัววัด 5. การลงมือทา 6. การประเมินตดิ ตามผล ความหมายของภาวะผนู้ ่า ภาวะผูน้ า (Leadership) หรือความเป็นผูน้ า หมายถึง ความสามารถในการนา (The American Heritage Dictionary, 1985 : 719) ซงึ่ เป็นความสาเรจ็ อย่างย่ิงสาหรบั ความสาเรจ็ ของผู้นาภาวะผ้นู าได้รับความสนใจ และศึกษามานานแลว้ เพ่ือให้รู้ว่าอะไรเป็นองคป์ ระกอบท่ีจะช่วยให้ผูน้ า มคี วามสามารถในการนาหรอื เป็นผนู้ าทม่ี ี ประสิทธิภาพ การศึกษาเร่ืองของภาวะผนู้ านั้น จะศึกษาต้ังแตค่ ุณลักษณะ (Traits) ของผู้นา อานาจ (Power) ของผูน้ า พฤติกรรม (Behavior) ของผู้นาแบบตา่ งๆ ในปจั จุบันได้มใี ห้ความหมายของภาวะผนู้ าไว้หลากหลายและแตกต่างกันดงั น้ี - ภาวะผูน้ า คอื ความคดิ รเิ รม่ิ และธารงไวซ้ ง่ึ โครงสร้างของความคาดหวงั และ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งกนั ของ สมาชกิ ของกลุม่ (Stogdill,1974 : 411) - ภาวะผู้นา คือ ความสามารถทจ่ี ะช้ีแนะ สัง่ การ หรืออานวยการ หรอื มีอิทธิพลตอ่ พฤติกรรมของผู้อน่ื เพื่อใหม้ ุ่งไปสู่จุดหมายท่ีกาหนดไว้ (McFarland, 1979 : 303)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook