Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พื้นฐานธุรกิจดิจิทัล

พื้นฐานธุรกิจดิจิทัล

Published by Athiwat Chomcham, 2021-10-04 03:53:58

Description: พื้นฐานธุรกิจดิจิทัล

Search

Read the Text Version

สรุปประเด็นสาํ คัญ ระบบ Cyber Security จาํ เป็นตอ่ ทกุ อตุ สาหกรรม แตเ่ น่ืองดว้ ยความจาํ เป็นเรง่ ดว่ นและ ผลกระทบท่ีรุนแรง ไดถ้ กู นาํ มาใชอ้ ย่างมากในอตุ สาหกรรมการเงินและการธนาคาร เน่ืองจากใน โลกยคุ ปัจจบุ นั ในหลาย ประเทศมีการเปิดเสรที างการเงินการธนาคารเพ่ือดงึ ดดู นกั ลงทนุ ตา่ งชาติ ใหเ้ ขา้ มาลงทุนในอุตสาหกรรมทางการเงิน รวมถึงการซือ้ ขายแลกเปล่ียน และการทาํ ธุรกรรม ทางการเงินสามารถทาํ ไดผ้ า่ นระบบอินเทอรเ์ นต็ ท่ีใชง้ านบนสมารท์ โฟน

หน่วยท่ี 8 กฎหมายและจริยธรรมและการทาํ ธุรกรรมดิจิทัล 1. พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 2. พระราชบญั ญตั ิวา่ ดว้ ยการกระทาํ ความผิดเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ 3. คาํ นิยามท่ีควรรู้ 4. จรยิ ธรรมในการทาํ ธรุ กรรมดจิ ิทลั 5. จรยิ ธรรมสาํ หรบั ผใู้ ชไ้ ปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ 6. จรยิ ธรรมในการทาํ ธรุ กิจดจิ ิทลั 7. จรรยาบรรณของนกั คอมพิวเตอร์

พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 พระราชบญั ญัติว่าดว้ ยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มีผลบงั คบั ใชเ้ ม่ือวนั ท่ี 3 เมษายน 2545 นบั เป็นกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศฉบบั แรกท่ีใชบ้ งั คบั กบั การทาํ ธรุ กรรมทาง อิเล็กทรอนิกสแ์ ละลายมือช่ือ อิเล็กทรอนิกส์ เน่ืองจากการทาํ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสบ์ าง ประเภท เช่น การทาํ สญั ญา กฎหมายกาํ หนดว่าตอ้ ง มีการลงลายมือช่ือคู่สญั ญาจึงจะมีผล สมบรู ณแ์ ละใชบ้ งั คบั ไดต้ ามกฎหมาย กฎหมายทงั้ สองสว่ นจงึ มีความสมั พนั ธ์ กนั อยา่ งใกลช้ ิด

พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ความเป็นมาของพระราชบญั ญตั ิวา่ ดว้ ยธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 1. รบั รองสถานะทางกฎหมายของขอ้ มลู อิเลก็ ทรอนิกสท์ ่ีใชใ้ นการทาํ ธรุ กรรมหรอื สญั ญา 2. รบั รองตราประทบั อิเลก็ ทรอนิกสซ์ ่งึ เป็นส่ิงท่ี สามารถระบถุ ึงตวั ผทู้ าํ ธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ ได้ เช่นเดียวกบั ลายมือช่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ 3. สามารถนาํ เอกสารซง่ึ เป็นส่งิ พิมพอ์ อกของขอ้ มลู อิเลก็ ทรอนิกสม์ าใชแ้ ทนตน้ ฉบบั หรอื ใหเ้ ป็น พยานหลกั ฐานในศาลได้ 4. ส่งเสริมความเช่ือม่นั ในการทาํ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสแ์ ละเสริมสรา้ งศกั ยภาพการ แข่งขนั ในเวที การคา้ ระหวา่ งประเทศ

พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 เจตนารมณใ์ นการรา่ งพระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 โดยท่ีการทาํ ธรุ กรรมในปัจจบุ นั มีแนวโนม้ ท่ีจะปรบั เปล่ียนวิธีการในการติดตอ่ ส่ือสารท่ีอาศยั การ พฒั นาการ เทคโนโลยีทาง อิเล็กทรอนิกสซ์ ่ึงมีความสะดวก รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ แต่เน่ืองจากการทาํ ธุรกรรม ทาง อิเล็กทรอนิกสด์ งั กล่าวมีความแตกต่างจากวิธีการทาํ ธุรกรรมซ่งึ มีกฎหมายรองรบั อย่ใู นปัจจบุ นั เป็น อย่างมาก อนั ส่งผลใหต้ อ้ งมีการรองรบั สถานะทางกฎหมายของขอ้ มลู ทางอิเล็กทรอนิกสใ์ หเ้ สมอกบั การทาํ เป็นหนงั สือ หรือ หลักฐานเป็นหนังสือ การรบั รองวิธีการส่งและรบั ขอ้ มูลอิเล็กทรอนิกสก์ ารใชล้ ายมือช่ืออิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนการ รับฟังพยานหลักฐานท่ีเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพ่ือเป็นการ ส่งเสริมการทาํ ธุรกรรมทาง อเิ ลก็ ทรอนิกสใ์ หน้ า่ เช่ือถือ และมีผลในทางกฎหมายเช่นเดียวกบั การทาํ ธรุ กรรมโดยวิธีการท่วั ไปท่ีเคยปฏิบตั ิอยู่ เดิม อันจะเป็นการส่งเสริม ความเช่ือม่ันในการทาํ ธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกสแ์ ละเสริมสรา้ งศักยภาพการ แขง่ ขนั ในเวทีการคา้ ระหวา่ งประเทศ

พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 “ขอ้ มลู อิเลก็ ทรอนิกส”์ หมายความว่า ขอ้ ความท่ีไดส้ รา้ ง สง่ รบั เก็บรกั ษา หรอื ประมวลผล ดว้ ยวิธีการ ทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น วิธีการแลกเปล่ียนขอ้ มูลทางอิเล็กทรอนิกสจ์ ดหมาย อิเลก็ ทรอนิกส์ โทรเลข โทรพิมพ์ หรอื โทรสาร

พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 “ลายมือช่ืออิเล็กทรอนิกส”์ หมายความว่า อกั ษร อกั ขระ ตวั เลข เสียงหรอื สญั ลกั ษณอ์ ่ืน ใด ท่ีสรา้ งขึน้ ให้ อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสซ์ ่ึงนาํ มาใชป้ ระกอบกับขอ้ มลู อิเล็กทรอนิกสเ์ พ่ือ แสดง ความสมั พนั ธร์ ะหว่างบุคคลกับ ขอ้ มลู อิเล็กทรอนิกสโ์ ดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือระบุตวั บคุ คลผเู้ ป็นเจา้ ของลายมือช่ืออิเลก็ ทรอนิกสท์ ่ีเก่ียวขอ้ งกบั ขอ้ มลู อิเลก็ ทรอนิกสน์ นั้ และเพ่ือ แสดงวา่ บคุ คล ดงั กลา่ วยอมรบั ขอ้ ความในขอ้ มลู อิเลก็ ทรอนิกสน์ นั้

พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 “เจา้ ของลายมือช่ือ” หมายความวา่ ผซู้ ง่ึ ถือขอ้ มลู สาํ หรบั ใชส้ รา้ งลายมือช่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ และสรา้ ง ลายมือช่ืออิเลก็ ทรอนิกสน์ นั้ ในนามตนเองหรอื แทนบคุ คลอ่ืน

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาํ ความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันระบบคอมพิวเตอรไ์ ด้เป็นส่วนสาํ คัญของการประกอบกิจการและการ ดาํ รงชีวิตของมนุษย์ หากมีผูก้ ระทาํ ดว้ ยประการใด ๆ ใหร้ ะบบคอมพิวเตอรไ์ ม่สามารถทาํ งาน ตามคาํ ส่งั ท่ีกาํ หนดไวห้ รอื ทาํ ใหก้ ารทาํ งานผิดพลาดไปจากคาํ ส่งั ท่ีกาํ หนดไว้ หรอื ใชว้ ิธีการใด ๆ เขา้ ล่วงรูข้ อ้ มูล แกไ้ ข หรือทาํ ลายขอ้ มลู ของบุคคลอ่ืนในระบบคอมพิวเตอรโ์ ดยมิชอบ หรือใช้ ระบบคอมพิวเตอรเ์ พ่ือเผยแพรข่ อ้ มลู คอมพิวเตอรอ์ นั เป็นเท็จมีลกั ษณะอนั ลามก อนาจาร ย่อม ก่อใหเ้ กิดความเสียหาย กระทบกระเทือนต่อเศรษฐกิจ สงั คมและความม่ันคงของรฐั รวมทั้ง ความสงบสุขและศีลธรรมอันดีของประชาชน สมควรกําหนดมาตรการเพ่ือป้องกันและ ปราบปรามการกระทาํ ดังกล่าวจึงเป็นท่ีมาของการตราพระราชบัญญัติว่าดว้ ยการกระทาํ ความผิดเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาํ ความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ โดยท่ีพระราชบญั ญัติว่าดว้ ยการกระทาํ ความผิดเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มี บทบญั ญัติบางประการท่ีไม่เหมาะสมต่อการป้องกันและปราบปรามการกระทาํ ความผิด เก่ียวกับคอมพิวเตอรใ์ นปัจจุบนั ซ่ึงมีรูปแบบการกระทาํ ความผิดท่ีมีความซบั ซอ้ นมากขึน้ ตามพฒั นาการทางเทคโนโลยีซ่ึงเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ และโดยท่ีมีการจดั ตงั้ กระทรวง ดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม ซ่ึงมีภารกิจในการกาํ หนดมาตรฐานและมาตรการในการ รกั ษาความม่นั คงปลอดภยั ไซเบอร์ รวมทงั้ การเฝา้ ระวงั และติดตามสถานการณด์ า้ นความ ม่นั คงปลอดภยั ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของประเทศ

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาํ ความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ สมควรปรบั ปรุงบทบัญญัติในส่วนท่ีเก่ียวกับผูร้ กั ษาการตามกฎหมาย กาํ หนดฐาน ความผิดขึน้ ใหม่ และแกไ้ ขเพ่ิมเติมฐานความผิดเดิม รวมทัง้ บทกาํ หนดโทษของความผิด ดงั กล่าว การปรบั ปรุงกระบวนการและหลกั เกณฑใ์ นการระงับการทาํ ใหแ้ พร่หลายหรือลบ ขอ้ มลู คอมพิวเตอร์ ตลอดจนกาํ หนดใหม้ ีคณะกรรมการเปรยี บเทียบ ซง่ึ มีอาํ นาจเปรยี บเทียบ ความผิดตามพระราชบญั ญัติว่าดว้ ยการกระทาํ ความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และแกไ้ ขเพ่ิมเติมอาํ นาจหนา้ ท่ีของพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีใหเ้ หมาะสมย่ิงขึน้ จึงจาํ เป็นตอ้ งตรา พระราชบญั ญตั ิวา่ ดว้ ยการกระทาํ ความผิดเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2560 โดย พระราชบญั ญัตินีไ้ ดผ้ ่านการลงพระปรมาภิไธย และการประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว้ เม่ือวนั ท่ี 23 มกราคม พ.ศ. 2560

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาํ ความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ “ระบบคอมพิวเตอร”์ หมายความวา่ อปุ กรณห์ รอื ชดุ อปุ กรณข์ องคอมพิวเตอรท์ ่ีเช่ือมการ ทาํ งานเขา้ ดว้ ยกนั โดยไดม้ ีการกาํ หนดคาํ ส่งั ชดุ คาํ ส่งั หรอื ส่งิ อ่ืนใด และแนวทางปฏิบตั ิงาน ใหอ้ ปุ กรณห์ รอื ชดุ อปุ กรณท์ าํ หนา้ ท่ีประมวลผลขอ้ มลู โดยอตั โนมตั ิ

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาํ ความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ “ขอ้ มลู คอมพิวเตอร”์ หมายความวา่ ขอ้ มลู เก่ียวกบั การติดตอ่ ส่ือสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซง่ึ แสดงถงึ แหลง่ กาํ เนิด ตน้ ทาง ปลายทาง เสน้ ทาง เวลา วนั ท่ี ปรมิ าณ ระยะเวลา ชนิดของ บรกิ าร หรอื อ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การตดิ ตอ่ ส่อื สารของระบบคอมพิวเตอรน์ นั้

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาํ ความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ “ผใู้ หบ้ รกิ าร” หมายความวา่ (1)ผู้ให้บริการแก่บุคคลอ่ืนในการเข้าสู่อินเทอรเ์ น็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดย ประการอ่ืน โดยผา่ นทางระบบคอมพิวเตอร์ ทงั้ นี้ ไมว่ า่ จะเป็นการใหบ้ รกิ ารในนามของตนเอง หรอื ในนามหรอื เพ่ือประโยชนข์ องบคุ คลอ่ืน (2) ผใู้ หบ้ รกิ ารเก็บรกั ษาขอ้ มลู คอมพิวเตอรเ์ พ่ือประโยชนข์ องบคุ คลอ่ืน

จริยธรรมในการทาํ ธุรกรรม ด•1ิจ. คิทวัาลมเป็นสว่ นตวั (Information Privacy) •2. ความถกู ตอ้ ง (Information Accuracy) •3. ความเป็นเจา้ ของ (Intellectual Property) •4. การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู (Data Accessibility)

จริยธรรมสาํ หรับผู้ใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ 1. ตรวจสอบจดหมายทกุ วนั และจะตอ้ งจาํ กดั จาํ นวนไฟลแ์ ละขอ้ มลู ในตจู้ ดหมายของตน ใหเ้ ลือก ภายในโควตา้ ท่ีกาํ หนด 2. ลบขอ้ ความหรอื จดหมายท่ีไมต่ อ้ งการแลว้ โดยเฉพาะจดหมายขยะ ออกจากดิสกเ์ พ่ือลดปรมิ าณ การใชด้ ิสกใ์ หจ้ าํ นวนจดหมายท่ีอยใู่ นตจู้ ดหมายมีจาํ นวนนอ้ ยท่ีสดุ 3. ใหท้ าํ การโอนยา้ ยจดหมายจากระบบไปไวใ้ น Cloud หรอื แหลง่ เก็บขอ้ มลู อ่ืน เพ่ือใชอ้ า้ งอิงใน ภายหลงั พงึ ระลกึ เสมอวา่ จดหมายท่ีเก็บไวใ้ นตจู้ ดหมายนีอ้ าจะถกู ผอู้ ่ืนแอบอา่ นได้ ไมค่ วร เก็บขอ้ มลู หรอื จดหมายท่ีคดิ วา่ ไมใ่ ชแ้ ลว้ เสมือนเป็นประกาศไวใ้ นตจู้ ดหมาย

จริยธรรมในการทาํ ธุรกิจดิจิทัล 1. ขายสนิ คา้ บรกิ ารในราคายตุ ธิ รรมและตรงตามคณุ ภาพท่ีระบไุ ว้ 2. ละเวน้ การกล่นั แกลง้ ใหร้ า้ ยปา้ ยสี ขม่ ขหู่ รอื กีดกนั ไมว่ า่ จะทางตรงหรอื ทางออ้ ม 3. ควรตรงไปตรงมาชดั เจนแนว่ เเนน่ 4. ไมล่ ะเมิดสทิ ธิทางปัญญาของบคุ ลลอ่ืน 5. ไมส่ ง่ สแปมเมลหรอื จดหมายอิเลก็ ทรอนิกสข์ ยะ เพ่ือสรา้ งความราํ คาญใหแ้ ก่ผรู้ บั

จริยธรรมในการทาํ ธุรกิจดิจิทัล 6. ตอ้ งไมส่ อดแนมหรอื เเกไ้ ขดแู ฟม้ ของผอู้ ่ืน 7. ไมเ่ ปิดเผยหรอื นาํ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลของลกู คา้ ไปใช้ โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต 8. ตอ้ งทาํ การลงทะเบียนการคา้ พาณิชยแ์ ละเสียภาษีรา้ นคา้ ใหถ้ กู ตอ้ ง 9. ตอ้ งตรวจสอบสนิ คา้ ท่ีนาํ เสนอ วา่ ตอ้ งเป็นสนิ คา้ ท่ีถกู ตอ้ งตามกฎหมาย สว่ นผสมในตวั ผลติ ภณั ฑ์ ตอ้ งไมเ่ กิดอนั ตรายกบั ผใู้ ช้ มี อย. กาํ กบั สนิ คา้ และมีการนาํ เขา้ สนิ คา้ อยา่ งถกู ตอ้ ง ไมป่ ลอมเเปลง หรอื คดั ลอกสนิ คา้ จากผอู้ ่ืน

จริยธรรมในการทาํ ธุรกิจดิจิทัล 10. ตอ้ งทาํ การระบรุ ายละเอียดสนิ คา้ ใหช้ ดั เจน พรอ้ มระบดุ ว้ ยวา่ สนิ คา้ นีพ้ รอ้ มขายหรอื ไม่ ตอ้ งนาํ เสนอ • ตามคณุ ภาพ เเละสรรพคณุ ตามสนิ คา้ ท่ีเเทจ้ รงิ ไมม่ ีการตกแตง่ หรอื รวี วิ ผลลพั ธข์ องสนิ คา้ เกินจรงิ 11. ตอ้ งมีระบบการเก็บขอ้ มลู ลกู คา้ อยา่ งถกู ตอ้ ง เพ่ือปอ้ งกนั การถกู ลกั ลอบนาํ ขอ้ มลู ของลกู คา้ ไปใช้ ซง่ึ ถือ • วา่ เป็นการละเมิดสทิ ธิสว่ นบคุ คล 12. ตอ้ งตรวจสอบและพฒั นาสนิ คา้ อยเู่ สมอ เพ่ือใหเ้ กิดความแนใ่ จในตวั สนิ คา้ ก่อนสง่ มอบ 13. ไมห่ ลอกลวงลกู คา้ ดว้ ยการสง่ สนิ คา้ ท่ีผิดแปลกไปจากท่ีตกลงกนั ไว้ และไมส่ ง่ สนิ คา้ ของปลอมเเลว้ ห ลอกลวงวา่ เป็นของเเทใ้ หก้ บั ลกู คา้

จรรยาบรรณของนักคอมพิวเตอร์ •1. จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง •2. จรรยาบรรณตอ่ ผรู้ ว่ มงาน •3. จรรยาบรรณตอ่ วชิ าชีพ •4. จรรยาบรรณตอ่ สงั คม •5. จรรยาบรรณตอ่ ผรู้ บั บรกิ าร

ส รุ ป ป ร ะ เ ด็น แสลาํะโคดัญยท่ีพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยท่ีพระราชบัญญัติว่าดว้ ยการกระทาํ ความผิด เก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มีบทบญั ญตั ิบางประการท่ีไมเ่ หมาะสมตอ่ การปอ้ งกนั และ ปราบปรามการกระทาํ ความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอรใ์ นปัจจุบนั ซ่ึงมีรูปแบบการกระทาํ ความผิดท่ีมีความซับซอ้ นมากขึน้ ตามพัฒนาการทางเทคโนโลยีซ่ึงเปล่ียนแปลงอย่าง รวดเร็วและโดยท่ีมีการจัดตงั้ กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม ซ่ึงมีภารกิจในการ กาํ หนดมาตรฐานและมาตรการในการรกั ษาความม่นั คงปลอดภยั ไซเบอร์ รวมทงั้ การเฝ้า ระวงั และติดตามสถานการณด์ า้ นความม่นั คงปลอดภยั ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่อื สารของประเทศ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook