Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สิ่งแวดล้อม

สิ่งแวดล้อม

Published by taxx_chanchai, 2017-05-20 01:14:53

Description: สิ่งแวดล้อม

Keywords: none

Search

Read the Text Version

รายงานการศึกษา ความอุดมสมบูรณ์ ทางทรัพยากรธรรมชาติ และความมั่งคั่งของชุมชนย่านซื่อ สวนผักไอโดรโปนิกส์ เตาถ่าน(อั้งโล่) โดยในชุมชนท้องถิ่นต่างๆ ตั้งแต่เดือนมกราคม – เดือนพฤษภาคม 2560

ก ค าน า รายงานเล่มนี้จัดท าขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของ วิชามนุษย์และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ ความเป็นอยู่ของชุมชนต่างถิ่นในเชิงวิจัย อีกทั้งยังเป็นการศึกษาเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อที่จะให้ นักศึกษา สามารถน าความรู้ที่ได้รับนั้นได้มีประสบการณ์และสามารถน าไปใช้ต่อยอดได้และสามารถน าความรู้ ที่ได้ไปลงพื้นที่ส ารวจนั้นมาศึกษาต่อในชั้นปีถัดไป ทั้งนี้ทั้งนั้นกลุ่มของนักศึกษา ชั้นปีที่1 สาขาวิชารัฐ ประศาสนศาสตร์ จึงได้รวบรวมข้อมูลที่ได้ลงพื้นที่ในต่างชุมชนมารวมอยู่ในเล่มนี้เพื่อง่ายต่อการอ่าน ผู้จัดท าหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือ นักศึกษา ที่ก าลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะน าหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดท าขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย ผู้จัดท า นายกฤษณพล สัณวงค์ ประทานของกลุ่ม

ข สารบัญ เรื่อง หน้า ค าน า ก สารบัญ ข บทที่ 1 ชุมชนย่านซื่อ - ความเป็นมาของต าบลย่านซื่อหรือหมู่บ้านในลุ่ม 1 - ค าขวัญประจ าต าบลย่านซื่อ 1 - โครงการหมู่บ้านในลุ่ม ชุมชนย่านซื่อ อ าเภอกันตัง 2 - ประวัติคนในชุมชนย่านซื่อ 3 - ภาพกิจกรรม 3 บทที่ 2 สวนผักไอโดรโปนิกส์ - ประวัตินายนาย วิเชียร ก าเนิด 13 - ขั้นตอนการท าผักไอโดรโปนิกส์ 13 - เนื้อที่แปลงผักและจ านวนคนงาน 17 - ภาพกิจกรรม 17 บทที่ 3 เตาถ่าน - เตาอั้งโล่ 21 - การเลือกใช้ดินและชนิดของดินในการท าเตาอั้งโล่ 22 - กระบวนการท าเตาอั้งโล่ 22 - การจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนผลดีที่เกิดขึ้นจากการน าความคิดความรู้ 28 และวิธีการใหม่มาใช้ปรับปรุงการผลิตมีอะไรบ้างทั้งในทางด้านสังคมด้านสิ่งแวดล้อม และอื่นๆ - ภาพกิจกรรม 30 บทที่ 4 การจัดการสิ่งแวดล้อมของชุมชนในศตวรรษที่ 21 - ที่มาและความส าคัญ 31 - วัตถุประสงค์ 33 - ขอบเขตการศึกษา 33

สารบัญ(ต่อ) บทที่ 5 สรุปรายได้แต่ละชุมชนแต่ละชุมชนที่ส ารวจ - สรุปรายได้แต่ละชุมชนแต่ละชุมชนที่ส ารวจ ภาคผนวก 35

1 บทที่ 1 ชุมชนย่านซื่อ ความเป็นมาของต าบลย่านซื่อหรือหมู่บ้านในลุ่ม ต าบลย่านซื่อ เป็นต าบลหนึ่งใน 10 ต าบลของอ าเภอกันตัง จังหวัดตรัง ต าบลย่านซื่อ มีผู้เล่าให้ฟังว่า เมื่อสมัยก่อนได้มีชาวจีนจากโพ้นทะเลกลุ่มหนึ่งได้อพยพมา โดยล่องเรือมาตามแม่น้ าตรังเรื่อยมา เมื่อมาถึง เห็นท าเลที่ตั้งที่เหมาะสมก็ได้ขึ้นฝั่งที่บริเวณแม่น้ าตรัง จากนั้นก็ได้ชักชวนพรรคพวกที่เดินทางมาด้วยกันตั้งถิ่น ฐานบริเวณแม่น้ าตรัง โดยได้ตั้งบ้านเรือนที่อยู่อาศัยในลักษณะเรียงต่อๆ กันไปในแนวเดียวกันชาวบ้านจึง เรียกว่า 'บ้านย่านซื่อ' หรือ 'ต าบลย่านซื่อ' ในปัจจุบัน และในต าบลย่านซื่อก็จะแยกเป็นหมู่บ้านออกไป มี ทั้งหมด 4 หมู่ และในแต่ละหมู่บ้านก็จะมีที่มาของชื่อหมู่บ้านตามทิศทางการตั้งถิ่นฐานและตามลักษณะของ ท าเลที่ตั้งถิ่นฐาน หมู่ที่ 1 บ้านโคกทราย เป็นการเรียกชื่อหมู่บ้านตามลักษณะภูมิประเทศ กล่าวคือ ได้มีชาวบ้าน จ านวนหนึ่งได้มาตั้งถิ่นฐานบริเวณที่ที่มีลักษณะเป็นเนินสูงๆ ต่ าๆ ลักษณะพื้นดินส่วนมากเป็นดินร่วนเป็น ทราย ชาวบ้านเลยเรียกว่า 'บ้านโคกทราย' จนถึงปัจจุบัน หมู่ที่ 2 บ้านตก เป็นการเรียกชื่อหมู่บ้านตามทิศของการตั้งถิ่นฐาน กล่าวคือ ได้มีชาวบ้านจ านวนหนึ่ง ได้มาตั้งถิ่นฐานทางทิศตะวันตก ชาวบ้านเลยเรียกว่า 'บ้านตก' จนถึงปัจจุบัน หมู่ที่ 3 บ้านในลุ่ม เป็นการเรียกชื่อหมู่บ้านตามลักษณะของท าเลที่ตั้งถิ่นฐาน ได้มีชาวบ้านจ านวน หนึ่งได้มาตั้งถิ่นฐานรวมกันในพื้นที่ที่เป็นที่ลุ่มริมแม่น้ าตรัง ชาวบ้านเลยเรียกว่า 'บ้านในลุ่ม' จนถึงปัจจุบัน หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งอิฐ เป็นการเรียกชื่อหมู่บ้านตามลักษณะภูมิประเทศ กล่าวคือ พื้นที่ส่วนมากเป็นที่ ราบ สภาพดินเป็นดินเหนียว ซึ่งดินเหนียวดังกล่าวเหมาะแก่การน ามาใช้ท าอิฐดินเผา ชาวบ้านจึงได้น าดิน เหนียวดังกล่าว มาท าอิฐดินเผาส าหรับสร้างบ้าน ชาวบ้านเลยเรียกว่า 'บ้านทุ่งอิฐ' จนถึงปัจจุบัน ค าขวัญประจ าต าบลย่านซื่อ ถิ่นครองย่านซื่อ ลือชื่อพ่อท่านอินทร์ อร่อยลิ้นขนมจาก จักสานมากเสวียนหม้อ เจ้าพ่อแห่งฝีพาย หลากหลายวัฒนธรรม

2 โครงการหมู่บ้านในลุ่ม ชุมชนย่านซื่อ อ าเภอกันตัง หมู่บ้านในลุ่มหรือชาวบ้านจะเรียกหมู่บ้านปากกัดตีนถีบ เป็นหมู่บ้านเล็กๆเป็นที่ลุ่มอยู่ติดกับแม่น้ า ตรังและอยู่ในชุมชนบ้านย่านซื่อ หมู่ 3 มีประชากรรวมทั้งหมด 292 คน มีประชากรที่อยู่จริงเพียง 148 คนที่ เหลือ 144 ได้ออกไปอยู่ต่างจังหวัด ภายในหมู่บ้านมีเพียง 53 ครัวเรือน บ้านก็จะเป็นบ้านเก่าแก่มีใต้ถุนอาจจะ ผุผังบ้างแล้ว บางครอบครัวก็ก าลังสร้างบ้านใหม่แต่ก็มีส่วนบ้านเก่าอยู่ด้วย เป็นหมู่บ้านเล็กๆชาวบ้านจะมีผู้คน นับถือศาสนาพุทธสะส่วนใหญ่อาจจะมีอิสลามบางครอบครัว ภายในเนื้อที่ในหมู่บ้านที่ลุ่มมีเนื้อที่ทั้งหมด 153 ไร่เป็นที่อยู่อาศัย 50 ไร่ และพื้นที่เหลือจะเป็นสวนจาก 100 ไร่ ในตอนนี้ในหมูบ้านก็ก าลังก่อสร้างถนนเพื่อ สัญจรภายในหมู่บ้าน เป็นถนนคอนกรีต 98 เมตร และถนนลูกรัง 960 เมตร และทุกครั้งในช่วงฝนตกจะ ประสบปัญหาน้ าท่วมบ่อยครั้งเพราะเนื่องจากหมู่บ้านอยู่ติดกับแม่น้ าแต่ก็ไม่ค่อยจะได้รับความเสียหายมาก เท่าไรคนในหมู่บ้านจะประกอบอาชีพรับจ้างตัดจาก ลอกจาก และท าสวน ส่วนใหญ่ แต่ก็มีการประมงหาปลา ไว้เพื่อเลี้ยงชีพ ถ้าหากได้มาเยอะก็จะแบ่งขายเป็นอีกส่วนรายได้ของของคนในหมู่บ้านส่วนใหญ่ได้จากการ รับจ้าง ลอกจาก ตัดจาก ได้เงินต่อวันประมาณ 200 บาทบางวันก็ได้น้อยเป็นรายได้ที่ไม่แน่นอนท าน้อยได้น้อย ท ามากได้มากถ้าคนที่มีสวนก็จะกรีดยางพารางเป็นอาชีพหลัก การรับจ้างลอกจ้างก็ประมาณ 80 บาท ถ้าสับ จาก 1 มัดมัดละ 80 สตางค์ ในหมู่บ้านย่านซื่อก็จะมีประเพณีแข่งขันเรือยาวที่สืบทอดกันมาของชุมชนจะจัด ขึ้นช่วงวันสงกรานต์ในเดือนเมษาของทุกๆปี และมีงานพ่อท่านอินทร์ที่จัดในวัดย่านซื่อ เพื่อสร้างความสามัคคี ของคนในหมู่บ้าน ความสุขสนุกสนาน รอยยิ้มให้เป็นอัตลักษณ์ของชุมชน ต้นจาก

3 ประวัติคนในชุมชนย่านซื่อ บ้านหลังที่1 ชื่อ นางสุชาดา ชื่อเล่น ผึ่ง อายุ47 อาชีพ ท าจาก 3-4ปี รายได้นับจากผลงานท ามากได้มาก ท าน้อย ได้น้อยจากการท าจากเลือกขนาดที่เหมาะสม บ้านเลขที่ 24 หมู่ 3 ต าบล ย่าน ซื่อ อ าเภอ กันตัง จังหวัด ตรัง 92000 มีสมาชิกในครอบครัว ทั้งหมด 5 คนโดยรวมมีอาชีพ รับจ้างทั่วไป บ้านหลังที่ 2 นาง ประกาย ใหญ่จริง อายุ 14 ปี บ้านเลขที่ 55 หมู่ 3 ต าบล ย่านซื่อ อ าเภอ กันตัง จังหวัด ตรัง มี สมาชิกครอบครัวทั้งหมด 4-5คน ท าใบจากรายได้ 100 บาท ต่อวัน รายได้ไม่พอต่อการใช้จ่าย ใบจากที่ได้จาก ท ายาสูบ สมาชิกครอบครัว ช่วยหารายได้เสริม จากการตัดต้นจาก

4 บ้านหลังที่3 นาง อุไรวรรณ อายุ 60 ปี บ้านเลขที่ 50 หมู่ 3 ต าบล ย่านซื่อ อ าเภอ กันตัง จังหวัด ตรัง มีสมาชิก ครอบครัว4คน จากการท าอาชีพ ท าจาก วันละ 80-100 บาท ต่อวัน ท าใบจากเรื่อยๆ รายได้เสริมจากรับจาก แทงปาล์ม บ้านหลังที่ 4 นาง จิราภร ภูขาว อายุ 32 ปี บ้านเลขที่ 76/9 หมู่ ที่ 1 ต าบล ย่านซื่อ อ าเภอ กันตัง จังหวัด ตรัง 92000 มีสมาชิกทั้งหมด 5 คน รับท าใบจากตั้งแต่ อายุ 16 ปี เป็นลูกจ้างใช้ใบจากสดรายได้ต่อวัน น้อยสุด 80

5 มากสุด 200 บาท ต่อวัน และสามีชื่อ วีระ ภูขาว อายุ 35 ปี เป็นกรรมกร รายได้ 300-400 บาท ต่อ วัน มีลูก ทั้งหมด 2คน รายได้ไม่เพียงพอต่อการด ารงชีวิต เริ่มท างานมาตั้งแต่เช้า 07.00น.และถ้าไม่ภาระ อย่างอื่นก็จะท าไปถึง 21.00น. บ้านหลังที่ 5 นาง สมใจ เพรชสวาท อายุ 52 ปี บ้านเลขที่ 76/6 ต าบล ย่านซื่อ อ าเภอ กันตัง จังหวัด ตรัง มีสมา ขิกในครอบครัวทั้งหมด 5 คน ท าอาชีพ ใบจาก มีรายได้ 100 บาท ต่อวัน และสามี มีอาชีพ ท าประมง รายได้ ที่ได้มา ใช้จ่ายไม่เพียงพอในบางวัน รายได้เสริม รับซื้อขี้ยาง และน าไปขายต่อ นายจ้างจะมาน าจากที่ลอกเสร็จ แล้วน าไปส่งต่อ

6 ผลิตภัณฑ์เสริมรายได้ - ติหมา เป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ส าหรับใส่น้ าแข็งขาย ลูกละ 10 บาท ถ้าขายในราคาส่งประมาณลูกละ 6-7 บาท

7 ภาพส ารวจ

8

9

10

11

12

13 บทที่ 2 สวนผักไอโดรโปรนิกส์ ตั้งอยู่ที่ หมู่ 2 ต าบล ควนปริง อ าเภอเมือง จังหวัดตรัง ตั้งอยู่ข้างรั้วมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขต ตรัง และติดกับ สวนสุขภาพ ต าบลควนปริง ประวัติ นายวิเชียร ก าเนิด นายวิเชียร ก าเนิดนิดท าอาชีพ ปลูกผัก รายได้เฉลี่ยต่อการขายครั้ง ละ 2000-2500 บาท /ครั้ง ประวัติสวนผักไอโดรโปนิกส์ เป็นสวนผักที่องค์การบริหารส่วนต าบลควนปริง ได้มีการสนับสนุนขึ้นมา โดยจัดเป็นโครงการที่ สามารถสร้างรายได้และพัฒนาการเกษตรแก่ชุมชนเพื่อที่จะบรรเทาปัญหาภัยแล้ง ขั้นตอนการท า การเพาะเมล็ดพันธุ์พืช

14

15 เครื่องวัดค่าน้ า (EC Meter)

16 เครื่องวัดค่าปุ๋ย (Pocket-sized)

17 เนื้อที่แปลงผักและจ านวนคนงาน สวนผักไอโดรโปนิกส์ หมู่ 2 ต าบลควนปริง อ าเภอเมือง จังหวัดตรัง มีพื้นที่ทั้งหมด 1 0 ไร่ มีแปลงผังผักทั้งหมด 100 แปลง มีคนงานประมาณ 4-5 คน ภาพจากการส ารวจ

18

19

20

21 บทที่3 เตาถ่าน(อั้งโล่) ดินเหนียวขี้เป็ด หมักดินเหนียว (1วัน 1คืน) 1 วัน 1 คืน ) นวดและผสมดิน ( 2-3 ชั่วโมง) ใส่ขี้เถ้าแกลบด า ดินเหนียวและขี้แกลบด า ปั้นขึ้นรูปเตา ใช้แม่พิมพ์นอกและ ขึ้นรูปแผ่นรังผึ้ง พิมพ์ในช่วย เจาะช่องลมและตกแต่งปากเตา เจาะรูรังผึ้งและตกแต่ง ตากแดดผึ่งลม 2-4 วัน เผา ประกอบและตกแต่งเป็นเตาส าเร็จรูป ขึ้นแผ่นเหล็ก วางจ าหน่าย ตัดตามแบบ ตัดตามแบบ กระบวนการท าเตาอั้งโล่ ตัดตามแบบ

22 เบอร์1 เบอร์5 เบอร์ 0 เตาประหยัดถ่าน มีทั้งหมด 3เบอร์ ตั้งแต่เบอร์ 0,1,5 เตาฟืน มี3 รุ่น สามารถใช้ฟืน-ถ่านได้ฟืนเล็กกว้าง 12 มม. สูง11มม. / ฟืนรองกว้าง 14 มม. สูง 11 มม./ ฟืนใหญ่กว้าง 15.5 มม.สูง 13.5 มม. กระบวนการท าเตาอั้งโล่แต่ละชนิดด้วยภาพ ขั้นตอนที่ 1 เตรียมดิน การหมักดินเหนียว ดินเหนียวที่จะน ามาใช้ ต้องสะอาด ไม่มีเศษไม้ เศษหิน ถ้าเป็นก้อนใหญ่ก็ ควร ทุบให้ย่อยเป็นก้อนเล็กๆ ก่อนหมัก ควรตากไว้ ให้แห้งอย่างน้อย 1 วัน แล้วน าลงบ่อหมัก แช่ไว้ในน้ า นาน ประมาณ 12-24 ชั่วโมง จนดินอิ่มน้ าอย่างทั่วถึงแล้วน ามาเตรียมไว้ผสม

23 ขั้นตอนที่ 2 การนวดและผสมดิน การนวดและผสมดิน น าดินที่หมักแล้วมานวดผสมกับแกลบด า นวดจนเข้ากัน(ส่วนใหญ่จะใช้เครื่อง นวดดินเพื่อเครื่องนวดผสมดิน และดินที่นวดแล้วความสะดวกและการผสมที่ดีกว่า) โดยทั่วไปจะใช้ดินเหนียว 2 ส่วน ต่อขี้เถ้า แกลบด า 1 ส่วนซึ่งอัตราส่วนผสมนี้ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของดินแต่ละแห่งด้วย ขณะนวดผสม ดินจะพรมน้ าตามไปด้วยเพื่อให้นวดได้ง่ายขึ้น ส่วนผสมที่เข้ากันดีแล้ว ปิดด้วยพลาสติก หากยังไม่ใช้ทันทีเพื่อ ไม่ให้ดินผสมแห้งเกินไป ขั้นตอนที่ 3 การจัดเตรียมแม่แบบพิมพ์และการปั้นขึ้นรูป การจัดเตรียมแม่แบบพิมพ์ส าหรับท า เตาหุงต้มประสิทธิภาพสูงอาจต้องใช้ความ สามารถเพิ่มมาก หน่อย โดยการปั้นขึ้นรูปหรือ หาวัสดุในท้องถิ่นมาจัดท าเป็นแม่แบบพิมพ์ แม่แบบพิมพ์มี 2 ชนิด คือ - แม่แบบพิมพ์ภายนอก ใช้ส าหรับท าตัวและส่วนฐานเตา - แม่แบบพิมพ์ในส าหรับท าปากเตาและเส้าเตาก่อนท าการปั้นและใช้แม่พิมพ์ทุกครั้งจะต้องโรยขี้เถ้า รอบๆ แม่พิมพ์ก่อน เพื่อป้องกันดินเหนียวติดแม่แบบและปั้นไม่ได้รูปทรง การปั้นขึ้นรูป และปรับแต่งเตา

24 - น าดินที่หมักแล้วใส่ลงในแม่พิมพ์ภายนอก ซึ่งวางอยู่บนแท่นแล้วใช้มือตบปั้นขึ้นรูปเป็นทรงของเตา ให้มีความหนาและขนาดภายในเป็นไปตามก าหนด แล้วตกแต่งผิวด้านในเตาได้แก่ ห้องใต้รังผึ้ง ห้องเผาไหม้ หลังจากนั้นจึงอัดทับด้วยแม่พิมพ์ภายในเพื่อขึ้นรูปปากเตา และเส้าเตา เมื่อได้ที่แล้วถอดแบบ น าเตาไปตากแดดผึ่งลมให้แห้งหมาดๆ ประมาณ 2-3 วัน แล้วจึงน าเตามาปาด ตกแต่งปากเตา เส้าเตา และเจาะช่องลม แล้วน าไปตากแดดผึ่งลมจนแห้งสนิท ใช้เวลาประมาณ 2-4 วัน จะได้ เตาที่พร้อมจะน าไปเผา ขั้นตอนที่ 4 การท าตะแกรงดินและการเจาะรูตะแกรง การท าตะแกรงดิน ขั้นกลางระหว่างถ่านกับการใช้งานรองด้วยขี้เถ้า การเจาะรูตะแกรงแล้วน าไปตาก แดดเป็นเวลา 3 วัน หากฝนตกจะมีการยืดระยะเวลาในการตากแดดเพิ่มขึ้น

25 ขั้นตอนที่ 5 การท ารังผึ้ง น าดินที่นวดผสมแล้วใส่ลงในแบบพิมพ์ทรงกระบอกใช้มือกดดินให้เต็มแบบใช้โลหะบาง ปาดเอาดิน ส่วนที่เกินออก หลังจากนั้นปล่อยทิ้งไว้ให้แห้งพอหมาดๆ ประมาณ 2-3 วัน แล้วใช้แม่แบบเจาะรูเจาะตาม รูปแบบที่ต้องการโดยรูที่รังผึ้งจะต้องเป็นทรงกรวย คว่ าด้านบนเล็กกว่าด้านล่าง จากนั้นน าไปผึ่งลมอีก 2-4 วัน แล้วน าไปเผาจนสุกเพื่อเพิ่มความแข็งแรง ขั้นตอนที่ 6 การเผาเตา การเผาเตาหุงต้มประสิทธิภาพสูงมีขั้นตอนเหมือนกันกับการเผาเตาหุงต้มทั่วไป หลังจากตกแต่งและ ตากแห้งแล้วอาจจะตกแต่งสีเพื่อความสวยงามแล้วน ามาเรียงเป็นชั้นในเตาเผา การเผาอาจจะใช้เตาอุโมงค์ โดยใช้ไม้ฟืนเป็นเชื้อเพลิงหรือใช้เตาเปิดที่ใช้แกลบเป็นเชื้อเพลิงได้หากใช้เตาอุโมงค์อาจจะใช้เวลาประมาณ 8- 10 ซม. โดยใช้อุณหภูมิสูงสุดประมาณ 800-100 C แต่หากใช้เตาแกลบ อาจจะใช้เวลานานถึง 24-36 ซม. หลังจากนั้นทิ้งไว้ให้เตาเย็นตัว ใช้เวลาประมาณ 24 ชม. แล้วค่อยน าออกจากเตา ตรวจสอบสภาพ ทั่วไป หลังจากนั้นจึงน าไปบรรจุถังสังกะสีต่อไป

26 ขั้นตอนที่ 7 การอบเตาอั้งโล่ เมื่อเผาเตาเสร็จแล้วน าเตาอั้งโล่ที่ขึ้นรูปเสร็จแล้วน ามารวมกันพร้อมตะแกรง มาอบรวมกันเป็นเวลา 24 ชั่งโมง ขั้นตอนที่ 8 การน าเตาใส่ถังและการใส่รังผึ้งและยาฉนวน 1. การน าเตาใส่ถัง - เตรียมถังที่จะใส่เจาะช่องให้ตรงและพอดี กับช่องไฟของเตา - เอาดินเหนียวผสมขี้เถ้าแกลบโดยใช้ดินเหนียว 1 ส่วนขี้เถ้าแกลบ 10 ส่วน ย่ าให้เข้ากันดีแล้ว จึง ยกเตาลงถังเอาดินผสมที่ เตรียม ไว้ใส่ลงด้านข้างเตาแล้วอัดให้แน่นที่ขอบเตาติดกับถังสังกะสีใช้ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน ผสมทราย ละเอียดร่อน 1 ส่วน ยาที่ขอบเตา และขอบช่องไฟหน้าตา

27 2. การใส่รังผึ้งและยาฉนวน - วางรังผึ้งให้ได้ระดับ ในตัวเตา - แล้วน าดินที่ผสมไว้ (โดยใช้ดินเหนียว 1 ส่วน ขี้เถ้าแกลบ 5 ส่วน) ย่ าให้เข้ากันดีแล้ว ยาภายใน รอบ ๆ เตา บริเวณที่รังผึ้งสัมผัสกับผนังเตาทั้งด้าน บนและด้านล่าง ขั้นตอนที่ 9 การใส่กรอบเหล็กและพร้อมใช้งาน การอั้งโล่ที่อบเผาเสร็จแล้ว น ามาใส่กรอบเหล็ก ซึ่งดีต่อการใช้งาน หากไม่ได้ใส่กรอบเหล็กจะท าให้ เตาอั้งโล่ อายุในการใช้งานมีน้อยลง เนื่องจากโดนความร้อนแล้วดินมีการแตกร้าวจะท าให้เสียหายได้เร็วเมื่อน า ตะแกรงมาใส่ในเตาอั้งโล่และยึดติดด้วยดินเหนียวขี้เป็ด จากนั้นรอให้ดินแห้งเป็นอันเสร็จสมบูรณ์

28 การจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนผลดีที่เกิดขึ้นจากการน าความคิดความรู้และวิธีการใหม่มาใช้ ปรับปรุงการผลิตมีอะไรบ้างทั้งในทางด้านสังคมด้านสิ่งแวดล้อมและอื่นๆ ด้านสังคม 1.เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน หน่วยงาน และผู้ที่สนใจทั่วไป 2. สร้างความสามัคคีของคนในชุมชน 3.เพื่อสร้างงานและการหารายได้ของผู้ที่ว่างงาน 4.เป็นแหล่งอนุรักษ์วิถีชีวิตของคนในสังคม ด้านเศรษฐกิจ 1.สร้างรายได้ให้กับสมาชิกในอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผาในจังหวัดตรัง 2.เป็นสินค้าO-TOP ท าให้การตลาดสามารถแข่งขันและขายได้เป็นอย่างดี ด้านสิ่งแวดล้อม 1.เพื่อเพิ่มมูลค่าของผลผลิตทางการเกษตรและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์ 2. ลดปริมาณมลพิษการเผาไหม้ 3. สามารถน าไม้ต่างๆ มาท าฝืนได้ รูปภาพการส ารวจ

29

30 ประวัติผู้ท าเตาอั้งโล่ นางปราง พลชัยชื่อเล่น ป้าเอียด อายุ 65 ปี (เจ้าของกิจการ) อาศัยอยู่บ้านเลขที่ 33/5 ถ.บ้านโพธิ์ ซ. 5 ต.ทับเที่ยง อ.เมือง จ.ตรัง 92000 รับท าเตาอั้งโล่มา 25 ปี รายได้เฉลี่ยรวมประมาณ 10000 บาท/เดือน มี รายได้เสริมท าเต้าหู้

31 บทที่4 การจัดการสิ่งแวดล้อมของชุมชนในศตวรรษที่21 การจัดการสิ่งแวดล้อมในศตวรรษที่ 21 บทน า 1. ที่มาและความส าคัญ ปัจจุบันหลายประเทศทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย ก าลังประสบปัญหาการน าเอาทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้ประโยชน์โดยไม่มีการจัดการที่เหมาะสม ท าให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีสภาพเสื่อมโทรม ลง ระบบนิเวศน์ถูกท าลายส่งผลให้ความสมดุลที่มีในธรรมชาติหายไป และน าไปสู่การเกิดภัยพิบัติทาง ธรรมชาติต่างๆมากมาย ทั้งนี้ปัญหาส าคัญอยู่ที่การสร้างจิตส านึกให้ตระหนักต่อคุณค่าและความส าคัญของ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดของการพัฒนาคือ เสถียรภาพทาง เศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพสิ่งแวดล้อมโดยยึดหลักการอนุรักษ์ ด้วยการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อมอย่างฉลาดประหยัด และก่อให้เกิดผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุดเท่าที่ท าได้ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด ารงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศ ให้ด าเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อยุคโลกาภิวัตน์อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและ ภายนอก ไม่สุดโต่ง ไม่ประมาทและท าอย่างเป็นขั้นเป็นตอน ค านึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผลการ สร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรมในการคิด พูดและท าในทุกเรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงเป็นปรัชญาที่มีความส าคัญอย่างยิ่งส าหรับการขจัดความยากจนและลดความเสี่ยงทางเศรษฐกิจของ คนในชุมชน หากมองในอีกแง่มุมหนึ่ง เศรษฐกิจพอเพียง สามารถท าเป็นรายได้เสริม ลดการว่างงานของคนใน ชุมชนโดยมีการรวมกลุ่มของคนในชุมชนมาจัดกิจกรรมร่วมกัน ท าให้ปัญหาด้านต่างๆในสังคมก็จะลดลง เช่น ปัญหาความยากจน ปัญหาสุขภาพ ปัญหายาเสพติด เป็นต้นรวมไปถึงการสร้างกองทุนสุขภาพ กองทุนหมู่บ้าน เพื่อเป็นการส่งเสริมให้คนในชุมชนมีอาชีพอย่างมั่นคงที่แสดงออกถึงการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนซึ่งปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงสอดคล้องกับการพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนา ฉบับที่ 11 จะเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันใน มิติต่างๆให้แก่ ปัจเจก ครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศโดยใช้แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ ความยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต่อเนื่องจากแผนพัฒนา ฉบับที่ 10 พร้อมทั้งขยายการน า ทุนของประเทศที่มีศักยภาพจาก 3 ทุน ทั้งทุนสังคมทุนเศรษฐกิจ และทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็น 6 ทุน ได้แก่ทุนมนุษย์ ทุนสังคม ทุนกายภาพ ทุนทางการเงินทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและ ทุนทางวัฒนธรรมมาใช้ประยุกต์อย่างบูรณาการและเกื้อกูลกันโดยเฉพาะการสร้างฐานทางปัญญาเพื่อเป็น ภูมิคุ้มกันให้กับคนและสังคมไทยเป็นสังคมที่มีคุณภาพก้าวสู่สังคมและเศรษฐกิจสีเขียวที่มีแบบแผนการผลิต และบริโภคอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมโดยน าความรู้และจุดแข็งของอัตลักษณ์ไทยมาปรับ โครงสร้างเศรษฐกิจบนฐานนวัตกรรมที่เข้มแข็งเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจในภูมิภาคอย่างรู้เท่าทัน สร้างความยั่งยืนของภาคเกษตรและความมั่งคั่งด้านอาหารและพลังงานรวมทั้งการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนควบคู่ไปกับการเสริมสร้างระบบธรรมาภิบาลและความสมานฉันท์ในทุกภาคส่วน

32 และทุกระดับ เป็นฐานการพัฒนาประเทศที่มั่นคงและสมดุลมุ่งสู่การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขและ เป็นธรรม การสร้างกระบวนการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ท าให้ได้เผยแพร่ชื่อเสียงของ หลักสูตร สาขาวิชา คณะวิชาและมหาวิทยาลัยได้ข้อมูลเพื่อเผยแพร่คุณภาพมาตรฐานการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัย และท าให้นักศึกษาสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่จะต่อยอดการศึกษาและการ พัฒนาโดยการน าความรู้ที่ได้รับมาปฏิบัติจริงการใช้ชีวิตอย่างพอเพียงท าให้ มีใจสงบเมื่อตั้งใจว่าจะใช้ชีวิต ความเป็นอยู่อย่างง่ายๆ ไม่ฟุ้งเฟ้อจะท าให้จิตใจไม่วุ่นวายสับสนทะเยอทะยานแข่งขันกันหาวัตถุสิ่งของมา ประดับตนให้ทันสมัยหรือเหนือกว่าผู้อื่นมีความพอใจในสิ่งที่ตนมีท าใจให้เป็นสุขกับสิ่งที่ตนมีพอใจกับความ เรียบง่าย ความพอดีตามศักยภาพตนไม่จ าเป็นต้องเปรียบเทียบแข่งขันกับผู้อื่นในเรื่องวัตถุเช่นต้องมีบ้าน ใหญ่โตราคาแพง รับประทานอาหารตามภัตตาคารหรูๆมีเสื้อผ้าเครื่องประดับที่สวยหรูตามแฟชั่นเสมอมี ภูมิคุ้มกันที่ดีในตนไม่หวั่นไหวไปกับกระแสนิยม ร่วมกันสร้างสังคมให้เข้มแข็ง สามารถพึ่งตนเองได้ด าเนินชีวิต อย่างมีเหตุผลซื่อสัตย์สุจริต ไม่ต้องคิดเรื่องทุจริตคอร์รัปชั่น สร้างพวกพ้องเพื่อหาผลประโยชน์ร่วมกันช่วยให้ เศรษฐกิจดีขึ้นทั้งของครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติมีเวลาว่างมากขึ้นไม่ต้องวุ่นวายกับการวิ่งหาวัตถุ ท า ให้มีเวลาที่จะพัฒนาตนและท าประโยชน์ให้แก่สังคมมากขึ้นมีความสุขจากความพอเพียงและภูมิใจในตนเอง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรังได้ด าเนินการจักการเรียนการสอน และมีการ ส่งเสริมให้จัดกิจกรรมส าหรับนักศึกษาในด้านต่างๆ อย่างเหมาะสมและครบถ้วนให้สอดคล้องกับคุณลักษณะ ของบัณฑิตที่พึงประสงค์ 5 ประการ ได้แก่ 1) คุณธรรม จริยธรรม 2) ความรู้ 3) ทักษะทางปัญญา 4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ทักษะการ วิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการจัดโครงการ การจัดการ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ร่วมกับภาครัฐ เอกชน ชุมชน และสถาบันการศึกษา ภาคทฤษฎี เป็นการเรียนการสอนถึงภาพรวมของการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนของชุมชน โดย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง ร่วมกับ ภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชนและ สถาบันการศึกษาเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ จังหวัดตรังเป็นกรณีศึกษา ภาคปฏิบัติ อาจารย์และนักศึกษามหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง ร่วมกับ ภาครัฐ เอกชน ชุมชน และสถาบันการศึกษาความร่วมมือทางวิชาการ โดยมีก าหนดการ ดังนี้ เดือนมกราคม เดือนกุมภาพันธ์ เดือนมีนาคม เดือนเมษายน เดือนพฤษภาคม นักศึกษาประชุม กิจกรรมครั้งที่ 1 กิจกรรมที่3 น าเสนอโครงการ สรุปโครงการ วางแผนและแบ่ง ส ารวจวิถีชีวิตของ ส ารวจ และแก้ไขปรับปรุง ประเมินโครงการ หน้าที่ความ คนในชุมชนย่าน กระบวนการ การ โครงการ และส่งรูปเล่ม รับผิดชอบการ ซื่อ ท าเตาอั้งโล่ โครงการ ด าเนินโครงการ กิจกรรมที่2 ค่าใช้จ่าย เขียน ส ารวจสวนผักไอ โครงการ โดรโปรนิกส์ต าบล ผู้รับผิดชอบ ควนปริง

33 2.วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์โครงการที่ทั้ง 3 กิจกรรมหลัก ดังนี้ 1) วัตถุประสงค์ของกิจกรรมที่ 1 ส ารวจวิถีชีวตของคนในชุมชนย่านซื่อ 1.1 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และรู้จักวิถีชีวิตเกี่ยวกับการท ายาสูบใบ จากผู้ประกอบการเพื่อความมั่งคั่ง ของชุมชน 1.2 เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์การท ายาสูบใบจาก 1.3 เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมและมีทักษะในการท ากิจกรรม 2) วัตถุประสงค์ของกิจกรรมที่ 2 ส ารวจสวนผักไอโดรโปรนิกส์ ต าบลควนปริง 2.1 เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนร่วมกับภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน สถาบันการศึกษาเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ 2.2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาด้านคุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทาง ปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และทักษะการวิเคราะห์เชิงสัมภาษณ์ สื่อสารและการ ใช้เทคโนโลยี 3)วัตถุประสงค์ของกิจกรรมที่3 กระบวนการ การท าเตาอั้งโล่ 3.1เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเกิดกระบวนการเรียนรู้และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง ยั่งยืน 3.2เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้ที่แปลกใหม่อยู่เสมอ 3. ขอบเขตการศึกษา 3.1กลุ่มเป้าหมายของกิจกรรม กิจกรรมที่ 1ลงพื้นที่ส ารวจวิถีชีวิตของคนในชุมชนย่านซื่อ 1นักศึกษาในรายวิชามนุษย์กับสิ่งแวดล้อม จ านวน 11 คน กิจกรรมที่ 2 ลงพื้นที่ส ารวจสวนผักไอโดรโปรนิกส์ต าบลควนปริง ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง 2.นักศึกษาในรายวิชามนุษย์กับสิ่งแวดล้อม จ านวน 11 คน กิจกรรมที่3 ลงพื้นที่ส ารวจกระบวนการ การท าเตาอั้งโล่ 3.นักศึกษาในรายวิชามนุษย์กับสิ่งแวดล้อม จ านวน 11 คน

34 บทที่ 5 สรุปรายได้แต่ละชุมชนแต่ละชุมชนที่ส ารวจ รายได้ของคนบ้านในลุ่ม ต าบลย่านซื่อ อ าเภอกันตัง จังหวัดตรัง ตารางรายได้ขององค์การบริหารส่วนต าบลย่านซื่อ รายการ 2552 2553 2554 2555 ๑. รายได้ที่ท้องถิ่นจัดหาเอง 233,139 1,147,020.91 4,428,687.49 5,078,561.07 ๑.๑รายได้จากภาษีอากรที่ ท้องถิ่นจัดเก็บเอง - ภาษีโรงเรือนและที่ดิน 23,383 317,578.01 4,097,904.38 4,179,725.64 - ภาษีบ ารุงท้องที่ 9,187.47 8,187.11 9,527.45 4,335.19 ๑.๒รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร - ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ 93,775 424,539 401,870.75 461,869.50 และใบอนุญาต - รายได้จากทรัพย์สิน 32,834.53 28,041.29 58,711.35 127,655.74 - รายได้เบ็ดเตล็ด 71,213 63,432 94,928.91 15,490.00 รายได้ของคนแปลงผักไอโดรโปนิกส์ รายการ ปี พ.ศ. 2559 1. รายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้ 2,000,000 2. เงินอุดหนุนทั่วไป 1,500,000 3. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 500,000 4. เงินอุดหนุนระบุวัตถุประสงค์ - 5. รวมรายได้ของ อบต. ทั้งสิ้น 240,000 รายได้ของคนต าบลโคกหล่อเตาถ่าน(อั้งโล่) รายการ 2555 2556 2557 2558 2559 1. เงินอุดหนุนทั่วไป 200,000 200,000 200,000 150,000 100,000 2. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 360,000 360,000 360,000 432,000 432,000 3. เงินอุดหนุนระบุ - - - - - วัตถุประสงค์ 4. รวมรายได้ของกิจการ. 590,000 600,000 584,000 625,000 592,000 ทั้งสิ้น

35 ภาคผนวก

36

37 สมาชิกในกลุ่ม นายกฤษณพล สัญวงศ์ รหัสนักศึกษา5911029510062 ชื่อเล่นซิโก้ เกิดวันที่ 07/07/40 จบจากโรงเรียนสภาราชินี2 จังหวัดตรัง สายศิลป์ ไทย- สังคม –อังกฤษ ความสามารถพิเศษ ร้องเพลง ก าลังศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

38 นายอภินันท์ เกียงเอีย รหัสนักศึกษา5911029510057 ชื่อเล่นเบิร์ด เกิดวันที่ 28/11/40 จบจากโรงเรียนย่านตาขาวรัฐชนูปถัม จังหวัดตรัง สายศิลป์ – อังกฤษ ความสามารถพิเศษ เล่นฟุตบอล ก าลังศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

39 นางสาวอภิสรา เส็นจาง รหัสนักศึกษา 5911029510052 ชื่อเล่นแป้ง เกิดวันที่ 03/07/40 จบจากโรงเรียนย่านตาขาวรัฐชนูปถัม จังหวัดตรัง สายศิลป์อังกฤษ – ฝรั่งเศส ความสามารถพิเศษ เล่นกีฬา แบดมินตัน ก าลังศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

40 น.ส. กมลลักษณ์.สมุทรจิตร์ รหัสนักศึกษา5911029510022 ชื่อเล่นโบนัส เกิดวันที่ 03/04/41 จบจากโรงเรียนรัษฎาจังหวัดตรัง สายศิลป์ภาษาไทย.จีน.อังกฤษ ความสามารถพิเศษ ร้องเพลง ก าลังศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

41 น.ส.นวพรรณ เพ็ชรประสิทธิ์ รหัสนักศึกษา 5911029510026 ชื่อเล่นแพน เกิดวันพฤหัสบดีที่ 19 มีนาคม 2541 จบจากโรงเรียนวรนารีเฉลิมสงขลา สายอังกฤษ-ฝรั่งเศส ความถนัดสามรถแปลบทความภาษาอังกฤษ ก าลังศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาเหตุที่เป็นประชาสัมพันธ์เพราะสามารถสื่อสารให้คนอื่นได้รับรู้และเข้าใจสิ่งที่พูด

42 น.ส.พรธีรา ชูสุวรรณ รหัสนักศึกษา 5911029510003 ชื่อเล่นเบนซ์ เกิดวันที่ 09/12/40 จบจากโรงเรียนสภาราชินี2 จ.ตรัง สายศิลป์ไทย – สังคม – อังกฤษ ความสามารถพิเศษ ท าอาหาร ก าลังศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

43 นายพีรพล ยิ้มสงค์ รหัสนักศึกษา 5911029510013 ชื่อเล่นหนึ่ง เกิดวันที่ 21/05/40 จบจากโรงเรียนตรังวิทยา จ.ตรัง สายศิลป์วิทย์ – คณิต ความสามารถพิเศษ ว่ายน้ า ก าลังศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

44 นายภาคภูมิ แก้วประดิษฐ รหัสนักศึกษา 5911029510017 ชื่อเล่นเพลง เกิดวันที่ 29/01/41 จบจากโรงเรียนห้วยยอด จ.ตรัง สายศิลป์ – ค านวณ ความสามารถพิเศษ เล่นฟุตบอล ก าลังศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

45 นายอรุณ ช านาญเกียรติ รหัสนักศึกษา 5911029510040 ชื่อเล่นโก๊ะ เกิดวันที่ 27/03/40 จบจากโรงเรียนสภาราชินี2 จ.ตรัง สายศิลป์ไทย – สังคม – อังกฤษ ความสามารถพิเศษ วาดรูป ก าลังศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

46 นายจิรภัทร ชมดี รหัสนักศึกษา 5911029510031 ชื่อเล่นชม เกิดวันที่ 07/08/40 จบจากโรงเรียนสภาราชินี2 จ.ตรัง สายศิลป์ไทย – สังคม – อังกฤษ ความสามารถพิเศษ เล่นฟุตบอล ก าลังศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook