Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเวนคืนที่ดิน

การเวนคืนที่ดิน

Published by Kansuda Prutchayaprasert, 2021-03-18 04:31:11

Description: การเวนคืนที่ดิน

Search

Read the Text Version

จดั ทำโดย นำงสำวฐติ มิ ำ สมในใจ นำงสำวกำนตส์ ุดำ ปรชั ญำประเสรฐิ

เมื่อใดก็ตามที่รัฐจะดาเนินการจัดทาโครงการบริการสาธารณะเพื่อ สนองตอบต่อ ความต้องการของประชาชนในด้านต่าง ๆ เช่น การขยายถนนหรือการ ก่อสรา้ งถนนสายใหม่ ทางพิเศษ ทางเดินรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ระบบบาบัดนาเสีย เป็น ต้น รัฐอาจมีความจาเป็นต้องให้ได้มาซึ่ง อสังหาริมทรัพย์ของเอกชน เพื่อใช้ในการ ดาเนินการให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ โดยอาจตกลงซือขาย อสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวกับ เจา้ ของหรือผูค้ รอบครองอสงั หาริมทรัพย์ แต่ในกรณที ไี่ มส่ ามารถเจรจา ตกลงซือขายกัน ได้ประกอบกับรัฐยังมีความจาเป็นต้องใช้อสังหาริมทรัพย์นันอยู่ สิ่งที่จะต้องเกิดขึน ตามมาอย่างหลกี เล่ียงไม่ได้ คอื การใช้มาตรการบังคับทางกฎหมายโดยการประกาศให้มี การเวนคืน อสังหาริมทรัพย์ ซ่ึงปัจจุบันรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ส่วนท่ี ๕ สิทธิในทรัพย์สิน ได้วางหลักการสาคัญในเรื่องการเวนคืน อสงั หารมิ ทรัพยข์ องรัฐไว้ นอกจากนยี ังมี กฎหมายแม่บทกลางซึ่งใช้บังคับเป็นการทั่วไป ในเรื่องการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ คือ พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการเวนคืน อสงั หาริมทรพั ย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ เน่ืองจากบทบัญญัติในกฎหมายดังกล่าวสามารถ นาไปใช้ บังคับกับการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ตามกฎหมายเฉพาะอื่น ๆ ซึ่งมิได้บัญญัติในเร่ือง หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ และการกาหนดเงินค่าทดแทนการเวนคืน อสังหารมิ ทรพั ย์ไว้ เปน็ การเฉพาะได้ อย่างไรก็ตาม การเวนคนื อสงั หาริมทรัพย์ถือเป็นกรณีที่รัฐได้ใช้อานาจท่ีมี อย่ตู ามกฎหมาย ไปกระทบสทิ ธใิ นทรัพย์สนิ ของบคุ คล อนั สง่ ผลให้การดาเนินการเวนคืน อสังหาริมทรัพยม์ ักจะมีการ ต่อต้านและขัดขวางจากผูถ้ ูกเวนคืน รวมถึงมีกรณีพิพาทขึน สกู่ ารพิจารณาของศาลอยู่เสมอ โดยเฉพาะ อย่างย่ิงข้อพิพาทเกี่ยวกับเงินค่าทดแทนการ เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ทาให้ปัจจุบันกระบวนการ และขันตอนในการเวนคืนมีความ ล่าช้าและเกิดผลเสียต่อการพัฒนาประเทศ ดังนัน เพ่ือให้ผู้อ่านสามารถ เข้าใจถึง หลักการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ของรัฐมากย่ิงขึน มุมสะท้อนความคิดนิติบัญญัติ จึงขอ เสนอ

ขอบเขตการใชอ้ านาจรฐั ในการเวนคืนอสังหาริมทรพั ย์ รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๔๒ วรรคหน่งึ ได้ บัญญัติ ขอบเขตการใช้อานาจรัฐในการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ไว้ว่า “การเวนคืน อสังหาริมทรัพย์จะกระทา มิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะ กิจการของรัฐเพ่ือการอันเป็น สาธารณูปโภค การอันจาเป็นในการป้องกันประเทศ การได้มาซ่ึง ทรัพยากรธรรมชาติ การผังเมือง การส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อม การพัฒนาการ เกษตรหรือการอุตสาหกรรม การปฏิรูปท่ีดิน การอนุรักษ์โบราณสถาน และแหล่งทาง ประวัติศาสตร์ หรือเพ่ือประโยชน์สาธารณะอย่างอื่น และ ต้องชดใช้ค่าทดแทนท่ีเป็นธรรม ภายในเวลาอันควรแก่เจ้าของ ตลอดจนผู้ทรงสิทธิบรรดาที่ได้รับ ความเสียหายจากการเวนคืน นัน ทงั นี ตามท่ีกฎหมายบัญญัติ” ซึ่งเป็นหลักการที่รองรับหลักการ พระราชบัญญัติว่าด้วยการ เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๕ วรรคหนึ่ง ซึ่งกาหนดใน เร่ืองหลักเกณฑ์การ เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ไว้ว่า “เม่ือรัฐมีความจาเป็นต้องได้มาซ่ึงอสังหาริมทรัพย์ เพ่ือกิจการใด ๆ อันจาเป็นเพื่อการอันเป็นสาธารณูปโภค หรือการอันจาเป็นในการป้องกันประเทศ หรือการ ได้มาซ่ึงทรัพยากรธรรมชาติ หรือเพื่อการผังเมือง หรือเพ่ือการพัฒนาการเกษตร หรือ การ อุตสาหกรรมหรือเพ่ือการปฏิรูปที่ดิน หรือเพ่ือประโยชน์สาธารณะอย่างอ่ืน ถ้ามิได้ตกลงในเร่ือง การโอนไวเ้ ปน็ อย่างอืน่ ให้ดาเนินการเวนคืนตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี” ซ่ึงแม้ว่าจะ ใช้ ถ้อยคาท่ีมีสาระแตกต่างกันไปบ้างก็ตาม แต่ก็ยังคงมีหลักการท่ีเหมือนกัน คือ รัฐจะเวนคืน ทรัพย์สนิ ของราษฎรไดก้ ็แตเ่ ฉพาะเพ่อื กจิ การอนั เปน็ สาธารณประโยชน์เทา่ นัน การจะใช้อานาจ รัฐเวนคืน ทรัพย์สินของเอกชนบุคคลหน่ึงมาให้เอกชนอีกบุคคลหน่ึงใช้ประโยชน์ ซ่ึงเป็นไปเพื่อ ประโยชน์ของเอกชน จึงย่อมไม่อาจกระทาได้

กระบอวสนังกหาารรใมิ นทกราัพรเยว์ นคนื การดาเนนิ การเวนคืนอสงั หารมิ ทรัพย์ ตามพระราชบัญญตั วิ ่าดว้ ยการ เวนคนื อสงั หาริมทรพั ย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ ส่วนใหญ่แล้วจะเร่มิ ตน้ โดยการตรา “พระราชกฤษฎกี า กาหนดเขตทด่ี นิ ในบริเวณที่ ทจ่ี ะเวนคนื ” กอ่ น จากนนั เจา้ หนา้ ท่ีเวนคนื หรอื ผไู้ ด้รบั มอบหมาย จากเจ้าหนา้ ทีเ่ วนคนื จะดาเนินการ เจรจาตกลงเพอ่ื ทาการซอื ขายอสังหาริมทรพั ย์ทจี่ ะถูก เวนคืนกับเจ้าของหรือผ้คู รอบครองโดยชอบ ด้วยกฎหมาย แต่หากไม่สามารถเจรจาตกลงกนั ได้ก็จะมกี ารตรา “พระราชบญั ญัตเิ วนคืนอสงั หาริมทรัพย์” เพื่อให้มกี ารบงั คบั เวนคืนต่อไป แตอ่ ยา่ งไรกด็ ี มีบางกรณที ่รี ฐั อาจตราพระราชบัญญัติเวนคนื อสังหารมิ ทรัพย์ โดยไมม่ ีความ จาเปน็ ตอ้ งตราพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตทด่ี ินในบริเวณท่ีท่ีจะเวนคนื ก่อนก็ได้ ทงั นี ต้อง แลว้ แต่ข้อเท็จจรงิ และความจาเป็นตามแต่กรณี ๒.๑ การตราพระราชกฤษฎกี ากาหนดเขต ทีด่ ินในบริเวณที่ทจี่ ะเวนคนื ก่อนท่รี ัฐจะดาเนนิ การตราพระราชบญั ญตั ิเพอ่ื เวนคืน อสังหารมิ ทรัพย์ใดได้ รัฐจะต้อง ดาเนินการสารวจเพ่อื ใหท้ ราบถงึ ขอ้ เทจ็ จรงิ เก่ียวกบั อสงั หาริมทรัพย์ทีจ่ ะต้องเวนคนื ทีแ่ น่นอนเสียกอ่ น ซึง่ ในการดาเนินการสารวจดงั กลา่ วอาจมี ปญั หาอุปสรรค เช่น ไม่ไดร้ ับความร่วมมือจากเจ้าของ หรอื ผ้คู รอบครองโดยชอบด้วย กฎหมายซงึ่ อสังหารมิ ทรพั ย์นัน ดว้ ยเหตุนี พระราชบญั ญัติว่าดว้ ยการเวนคนื อสังหารมิ ทรพั ย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ จึงบญั ญตั ิให้รัฐมีอานาจตราพระราชกฤษฎกี ากาหนดเขตทีด่ ินในบริเวณที่ ท่ีจะ เวนคืนให้มผี ลใช้บังคบั ก่อนได้๓ ทังนกี เ็ พอื่ เปน็ การให้อานาจแก่เจา้ หน้าท่ใี นการเข้าไปสารวจ ทดี่ ิน หรอื อสังหาริมทรพั ย์อย่างอ่ืนท่อี ยูภ่ ายในเขตท่ีดินตามแผนที่แนบทา้ ย โดยในการ ดาเนนิ การจะต้อง ปิดประกาศสาเนาแห่งพระราชกฤษฎกี าดงั กลา่ วพร้อมทังแผนท่หี รือแผนผัง ท้ายพระราชกฤษฎกี าไว้ โดยเปิดเผย ณ สถานท่ตี า่ ง ๆ ตามทกี่ ฎหมายกาหนด๔ ในกรณเี ชน่ นี จงึ ถือว่ากระบวนการเวนคืน อสงั หารมิ ทรพั ย์ได้เริ่มขึนนบั ตงั แตพ่ ระราชกฤษฎกี ามีผลใชบ้ งั คบั ซง่ึ ผลของการใชบ้ งั คบั พระราชกฤษฎกี าจะก่อใหเ้ กิดอานาจและหนา้ ที่ของเจา้ หนา้ ท่ี ดงั นี

๑)การเข้าไปในที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์ท่ีจะเวนคืนเพ่ือสารวจข้อเท็จจริง เจ้าหน้าที่ หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าท่ีมีสิทธิเข้าไปในที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์ อย่างอ่ืนที่อยู่ ภายใต้เขตท่ีดินตามแผนที่ท้ายพระราชกฤษฎีกาเพื่อทาการสารวจข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ อสังหาริมทรัพย์ที่จะต้องเวนคืนที่แน่นอน แต่สิทธิท่ีจะเข้าไปในท่ีดินหรืออสังหาริมทรัพย์ ดังกล่าว จะเกดิ ขนึ กต็ ่อเม่อื ไดแ้ จง้ เปน็ หนังสอื ใหผ้ ู้เป็นเจ้าของหรอื ผูค้ รอบครองอสังหาริมทรัพย์ โดยชอบ ด้วยกฎหมายทราบถึงกิจการท่ีจะเข้าไปกระทาล่วงหน้าไม่น้อยกว่า ๑๕ วัน ก่อน เร่ิมทากิจการนัน และ หากเกิดความเสียหายขึนจากกิจการดังกล่าว เจ้าของหรือผู้ครอบครอง อสังหาริมทรัพย์โดยชอบ ด้วยกฎหมายมีสิทธิได้รับค่าทดแทนความเสียหายนันด้วย๕ ทังนี ใน การสารวจข้อเท็จจรงิ ดังกลา่ ว เจ้าหน้าท่จี ะต้องดาเนินการสารวจให้แล้วเสร็จภายใน ๑๘๐ วัน นับแต่วันท่พี ระราชกฤษฎีกามีผล ใช้บังคับ แต่ถ้าเป็นการเวนคืนเพื่อสร้างหรือขยายทางหลวง ทางรถไฟ ทางพเิ ศษ คลองชลประทานหรือกิจการท่ีคล้ายคลึงกัน (ซึ่งเป็นการดาเนินการท่ีอาจ กระทบตอ่ อสังหาริมทรพั ย์จานวนมาก เนือ่ งจาก เปน็ กจิ การทไี่ มจ่ ากัดเฉพาะพืนท่ี) ต้องสารวจ ให้แลว้ เสรจ็ ภายใน ๒ ปี นบั แตว่ นั ทพี่ ระราชกฤษฎีกา ดังกล่าวมีผลใช้บงั คบั (๒)การประกาศใหก้ ารเวนคนื เปน็ กรณที มี่ คี วามจาเป็นเรง่ ดว่ น เมื่อไดม้ ีการตราพระราช กฤษฎีกากาหนดเขตที่ดินในบริเวณท่ีท่ีจะเวนคืนแล้ว และเจ้าหน้าที่ เห็นว่า หากเนิ่นช้าไปจะ เป็นอุปสรรคอย่างมากแก่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม หรือประโยชน์ของรัฐ อันสาคัญอย่าง อ่นื “คณะรัฐมนตรมี ีอานาจประกาศในราชกจิ จานเุ บกษากาหนดให้การเวนคืน นันเป็นกรณีท่ีมี ความจาเป็นเร่งดว่ นได้” ซง่ึ จะทาให้เจ้าหนา้ ที่หรอื ผู้ไดร้ บั มอบหมายจากเจ้าหน้าที่ มอี านาจเขา้ ครอบครองหรอื ใช้อสังหาริมทรพั ย์นนั ไดก้ ่อนทจี่ ะมีการเวนคืน แต่ต้องมีหนังสือแจ้ง ให้เจ้าของ หรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมายซ่ึงอสังหาริมทรัพย์นันทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า ๖๐ วัน และเจ้าหน้าท่ีต้องจัดให้มีการจ่ายหรือวางเงินค่าทดแทนท่ีกาหนดไว้โดยให้จ่ายค่าทดแทน ก่อน การเข้าครอบครองหรอื ใช้ทด่ี นิ นัน และในกรณที ีม่ คี วามจาเปน็ ต้องรือถอนส่งิ ปลูกสรา้ งขน ย้ายทรัพย์สิน หรือดาเนินการใด ๆ เก่ียวกับกิจการท่ีจะต้องมีการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์นี ก็ สามารถดาเนนิ การให้มี การดาเนนิ การดังกลา่ วได้ ข้อสังเกต ผลของการมีประกาศให้การเวนคืนเป็นกรณีท่ีมีความจาเป็นเร่งด่วนนี มีผล แต่เพียงทาให้เจ้าหน้าที่เกิดอานาจในการเข้าครอบครองหรือใช้ประโยชน์ในอสังหาริมทรัพย์ท่ี จะเวนคืน ภายใต้เงื่อนไขของกฎหมายเท่านัน หาเป็นการก่อให้เกิดการโอนกรรมสิทธ์ิใน อสังหาริมทรพั ย์นันไม

(๓) การตกลงซือขายอสังหาริมทรัพย์ที่จะถูกเวนคืน เม่ือได้ดาเนินการสารวจท่ีที่จะ เวนคืนเป็นบางส่วนหรือแล้วเสร็จทังหมด เจ้าหน้าท่ีจะ เสนอรัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระ ราชกฤษฎีกาเพ่ือแต่งตังคณะกรรมการขึนคณะหนึ่ง ประกอบด้วย ผู้แทนของเจ้าหน้าท่ี ผู้แทนกรมทดี่ ิน ผู้แทนของหน่วยงานอ่ืนของรัฐ และผู้แทนของสภาท้องถิ่น ท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือ ทาหน้าที่กาหนดราคาเบืองต้นของอสังหาริมทรัพย์ท่ีจะต้องเวนคืนและจานวนเงิน ค่า ทดแทนภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันท่ีสารวจแล้วเสร็จ โดยให้คณะกรรมการดาเนินการกาหนด ราคา เบืองต้นให้แล้วเสร็จภายใน ๑๘๐ วัน นับแต่วันท่ีได้รับแต่งตัง แต่ในกรณีที่มีเหตุ จาเปน็ ทาใหไ้ ม่สามารถ ดาเนินการใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายในกาหนดเวลาได้ คณะกรรมการจะขอให้ รัฐมนตรีขยายกาหนดระยะเวลา ออกไปอีกก็ได้ แต่ต้องไม่เกิน ๑๘๐ วัน๘ ในระหว่างท่ีมีการ บังคับใช้พระราชกฤษฎีกานัน เจ้าหน้าท่ีหรือผู้ซ่ึงได้รับมอบหมายจาก เจ้าหน้าที่มีอานาจตก ลงซอื ขายและกาหนดจานวนเงินค่าทดแทนอสังหาริมทรัพย์ที่จะต้องเวนคืนกับ เจ้าของหรือ ผคู้ รอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย เพ่ือดาเนนิ การจดั ซอื และจ่ายค่าทดแทนอสังหาริมทรัพย์ ดังกลา่ วต่อไปได้ แต่จะให้ราคาหรือค่าทดแทนเกินกว่าราคาเบืองต้นที่คณะกรรมการกาหนด ราคา เบืองต้นได้กาหนดไว้ไม่ได้๙ การท่ีกฎหมายให้เจ้าหน้าท่ีหรือผู้ซ่ึงได้รับมอบหมายจาก เจา้ หนา้ ทมี่ อี านาจ ในการตกลงซือขายดงั กลา่ ว ถือวา่ เปน็ การลดขนั ตอนในการออกกฎหมาย เวนคืน เพราะหากเจ้าของหรือ ผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมายสามารถตกลงกับ เจ้าหน้าที่หรือผู้ซ่ึงได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าท่ี ได้ จะทาให้การดาเนินการตามโครงการที่ จะเวนคืนนันไม่จาต้องมีการตราพระราชบัญญัติเวนคืน เป็นการเฉพาะ๑๐ อย่างไรก็ตาม หากสามารถตกลงซือขายกันได้ แต่ไม่อาจเจรจาเพ่ือตกลงกันในเรื่อง จานวนเงินค่าทดแทน ได้ ผู้ถูกเวนคืนก็ยังคงมีสิทธิท่ีจะขอรับเงินค่าทดแทนตามราคาเบืองต้นที่ คณะกรรมการ กาหนดราคาไว้ในการทาสญั ญา๑๑ ทังนี โดยผลในทางกฎหมายถือว่าได้มีการโอนกรรมสิทธ์ิ ท่ีดินท่ีจะเวนคืนเป็นของรัฐนับตังแต่วันที่มีการชาระเงินค่าทดแทนตามจานวนที่ได้ตกลงซือ ขายกนั ๑๒ ๒.๒ การตราพระราชบัญญตั ิเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในกรณีที่เจ้าหน้าที่เวนคืนหรือผู้ ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าท่ีเวนคืนเจรจาตกลงซือขาย อสังหาริมทรัพย์ตามข้อ ๒.๑ แล้ว แต่ไม่อาจตกลงซือขายได้ และรัฐยังคงมีความจาเป็นต้องได้มาซึ่ง อสังหาริมทรัพย์นัน เพื่อดาเนินการตามวัตถุประสงค์ของโครงการหรือใช้ในกิจการของรัฐ เจ้าหน้าท่ีก็จะ เสนอ เ ร่ื อ ง ต่ อ รั ฐ ม น ต รี ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ เ พ่ื อ ด า เ นิ น ก า ร ใ ห้ มี ก า ร ต ร า พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ เ ว น คื น อสงั หารมิ ทรพั ย์ บังคับโอนกรรมสทิ ธิ์หรือสทิ ธคิ รอบครองมาเปน็ ของรัฐต่อไป

อย่างไรก็ดี กรณีท่ีรัฐได้มีการสารวจข้อเท็จจริงเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์นัน ๆ ไว้ เป็นการล่วงหน้าแล้ว หากในการสารวจนนั ไมม่ อี ุปสรรคใด ๆ เชน่ เจ้าของหรือผู้ครอบครอง อสังหาริมทรัพย์ในบริเวณท่ีรัฐประสงค์จะได้อสังหาริมทรัพย์นันยินยอมให้เจ้าหน้าที่ท่ี เกี่ยวข้อง เข้าไปในอสังหาริมทรัพย์นันเพื่อทาการสารวจ เช่นนีก็ไม่มีความจาเป็นท่ีรัฐ จะต้องอาศัยอานาจตาม พระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ เพอ่ื ตราพระราชกฤษฎกี ากาหนดเขต ทด่ี นิ ในบริเวณทท่ี จี่ ะเวนคืนเพื่อให้เกิดอานาจที่จะเข้า ทาการสารวจข้อเท็จจริงดังกล่าวแต่ประการใด ซ่ึงในกรณีท่ีรัฐทราบข้อเท็จจริงเก่ียวกับ อสังหาริมทรัพย์ที่จะต้องเวนคืนที่แน่นอนแล้ว รัฐย่อมสามารถตราพระราชบัญญัติเวนคืน อสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวได้ทันที โดยในพระราชบัญญัติเวนคืนต้องระบุที่ดิน หรือ อสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นท่ีต้องเวนคืน รายช่ือเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วย กฎหมาย และ แผนท่หี รอื แผนผงั แสดงเขตอสังหาริมทรัพย์ท่ีต้องเวนคืนอย่างชัดเจนไว้ท้าย พระราชบัญญัติและถือเป็น ส่วนหน่ึงแห่งพระราชบัญญัตินัน และผลในทางกฎหมายทัง ๒ กรณถี อื วา่ อสังหาริมทรพั ย์ท่ถี ูกเวนคืน นันได้ตกเป็นของรัฐนับตังแต่พระราชบัญญัติเวนคืน อสังหารมิ ทรพั ย์มีผลใช้บังคับ แต่เจ้าหน้าท่ีจะมีสิทธิ เข้าครอบครองหรือใช้อสังหาริมทรัพย์ นันได้กต็ อ่ เมอื่ ไดจ้ ่ายหรือวางเงินคา่ ทดแทนแลว้ ๑๔ ข้อสังเกต อสังหาริมทรัพย์ที่ถูกเวนคืนต้องเป็นอสังหาริมทรัพย์ที่อยู่ภายใต้แนวเขต แผนท่ี ทา้ ยพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ส่วนการระบุรายชื่อผู้เป็นเจ้าของหรือผู้ ครอบครอง อสังหาริมทรัพย์ การระบุเลขท่ีหนังสือสาคัญหรือจานวนเนือที่ดินท้าย พระราชบัญญัติดังกล่าว เป็นการ กาหนดรายละเอียดท่ีแม้มีข้อผิดพลาดก็หามีผลทาให้ผล แห่งการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในบริเวณ แนวเขตที่ระบุไว้ในแผนท่ีเปลี่ยนแปลงไปไม่๑๕ และกรณผี ใู้ ดจะเปน็ เจ้าของอสงั หารมิ ทรัพยท์ ่ถี กู เวนคืน หรือไม่ก็มีผลสาหรับการจ่ายเงินค่า ทดแทนเทา่ นนั ๑๖



ผลของอกสางั รหดาารเมินทนิ รกพัารยเ์วนคืน ๓.๑ กรรมสิทธ์ิในอสังหาริมทรัพย์ท่ีต้องเวนคืนตกเป็นของรัฐ ผลของการ ดาเนินการเวนคืนย่อมทาให้อสังหาริมทรัพย์ที่ถูกเวนคืนต้องตกเป็นของรัฐ ดังท่ีได้กล่าวไป แล้วในข้อ ๒ ๓.๒ การจานอง บุรมิ สิทธหิ รือทรัพยสทิ ธิอยา่ งอื่นเหนอื อสงั หาริมทรัพยท์ ตี่ อ้ ง เวนคืน สินสุดลง ในกรณีท่ีมีการจานอง บุริมสิทธิหรือทรัพยสิทธิอย่างอ่ืนเหนือ อสังหาริมทรัพย์ที่ต้องเวนคืน โดยผลของการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ทาให้การจานอง บุรมิ สทิ ธิหรือทรพั ยสทิ ธอิ ยา่ งอืน่ เหนอื อสงั หารมิ ทรัพย์ท่ตี อ้ งเวนคนื ดังกล่าวสินสุดลงนับแต่ วันที่พระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์มีผล ใช้บังคับ แต่ผู้รับจานอง ผู้ทรงบุริมสิทธิ หรือบุคคลผู้รับประโยชน์จากทรัพยสิทธิดังกล่าว ยังคงมีสิทธิ ที่จะได้รับชาระหนีหรือรับ ชดใช้เงินค่าทดแทนสาหรับอสังหาริมทรัพย์นันอยู่ต่อไป โดยจะต้องขอ รับชาระหนีหรือรับ ชดใช้ภายใน ๖๐ วัน นับแต่วันท่ีได้รับหนังสือแจ้งให้ผู้มีสิทธิได้รับเงินทดแทนหรือ ผู้รับ จานอง ผู้ทรงบุริมสทิ ธหิ รือผู้รบั ประโยชน์จากทรพั ยสิทธิดังกล่าวมารบั ชาระหนหี รอื รับชดใช้ จาก เงนิ ค่าทดแทนสาหรบั อสงั หารมิ ทรพั ย๑์ ๘ แต่หากเปน็ กรณีทีม่ ปี ัญหาเกี่ยวกบั กรรมสิทธิ์ หรือสิทธิอื่น ๆ ในอสังหาริมทรัพย์ท่ีต้องเวนคืน หรือมีปัญหาเก่ียวกับการแบ่งส่วนเงินค่า ทดแทนของผู้มีสิทธิได้รับเงิน ค่าทดแทน หรือมีกรณีที่คู่กรณียังมีปัญหาโต้แย้งกันอยู่ เจ้าหน้าท่ีหรือผู้ได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าท่ี ก็จะดาเนินการวางเงินค่าทดแทนไว้ และมี หนงั สือแจ้งให้คกู่ รณที ราบ๑๙ ๓.๓ เจา้ ของอสังหาริมทรัพยท์ ถ่ี กู เวนคนื เพยี งบางสว่ นและสว่ นทเ่ี หลอื ใช้การ ไม่ได้ มีสิทธิ ร้องขอให้เวนคืนหรือจัดซือส่วนท่ีเหลือนันตามเงื่อนไขท่ีกฎหมายบัญญัติ การ เวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพียงบางส่วนและส่วนที่เหลือใช้การไม่ได้ กฎหมายบัญญัติ ให้สิทธิ เจ้าของในการร้องขอให้เวนคืนหรือจัดซือส่วนที่เหลือนันทังหมดก็ได้ ซึ่งกฎหมายแยกเป็น กรณี ของการเวนคนื โรงเรือนหรอื สิ่งปลกู สรา้ งอยา่ งอื่น และการเวนคนื ท่ีดนิ ดงั นี

(๑) การเวนคืนโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ในกรณีท่ีมีการเวนคืนโรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอ่ืนแต่เพียงบางส่วนและส่วนที่เหลืออยู่ ไม่อาจใช้การได้แล้วนัน เจ้าของจะร้องขอให้เจ้าหน้าท่ีเวนคืนโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างที่เหลืออยู่ ซ่ึงใช้การไม่ได้ แล้วด้วยก็ได้ ซึ่งถ้าเจ้าหน้าที่ไม่ยอมเวนคืนตามคาร้องขอของเจ้าของ เจ้าของมีสิทธิ อุทธรณ์ ต่อรัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตท่ีดินในบริเวณท่ีท่ีจะ เวนคืน หรือ พระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์นัน แล้วแต่กรณี ภายในกาหนด ๖๐ วัน นับแต่วันท่ีได้รับแจ้ง เป็นหนังสือจากเจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่ ซึ่งรัฐมนตรีต้องวินิจฉัยอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จ ภายในกาหนด ๖๐ วัน นับแต่วันท่ีได้รับคา อทุ ธรณ์ มฉิ ะนนั ถือว่ารฐั มนตรวี นิ จิ ฉยั ใหเ้ จ้าหน้าท่ีเวนคืน ตามคาร้องขอของเจ้าของ และ คาวินิจฉัยของรัฐมนตรีถอื เป็นทสี่ ุด ข้อสังเกต การพิจารณาว่าโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างท่ีเหลือจากการเวนคืนใช้การ ไม่ได้แล้ว หรือไม่นัน เป็นปัญหาข้อเท็จจริงท่ีต้องพิจารณาเป็นกรณี ๆ ไป โดยจะต้อง พจิ ารณาจากข้อเทจ็ จริง ต่าง ๆ ทงั หมดทเ่ี กย่ี วข้อง ไมจ่ ากดั เฉพาะความมั่นคงแข็งแรงของ ตัวอาคารหรือวัตถุประสงค์ในการใช้ ประโยชน์อาคารของเจ้าของ แต่จะต้องคานึงถึง ความรู้สึกนึกคิดของเจ้าของโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างด้วย ว่าความไม่สะดวกหรือความ เดือดร้อนราคาญที่เกิดขึนกับโรงเรือนหรือส่ิงปลูกสร้างถูกเวนคืนไปบางส่วน นันมีมากจน ทาใหไ้ ม่เหมาะสมทจ่ี ะเปน็ ท่ีอยอู่ าศยั ของเจ้าของซงึ่ อยใู่ นฐานะเช่นนนั หรอื ไม่๒๑ (๒) การเวนคืนทดี่ ิน ในกรณที ี่มีการเวนคนื ท่ดี นิ แต่เพียงบางส่วน ถ้าเนือท่ีดินส่วนท่ี เหลืออยู่นันน้อยกว่า ๒๕ ตารางวา หรือด้านหน่ึงด้านใดน้อยกว่า ๕ วา และที่ดินส่วนที่ เหลืออยู่นันมิได้ติดต่อเป็นผืนเดียวกัน กับที่ดินแปลงอ่ืนของเจ้าของเดียวกัน หากเจ้าของ ร้องขอใหเ้ จ้าหน้าที่เวนคืนหรือจัดซอื ทดี่ ินสว่ นทีเ่ หลือ แล้ว เจา้ หนา้ ท่ตี ้องดาเนินการตามคา ร้องขอของเจา้ ของ

๓.๔ เจ้าของเดิมหรือทายาทมีสิทธิเรียกคืนท่ีดินที่ถูกเวนคืน การเวนคืน อสังหาริมทรัพย์ต้องระบุวัตถุประสงค์แห่งการเวนคืน และกาหนดระยะเวลา การเข้าใช้ อสงั หารมิ ทรพั ยไ์ ว้ให้ชดั แจ้ง ถ้ามไิ ด้ใช้อสังหารมิ ทรัพย์ที่ถูกเวนคนื เพื่อการนันภายใน ระยะเวลา ที่กาหนด รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๔๒ วรรคสาม และ วรรคสี่ บัญญัติให้คืนให้เจ้าของเดิมหรือทายาท โดยหลักเกณฑ์ในการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ และ การเรียกคืนค่าทดแทนท่ีใช้ไปต้องเป็นไปตามท่ีกฎหมายบัญญัติ อย่างไรก็ตาม แม้ปัจจุบัน ยังไม่มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายท่ีบัญญัติในเรื่องนีไว้ แต่โดย หลักการถือว่าเจ้าของเดิมหรือ ทายาทมีสิทธิเรียกคืนท่ีดินท่ีถูกเวนคืนไปแล้วแต่เจ้าหน้าท่ีไม่ได้ครอบครอง หรือใช้ประโยชน์ใน ท่ีดินนันตามวัตถุประสงค์ของการเวนคืนหรือใช้ประโยชน์ที่ผิดวัตถุประสงค์ของการ เวนคืนนัน ไดท้ ันที โดยไม่ต้องรอให้มีการบญั ญตั กิ ฎหมายอนุวัตกิ ารมาใช้บังคบั กอ่ น

การเวนคืนอสงั หารมิ ทรัพย์เพอ่ื จัดทาโครงการบรกิ ารสาธารณะของรฐั เพือ่ สนองตอบ ความ ต้องการของประชาชนและการพฒั นาประเทศ ภาครัฐจึงมคี วามจาเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งมี เคร่ืองมอื เพ่ือให้ได้มา ซ่ึงอสังหารมิ ทรพั ย์ของเอกชนในการดาเนนิ การใหบ้ รรลตุ าม วัตถปุ ระสงค์ พระราชบญั ญตั วิ า่ ด้วยการ เวนคนื อสงั หาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ จงึ เปน็ กลไก สาคัญและเปน็ เครื่องมือหลักในการจดั ทาบรกิ าร สาธารณะของรฐั ใหส้ าเรจ็ ลลุ ่วงและเพ่อื รักษาไว้ซง่ึ สิทธแิ ละเสรภี าพของประชาชนท่ีรฐั ธรรมนญู ได้ รบั รองไว้ แตอ่ ย่างไรกต็ าม โดยท่ี การใช้อานาจเวนคนื ของรัฐนันถือไดว้ า่ เป็นการจากดั สทิ ธิเสรภี าพ ในทรัพย์สนิ ของประชาชน ทีร่ ุนแรงทีส่ ุด เนอื่ งจากเปน็ การพรากกรรมสทิ ธใ์ิ นอสงั หารมิ ทรัพย์จากเอกชน มาเป็นของรฐั ดงั นัน การบังคับใชก้ ฎหมายฉบับนจี ะตอ้ งเปน็ กรณที ี่มคี วามจาเป็นและไม่สามารถจะ หา วิธีการอน่ื มาดาเนินการไดแ้ ลว้ เทา่ นัน และในการดาเนินการเวนคนื อสังหาริมทรพั ย์เพ่อื ให้ เกดิ ความเป็นธรรมแกผ่ ู้ถูกเวนคืนและสงั คมมากทสี่ ดุ รฐั จะตอ้ งดาเนินการเวนคืน อสังหารมิ ทรัพย์ภายใต้ ขอบเขตและวตั ถุประสงคข์ องกฎหมายอย่าง “รอบคอบ” โดย จะตอ้ งคมุ้ ครองทงั ประโยชน์สาธารณะ และประโยชน์ของเอกชนทเี่ กีย่ วขอ้ งประกอบกนั มใิ ช่ มงุ่ คุ้มครองเพียงแต่ประโยชน์สาธารณะ จนกลายเปน็ การละเลยผลกระทบทอ่ี าจเกิดขึนต่อ เอกชน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook