Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนวิทยาศาตร์ ระดับชั้น ป.1

แผนการสอนวิทยาศาตร์ ระดับชั้น ป.1

Published by rsimmakom79, 2021-06-02 04:47:20

Description: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.1

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 นางลดั ดาวลั ย์ ชมภเู ทศ ตำแหนง่ ครู โรงเรยี นเทศบาล ๒ ศรบี ุญเรือง กองการศกึ ษา เทศบาลเมอื งเลย จงั หวัดเลย กรมสง่ เสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พันธร์ ะหว่างสิง่ ไม่มีชีวิตกบั ส่ิงมีชีวติ และ ความสมั พนั ธ์ระหว่างส่งิ มีชีวติ กับส่ิงมชี ีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถา่ ยทอดพลังงาน การเปล่ยี นแปลงแทนที่ในระบบนเิ วศ ความหมายของประชำกร ปญั หาและผลกระทบทม่ี ตี ่อ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชำตแิ ละการแก้ไข ปญั หาสิง่ แวดลอ้ มรวมทัง้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบัตขิ องส่งิ มชี วี ิต หนว่ ยพื้นฐานของส่งิ มีชีวิต การลำเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่างๆของสตั ว์และมนุษย์ท่ีทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพนั ธข์ องโครงสร้าง และหน้าทขี่ องอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสมั พันธก์ นั รวมทง้ั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๓ เขา้ ใจกระบวนการและความสำคัญของการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม สารพันธกุ รรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและ วิวัฒนาการ ของสิ่งมีชวี ติ รวมทง้ั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ หมายเหตุ: มาตรฐาน ว ๑.๑ – ว ๑.๓ สำหรบั ผเู้ รียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึงระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ และผเู้ รยี นในระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔ – ๖ ทไี่ มเ่ นน้ วทิ ยาศาสตร์ สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เขา้ ใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พนั ธ์ระหว่างสมบัตขิ องสสารกับ โครงสร้างและแรงยดึ เหน่ยี วระหว่างอนภุ าค หลกั และธรรมชำติของการเปลี่ยนแปลงสถานะ ของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงท่ีกระทำต่อวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนที่ แบบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมท้งั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ ระหว่าง สสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชำติของคล่ืน ปรากฏการณ์ที่ เก่ียวขอ้ งกับ เสยี ง แสง และคลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมทง้ั นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ หมายเหตุ: มาตรฐาน ว ๒.๑ – ว ๒.๓ สำหรับผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึงระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปี ท่ี ๓ และผ้เู รียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๔ – ๖ ทไ่ี ม่เนน้ วิทยาศาสตร์ สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาว ฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมท้ังปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อส่ิงมีชีวิตและการ ประยกุ ต์ใช้ เทคโนโลยอี วกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงภายในโลก และ บนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลตอ่ สิง่ มชี ีวิตและสงิ่ แวดลอ้ ม หมายเหตุ: มาตรฐาน ว ๓.๑ – ว ๓.๒ สำหรับผู้เรียนทุกคนในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึงระดับช้ัน มัธยมศกึ ษา ปที ี่ ๓ และผู้เรียนในระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ – ๖ ทไี่ ม่เน้นวทิ ยาศาสตร์ สาระที่ ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๑ การออกแบบและเทคโนโลยี เขา้ ใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีเพ่อื การดำรงชวี ิตในสงั คมทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่ือแก้ปัญหา หรือ พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้ เทคโนโลยี อยา่ งเหมาะสมโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบต่อชีวติ สังคม และส่งิ แวดลอ้ ม มาตรฐาน ว ๔.๒ วทิ ยาการคำนวณ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นข้ันตอนและเป็น ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้ อย่างมี ประสิทธภิ าพ รเู้ ท่าทัน และมจี ริยธรรม

ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พันธร์ ะหว่างสง่ิ ไมม่ ีชีวิตกับสิ่งมชี ีวติ และความสมั พันธ์ระหว่างสง่ิ มีชีวติ กับสิง่ มีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนเิ วศ การถ่ายทอด พลงั งาน การเปล่ยี นแปลง แทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญั หาและผลกระทบ ที่มีต่อทรัพยากร ธรรมชาตแิ ละ สิง่ แวดล้อม แนวทางในการอนุรกั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมรวมท้งั นำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ช้ัน ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. ระบชุ อื่ พืชและสตั วท์ ่ีอาศยั อยู่บรเิ วณต่าง - บริเวณตา่ ง ๆ ในท้องถนิ่ เช่น สนามหญา้ ใต้ตน้ ไม้ ๆ จากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ สวนหย่อม แหล่งน้ำ อาจพบพชื และสัตว์หลายชนดิ ๒. บอกสภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมกับการ อาศยั อยู่ ดำรงชีวิตของสัตวใ์ นบริเวณท่ีอาศยั อยู่ - บรเิ วณท่แี ตกต่างกันอาจพบพชื และสตั วแ์ ตกต่างกนั เพราะสภาพแวดลอ้ มของแต่ละบริเวณจะมี ความเหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของพชื และสตั ว์ ท่ี อาศัยอยู่ในแต่ละบริเวณ เช่น สระนำ้ มนี ้ำเปน็ ที่อยู่ อาศัยของหอย ปลา สาหรา่ ย เป็นทหี่ ลบภัยและมี แหลง่ อาหารของหอยและปลา บริเวณต้นมะม่วงมี ตน้ มะมว่ งเป็นแหล่งทอี่ ยู่ และมีอาหารสำหรบั กระรอก และมด - ถ้าสภาพแวดล้อมในบรเิ วณท่พี ืชและสัตว์อาศัยอย่มู ี การเปล่ียนแปลง จะมีผลตอ่ การดำรงชีวติ ของพืชและ สตั ว์

สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบตั ขิ องส่งิ มีชีวติ หน่วยพ้นื ฐานของสง่ิ มชี วี ติ การลำเลียงสารผ่านเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทำงาน สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทำงาน สัมพนั ธก์ ัน รวมท้ังนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ชนั้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. ระบุช่อื บรรยายลักษณะและบอกหน้าท่ี - มนุษยม์ สี ่วนต่าง ๆ ท่ีมีลกั ษณะและหน้าทแ่ี ตกต่าง ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนษุ ย์ สตั ว์ กัน เพ่ือให้เหมาะสมในการดำรงชวี ิต เช่น ตามีหน้าที่ และพืช รวมทัง้ บรรยายการทำหน้าที่ ไว้มองดู โดยมีหนังตาและขนตาเพื่อปอ้ งกนั อันตราย รว่ มกัน ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ ให้กับตา หูมหี น้าทีร่ ับฟังเสียง โดยมใี บหแู ละรหู ู เพ่ือ ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ จากข้อมูลท่ี เป็นทางผ่านของเสยี ง ปากมีหน้าที่พดู กนิ อาหาร มี รวบรวมได้ ชอ่ งปากและมรี มิ ฝีปากบนล่าง แขนและมือมีหน้าทยี่ ก หยิบ จับ มที อ่ นแขนและน้วิ มือที่ขยับได้ สมอง มี หน้าที่ควบคุมการทำงานของส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เปน็ กอ้ นอยูใ่ นกะโหลกศรี ษะ โดยสว่ นต่าง ๆ ของ ร่างกายจะทำหน้าท่รี ่วมกนั ในการทำกิจกรรม ใน ชีวิตประจำวนั - สตั วม์ หี ลายชนดิ แตล่ ะชนดิ มสี ว่ นต่าง ๆ ทีม่ ี ลักษณะและหน้าท่ีแตกตา่ งกัน เพ่ือให้เหมาะสม ใน การดำรงชวี ติ เช่น ปลามคี รีบเป็นแผน่ สว่ นกบ เตา่ แมว มีขา ๔ ขาและมีเท้า สำหรับใช้ในการเคลื่อนที่ - พืชมีส่วนต่าง ๆ ทมี่ ลี กั ษณะและหน้าท่ีแตกตา่ งกัน เพ่อื ใหเ้ หมาะสมในการดำรงชีวิตโดยทวั่ ไป รากมี ลักษณะเรยี วยาว และแตกแขนงเป็นรากเลก็ ๆ ทำ หน้าทีด่ ูดนำ้ ลำต้นมลี กั ษณะเป็นทรงกระบอกตงั้ ตรง และมีก่ิงก้าน ทำหน้าทชี่ กู งิ่ กา้ น ใบ และดอก ใบมี ลักษณะเป็นแผน่ แบน ทำหน้าทสี่ ร้างอาหาร นอกจากน้พี ืชหลายชนิดอาจมีดอกทีม่ ีสี รูปร่างตา่ ง ๆ ทำหน้าท่สี บื พนั ธุ์ รวมทัง้ มผี ลที่มเี ปลือก มีเน้ือห่อหมุ้ เมล็ด และมีเมล็ดซ่ึงสามารถงอกเปน็ ตน้ ใหม่ได้ ๒. ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของสว่ นต่าง ๆ - มนษุ ย์ใช้สว่ นต่าง ๆ ของร่างกายในการทำกจิ กรรม ของร่างกายตนเอง โดยการดูแลส่วนต่าง ๆ ต่าง ๆ เพ่ือการดำรงชีวิต มนษุ ย์จงึ ควรใชส้ ว่ นต่าง ๆ อย่างถูกต้อง ใหป้ ลอดภัย และรกั ษาความ ของร่างกายอย่างถูกต้อง ปลอดภัย และรกั ษาความ สะอาดอยเู่ สมอ สะอาดอยเู่ สมอ เช่น ใช้ตามองตวั หนังสือในท่ี ๆ มีแสง สว่างเพียงพอ ดแู ลตาใหป้ ลอดภัยจากอันตราย และ รักษาความสะอาดตาอยเู่ สมอ

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธร์ ะหว่างสมบตั ิของสสารกับ โครงสร้างและแรงยดึ เหนี่ยวระหว่างอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลย่ี นแปลง สถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี ชั้น ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. อธิบายสมบัติท่ีสงั เกตได้ของวัสดุที่ใช้ทำ - วัสดุที่ใช้ทำวตั ถุท่เี ปน็ ของเล่น ของใช้ มีหลายชนดิ วัตถซุ ึ่งทำจากวัสดุชนิดเดียว หรือหลายชนดิ เชน่ ผ้า แก้ว พลาสตกิ ยาง ไม้ อฐิ หิน กระดาษ โลหะ ประกอบกันโดยใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ วัสดแุ ต่ละชนิดมสี มบตั ิท่สี งั เกตไดต้ ่าง ๆ เช่น สี นุม่ ๒. ระบุชนดิ ของวสั ดุและจัดกลมุ่ วสั ดตุ าม แข็ง ขรุขระ เรยี บ ใส ขนุ่ ยดื หดได้ บดิ งอได้ สมบัติท่สี ังเกตได้ - สมบัติที่สงั เกตได้ของวสั ดแุ ต่ชนดิ อาจเหมือนกัน ซง่ึ สามารถนำมาใช้เปน็ เกณฑ์ในการจดั กล่มุ วสั ดไุ ด้ - วัสดุบางอย่างสามารถนำมาประกอบกนั เพ่ือทำเปน็ วัตถตุ ่าง ๆ เช่น ผำ้ และกระดุม ใชท้ ำเส้ือ ไม้และโลหะ ใชท้ ำกระทะ สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๓ เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปล่ยี นแปลงและการถา่ ยโอนพลังงาน ปฏิสัมพนั ธ์ ระหว่างสสารและพลังงาน พลงั งานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ ท่เี ก่ยี วข้องกับเสียง แสง และคล่นื แม่เหล็กไฟฟ้า รวมทง้ั นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ป.๑ ๑. บรรยายการเกดิ เสยี งและทศิ ทาง การ - เสยี งเกดิ จากการส่นั ของวตั ถุ วตั ถุทีท่ ำให้เกดิ เสยี ง เคล่ือนท่ีของเสียงจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ เป็นแหล่งกำเนิดเสียงซ่ึงมที ้ังแหล่งกำเนิดเสียงตาม ธรรมชาตแิ ละแหลง่ กำเนิดเสยี งท่ีมนษุ ยส์ ร้างข้ึน เสียง เคล่อื นท่ีออกจากแหลง่ กำเนิดเสียงทกุ ทิศทาง

สาระที่ ๓ วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาวฤกษ์ และระบบสรุ ิยะ รวมทัง้ ปฏสิ ัมพนั ธ์ภายในระบบสรุ ยิ ะท่ีสง่ ผลต่อสิง่ มชี ีวติ และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ ชั้น ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. ระบุดาวท่ปี รากฏบนท้องฟ้าในเวลา - บนท้องฟา้ มดี วงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว ซึ่งใน กลางวัน และกลางคนื จากขอ้ มลู ทรี่ วบรวม เวลากลางวนั จะมองเหน็ ดวงอาทิตยแ์ ละอาจมองเห็น ได้ ดวงจันทรบ์ างเวลาในบางวัน แตไ่ มส่ ามารถมองเห็น ๒. อธิบายสาเหตทุ ี่มองไม่เห็นดาวสว่ นใหญ่ ดาว ในเวลากลางวนั จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ - ในเวลากลางวนั มองไม่เหน็ ดาวสว่ นใหญเ่ นื่องจาก แสงอาทติ ย์สว่างกว่าจึงกลบแสงของดาว สว่ นในเวลา กลางคืนจะมองเห็นดาวและมองเห็นดวงจนั ทร์ เกือบ ทกุ คืน สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายใน โลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ โลก รวมทัง้ ผลต่อสง่ิ มชี วี ติ และส่ิงแวดล้อม ชั้น ตัวช้วี ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง ป.๑ ๑. อธบิ ายลักษณะภายนอกของหิน จาก - หินที่อยใู่ นธรรมชาตมิ ีลักษณะภายนอกเฉพาะตัว ที่ ลกั ษณะเฉพาะตวั ท่สี ังเกตได้ สังเกตได้ เช่น สี ลวดลาย นำ้ หนัก ความแข็ง และเน้ือ หิน

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๒ วิทยาการคำนวณ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็นข้ันตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการ แก้ปญั หาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ รเู้ ทา่ ทนั และมจี ริยธรรม ชัน้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. แกป้ ญั หาอย่างง่ายโดยใชก้ ารลองผิดลอง - การแก้ปัญหาให้ประสบความสำเร็จทำไดโ้ ดยใช้ ถูก การเปรียบเทียบ ขน้ั ตอนการแก้ปญั หา - ปัญหาอย่างงา่ ย เช่น เกมเขาวงกต เกมหาจุด แตกต่างของภาพ การจดั หนังสือใสก่ ระเป๋า ๒. แสดงลำดับขน้ั ตอนการทำงาน หรือ การ - การแสดงขนั้ ตอนการแกป้ ัญหาทำไดโ้ ดยการเขียน แก้ปญั หาอย่างงา่ ยโดยใชภ้ าพ สัญลักษณ์ บอกเล่า วาดภาพ หรือใชส้ ัญลักษณ์ หรอื ข้อความ - ปญั หาอย่างงา่ ย เช่น เกมเขาวงกต เกมหาจุด แตกต่างของภาพ การจดั หนังสอื ใสก่ ระเป๋า ๓. เขยี นโปรแกรมอย่างงา่ ย โดยใช้ - การเขียนโปรแกรมเปน็ การสร้างลำดบั ของคำส่ัง ให้ ซอฟตแ์ วรห์ รอื สอ่ื คอมพวิ เตอร์ทำงาน - ตัวอย่างโปรแกรม เช่น เขยี นโปรแกรมสัง่ ให้ ตวั ละครย้ายตำแหน่ง ย่อขยายขนาด เปล่ยี นรปู ร่าง - ซอฟต์แวร์ หรือส่ือทีใ่ ชใ้ นการเขยี นโปรแกรม เช่น ใช้บัตรคำสัง่ แสดงการเขยี นโปรแกรม, Code.org

ชนั้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๑ ๔. ใช้เทคโนโลยีในกำรสร้าง จดั เก็บ เรียกใช้ - การใชง้ านอุปกรณเ์ ทคโนโลยเี บื้องต้น เช่น การใช้ ขอ้ มูลตามวตั ถุประสงค์ เมาส์ คยี ์บอรด์ จอสัมผสั การเปิด-ปิด อุปกรณ์ เทคโนโลยี - การใชง้ านซอฟต์แวรเ์ บอื้ งต้น เช่น การเขา้ และออก จากโปรแกรม การสร้างไฟล์ การจัดเก็บ การเรียกใช้ ไฟล์ ทำได้ในโปรแกรม เช่น โปรแกรมประมวลคำ โปรแกรมกราฟกิ โปรแกรมนำเสนอ - การสร้างและจัดเก็บไฟล์อย่างเป็นระบบจะทำให้ เรยี กใช้ คน้ หาข้อมลู ได้ง่ายและรวดเรว็ ๕. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย - การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เชน่ ปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์ รูจ้ กั ข้อมลู สว่ นตวั อนั ตรายจากการเผยแพรข่ ้อมูล รว่ มกนั ดูแลรกั ษาอปุ กรณ์เบื้องตน้ ใช้งาน ส่วนตวั และไมบ่ อกข้อมูลส่วนตัวกบั บคุ คลอนื่ ยกเว้น อย่างเหมาะสม ผูป้ กครองหรือครู แจ้งผ้เู กยี่ วข้องเม่ือต้องการ ความ ชว่ ยเหลือเก่ียวกับการใช้งาน - ข้อปฏิบัตใิ นการใชง้ านและการดูแลรกั ษาอปุ กรณ์ เช่น ไมข่ ดี เขียนบนอปุ กรณ์ ทำความสะอาด ใช้ อปุ กรณ์อย่างถูกวธิ ี - การใชง้ านอย่างเหมาะสม เช่น จัดทา่ น่ังให้ถกู ต้อง การพักสายตาเม่ือใช้อุปกรณเ์ ป็นเวลานาน ระมัดระวัง อุบัติเหตจุ ากการใชง้ าน

คำอธบิ ายรายวชิ า รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว11101 กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 เวลา 80 ช่วั โมง ********************************************************* ศกึ ษา วเิ คราะห์ ระบุช่อื พืชและสตั ว์ทอี่ าศยั อยบู่ ริเวณตา่ ง ๆ จากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ บอกสภาพแวดล้อมท่เี หมาะสมกับการดำรงชีวิตของสัตว์ในบรเิ วณท่อี าศัยอยู่ บรรยายลักษณะและบอกหน้าที่ ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ สัตว์ และพืช รวมทั้งบรรยายการทำหน้าท่ีร่วมกันของส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกายมนุษย์ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ จากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ ตระหนักถึงความสำคัญของส่วนต่าง ๆ ของ รา่ งกายตนเอง โดยการดูแลส่วนตา่ ง ๆ อย่างถูกตอ้ ง ใหป้ ลอดภยั และรกั ษาความสะอาดอยู่เสมอ บรรยายการเกิดเสยี งและทศิ ทางการเคล่ือนท่ีของเสยี งจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ ระบุดาวที่ปรากฏ บนท้องฟ้าในเวลากลางวัน และกลางคืนจากข้อมูลที่รวบรวมได้ อธิบายสาเหตุที่มองไม่เห็นดาวส่วนใหญ่ ใน เวลากลางวนั จากหลักฐานเชิงประจักษ์ ศึกษา วิเคราะห์ อธิบายลักษณะภายนอกของหิน จากลักษณะเฉพาะ ตวั ท่สี ังเกตได้ แกป้ ัญหาอย่างงา่ ยโดยใช้การลองผิดลองถูก การเปรียบเทยี บแสดงลำดับข้ันตอนการทำงานหรือ การแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือส่ือ ใชเ้ ทคโนโลยใี นการสร้าง จัดเก็บ เรยี กใช้ขอ้ มูลตามวัตถุประสงค์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบตั ิ ตามขอ้ ตกลงในการใช้คอมพิวเตอรร์ ว่ มกัน ดแู ลรักษาอปุ กรณเ์ บ้ืองตน้ ใชง้ านอย่างเหมาะสม รหัสตวั ชี้วดั ว1.1 ป1/1 ป1/2 ว1.2 ป1/1 ป.1/ 2 ว2.1 ป.1/1 ป.1/2 ว2.3 ป 1/1 ว3.1 ป1/1 ป1/ 2 ว3.2 ป.1/1 ว4.2 ป 1/1 ป1/2 ป1/3 ป1/4 ป1/5 รวม 15 ตัวชว้ี ดั

โครงสร้างรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว11101 เวลา 80 ช่ัวโมง วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ท่ี ช่ือหน่วยการ มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระการเรยี นรู้ เวลา คา่ น้ำหนัก คะแนน เรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั 1 ตวั เรา ว1.2 ป 1/1 ป 1/ 2 - หนา้ ทขี่ องส่วนต่างๆของรา่ งกาย 17 20 มนษุ ย์สัตว์และพืช - ความสำคัญของสว่ นต่างๆของ ร่างกายของตนเอง - การดแู ลสว่ นตา่ งๆของรา่ งกาย 2 พชื และสัตว์ ว1.1 ป1/1 ป1/2 ชวี ิตพืชชีวติ สตั ว์ 25 25 ว1.2 ป 1/1 - ชอ่ื พืชและสัตวอ์ ยู่อาศัย ของพชื และสัตว์ - สภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมกบั การ ดำรงชีวติ ของสัตวใ์ นบริเวณท่อี าศัยอยู่ - หนา้ ทข่ี องสว่ นต่างๆของร่างกาย มนษุ ย์สตั วแ์ ละพืช 3 วสั ดุ ว2.1 ป1/1 ป1/2 - วัสดุทใี่ ช้ทำของเล่นของใช้ 15 15 - สมบตั ขิ องวสั ดุ 8 5 10 10 - การจัดกลมุ่ วสั ดุ 5 5 20 20 4. เสียงรอบตัว ว2.3 ป1/1 - การเกิดเสยี ง - การเคลอื่ นท่ีของเสียง 5. ท้องฟ้าแสน ว3.1 ป1/1 ป1/2 - ท้องฟา้ เวลากลางวนั กลางคนื สวย - ดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ ดวงดาว 6. หินในธรรมชาติ ว3.2 ป1/1 - ลักษณะของหนิ - ประโยชนข์ องหิน 7. เทคโนโลยีใน ว4.2 ป1/1 ป1/2 ป1/3 - ปญั หาอยา่ งงา่ ย เชน่ เกมเขา ยุคปจั จบุ ัน ป1/4 ป1/5 วงกต เกมหาความต่างของภาพ - การเขียนโปรแกรมเปน็ การสร้าง ลำดบั ของคำส่งั ให้คอมพิวเตอร์ ทำงาน

ที่ ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระการเรยี นรู้ เวลา คา่ นำ้ หนกั เรียนรู้ ตัวชี้วัด คะแนน - ตวั อย่างโปรแกรม เช่น เขยี น โปรแกรมสง่ั ให้ ตัวละครย้ายตำแหนง่ ยอ่ ขยายขนาด เปลี่ยนรปู ร่าง - ซอฟตแ์ วร์ หรือสอ่ื ท่ใี ชใ้ นการ เขียน - การใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยี เบอื้ งตน้ - การใชง้ านซอฟต์แวรเ์ บือ้ งต้น - การสรา้ งและจดั เก็บไฟลอ์ ย่าง เป็นระบบ - การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ อยา่ งปลอดภยั รวมตลอดปี 80 100 หมายเหตุ หน่วยการเรยี นรเู้ ทคโนโลยีในยคุ ปัจจุบัน ใช้ชัว่ โมงเรียนในรายวิชาวิทยาการคำนวณ

แผนการจดั การเรียนรู้ ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ ตวั เรา เวลา 2 ช่ัวโมง เรือ่ ง อวัยวะภายนอกของเรา ผู้สอน นางลดั ดาวลั ย์ ชมภเู ทศ วันทท่ี ำการสอน ************************************************************************************************************************************************************* สาระสำคญั ร่างกายของมนุษย์เราประกอบด้วยอวัยวะต่างๆอวัยวะทีเ่ รามองเหน็ ได้ เรยี กว่า อวยั วะภายนอก มาตรฐานว 1.2 เข้าใจลักษณะของสงิ่ มชี ีวิต หนว่ ยพนื้ ฐานของสิง่ มชี ีวติ การลำเลียงสารผ่านเซลล์ ความสัมพันธข์ องโครงสร้าง และหนา้ ท่ีของระบบตา่ งๆของสตั ว์และมนษุ ย์ท่ีทำงานสมั พันธก์ ัน ความสมั พนั ธ์ ของโครงสรา้ งและหน้าท่ีของอวยั วะตา่ งๆของพชื ที่ทำงานสัมพนั ธ์กนั รวมทงั้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ตัวชีว้ ัด ป1/1 ระบชุ ือ่ บรรยายลกั ษณะและบอกหน้าทีข่ องสว่ นตา่ งๆของรา่ งกายมนษุ ย์ สัตว์และพชื รวมท้งั บรรยายการทำหน้าทรี่ ่วมกันของส่วนต่างๆของรา่ งกายมนุษย์ในการทำกิจกรรมตา่ งๆจากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ สาระการเรียนรู้ มนษุ ย์มสี ่วนต่างๆท่เี หมาะสมในการดำรงชวี ิต จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นกั เรยี นสงั เกตและชบี้ อกอวัยวะภายนอกได้ ช้นิ งาน/ภาระงาน แบบฝกึ กจิ กรรม เครอ่ื งมือการคิด - กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 1. นกั เรียนจบั คกู่ ับเพ่ือน 2. ผลดั กันสำรวจร่างกายของตนเองและเพ่ือนว่ามีอวยั วะภายนอกอะไรบ้าง 3. วาดภาพตนเองและเพอื่ น พร้อมระบายสีใหส้ วยงามจากน้ันเปรยี บเทยี บอวัยวะภายนอกของ ตนเองกับเพ่ือน 4. รว่ มกนั อภิปรายและสรุปผลเก่ยี วกบั อวัยวะภายนอกของร่างกาย ชัว่ โมงที่ 2 5. นกั เรียนดูภาพท่ีครูนำมาแลว้ ร่วมกันอภปิ รายถึงอวัยวะต่างๆ 6. นกั เรียนทำกิจกรรมในแบบฝึกกิจกรรม 7. นำเสนอผลงานตนเอง สื่อ 1. แบบฝึกกิจกรรม 2. หนังสอื เรียน 3. รูปภาพคน

วิธวี ดั ผล 1 การรว่ มอภปิ รายและการตอบคำถาม 2. ตรวจผลงาน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ใฝ่เรยี นรู้ 2. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน

แบบบันทึกหลังการสอน ผลการสอน ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................ ...... ............................................................................................................................. ................................................. ปัญหา/อุปสรรค ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................. . ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................... ........... ........................................................................................................................ ...................................................... ลงชือ่ ..................................................... ผ้บู นั ทกึ (นางลดั ดาวลั ย์ ชมภเู ทศ) ............/..................../...............

แผนการจัดการเรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ตวั เรา เวลา 2 ชั่วโมง เร่ือง อวัยวะภายในของเราและหนา้ ท่ี ผูส้ อน นางลัดดาวัลย์ ชมภเู ทศ วันท่ที ำการสอน ************************************************************************************************************************************************************* สาระสำคญั ร่างกายของมนุษย์เราประกอบดว้ ยอวัยวะต่างๆอวยั วะท่เี รามองเห็นได้ เรียกวา่ อวยั วะภายนอก และนอกจากอวัยวะภายนอกแล้ว ภายในร่างกายของคนเรายงั มอี วยั วะอยู่หลายส่วนซ่ึงแต่ละส่วนทำหนา้ ที่ แตกต่างกันไป มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจลกั ษณะของสิ่งมีชวี ิต หน่วยพน้ื ฐานของส่ิงมีชีวิต การลำเลียงสารผา่ นเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของระบบตา่ งๆของสตั วแ์ ละมนุษย์ที่ทำงานสมั พันธก์ ัน ความสมั พันธ์ ของโครงสร้างและหนา้ ทขี่ องอวัยวะต่างๆของพืชทีท่ ำงานสัมพนั ธ์กนั รวมท้ังนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวช้วี ดั ป1/1 ระบุชอื่ บรรยายลักษณะและบอกหนา้ ที่ของส่วนตา่ งๆของร่างกายมนุษย์ สตั วแ์ ละพชื รวมท้ัง บรรยายการทำหนา้ ทีร่ ่วมกันของสว่ นต่างๆของรา่ งกายมนุษยใ์ นการทำกจิ กรรมตา่ งๆจากข้อมลู ที่รวบรวมได้ สาระการเรียนรู้ มนษุ ย์มีส่วนต่างๆทเี่ หมาะสมในการดำรงชวี ิต จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นักเรยี นบอกอวยั วะภายในรา่ งกายของคนเราได้ (สมอง หัวใจ ปอด กระเพาะ อาหาร) 2. นกั เรียนบอกหน้าทีข่ องอวัยวะภายในได้ (สมอง หัวใจ ปอด กระเพาะอาหาร) ชน้ิ งาน/ภาระงาน แบบฝกึ กิจกรรม เคร่ืองมอื การคดิ - กิจกรรมการเรยี นรู้ ช่ัวโมงท่ี 1 1. ครพู านักเรียนไปท่ีห้องเรียนวิทยาศาสตรเ์ พอื่ ไปดูโมเดลรปู คนเก่ียวกับอวัยวะภายใน 2. นักเรียนสังเกตอวยั วะท่ีพบพร้อมบอกช่ืออวยั วะเหลา่ นั้นว่ามีอะไรบ้าง 3. เปรียบเทียบอวัยวะทอี่ ยูใ่ นโมเดลกบั อวัยวะในรา่ งกายตนเองวา่ อยู่ในบริเวณใด 4. รว่ มกันอภิปรายและสรปุ เก่ยี วกบั อวัยวะภายในรา่ งกาย ชัว่ โมงท่ี 2 5. นกั เรียนดูภาพอวยั วะภายในร่างกายแล้วร่วมกนั อภปิ รายถึงหนา้ ท่ีของอวัยวะเหล่านน้ั 6. นกั เรียนทำกิจกรรมในแบบฝึกกจิ กรรม 7. นำเสนอผลงานตนเอง

สือ่ 1. แบบฝึกกจิ กรรม 2. หนังสอื เรียน 3. โมเดลภาพคน วิธีวัดผล 1 การรว่ มอภิปรายและการตอบคำถาม 2. ตรวจผลงาน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมนั่ ในการทำงาน

แบบบันทึกหลังการสอน ผลการสอน ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ปัญหา/อปุ สรรค ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ ..................................................... ผู้บนั ทึก (นางลัดดาวลั ย์ ชมภเู ทศ) ............/..................../...............

แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา 4 ช่ัวโมง ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ ตวั เรา ผสู้ อน นางลัดดาวลั ย์ ชมภูเทศ เรอ่ื ง หนา้ ทข่ี องอวยั วะภายนอกของเรา วันท่ีทำการสอน ************************************************************************************************************************************************************* สาระสำคญั อวัยวะแตล่ ะสว่ นของเรามลี ักษณะและทำหนา้ ที่แตกต่างกนั เพ่ือให้เหมาะสมกับการดำรงชีวติ มาตรฐานว 1.2 เขา้ ใจลกั ษณะของสง่ิ มีชีวิต หนว่ ยพื้นฐานของส่ิงมชี วี ติ การลำเลียงสารผ่านเซลล์ ความสมั พนั ธข์ องโครงสร้าง และหนา้ ทข่ี องระบบต่างๆของสัตว์และมนุษยท์ ่ีทำงานสัมพันธก์ ัน ความสัมพนั ธ์ ของโครงสรา้ งและหน้าที่ของอวัยวะตา่ งๆของพืชทที่ ำงานสัมพันธก์ ัน รวมทัง้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตวั ช้ีวัด ป1/1 ระบชุ อื่ บรรยายลกั ษณะและบอกหนา้ ทข่ี องสว่ นต่างๆของรา่ งกายมนษุ ย์ สัตว์และพืช รวมท้ัง บรรยายการทำหน้าทีร่ ่วมกนั ของส่วนตา่ งๆของร่างกายมนุษย์ในการทำกิจกรรมต่างๆจากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้ สาระการเรียนรู้ หน้าทข่ี องอวัยวะภายนอก จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นักเรยี นชบ้ี อกอวยั วะภายนอกได้ 2. นกั เรียนบอกหน้าท่ขี องอวยั วะภายนอกรา่ งกายได้ ชิ้นงาน/ภาระงาน แบบฝกึ กิจกรรม เครือ่ งมอื การคดิ - กจิ กรรมการเรียนรู้ ช่วั โมงท่ี 1(ตา หู) 1. นกั เรียนลืมตาแล้วมองไปรอบๆสงั เกตส่ิงที่พบจากนัน้ หลบั ตาแลว้ หนั ไปรอบๆ 2. เปรียบเทียบความแตกตา่ งของการลมื ตาและหลับตา 3. นกั เรยี นฟังเพลงจากทค่ี รูเปิดให้ฟงั จากน้ันใชม้ อื ปิดหูทง้ั สองขา้ งฟังเพลงเดิมท่ีครูเปดิ ไว้ 4. เปรยี บเทียบความแตกตา่ ง 5. รว่ มกันอภิปรายและสรุปเกี่ยวกบั หน้าทีข่ องอวัยวะภายนอกของรา่ งกาย ช่ัวโมงที่ 2 (จมกู ปาก) 6. นักเรียนดูภาพท่ีครูนำมาแลว้ รว่ มกนั อภปิ รายถงึ อวัยวะต่างๆ 7. นกั เรยี นทำกิจกรรมในแบบฝึกกจิ กรรม 8. นำเสนอผลงานตนเอง ชั่วโมงท่ี 3(แขนและมอื ขาและเท้า) 9. นกั เรียนทดลองใช้มือหยิบส่ิงของโดยปฏบิ ตั ิดังนี้ - ใช้มือหยิบดนิ สอของตามปกติ - ใชเ้ ฉพาะนิ้วชแ้ี ละน้วิ กลางในการหยบิ ดนิ สอ - ใชน้ ว้ิ นางและนวิ้ ก้อยหยิบดนิ สอ

10. รว่ มกันอภิปรายเปรียบเทียบการหยบิ ท้งั 3 ครั้ง แลว้ อภิปรายหนา้ ทข่ี องมือ 11. นกั เรียนยืนขึ้นแล้วยนื ทรงตัวด้วยขาข้างเดียวโดยงอขาอีกข้างไว้ขา้ งหลงั เปลยี่ นใหย้ ืนด้วยขา ทั้ง 2 ขา้ ง 12. รว่ มกนั อภิปรายเปรียบเทียบการยนื ทั้ง 2 ครัง้ ว่าเป็นอยา่ งไรแล้วรว่ มอภิปรายหน้าทีข่ องขา และเทา้ 13. รว่ มกันสรปุ หนา้ ทขี่ องอวยั วะ (แขนและมือ ขาและเทา้ ) ชว่ั โมงท่ี 4 14. ทบทวนหนา้ ที่ของอวัยวะท่เี รียนผ่านมา(ตา หู จมกู ปาก แขนและมอื ขาและเทา้ ) 15. นักเรียนทำกิจกรรมในแบบฝึกกจิ กรรม หนา้ ทีของอวัยวะภายนอก ส่ือ 1. แบบฝกึ กิจกรรม 2. หนังสือเรียน 3. รปู ภาพคน วิธีวดั ผล 1 การร่วมอภิปรายและการตอบคำถาม 2. ตรวจผลงาน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ใฝ่เรยี นรู้ 2. มุ่งมั่นในการทำงาน

แบบบันทึกหลงั การสอน ผลการสอน ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ปญั หา/อปุ สรรค ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................. ............. ...................................................................................................................... ........................................................ แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................................................................................................... ..................................... .............................................................................................. ................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................... ............................................... .................................................................................... .............................................................. ............................ ลงชอื่ ..................................................... ผู้บันทึก (นางลดั ดาวัลย์ ชมภเู ทศ) ............/..................../...............

แผนการจดั การเรียนรู้ เวลา 2 ชั่วโมง ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ตวั เรา ผู้สอน นางลดั ดาวลั ย์ ชมภูเทศ เรอ่ื ง การทำงานร่วมกนั ของอวัยวะภายนอกของเรา วันทท่ี ำการสอน ************************************************************************************************************************************************************* สาระสำคญั ร่างกายของเราประกอบดว้ ยอวัยวะภายนอกหลายอวยั วะซึ่งทำหน้าที่แตกต่างกนั ในการทำ กจิ กรรมตา่ งๆของเราต้องอาศัยอวัยวะตา่ งๆทำงานร่วมกนั มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจลกั ษณะของสง่ิ มชี ีวติ หนว่ ยพื้นฐานของสง่ิ มชี วี ิต การลำเลยี งสารผา่ นเซลล์ ความสัมพนั ธข์ องโครงสร้าง และหน้าทีข่ องระบบต่างๆของสตั วแ์ ละมนุษย์ที่ทำงานสมั พันธ์กัน ความสมั พันธ์ ของโครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องอวัยวะตา่ งๆของพชื ท่ที ำงานสัมพนั ธก์ ัน รวมท้งั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ตวั ชีว้ ัด ป1/1 ระบชุ อ่ื บรรยายลักษณะและบอกหนา้ ทข่ี องส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์ สตั ว์และพชื รวมทัง้ บรรยายการทำหนา้ ทร่ี ่วมกันของส่วนต่างๆของรา่ งกายมนุษย์ในการทำกจิ กรรมตา่ งๆจากขอ้ มูลที่รวบรวมได้ สาระการเรียนรู้ การทำงานร่วมกนั ของอวยั วะต่างๆ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นักเรียนอธบิ ายการทำงานร่วมกนั ของอวยั วะต่างๆได้ ช้ินงาน/ภาระงาน การทดลอง เครอ่ื งมอื การคิด - กิจกรรมการเรียนรู้ ชว่ั โมงท่ี 1 1. แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุ่มๆละ 4-5 คน แลว้ ใหแ้ ต่ละกลุ่มทดลองโยนลูกบอลใหล้ งตะกร้าท่ี วางห่างจากจดุ ท่ยี นื 2 เมตร 2. ตัวแทนกลุ่มละ 1 คน โยนลูกบอลลงตะกรา้ โดยปฏิบัติกิจกรรมภายใต้เงือ่ นไขดังน้ี - ยืนและโยนลูกบอลลงตะกร้า - ยืนแลว้ ใช้ผา้ ปดิ ตาและโยนลกู บอลลงตะกร้า - น่งั อยบู่ นเก้าอ้ี เปดิ ตาและโยนลูกบอลลงตะกร้า - นั่งอยู่บนเก้าอ้ี ปิดตาและโยนลกู บอลลงตะกร้า 3. ร่วมกันอภปิ รายและสรุปว่ากิจกรรมทีป่ ฏิบตั ใิ ชอ้ วยั วะใดบ้าง

ชวั่ โมงท่ี 2 4. แบง่ กลุม่ ให้แต่ละกลุ่มทดลองเดนิ ไปข้างหน้าประมาณ 10 กา้ ว จากนัน้ ใชผ้ ้าปดิ ตาเดนิ ไปอกี 10 กา้ ว สงั เกตความแตกต่าง 5. ใหน้ กั เรยี นทดลองวิ่งโดยแกว่งแขน กับว่งิ โดยไม่แกวง่ แขน 6. ร่วมอภิปรายกจิ กรรมที่ได้ปฏิบัติวา่ ใช้อวยั วะใดบ้าง 7. สรปุ การทำกิจกรรม สื่อ 1. แบบฝกึ กิจกรรม 2. หนงั สือเรียน วิธวี ัดผล 1. การร่วมอภิปรายและการตอบคำถาม 2. ตรวจผลงาน 3. ความรว่ มมือในการทำกจิ กรรม คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. มุ่งม่นั ในการทำงาน

แบบบนั ทกึ หลงั การสอน ผลการสอน ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ปญั หา/อุปสรรค .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................ .. แนวทางแก้ไข ................................................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................... .......................... ......................................................................................................... ..................................................................... ลงช่ือ ..................................................... ผ้บู นั ทกึ (นางลัดดาวลั ย์ ชมภเู ทศ) ............/..................../...............

แผนการจัดการเรยี นรู้ ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ ตัวเรา เวลา 5 ชั่วโมง เรอ่ื ง การดูแลรักษาอวยั วะ ผสู้ อน นางลัดดาวัลย์ ชมภูเทศ วนั ทท่ี ำการสอน ************************************************************************************************************************************************************* สาระสำคญั อวยั วะสว่ นตา่ งๆของร่างกายทำหน้าที่แตกตา่ งกนั การทำกิจกรรมแต่ละวนั ของเราต้องอาศัย อวัยวะตา่ งๆทำงานร่วมกันเราจงึ ตอ้ งดูแลรักษาอวัยวะทุกส่วนใหป้ ลอดภยั และถูกวิธี มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจลักษณะของสง่ิ มีชีวิต หนว่ ยพื้นฐานของส่งิ มีชวี ิต การลำเลยี งสารผา่ นเซลล์ ความสมั พนั ธข์ องโครงสร้าง และหน้าท่ขี องระบบต่างๆของสัตว์และมนษุ ยท์ ่ีทำงานสัมพันธก์ ัน ความสัมพันธ์ ของโครงสร้างและหน้าท่ีของอวยั วะตา่ งๆของพชื ท่ที ำงานสัมพนั ธก์ ัน รวมทงั้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตวั ชีว้ ดั ป1/2 ตระหนกั ถึงความสำคัญของส่วนต่างๆของร่างกายตนเอง โดยการดแู ลส่วนตา่ งๆ สาระการเรียนรู้ การดูแลรักษาอวัยวะ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นักเรยี นบอกวิธกี ารดแู ลรกั ษาความสะอาดของร่างกายได้ 2.นกั เรยี นบอกวิธีการดแู ลรักษาอวยั วะภายนอกรา่ งกายได้ ชน้ิ งาน/ภาระงาน แบบฝกึ กิจกรรม ถอดบทเรียนการแปรงฟัน เคร่อื งมอื การคดิ Mind Map กิจกรรมการเรียนรู้ ช่วั โมงที่ 1(ตา หู) 1. นักเรยี นช่วยกนั คดิ หาคำตอบ ตามคี วามสำคัญกับชวี ิตของคนเราอยา่ งไร 2. ถา้ เราตาบอดจะส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวติ ของเราหรือไม่อย่างไรการอ่านหนงั สือในบรเิ วณ ทม่ี แี สงสวา่ งน้อยสง่ ผลเสียต่อดวงตาอย่างไร 3. อภปิ รายการดแู ลรักษาดวงตาของเรา 4. นักเรียนช่วยกันคดิ หาคำตอบ หมู ีความสำคญั กับชีวิตของคนเราอยา่ งไร 5. อภิปรายการดแู ลรักษาหขู องเรา ชว่ั โมงท่ี 2 (จมูก ปาก) 6. นักเรยี นชว่ ยกนั คดิ หาคำตอบ จมกู มคี วามสำคัญกับชีวิตของคนเราอยา่ งไร 7. อภิปรายการดูแลรักษาจมูกของเรา 8. นักเรยี นช่วยกันคิดหาคำตอบ ปากมีความสำคญั กบั ชีวิตของคนเราอยา่ งไร 9. อภปิ รายการดแู ลรักษาปากของเรา ชั่วโมงที่ 3(แขนและมือ ขาและเท้า) 10. นักเรยี นชว่ ยกนั คดิ หาคำตอบ แขนและมือมีความสำคัญกบั ชวี ิตของคนเราอย่างไร 11. อภิปรายการดแู ลรักษาแขนและมือของเรา

12. นักเรียนชว่ ยกนั คดิ หาคำตอบ ขาและเท้ามีความสำคญั กับชวี ิตของคนเราอย่างไร 13. อภิปรายการดแู ลรักษาขาและเทา้ ของเรา ชั่วโมงที่ 4 14. ทบทวนการดุแลรักษาของอวัยวะท่เี รียนผ่านมา(ตา หู จมูก ปาก แขนและมือ ขาและเทา้ ) 15. นกั เรียนทำกจิ กรรมในแบบฝึกกจิ กรรม การดูแลรักษาอวัยวะ ชั่วโมงที่ 5 ถอดบทเรียน การแปรงฟนั ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โดยทำงานเป็นกลมุ่ สื่อ 1. แบบฝึกกิจกรรม 2. หนังสือเรยี น 3. รูปภาพจากวิดิทัศน์ วิธวี ัดผล 1. การรว่ มอภิปรายและการตอบคำถาม 2. ตรวจผลงาน 3. การทำงานร่วมกับผู้อื่น คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ใฝเ่ รียนรู้ 2. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน 3. การทำงานเป็นทีม

แบบบันทึกหลงั การสอน ผลการสอน ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ปัญหา/อปุ สรรค ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ..................................................................................................................................................... ......................... แนวทางแก้ไข ........................................................................................................ ...................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................................................................................................... ..................................... .............................................................................................. ................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................... ............................................... ลงช่ือ ..................................................... ผบู้ นั ทกึ (นางลดั ดาวัลย์ ชมภูเทศ) ............/..................../...............

แบบฝกึ กจิ กรรม เรอ่ื ง ตัวเรา (อวัยวะภายนอกของเรา) คำชแี้ จง นักเรยี นวาดภาพตนเองและชีบ้ อกอวัยวะตามทก่ี ำหนด (ตา หู จมกู ปาก มอื แขน ขา เทา้ ) ชื่อ……………………………………………………...ช้นั ………

แบบฝกึ กิจกรรม เร่อื ง มอื ของเรา (อวยั วะภายนอกของเรา) คำช้ีแจง นกั เรียนวาดภาพมอื ตนเองและชบ้ี อกนว้ิ มอื (โป้ง ชี้ กลาง นาง กอ้ ย) มอื ซ้าย มอื ขวา ชอื่ ...................................................................... ชน้ั .................

อวยั วะภายนอก



โยงเสน้ จับคหู่ นา้ ท่ีของอวยั วะ ช่อื ...................................................................................... ชน้ั .......................







แผนการจดั การเรียนรู้ ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ พชื และสตั ว์ หนว่ ยย่อยท่ี 1 ชีวติ พืช เรื่อง พชื รอบตัว เวลา 2 ชั่วโมง วนั ที่ทำการสอน ผู้สอน นางลัดดาวลั ย์ ชมภเู ทศ ************************************************************************************************************************************************************* สาระสำคญั พืชท่อี ยูล่ ้อมรอบตัวเรามีมากมายหลายชนดิ มที ้งั พืชท่ีมีขนาดใหญแ่ ละขนาดเลก็ มาตรฐาน ว 1.1เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงไม่มีชีวติ กบั สง่ิ มีชีวิตและ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสิง่ มชี ีวติ กบั สง่ิ มีชวี ิตตา่ งๆในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลงั งานการเปลย่ี นแปลงแทนทใี่ น ระบบนเิ วศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบทีมีต่อทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละการแก้ไขปัญหาสงิ่ แวดล้อมรวมท้ังนำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ ตวั ชวี้ ดั ป1/1 ระบชุ ื่อพืชและสตั ว์ทีอ่ าศัยอย่บู ริเวณต่างๆจากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ สาระการเรียนรู้ พชื ชนิดต่างๆทอี่ ยรู่ อบตวั จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรยี นระบชุ ่ือพืชได้ถูกต้อง ช้ินงาน/ภาระงาน แบบฝึกกจิ กรรม พืชรอบตัว เครื่องมือการคดิ Mind Map กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ครตู ้ังคำถามใหน้ ักเรียนช่วยกันคดิ นกั เรยี นรจู้ กั พชื อะไรบา้ ง 2. ครแู จง้ ใหน้ กั เรยี นได้ทราบวา่ วันนเี้ ราจะเรยี นเรือ่ งพชื ที่อยูร่ อบตวั เรามีอะไรบา้ ง 3. พานักเรียนเดินสำรวจรอบๆบรเิ วณโรงเรยี นพรอ้ มใหน้ กั เรียนระบุชือ่ พืชที่พบ ครูคอยบันทึกชอื่ พืชเหล่าน้ันลงในแผ่นกระดาษ 4. นำช่อื พชื ทสี่ ำรวจพบเขยี นลงบนกะดานนักเรยี นอ่านชอื่ พชื เหล่าน้ัน 5. นกั เรยี นทำกิจกรรมกลมุ่ โดยใช้เครือ่ งมือการคิดแบบMind Map พชื รอบตวั 6. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงาน 7. นกั เรียนดูวิดีทศั น์พชื ชนดิ ต่างๆ 8. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายสรุปอีกครั้งพร้อมให้ระบชุ ื่อพืชเปน็ รายบุคคล ส่ือ 1. สอ่ื วิดที ัศน์ 2. แบบฝกึ กิจกรรม 3. หนงั สอื เรียน

วธิ วี ัดผล 1 การรว่ มอภปิ รายและการตอบคำถาม 2. ตรวจผลงาน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความร่วมมือในกลุ่ม 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน

แบบบันทึกหลงั การสอน ผลการสอน ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ปัญหา/อปุ สรรค ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ ..................................................... ผ้บู นั ทกึ (นางลัดดาวลั ย์ ชมภูเทศ) ............/..................../...............

แผนการจดั การเรยี นรู้ ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ พืชและสตั ว์ หนว่ ยย่อยท่ี 1 ชีวิตพืช เรอ่ื ง แหล่งทอ่ี ย่ขู องพืช เวลา 2 ชั่วโมง วนั ทที่ ำการสอน ผูส้ อน นางลดั ดาวลั ย์ ชมภูเทศ ************************************************************************************************************************************************************* สาระสำคัญ พืชสามารถแบ่งเปน็ ประเภทตา่ งๆไดโ้ ดยใช้เกณฑเ์ ชน่ ใชเ้ กณฑบ์ รเิ วณที่ขน้ึ จะแบ่งได้เป็น พชื บก พชื น้ำ พชื ขนึ้ ที่อื่นๆและนอกจากน้ีเรายังสามารถใช้เกณฑ์อืน่ ๆได้อีก มาตรฐาน ว 1.1เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ ไม่มีชีวติ กบั สิ่งมีชวี ติ และ ความสัมพันธร์ ะหว่างส่ิงมชี วี ิตกบั สิง่ มชี ีวิตตา่ งๆในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลงั งานการเปลีย่ นแปลงแทนทใ่ี น ระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญั หาและผลกระทบทีมีต่อทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสงิ่ แวดล้อมรวมทั้งนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ตัวช้ีวดั ป1/2 บอกสภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสมท่เี หมาะสมกบั การดำรงชวี ติ ของพชื และสัตว์ในบรเิ วณท่ีอยู่อาศัย สาระการเรยี นรู้ สภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมในการดำรงชีวิตของพชื จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นกั เรียนบอกชือ่ พืชทข่ี น้ึ บรเิ วณตา่ งๆได้ถูกต้อง 2. นกั เรยี นสามารถจัดจำแนกพชื ไดต้ ามเกณฑ์ที่กำหนดได้ ชิ้นงาน/ภาระงาน แบบฝึกกิจกรรม เครื่องมอื การคดิ Mind Map กจิ กรรมการเรียนรู้ ช่วั โมงท่ี 1 1. นำนกั เรยี นไปสำรวจบริเวณต่างๆรอบโรงเรียน เชน่ สระนำ้ น้ำตกในโรงเรียน ท่ีอน่ื ๆ 2. นักเรียนบอกชื่อพชื ท่ีพบในบริเวณตา่ งๆ 3. นำช่ือพชื เขียนลงบนกระดาน 4. นกั เรียนฝึกอ่านชือ่ พชื ตามแหล่งท่ีไปสำรวจมา ชั่วโมงที่ 2 5. นักเรยี นดวู ดิ ีทัศนเ์ รื่องพชื ที่ข้ึนตามแหลง่ ที่อยตู่ า่ งๆ 6. ข้อคิดมาสรุปลงในแบบฝกึ กจิ กรรม 7. นกั เรยี นนำเสนอผลงาน 8. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายสรปุ อกี ครั้ง

สอ่ื 1. ส่ือวิดที ศั น์ 2. แบบฝึกกจิ กรรม 3. หนังสือเรียน วิธวี ัดผล 1 การรว่ มอภิปรายและการตอบคำถาม 2. ตรวจผลงาน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ความรว่ มมือในกลุ่ม 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งมนั่ ในการทำงาน

แบบบันทึกหลงั การสอน ผลการสอน ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ปญั หา/อปุ สรรค ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................. ............. ...................................................................................................................... ........................................................ แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................................................................................................... ..................................... .............................................................................................. ................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................... ............................................... .................................................................................... .............................................................. ............................ ลงชอื่ ..................................................... ผู้บันทึก (นางลดั ดาวัลย์ ชมภเู ทศ) ............/..................../...............

แผนการจดั การเรียนรู้ ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ พชื และสัตว์ หนว่ ยยอ่ ยท่ี 1 ชีวติ พชื เร่ือง ปัจจัยในการดำรงชวี ิตของพืช เวลา 2 ช่ัวโมง วันทท่ี ำการสอน ผู้สอน นางลัดดาวลั ย์ ชมภู เทศ ************************************************************************************************************************************************************* สาระสำคญั พชื เจริญเติบโตไดต้ อ้ งอาศยั ปจั จยั ตา่ งๆ ได้แก่ นำ้ แสงแดด อากาศ แร่ธาตุ โดยปัจจยั เหล่านี้ จะตอ้ งอยู่ในสภาวะแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมตอ่ การเจริญเตบิ โตของพืช มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพันธร์ ะหว่างสง่ิ ไมม่ ชี ีวิตกบั ส่งิ มีชีวิตและ ความสมั พนั ธ์ระหว่างสง่ิ มชี วี ิตกบั ส่งิ มชี วี ติ ต่างๆในระบบนิเวศ การถา่ ยทอดพลงั งานการเปล่ยี นแปลงแทนท่ีใน ระบบนเิ วศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบทีมีต่อทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละการแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อมรวมทั้งนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ตวั ชี้วดั ป1/2 บอกสภาพแวดลอ้ มทเี่ หมาะสมท่ีเหมาะสมกับการดำรงชวี ิตของพชื และสัตว์ในบริเวณทอี่ ยู่ อาศยั สาระการเรยี นรู้สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมในการดำรงชีวติ ของพชื จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นักเรียนบอกปัจจัยท่ที ำให้พืชเจริญเตบิ โตได้ถูกตอ้ ง 2. นักเรยี นบอกสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมตอ่ การเจรญิ เติบโตของพชื 3. นักเรยี นบอกผลกระทบท่ีเกิดขนึ้ เม่ือสภาพแวดลอ้ มเปลี่ยนแปลงไป ชน้ิ งาน/ภาระงาน แบบฝกึ กจิ กรรม พชื เตบิ โต เครอ่ื งมอื การคดิ Mind Map, PMI กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ครตู งั้ คำถามใหน้ ักเรียนชว่ ยกันคดิ ปัจจยั อะไรที่ทำใหต้ น้ ไม้เจริญเติบโต ครเู ขียนแนวคดิ ของนกั เรยี น ลงบนกระดาษ 2. ครแู จ้งให้นกั เรยี นไดท้ ราบว่าวันนเ้ี ราจะเรียนเรื่องปจั จยั ท่ที ำใหพ้ ืชเจริญเตบิ โต ร่วมกันอภิปรายถงึ สิ่งท่ี นกั เรยี นให้ข้อเสนอแนะมา 3. นำข้อคิดมาสรปุ ลงในแบบฝึกกิจกรรม 4. นกั เรยี นทำกิจกรรมกลมุ่ โดยใช้เครอ่ื งมือการคดิ แบบ PMI ในหวั ข้อ ผลกระทบท่ีเกิดขน้ึ เมื่อ สภาพแวดลอ้ มเปล่ยี นแปลงไป 5. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ นำเสนอผลงาน 6. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันอภปิ รายสรุปอีกคร้ัง

สือ่ 1. สอ่ื วดิ ที ัศน์ 1. แบบฝึกกิจกรรม 2. หนังสอื เรยี น วิธวี ดั ผล 1 การรว่ มอภิปรายและการตอบคำถาม 2. ตรวจผลงาน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. ความรว่ มมือในกลมุ่ 2. ใฝเ่ รียนรู้3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน

แบบฝกึ กจิ กรรม เรือ่ งผลกระทบทเี่ กดิ ขึน้ เม่ือสภาพแวดล้อมเปล่ียนแปลงไป การตัดไมม้ าสร้างบา้ นเรือนหรือทำเครอื่ งใช้ P(ขอ้ ดี) M(ขอ้ เสยี ) I(ขอ้ เสนอแนะ) .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. ................................................................. ................................................................... .................................................. กลุ่มท่ี ........... 1 ........................................................................................ 2 ........................................................................................ 3 ........................................................................................ 4......................................................................................... 5 ....................................................................................... 6 ......................................................................................

แบบฝกึ กิจกรรม เร่อื งผลกระทบทเ่ี กดิ ข้ึนเมอื่ สภาพแวดล้อมเปล่ยี นแปลงไป การเผาไร่ออ้ ย P(ขอ้ ด)ี M(ข้อเสยี ) I(ข้อเสนอแนะ) .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. .................................................................. ................................................................... .................................................. ................................................................. ................................................................... .................................................. กลุ่มที่ ........... 1 ........................................................................................ 2 ........................................................................................ 3 ........................................................................................ 4......................................................................................... 5 ....................................................................................... 6 ......................................................................................

แบบบันทึกหลงั การสอน ผลการสอน ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ปญั หา/อปุ สรรค ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................. ............. ...................................................................................................................... ........................................................ แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................................................................................................... ..................................... .............................................................................................. ................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................... ............................................... .................................................................................... .............................................................. ............................ ลงชอื่ ..................................................... ผู้บันทึก (นางลดั ดาวัลย์ ชมภเู ทศ) ............/..................../...............

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยยอ่ ยที่ 1 ชีวิตพืช ชื่อหน่วยการเรียนรู้ พืชและสตั ว์ เวลา 6 ช่ัวโมง เรื่อง โครงสรา้ งของพืชและหน้าที่ของสว่ นต่างๆของพืช ผสู้ อน นางลดั ดาวัลย์ ชมภูเทศ วนั ทที่ ำการสอน ************************************************************************************************************************************************************* สาระสำคญั พืชเป็นส่งิ มชี ีวิตชนดิ หนึ่ง โดยมโี ครงสรา้ งภายนอก ได้แก่ ราก ลำต้น ใบ ดอก และผล ซง่ึ แต่ ละส่วนจะทำหนา้ ท่ีแตกต่างกัน มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัตขิ องสง่ิ มชี ีวติ หน่วยพนื้ บานของส่ิงมีชีวิต การลำเลียงสารผา่ นเซลล์ ความสมั พันธข์ องโครงสร้างและหน้าท่ขี องระบบต่างๆของสัตวแ์ ละมนษุ ย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสมั พนั ธ์ ของโครงสรา้ งและหนา้ ท่ขี องอวยั วะตา่ งๆของพชื ท่ีทำงานสัมพันธก์ ันรวมท้ังนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ตัวชีว้ ัด ป1/1 ระบุชื่อบรรยายลกั ษณะและบอกหน้าท่ีของส่วนต่างๆของร่างกายมนษุ ย์ สัตว์และพืช รวมทง้ั บรรยายการทำหนา้ ท่ีรว่ มกันของส่วนต่างๆของรา่ งกายมนุษย์ในการทำกิจกรรมต่างๆจากขอ้ มูลทร่ี วบรวมได้ สาระการเรยี นรู้ โครงสรา้ งของพืช จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นักเรียนบอกโครงสรา้ งของพืชได้ถกู ต้อง 2 นกั เรยี นสามารถบรรยายลักษณะโครงสรา้ งของพืชแตล่ ะส่วนได้ 3 นักเรยี นสามารถบอกหน้าทีข่ องสว่ นตา่ งๆของพืชได้ ชิ้นงาน/ภาระงาน แบบฝึกกจิ กรรม เคร่ืองมือการคิด Mind Map, Diagram กจิ กรรมการเรยี นรู้ ช่ัวโมงที่ 1(ส่วนตา่ งๆของต้นไม)้ 1 ครนู ำนักเรยี นไปเรยี นรูจ้ ากพืชของจริงและนำพืชมาตง้ั คำถามให้นกั เรียนชว่ ยกนั คิด โครงสร้าง ของตน้ พืช ครเู ขยี นแนวคิดของนกั เรยี นลงบนกระดาษ 2 ครูแจง้ ให้นกั เรียนไดท้ ราบว่าวันนีเ้ ราจะเรียนเรอ่ื งโครงสรา้ งของพืช ร่วมกันอภิปรายถึงสิง่ ที่ นักเรยี นให้ข้อเสนอแนะมา 3 นำขอ้ คิดมาสรุปลงในแบบฝกึ กจิ กรรม ชั่วโมงท่ี 2 (ราก) 1 แบง่ นกั เรียนออกเป็นกลมุ่ ให้แตล่ ะกลมุ่ นำตน้ ถั่วงอก ตน้ หญา้ และพชื ขนาดเล็กอื่น ๆ มาอย่างละ 1 ตน้ นำรากของพืชเหลา่ น้นั มาลา้ งให้สะอาด ระวงั อยา่ ใหร้ ากขาด 2 สงั เกตลักษณะของรากพืชดว้ ยตาเปลา่ และใชแ้ ว่นขยาย ช่วยสังเกต หรือเปรยี บเทียบรากของพืชทัง้ 3 ชนิด

3 บนั ทกึ ผลลงในแบบฝกึ กจิ กรรม พรอ้ มวาดภาพประกอบ 4 สรุปผลการทำกจิ กรรม 5. ใหน้ กั เรียนผลดั กนั นำเสนอผลงานทห่ี นา้ ช้นั 6. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรปุ ความรูเ้ กีย่ วกบั รากและหน้าที่ของราก ชั่วโมงท่ี 3 (ลำตน้ ) 1. ครูพูดคุยกับนักเรียนเก่ียวกับลกั ษณะของต้นพืช ทค่ี รูนำมาให้ดูในช้ันเรยี น 2. ครนู ำนักเรยี นออกสำรวจพืชตา่ งๆ ในโรงเรยี นโดยเน้นการสงั เกตส่วนของลำต้นพชื 3. ให้นกั เรียนทำใบกิจกรรมเร่อื ง ลกั ษณะของลำต้นพชื และหน้าที่ 4. นักเรยี นแตล่ ะคนทำแบบฝึกกจิ กรรมและรว่ มกันอภิปราย ชั่วโมงท่ี 4 (ใบ) 1. ครูให้นกั เรยี นรอ้ งเพลง กง่ิ กา้ น ใบ และทำทา่ ทางประกอบตามจินตนาการ เพลง กิง่ กา้ น ใบ กงิ่ ก้าน ใบ ชะ ชะ ใบ ก้าน กิ่ง (ซำ้ ) ฝนตกลมแรงจริง ๆ ชะ ชะ กิ่ง ก้าน ใบ 2. นักเรยี นและครูรว่ มกันทบทวนหน้าทีข่ องลำต้น 3. ครูพานักเรียนดู ต้นไมท้ ่มี ีลักษณะใบท่ีแตกต่างกนั ในโรงเรียน และใหน้ ักเรียนเก็บใบไม้ทช่ี อบมาคนละ 1 ใบ 4. นักเรยี นทำแบบฝกึ กิจกรรม เรอ่ื ง ใบไม้ที่ฉันชอบ 5. นำผลงานของนกั เรียนออกมานำเสนอหน้าชัน้ และบอกเหตผุ ลทีเ่ ลือกใบไม้ชนิดนั้นๆ ช่ัวโมงที่ 5 (ดอก) 1. นักเรียนและครสู นทนาถึงดอกไมท้ ่นี ักเรยี นรูจ้ กั และบอกช่อื ดอกไมค้ นละ 1 ดอกครูแนะนำดอกไม้ จริงทค่ี รเู ตรยี มมาให้นกั เรียนดู หรืออาจใหน้ ักเรยี นเตรียมมาจากบ้านกไ็ ด้ 2. ครูและนักเรยี นสนทนากนั ถึงหน้าท่ี ประโยชน์ของดอกไม้ 3. นักเรยี นดวู ดิ ีทัศน์เร่ือง ดอก ความสำคัญและหน้าทข่ี องดอก 4. นกั เรยี นสงั เกตดอกไม้ทค่ี รูนำได้แก่ ดอกเขม็ ดอกกล้วยไม้ ดอกเฟ่ืองฟา้ ดอกลั่นทมดอกชบา ดอก มะเขือ ร่วมกันอภปิ รายบายลักษณะของดอกและสขี องดอกไม้ 5. นกั เรยี นสังเกตลักษณะ รปู ร่าง สี ของดอกไม้ และบอกลักษณะ สี และความแตกต่างของดอกไม้ ท่เี ห็น 6. นกั เรียนทำแบบฝึกกิจกรรม เรอ่ื ง ดอกไม้แสนสวย 7. นำผลงานของนักเรียนออกมานำเสนอหนา้ ช้ัน

ชว่ั โมงท่ี 6 (ผลและเมลด็ ) 1. นกั เรียนนำผลไมม้ าและบอกชือ่ ผลไม้ท่ีตนนำมา 2. นักเรียนเลน่ เกมผลไมอ้ ะไรเอ่ย โดยครูเปิดภาพผลไม้ใหน้ กั เรยี นดูทลี ะน้อย ๆ แลว้ ให้นกั เรียนทายชื่อ ผลไมน้ ัน้ เชน่ ภาพ มงั คดุ เงาะ ฝร่ัง ลางสาด องุ่น กลว้ ย กระท้อน มะมว่ ง น้อยหน่า ทเุ รียน 3. นกั เรยี นดูวิดที ศั น์ หน้าท่ขี องผล และฟังครอู ธิบายรายละเอียดเน้ือหาหนา้ ที่ของผล 4. นกั เรยี นทำแบบฝึกกจิ กรรม เร่อื ง ผลไม้แสนอร่อย 5. นำผลงานของนกั เรียนออกมานำเสนอหนา้ ช้ัน ส่อื 1 พชื ของจริง 2. สือ่ วดิ ีทศั น์ 3. แบบฝึกกจิ กรรม 4. หนังสือเรยี น วิธีวัดผล 1 การร่วมอภปิ รายและการตอบคำถาม 2. ตรวจผลงาน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. ความร่วมมือในกลุ่ม 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน

แบบบนั ทกึ หลงั การสอน ผลการสอน ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ปัญหา/อปุ สรรค ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................. ............. ...................................................................................................................... ........................................................ แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่ือ ..................................................... ผบู้ ันทึก (นางลดั ดาวลั ย์ ชมภเู ทศ) ............/..................../...............


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook