แผนการจัดการเรียนรู้รายวชิ าคณติ ศาสตร์ รหสั วชิ า ค13101 ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 เรื่อง เศษสว่ น นางรัชนยี ์ สิมมาคำ กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ โรงเรยี นเทศบาล ๒ ศรีบญุ เรอื ง กองการศึกษา เทศบาลเมอื งเลย จงั หวดั เลย กรมสง่ เสรมิ การปกครองสว่ นท้องถิน่ กระทรวงมหาดไทย
คำนำ การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้นับเป็นวิธีหนึ่งที่ทำให้ครูผู้สอนได้มีการเตรียมการสอน ลว่ งหนา้ ก่อนทจี่ ะทำการสอนจรงิ โดยมกี ารเตรียมเนอ้ื หาเตรียมกจิ กรรม เตรยี มส่ือการเรียนการสอน รวมทั้งวิธีการวัดผลประเมินผลซึ่งการเตรียมการสอนจะช่วยให้ครูผู้สอนมีความพร้อมที่จะสอนใ ห้ ผเู้ รยี นบรรลุตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร การจัดทำแผนการจัดการเรยี นรูฉ้ บับน้ี ผู้จัดทำได้ศึกษาค้นควา้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง วิเคราะห์ หลักสูตร จัดทำกำหนดการสอน โครงสร้างรายวิชา และหารูปแบบการทำแผนการจัดการเรียนรู้โดย เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นได้เรียนผา่ นกระบวนการคิดดว้ ยตนเอง โดยคำนึงถึงสภาพแวดล้อมของผู้เรียน โรงเรียน และชุมชนเป็นหลัก แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ เป็นแผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เศษส่วน เพื่อพัฒนาความเข้าใจเกี่ยวกับสัญลักษณ์ และ การดำเนินการตอ่ วชิ าคณิตศาสตร์ โดยเนน้ ขัน้ ตอนหรือวิธีการทางคณติ ศาสตร์ จัดทำไว้เพอื่ สะดวกต่อ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ทุกปีการศึกษา ผู้ที่จะนำไปใช้ควรอ่าน คำช้แี จงการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรูใ้ ห้เข้าใจกอ่ นนำไปใชจ้ ริง ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้จะช่วยให้การเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ดำเนินไปด้วยดี และทำให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะกระบวนการและมีคุณลักษณะอันพึงประสงคต์ รงตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ต่อไป ....................................
สารบัญ หน้า 1 เรอ่ื ง 2 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 7 ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นร้แู กนกลาง 9 คำอธบิ ายรายวิชา 10 โครงสรา้ งเวลาเรยี น 11 โครงสร้างรายวชิ า 12 กำหนดแผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 6 เศษส่วน 17 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 22 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 27 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3 31 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 4 35 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 39 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 43 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 7 47 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 8 51 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 55 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 10 59 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 64 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 12 68 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 13 72 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 14 77 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 15 81 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 16 ใบงาน หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6
1 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณติ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และการ นำไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำดับและอนุกรม และ นำไปใช้ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาท่ี กำหนดให้ สาระท่ี 2 การวดั และเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและ นำไปใช้ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รปู เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้ สาระที่ 3 สถิตแิ ละความนา่ จะเปน็ มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามร้ทู างสถิตใิ นการแก้ปญั หา มาตรฐาน ค 3.2 เขา้ ใจหลกั การนบั เบ้ืองตน้ ความน่าจะเปน็ และนำไปใช้
2 ตัวช้วี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระท่ี 1 จำนวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และการ นำไปใช้ ชัน้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป. 3 จำนวนนบั ไมเ่ กนิ 100,000 และ 0 1. อ่านและเขยี น ตวั เลขฮินดอู ารบกิ - การอ่าน การเขยี นตวั เลขฮนิ ดูอารบกิ ตวั เลขไทย และตวั หนังสือ แสดง ตัวเลขไทย และตัวหนงั สอื แสดงจำนวน จำนวนนับไม่เกนิ 100,000 และ 0 - หลัก คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั และ 2. เปรียบเทียบและเรยี งลำดับจำนวนนบั การเขยี นตวั เลขแสดงจำนวนในรปู ไมเ่ กนิ 100,000 จากสถานการณ์ตา่ งๆ กระจาย - การเปรียบเทียบและเรยี งลำดับจำนวน เศษส่วน 3. บอก อ่าน และเขยี นเศษสว่ นแสดง - เศษส่วนทมี่ ีตวั เศษนอ้ ยกวา่ หรอื เทา่ กับ ปรมิ าณสิง่ ตา่ งๆ และแสดงสิ่งต่างๆ ตัวสว่ น ตามเศษสว่ นท่ีกำหนด - การเปรียบเทยี บและเรยี งลำดับ 4. เปรียบเทยี บเศษส่วนท่ตี ัวเศษเทา่ กัน เศษส่วน โดยที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเทา่ กับตัว ส่วน การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวน 5. หาคา่ ของตัวไม่ทราบค่าในประโยค นับไมเ่ กิน 100,000 และ 0 สญั ลกั ษณ์แสดงการบวกและประโยค - การบวกและการลบ สญั ลักษณแ์ สดงการลบของจำนวนไม่ - การคณู การหารยาวและการหารสั้น เกนิ 100,000 และ 0 - การบวก ลบ คณู หารระคน 6. หาคา่ ของตัวไม่ทราบค่าในประโยค - การแก้โจทยป์ ญั หาและการสร้างโจทย์ สญั ลักษณ์ แสดงการคูณของจำนวน 1 ปัญหา พรอ้ มท้งั หาคำตอบ หลกั กับจำนวนไม่เกนิ 4 หลกั และ จำนวน 2 หลกั กบั จำนวน 2 หลัก
3 ชนั้ ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป. 3 7. หาคา่ ของตัวไม่ทราบค่าในประโยค สัญลกั ษณ์ แสดงการหารทต่ี ัวตง้ั ไม่เกิน 4 หลกั ตวั หาร 1 หลกั 8. หาผลลพั ธก์ ารบวก ลบ คณู หารระคน ของจำนวนนบั ไม่เกนิ 100,000 และ 0 9. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา 2 ขัน้ ตอน ของจำนวนนับไมเ่ กนิ 100,000 และ 0 การบวก การลบเศษส่วน 10. หาผลบวกของเศษส่วนท่มี ีตัวสว่ น - การบวกและการลบเศษส่วน เท่ากนั และผลบวกไมเ่ กนิ 1 และหาผล - การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ ลบของเศษส่วนทีม่ ตี ัวส่วนเท่ากัน ปญั หาการลบเศษส่วน 11. แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหาการ บวกเศษสว่ นท่มี ตี วั สว่ นเทา่ กันและ ผลบวกไม่เกิน 1 และโจทย์ปัญหาการ ลบเศษสว่ นท่มี ีตัวส่วนเทา่ กนั สาระที่ 1 จำนวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวเิ คราะห์แบบรูป ความสมั พันธ์ ฟังกช์ ัน ลำดับและอนุกรม และ นำไปใช้ ชั้น ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป. 3 แบบรูป 1. ระบุจำนวนทีห่ ายไปในแบบรูปของ - แบบรปู ของจำนวนที่เพ่ิมขน้ึ หรือลดลง จำนวนที่เพ่ิมข้ึนหรือลดลงทีละเทา่ ๆ กนั ทีละเทา่ ๆ กัน สาระที่ 1 จำนวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธบิ ายความสมั พนั ธห์ รือช่วยแกป้ ัญหาท่ี กำหนดให้ ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป. 3 - -
4 สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพืน้ ฐานเก่ียวกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสิง่ ทต่ี ้องการวัดและ นำไปใช้ ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป. 3 เงิน 1. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ัญหา - การบอกจำนวนเงินและเขยี นแสดง เก่ียวกับเงิน จำนวนเงิน แบบใช้จุด 2. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา - การเปรยี บเทยี บจำนวนเงินและการ เกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา แลกเงนิ 3. เลอื กใชเ้ ครื่องมือวัดความยาวที่ - การอา่ นและเขียนบันทกึ รายรับ เหมาะสมวดั และบอกความยาวของส่งิ ต่างๆ เป็นเซนตเิ มตรและมิลลเิ มตร รายจ่าย เมตรและเซนติเมตร - การแกโ้ จทยป์ ัญหาเก่ียวกบั เงิน เวลา 4. คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็น - การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที เซนติเมตร - การเขยี นบอกเวลาโดยใชม้ หัพภาค (.) หรือทวภิ าค (:) และการอ่าน - การบอกระยะเวลาเป็นชว่ั โมงและนาที - การเปรียบเทยี บระยะเวลาโดยใช้ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งชัว่ โมงกับนาที - การอ่านและการเขยี นบันทึกกิจกรรมที่ ระบุเวลา - การแกโ้ จทย์ปัญหาเกย่ี วกับเวลาและ ระยะเวลา ความยาว - การวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและ มลิ ลเิ มตร เมตรและเซนตเิ มตร กิโลเมตรและเมตร - การเลอื กเครื่องมือวัดความยาวที่ เหมาะสม - การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและ เปน็ เซนตเิ มตร
5 ช้ัน ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป. 3 5. เปรียบเทยี บความยาวระหวา่ ง - การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ เซนตเิ มตรกบั มลิ ลิเมตร เมตรกับ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างหน่วยความยาว เซนตเิ มตร กิโลเมตรกบั เมตร จาก - การแก้โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกบั ความยาว สถานการณ์ต่างๆ 6. แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยป์ ัญหา เกี่ยวกบั ความยาวท่ีมีหนว่ ยเป็น เซนตเิ มตรและมิลลิเมตร เมตรและ เซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร นำ้ หนัก 7. เลอื กใชเ้ คร่ืองช่งั ทเ่ี หมาะสม วัดและ - การเลือกเครอื่ งชั่งท่ีเหมาะสม บอกนำ้ หนักเปน็ กิโลกรัมและขดี - การคาดคะเนนำ้ หนักเป็นกโิ ลกรัมและ กิโลกรัมและกรัม เปน็ ขีด 8. คาดคะเนน้ำหนกั เปน็ กิโลกรมั และเปน็ - การเปรียบเทียบน้ำหนักโดยใช้ ขดี ความสมั พันธ์ระหวา่ งกโิ ลกรมั กับกรัม 9. เปรยี บเทยี บนำ้ หนกั ระหวา่ งกิโลกรมั เมตริกตันกับกิโลกรัม และกรัม เมตริกตันกบั กโิ ลกรัม จาก - การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกี่ยวกับน้ำหนัก สถานการณต์ ่างๆ 10. แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยป์ ัญหา เกี่ยวกับน้ำหนกั ทมี่ หี นว่ ยเป็นกิโลกรัม กบั กรัม เมตริกตนั กบั กิโลกรัม ปรมิ าตร 11. เลือกใชเ้ ครื่องตวงท่ีเหมาะสม วัดและ - การวดั ปรมิ าตรและความจุเป็นลิตร เปรยี บเทียบปริมาตร ความจเุ ป็นลติ ร และมิลลิลติ ร และมิลลลิ ติ ร - การเลอื กเคร่ืองตวงท่เี หมาะสม 12. คาดคะเนปรมิ าตรและความจุเปน็ ลติ ร - การคาดคะเนปริมาตรและความจเุ ป็น 13. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา ลิตร เกี่ยวกับปริมาตรและความจุท่ีมีหนว่ ย - การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุ เป็นลติ รและมลิ ลลิ ิตร โดยใชค้ วามสมั พันธ์ระหวา่ งลิตรกบั มิลลลิ ติ ร ช้อนชา ช้อนโตะ๊ ถ้วยตวงกบั มลิ ลลิ ติ ร ชนั้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ป. 3 - การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกีย่ วกบั ปริมาตร และความจทุ ่ีมหี นว่ ยเปน็ ลติ รและ มิลลิลติ ร
6 สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะหร์ ูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณติ ความสมั พันธร์ ะหวา่ ง รปู เรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนำไปใช้ ชน้ั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป. 3 รปู เรขาคณิตสองมิติ 1. ระบุรปู เรขาคณิตสองมิติทมี่ ีแกน - รปู ที่มีแกนสมมาตร สมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร สาระท่ี 3 สถติ ิและความนา่ จะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรูท้ างสถติ ิในการแก้ปัญหา ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป. 3 การเก็บรวบรวมข้อมลู และการนำเสนอ 1. เขียนแผนภูมริ ปู ภาพ และใช้ข้อมลู จาก ขอ้ มูล แผนภูมริ ูปภาพในการหาคำตอบของ - การเกบ็ รวบรวมข้อมูลและจำแนก โจทยป์ ัญหา ขอ้ มลู 2. เขยี นตารางทางเดยี วจากขอ้ มูลทเี่ ป็น - การอ่านและการเขียนแผนภมู ิรูปภาพ จำนวนนบั และใช้ข้อมูลจากตารางทาง - การอ่านและการเขยี นตารางทางเดียว เดียวในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา (one – way table) สาระท่ี 3 สถติ ิและความนา่ จะเป็น มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนบั เบอ้ื งต้น ความนา่ จะเป็น และนำไปใช้ ช้ัน ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป. 3 - -
7 คำอธิบายรายวชิ า รายวิชาพ้นื ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 เวลา 200 ช่ัวโมง/ปี ศึกษาการอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตวั เลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบจำนวน การเรียงลำดับจำนวน แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นและลดลง การบวกจำนวนนับที่มีผลบวกไม่เกิน 100,000 การบวกจำนวนสามจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100,000 โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ ปัญหาการบวก การลบจำนวนท่ีมตี วั ตง้ั ไม่เกิน 100,000 การลบจำนวนสามจำนวน การหาตัวไมท่ ราบ ค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการลบ โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาการลบ การคณู จำนวนหนึง่ หลักกบั จำนวนไม่เกนิ ส่ีหลัก การคณู กับจำนวนสองหลักกับจำนวนสองหลัก โจทย์ ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาการลบ การหารที่มีตัวตั้งไม่เกินส่ีหลักและตัวหารมีหนึ่งหลัก การหา ตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณและการหาร โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหา การหาร การวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร การเลอื กเครื่องมือวดั ความยาวท่เี หมาะสม การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและ เป็นเซนตเิ มตร การ เปรียบเทียบความยาวโดยใชค้ วามสัมพันธร์ ะหวา่ งหน่วยความยาว โจทย์ปญั หาเกี่ยวกบั ความยาว รูป ที่มีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร การบอก อ่านและเขียนเศษส่วนที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือ เท่ากับตัวส่วน การเปรียบเทียบเศษส่วน การเรียงลำดับเศษส่วน การบวกเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน การลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน โจทย์ปัญหาการบวกและการลบเศษส่วน การวัดและบอกน้ำหนัก เป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม การเลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสม การคาดคะเนน้ำหนักเป็น กิโลกรัมและเป็นขีด การเปรียบเทียบน้ำหนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตัน กับกิโลกรัม โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนกั การวัดปริมาตรและความจุเปน็ ลิตรและมิลลิลิตร การเลือก เครื่องตวงที่เหมาะสม การคาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและ ความจุโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับมิลลิลิตร ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวงกับมิลลิ ลิตร โจทย์ ปญั หาเกย่ี วกับปริมาตรและความจทุ ี่มหี นว่ ยเปน็ ลิตรและมิลลิลติ ร การเก็บรวบรวมข้อมูลและจำแนก ขอ้ มลู การอา่ นและเขียนแผนภูมิรูปภาพ การอา่ นและเขยี นตารางทางเดียว การบอกเวลาเป็นนาฬิกา และนาที การเขียนบอกเวลาและการอ่าน การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาที การเปรียบเทียบ ระยะเวลาโดยใช้ความสัมพนั ธร์ ะหว่างช่วั โมงกับนาที การอา่ นและการเขียนบันทกึ กจิ กรรมท่รี ะบุเวลา โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา เงินเหรียญและธนบัตรชนิดต่างๆ การบอกจำนวนเงินและ เขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุดและการอ่าน การเปรียบเทียบจำนวนเงินและการแลกเงิน การอ่าน และการเขียนบันทึกรายรับ รายจ่าย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน การบวก ลบ คูณ หารระคน โจทย์ ปัญหาและการสร้างโจทยป์ ญั หาการบวก ลบ คณู หารระคน โดยการจดั ประสบการณห์ รอื สรา้ งสถานการณ์ทใ่ี กล้ตัวผูเ้ รยี นได้ศึกษา คน้ ควา้ ฝึกทักษะ โดย การปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การเชื่อมโยง การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์
8 ด้านความรู้ ความคดิ ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใชใ้ นการเรียนรสู้ ง่ิ ตา่ ง ๆ และใชใ้ นชวี ิตประจำวัน อย่างสรา้ งสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานได้อย่างเป็นระบบ มี ระเบียบ รอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์และมีความเชื่อมั่นใน ตนเอง ตัวชวี้ ดั ค 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11 ค 1.2 ป.3/1 ค 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11, ป.3/12, ป.3/13 ค 2.2 ป.3/1 ค 3.1 ป.3/1, ป.3/2 รวม 28 ตัวชว้ี ัด
9 โครงสรา้ งเวลาเรยี น กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 บทที่/เรอื่ ง เวลา (ช่ัวโมง) ภาคเรียนท่ี 1 บทท่ี 1 จำนวนนับไม่เกิน 100,000 18 บทที่ 2 การบวกและการลบจำนวนนบั ไม่เกิน 100,000 28 บทท่ี 3 เวลา 16 บทท่ี 4 รูปเรขาคณิต 2 บทท่ี 5 แผนภูมริ ปู ภาพและตารางทางเดียว 7 บทท่ี 6 เศษส่วน 16 บทท่ี 7 การคณู 18 รวมภาคเรยี นที่ 1 105
10 โครงสร้างรายวิชา หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา เศษส่วน เรยี นร้/ู ตวั ชีว้ ัด (ชม.) ค 1.1 การบอก อ่าน และเขียนเศษส่วนที่มีตัวเศษน้อย 16 ป.3/3 กว่าหรือเท่ากับตัวส่วน สามารถเรียงลำดับ ป.3/4 เศษสว่ นได้โดยการเปรียบเทยี บเศษส่วน ส่วนการ ป.3/10 แก้โจทย์ปัญหาการบวกและการลบเศษส่วน ต้อง ป.3/11 วิเคราะห์โจทย์ และแสดงวิธีทำเพื่อหาคำตอบ รวมท้ังตรวจสอบความสมเหตสุ มผลของคำตอบ
11 กำหนดแผนการจดั การเรยี นรู้ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 6 เศษส่วน แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ เร่อื ง จำนวน (ช่วั โมง) 1 การอา่ นและการเขยี นเศษสว่ นท่ีตวั เศษน้อยกว่าตัวสว่ น 2 การอา่ นและการเขียนเศษส่วนท่ีตวั เศษเท่ากับตัวส่วน 1 3 การเปรยี บเทยี บเศษส่วนท่มี ีตัวสว่ นเทา่ กนั 1 4 การเรยี งลำดบั เศษส่วนทม่ี ีตวั ส่วนเท่ากนั 1 5 การเปรยี บเทยี บเศษสว่ นทม่ี ตี ัวเศษเท่ากัน 1 6 การเรยี งลำดับเศษส่วนที่มตี ัวเศษเท่ากัน 1 7 การบวกเศษส่วนทม่ี ีตัวสว่ นเท่ากนั 1 8 การบวกเศษส่วนท่ีมตี วั ส่วนเท่ากนั 1 9 การลบเศษส่วนทมี่ ีตัวส่วนเทา่ กนั 1 10 การลบเศษสว่ นที่มีตัวสว่ นเทา่ กนั 1 11 โจทยป์ ัญหาการบวกเศษสว่ นทม่ี ีตวั สว่ นเทา่ กนั 1 12 โจทยป์ ัญหาการบวกเศษสว่ นท่ีมตี ัวสว่ นเทา่ กนั 1 13 โจทย์ปัญหาการบวกเศษสว่ นทีม่ ีตัวส่วนเทา่ กัน 1 14 โจทย์ปญั หาการลบเศษส่วนทมี่ ตี วั สว่ นเทา่ กัน 1 15 โจทยป์ ัญหาการลบเศษสว่ นทมี่ ตี วั ส่วนเทา่ กนั 1 16 โจทยป์ ัญหาการลบเศษส่วนที่มีตัวสว่ นเท่ากนั 1 1 รวม 16
12 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1 รายวิชาคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 6 เศษส่วน เวลาเรยี น 16 ชัว่ โมง เร่อื ง การอา่ นและเขียนเศษส่วนทต่ี ัวเศษน้อยกวา่ ตัวส่วน เวลาเรียน 1 ช่วั โมง สอนวนั ท่ี....... เดือน.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การ ดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการ ดำเนนิ การ และการนำไปใช้ ตัวชวี้ ดั ค 1.1 ป.3/3 : บอก อา่ น และเขยี นเศษสว่ นแสดงปริมาณสิง่ ต่างๆ และแสดงสิ่งต่างๆ ตาม เศษสว่ นทก่ี ำหนด สาระสำคัญ เศษสว่ น เปน็ การเขียนแสดงจำนวน โดยใช้ − เปน็ เสน้ คั่นระหวา่ งจำนวนสองจำนวน จำนวน ที่อยู่บนเส้นคั่นเรียกว่า ตัวเศษ จำนวนที่อยู่ใต้เส้นคั่น เรียกว่า ตัวส่วน การอ่านเศษส่วนให้เริ่มอ่านจาก ตัวเลขเศษก่อน โดยมีคำว่า เศษ นำหน้าแลว้ ตามด้วยตัวเลขทีเ่ ป็นตัวเศษ จากนั้นอ่านตวั ส่วนต่อ โดย มคี ำว่า ส่วน นำหนา้ แล้วตามด้วยตวั เลขทเ่ี ป็นตัวส่วน จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกเศษสว่ นทตี่ วั เศษนอ้ ยกว่าหรือเทา่ กับตวั ส่วนได้ (K) 2. เขียนเศษส่วนทต่ี ัวเศษน้อยกว่าหรือเทา่ กับตัวส่วนได้ (P) 3. นำความรู้เกีย่ วกับการบอก อ่าน และเขียนเศษส่วนที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตวั ส่วน ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ (A) สาระการเรยี นรู้ การอา่ นและเขยี นเศษสว่ นท่ีตวั เศษนอ้ ยกวา่ ตวั สว่ น ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 1. ความสามารถในการสื่อสารและการสอื่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเช่ือมโยง คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน
13 กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั นำเข้าสบู่ ทเรยี น 1. ครูสนทนากับนักเรียนถึงสิ่งของที่เต็มหน่วยและสิ่งของที่ไม่เต็มหน่วย จากน้ัน ยกตัวอย่างรูปภาพสิ่งของที่เต็มหน่วยและไม่เต็มหน่วย โดยนำบัตรภาพ เช่น ผลไม้ ขนมเค้ก วงกลม ทัง้ ที่เปน็ ภาพเต็มหน่วยและไม่เต็มหนว่ ยตดิ บนกระดานดำเพ่ือให้นกั เรียนตอบคำถามวา่ ภาพใดบ้างท่ี เตม็ หน่วยและภาพใดบา้ งท่ีไม่เตม็ หนว่ ย ขั้นสอน 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาถึงสิ่งของที่เต็มหน่วยว่า สิ่งของที่เต็มหน่วย เรียกว่า จำนวนเต็ม เป็นการแสดงสิง่ ของที่มีจำนวนเต็มหน่วยซึง่ เราสามารถนับได้ และใช้สัญลักษณ์ 1, 2, 3, ... แทนจำนวนดงั กล่าว พร้อมกับถามนักเรียนว่า สิ่งของที่ไมเ่ ต็มหน่วย เรียกว่าอะไร สามารถนับเป็น จำนวนเตม็ ไดห้ รือไม่ และใชส้ ัญลกั ษณ์อะไรแทน 2. ครูนำภาพขนมที่ถกู แบ่งออกเป็น 2 ส่วนเทา่ ๆ กนั มาตดิ บนกระดานดำ ดังรูป แทนการแบ่งขนมเคก้ ดว้ ยรปู สเี่ หล่ียมด้านล่าง และแทน ส่วนทนี่ ักเรยี นหนง่ึ คนได้รบั ด้วยสีสม้ ให้นกั เรยี นตอบคำถามดงั น้ี - แบ่งขนมเคก้ ให้เท่าๆ กนั ไดก้ ่สี ่วน (2 ส่วน) - นักเรยี น 2 คน จะไดร้ บั ขนมเคก้ คนละเท่าไร (คนละ 1 ส่วน) ครูแนะนำว่าส่วนที่นักเรียนหนึ่งคนได้รับ เป็น 1 ใน 2 ส่วนของขนมเค้กทั้งหมด เขียนแทนด้วย 1 อ่านว่า เศษหนึ่งส่วนสอง ตัวเลขตัวบน คือ 1 เรียกว่า ตัวเศษ ซึ่งแสดงจำนวนส่วน 2 แบง่ ที่กลา่ วถงึ ตวั เลขตวั เล่างคอื 2 เรยี กว่า ตัวสว่ น ซึง่ แสดงจำนวนส่วนแบง่ ท้งั หมดทเ่ี ทา่ ๆ กัน 3. ครูนำแถบกระดาษที่มสี ว่ นแบง่ 5 ส่วนเทา่ ๆ กัน โดยที่แถบกระดาษดังกล่าวระบาย สี 1 ส่วน ติดบนกระดานดำให้นกั เรยี นพจิ ารณา ดังรปู ใหน้ ักเรยี นตอบคำถามดงั น้ี - แถบกระดาษแบ่งออกเปน็ สว่ นที่เทา่ กันก่สี ว่ น - สว่ นทีร่ ะบายสมี กี ีส่ ่วน - เขียนเศษสว่ นแทนสว่ นทรี่ ะบายสไี ดอ้ ยา่ งไร 4. จากน้ันครูนำรปู มาตดิ บนกระดาน แล้วอภปิ รายซักถามนกั เรียน ดังน้ี รปู ที่ 1 รปู ท่ี 2 รปู ท่ี 3 รูป0ที่ 4
14 รปู ที่ จำนวนสว่ นแบง่ ท่ีเทา่ ๆ กัน จำนวนสว่ นท่แี รเงา เศษส่วนแสดงสว่ นทแี่ รเงา 14 11 24 36 4 43 11 4 22 6 11 3 5. ครูนำรูปสิ่งของหนึ่งกลุ่มซึ่งมีจำนวนไม่เกิน 20 และแบ่งสิ่งของออกเป็นหลายส่วน เทา่ ๆ กนั แรเงาบางสว่ นของรูปตดิ ไว้บนกระดาน เช่น ใหน้ ักเรียนตอบคำถามดังนี้ - รปู นถ้ี กู แบง่ ออกเปน็ ก่กี ลุ่ม (3 กลุม่ ) - แตล่ ะกลุม่ มีจำนวนเท่ากนั หรือไม่ (เทา่ กัน) - กลุ่มท่แี รเงามีกีส่ ว่ น (1 สว่ น) - กลุ่มท่ีแรเงาเป็นเศษส่วนเทา่ ไรของรูป (เศษหน่ึงส่วนสาม) 6. ครใู ห้นักเรียนหาเศษส่วนจากส่งิ ของซ่ึงมีหลายชนดิ อย่ใู นกลุ่มเดยี วกัน ให้นักเรยี นตอบคำถามต่อไปนี้ - จำนวนรปู เปน็ จำนวนเศษส่วนเท่าไรของจำนวนรปู เรขาคณติ ท้งั หมด (3) - จำนวนรูป - จำนวนรปู 7 เป็นจำนวนเศษสว่ นเทา่ ไรของจำนวนรปู เรขาคณิตทั้งหมด (2) 7 เป็นจำนวนเศษส่วนเทา่ ไรของจำนวนรูปเรขาคณติ ทั้งหมด (2) 7
15 7. ครูให้นกั เรยี นทำใบงานท่ี 1 การอา่ นและเขียนเศษส่วนทต่ี ัวเศษน้อยกวา่ ตวั สว่ น เมอื่ เสร็จแล้วใหน้ ักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนน้ั ครูและนักเรียนร่วมกนั เฉลยกิจกรรมในใบ งานที่ 1 ขนั้ สรุป 1. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรุปสิ่งท่ีได้เรียนรู้ร่วมกนั ดงั นี้ - เศษส่วน คือ จำนวนที่ใช้บอกปริมาณของสิ่งของหรือรูปภาพที่ถูกแบ่งออกมา เมอื่ เทียบกบั สงิ่ ของทงั้ หมดหรือภาพท้ังหมด - สัญลักษณ์ที่เขียนแสดงเศษส่วนประกอบด้วย ตัวเศษ แสดงจำนวนส่วนแบ่งท่ี กล่าวถึง ซึ่งจะเขียนไว้ด้านบน ตัวส่วน แสดงจำนวนส่วนแบ่งทั้งหมดที่แบ่งออกเท่าๆ กัน ซึ่งจะเขียน ไว้ด้านล่าง และมเี ส้นคน่ั ระหว่างตวั เศษและตัวส่วน สอ่ื การเรยี นรู้ 1. บัตรภาพส่งิ ของท่ีเต็มหนว่ ยและไม่เต็มหน่วย 2. ภาพขนมเคก้ ที่ถกู แบ่งออกเป็น 2 ส่วนเทา่ ๆ กัน 3. แถบกระดาษเศษสว่ น 4. ใบงานท่ี 1 การอา่ นและเขียนเศษส่วนทีต่ ัวเศษนอ้ ยกวา่ ตัวส่วน การวดั ผลและประเมนิ ผล สิง่ ที่ต้องการวดั วธิ วี ดั เครอ่ื งมอื วัด เกณฑก์ ารประเมิน 1. ดา้ นความรู้ ใบงานที่ 1 ทำกิจกรรมจากใบงานท่ี 70% ขึน้ ไป ถือว่าผ่าน 2. ดา้ นทกั ษะ 1 แบบสังเกตพฤติกรรมดา้ น เกณฑ์การประเมนิ กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ 3. ดา้ นคุณลักษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสังเกตพฤติกรรมด้าน นกั เรียนได้คะแนน ท่พี งึ ประสงค์ ทกั ษะกระบวนการ คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ ระดับคุณภาพดีขึ้นไป สังเกตพฤติกรรมด้าน นักเรยี นได้คะแนน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ระดับคุณภาพดีข้นึ ไป
16 บนั ทกึ หลังการเรียนการสอน 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรยี นรตู้ ามจดุ ประสงค์การเรียนรู้ นกั เรยี นได้คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรียนอยใู่ นระดบั ดีมาก คน คิดเปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ดี คน คดิ เปน็ ร้อยละ นกั เรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นักเรียนอย่ใู นระดับปรบั ปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ 1.3 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ นกั เรยี นอยใู่ นระดับดีมาก คน คิดเปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยใู่ นระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ นกั เรยี นอยู่ในระดับพอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดบั ปรับปรุง คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงช่ือ.....................................ผู้สอน (นางรัชนยี ์ สิมมาคำ) ..../................../........
17 แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 2 รายวิชาคณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 เศษสว่ น เวลาเรียน 16 ชัว่ โมง เร่ือง การอา่ นและเขียนเศษส่วนที่ตวั เศษเท่ากบั ตัวสว่ น เวลาเรยี น 1 ช่วั โมง สอนวันท.่ี ...... เดอื น.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การ ดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการ ดำเนนิ การ และการนำไปใช้ ตัวชว้ี ดั ค 1.1 ป.3/3 : บอก อา่ น และเขียนเศษสว่ นแสดงปริมาณสิ่งต่างๆ และแสดงส่ิงต่างๆ ตาม เศษส่วนทก่ี ำหนด สาระสำคญั เศษส่วน เปน็ การเขยี นแสดงจำนวน โดยใช้ − เป็นเสน้ คั่นระหว่างจำนวนสองจำนวน จำนวน ที่อยู่บนเส้นคั่นเรียกว่า ตัวเศษ จำนวนที่อยู่ใต้เสน้ คั่น เรียกว่า ตัวส่วน การอ่านเศษส่วนให้เริ่มอ่านจาก ตัวเลขเศษกอ่ น โดยมีคำวา่ เศษ นำหน้าแลว้ ตามด้วยตัวเลขท่ีเป็นตวั เศษ จากนั้นอ่านตัวส่วนต่อ โดย มีคำว่า สว่ น นำหนา้ แล้วตามด้วยตวั เลขที่เปน็ ตวั สว่ น จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกเศษสว่ นทต่ี วั เศษนอ้ ยกวา่ หรอื เท่ากับตวั สว่ นได้ (K) 2. เขียนเศษสว่ นทต่ี วั เศษน้อยกว่าหรือเทา่ กับตัวสว่ นได้ (P) 3. นำความรู้เกี่ยวกับการบอก อ่าน และเขียนเศษส่วนที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตวั ส่วน ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้ (A) สาระการเรียนรู้ การอา่ นและเขยี นเศษสว่ นทีต่ วั เศษเท่ากบั ตวั ส่วน ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการส่ือสารและการสอื่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชือ่ มโยง คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งม่นั ในการทำงาน
18 กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นำเขา้ สู่บทเรียน 1. ครทู บทวนการอา่ นเศษส่วน โดยตดิ แถบแสดงเศษสว่ นบนกระดาน เชน่ ใหน้ กั เรยี นร่วมกันอภปิ รายสว่ นที่แรเงาแสดงเศษส่วนใด และตรวจสอบความถกู ต้อง โดยครอู ธบิ ายแนะนำและตรวจสอบความถกู ตอ้ งอีกครัง้ ขน้ั สอน 1. ครูติดแถบกระดาษที่แรเงาเต็ม 1 แถบ บนกระดานใช้การถามตอบ จนนกั เรยี นบอกไดว้ า่ ส่วนทแี่ รเงาแสดง 1 2. ครูติดแถบกระดาษรูปสี่เหลี่ยมที่มขี นาดเท่าเดิมอีก 4 แบบ (ดังรูปขา้ งลา่ ง) และแบ่ง แถบกระดาษแถบท่ีหน่ึงเป็น 2 สว่ นเทา่ ๆ กนั แถบที่สองเปน็ 3 สว่ นเท่าๆ กนั แถบทีส่ ามเป็น 4 ส่วน เทา่ ๆ กนั และแถบทส่ี ี่เปน็ 5 สว่ นเท่าๆ กนั ดังน้ี แถบท่ี 1 แถบที่ 2 แถบที่ 3 แถบท่ี 4 ครูแรเงาแถบกระดาษแถบที่ 1 ทีละส่วน พรอ้ มท้ังให้นักเรียนบอกเศษสว่ นทแี่ ทน สว่ นท่แี รเงา (1 , 2) ทำนองเดยี วกัน สำหรบั แถบท่ี 2 (1 , 2 , 3) แถบที่ 3 (1 , 2 , 3 , 4) และแถบ 22 333 4444 ที่ 4 (1 , 2 , 3 , 4 , 5) เม่ือแรเงาครบทุกแถบจะได้ดังน้ี 55555 1 2 2 3 3 4 4 5 5
19 จากน้ันให้นักเรียนพจิ ารณาแถบกระดาษท้ังหมดใช้การถามตอบ ดังนี้ - กระดาษแตล่ ะแถบมขี นาดเท่ากนั หรือไม่ (เท่ากนั ) - สว่ นทีแ่ รเงาทงั้ หมดในกระดาษแตล่ ะแถบเท่ากนั หรอื ไม่ (เทา่ กนั ) - เนอื่ งจากสว่ นท่ีที่แรเงาในกระดาษแต่ละแถบเทา่ กนั ดงั นน้ั จะได้จำนวนอะไรที่ เท่ากันบ้าง (1 , 2 , 3 , 4 , 5) 2345 ครูเขียนผลสรปุ ทไ่ี ด้บนกระดาน ดังน้ี 2 = 3 = 4 = 5 = 1 2345 3. ครถู ามนักเรยี นเพ่ิมเตมิ ดังนี้ - นักเรยี นคดิ วา่ ถา้ แบง่ กระดาษออกเป็น 6 สว่ นเท่าๆ กัน จะได้เศษสว่ นใด เท่ากบั 1 (6) 6 - ถ้าแบ่งกระดาษออกเป็น 7 8 และ 9 ส่วนเทา่ ๆ กนั จะไดเ้ ศษสว่ นใดเทา่ กับ 1 บ้าง (7 , 8 , 9) 789 - นกั เรยี นคิดวา่ ยังมเี ศษสว่ นท่เี ท่ากบั 1 อีกหรือไม่ (มอี ีก) - ให้นกั เรยี นยกตวั อยา่ งเศษสว่ นท่ีเท่ากับ 1 อีกหลายๆ ตวั อย่างโดยครตู รวจสอบ ความถูกต้อง 4. ครใู หน้ ักเรียนสังเกตแถบกระดาษท่ีตดิ บนกระดานและตัวอยา่ งเศษส่วนทเ่ี ท่ากบั 1 ที่นักเรยี นยกตัวอย่างมา ครใู ชก้ ารถามตอบจนนักเรยี นร่วมกันสรปุ ไดว้ ่า เศษส่วนทีต่ วั เศษและตวั สว่ น เป็นจำนวนนบั ทีเ่ ทา่ กนั เป็นเศษสว่ นทีเ่ ทา่ กับ 1 5. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 2 การอ่านและเขียนเศษส่วนที่ตัวเศษเท่ากับตัวส่วน เมื่อ เสร็จแลว้ ให้นกั เรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากน้นั ครแู ละนักเรยี นร่วมกันเฉลยกิจกรรมในใบ งานท่ี 2 ขั้นสรปุ 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งทีไ่ ด้เรียนรู้รว่ มกัน ดังน้ี เศษส่วนที่ตัวเศษและตวั ส่วน เปน็ จำนวนนบั ท่ีเทา่ กนั เป็นเศษสว่ นทเี่ ทา่ กับ 1 สอ่ื การเรียนรู้ 1. แถบแสดงเศษสว่ น 2. แถบกระดาษ 3. ใบงานท่ี 2 การอา่ นและเขียนเศษส่วนทต่ี วั เศษเท่ากับตัวสว่ น
20 การวดั ผลและประเมนิ ผล สิ่งท่ตี ้องการวัด วธิ วี ัด เครือ่ งมอื วดั เกณฑก์ ารประเมนิ 1. ดา้ นความรู้ ใบงานที่ 2 ทำกิจกรรมจากใบงานที่ 70% ข้นึ ไป ถอื ว่าผา่ น 2. ดา้ นทักษะ 2 แบบสงั เกตพฤติกรรมด้าน เกณฑ์การประเมนิ กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ 3. ด้านคณุ ลักษณะ สงั เกตพฤติกรรมดา้ น แบบสงั เกตพฤติกรรมดา้ น นกั เรยี นได้คะแนน ที่พึงประสงค์ ทกั ษะกระบวนการ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพดีขน้ึ ไป สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น นกั เรียนได้คะแนน คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ ระดับคุณภาพดีขนึ้ ไป
21 บนั ทกึ หลังการเรียนการสอน 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรยี นรตู้ ามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรยี นได้คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรียนอยใู่ นระดบั ดีมาก คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดับดี คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นกั เรยี นอยใู่ นระดับพอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นักเรียนอย่ใู นระดับปรบั ปรุง คน คิดเป็นร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ นกั เรยี นอยใู่ นระดับดีมาก คน คิดเป็นรอ้ ยละ นักเรยี นอยใู่ นระดับดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรยี นอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดับปรับปรุง คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแกป้ ัญหา ลงชือ่ .....................................ผู้สอน (นางรัชนยี ์ สมิ มาคำ ) ..../................../........
22 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 3 รายวชิ าคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 6 เศษสว่ น เวลาเรยี น 16 ชัว่ โมง เร่อื ง การเปรยี บเทียบเศษส่วนท่มี ตี วั ส่วนเทา่ กัน เวลาเรียน 1 ชัว่ โมง สอนวนั ที.่ ...... เดือน.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การ ดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการ ดำเนนิ การ และการนำไปใช้ ตวั ชวี้ ดั ค 1.1 ป.3/4 : เปรียบเทียบเศษส่วนที่ตัวเศษเท่ากันโดยที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัว ส่วน สาระสำคัญ การเปรียบเทียบเศษส่วนท่ีมีตวั สว่ นเท่ากนั ใช้วิธนี ำตัวเศษมาเปรียบเทยี บกนั เศษส่วนท่ีมีตัว เศษมากกว่าจะมคี า่ มากกวา่ เศษสว่ นท่ีมตี ัวเศษน้อยกว่า จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายหลกั การเปรียบเทยี บเศษสว่ นท่ตี ัวส่วนเทา่ กัน (K) 2. เขียนข้นั ตอนแสดงการเปรยี บเทยี บเศษสว่ นที่ตวั ส่วนเทา่ กนั ได้ (P) 3. นำความรเู้ กีย่ วกับการเปรียบเทียบเศษสว่ นไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ (A) สาระการเรียนรู้ การเปรียบเทยี บเศษสว่ นท่ีมีตัวสว่ นเท่ากัน ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชอื่ มโยง 3. ความสามารถในการให้เหตผุ ล คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. ม่งุ ม่ันในการทำงาน กจิ กรรมการเรยี นรู้
23 ขนั้ นำเข้าสู่บทเรยี น 1. นักเรียนทบทวนความรู้โดยสังเกตและตอบคำถามบัตรภาพแสดงเศษส่วนที่ติดบน กระดานแลว้ ตอบคำถาม ดังนี้ ก. ข. ค. ง. ภาพท่ี 1 ภาพท่ี 2 - ภาพท่ี 1 แบ่งเป็นก่สี ่วน (4 สว่ น) - แตล่ ะสว่ นเท่ากันหรือไม่ (เทา่ กนั ) - สว่ นทีร่ ะบายสใี นรปู ก และรปู ข มกี ่ีส่วน (รปู ก 1 สว่ น รปู ข 2 สว่ น) - ส่วนที่ระบายสีในรูป ก และรูป ข เขียนเป็นเศษส่วนได้อย่างไร (รูป ก 1 รูป 4 ข 2) 4 ผู้แทนนักเรียนออกมาเขียนเศษส่วนแสดงส่วนที่ระบายสีใต้รูป ก และรูป ข พร้อม ทั้งเขียนเป็นคำอ่าน นักเรียนที่เหลือช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นพิจารณาภาพที่ 2 และ ตอบคำถามดงั นี้ - ภาพที่ 2 แบ่งเป็นก่ีสว่ น แตล่ ะสว่ นเท่ากันหรือไม่ (6 ส่วนเทา่ ๆ กัน) - สว่ นท่ีระบายสีในรูป ค และรูป ง มีกส่ี ว่ น (รปู ค 3 สว่ น รปู ง 1 สว่ น) - สว่ นท่รี ะบายสใี นรปู ค และรูป ง เขียนเป็นเศษสว่ นได้อยา่ งไร (รูป ค 3 รูป ง 6 1) 6 ผู้แทนนกั เรียนออกมาเขยี นเศษส่วนแสดงส่วนทีร่ ะบายสใี ตร้ ูป ค และรูป ง พร้อมทั้ง เขยี นเป็นคำอ่าน นักเรยี นทเ่ี หลอื ช่วยกนั ตรวจสอบความถูกต้อง ขน้ั สอน 1. นักเรียนพจิ ารณาบัตรแสดงเศษส่วนบนกระดาน ดังนี้ ก. ข. ค. ง. ภาพท่ี 1 ภาพที่ 2 นกั เรียนพิจารณาและเปรยี บเทียบสว่ นทีไ่ ม่ไดร้ ะบายสีในภาพท่ี 1 และภาพท่ี 2 ทีใ่ ช้ ในกิจกรรมข้อ 1. แลว้ ตอบคำถามดังนี้
24 - ภาพที่ 1 ส่วนท่ีไม่ได้ระบายสีในรูป ก และรูป ข มีกี่ส่วนใน 4 ส่วน (รูป ก 3 ส่วน รูป ข 2 สว่ น) รูป ข 2) - ส่วนท่ีไม่ได้ระบายสีในรูป ก และรูป ข เขียนเป็นเศษส่วนได้อย่างไร (รูป ก 3 4 4 - เศษสว่ นจำนวนใดมคี ่านอ้ ยกว่ากัน (2) 4 - เพราะเหตุใดจงึ มีค่าน้อยกว่า (เพราะมีเนือ้ ท่ไี ม่ไดร้ ะบายสเี หลือน้อยกว่า) - การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันต้องพิจารณาอะไร (พิจารณาที่ตัว เศษ ถา้ ตวั เศษมคี ่าน้อยเศษส่วนนัน้ จะมคี า่ น้อย) จากนั้นผู้แทนนักเรียน (ไม่ให้ซ้ำคนเดิม) ออกมาเขียนเศษส่วนแสดงส่วนที่ไม่ได้ ระบายสี พรอ้ มท้งั เขยี นเครอื่ งหมาย >, < แสดงการเปรยี บเทียบระหว่างเศษส่วนทั้ง 2 จำนวนดังน้ี 2 4 < 3 หรอื 3 > 2 4 44 - ภาพที่ 2 ส่วนที่ไม่ได้ระบายสีในรูป ค และรูป ง มีกี่ส่วนใน 6 ส่วน (รูป ค 3 ส่วน รปู ง 5 ส่วน) รปู ง 5) - ส่วนท่ีไม่ได้ระบายสีในรูป ค และรูป ง เขียนเป็นเศษส่วนได้อย่างไร (รูป ค 3 6 6 - เศษส่วนใดมคี ่ามากกวา่ กนั (5) 6 - เพราะเหตใุ ดจงึ มีค่ามากกวา่ (เพราะมีเน้อื ท่ไี มไ่ ดร้ ะบายสีเหลือมากกวา่ ) - การเปรียบเทยี บเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเท่ากนั ต้องพิจารณาอย่างไร (พิจารณาที่ตวั เศษ เศษสว่ นท่ีมีตวั เศษมากจะมคี า่ มาก) จากน้ันผแู้ ทนนักเรียนออกมาเขียนเศษส่วนแสดงสว่ นที่ไม่ได้ระบายสี พรอ้ มทง้ั เขียน เครอื่ งหมาย >, < แสดงการเปรยี บเทยี บส่วนที่ไม่ไดร้ ะบายสี ระหว่างเศษส่วนทงั้ 2 จำนวน ดงั นี้ 5 > 6 3 หรือ 3 < 5 6 66 2. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายถึงการเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีส่วนเท่ากันว่า สามารถทำได้โดยนำตัวเศษมาเปรยี บเทียบกัน ถา้ ตวั เศษของจำนวนใดมีค่ามากกวา่ จำนวนนนั้ จะมีค่า มากกว่า 3. ครูยกตัวอยา่ งเศษส่วนท่มี ตี ัวสว่ นเท่ากนั เพิ่มเติมอกี จนนักเรยี นตอบได้คลอ่ ง เช่น 36 99 53 77 4. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 3 การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน เมื่อเสร็จ แล้วให้นกั เรียนชว่ ยกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง จากนน้ั ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั เฉลยกิจกรรมในใบงานท่ี 3
25 ขน้ั สรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรยี นรู้ร่วมกัน ดังนี้ การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มี ตัวส่วนเท่ากนั ใช้วิธีนำตวั เศษมาเปรียบเทียบกัน เศษส่วนที่มีตัวเศษมากกว่าจะมคี ่ามากกว่าเศษส่วน ท่ีมีตัวเศษนอ้ ยกว่า สอ่ื การเรยี นรู้ 1. บตั รภาพแสดงเศษส่วน 2. ใบงานที่ 3 การเปรยี บเทยี บเศษส่วนทม่ี ตี วั ส่วนเทา่ กนั การวัดผลและประเมินผล สิ่งทต่ี ้องการวัด วิธวี ดั เคร่ืองมือวัด เกณฑก์ ารประเมนิ 1. ดา้ นความรู้ ใบงานที่ 3 ทำกิจกรรมจากใบงานท่ี 70% ข้ึนไป ถอื วา่ ผ่าน 2. ดา้ นทักษะ 3 แบบสังเกตพฤติกรรมดา้ น เกณฑ์การประเมนิ กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ 3. ด้านคณุ ลักษณะ สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกตพฤติกรรมด้าน นักเรยี นได้คะแนน ท่ีพงึ ประสงค์ ทักษะกระบวนการ คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ ระดบั คุณภาพดีขึน้ ไป สงั เกตพฤติกรรมด้าน นกั เรยี นได้คะแนน คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ ระดับคุณภาพดีข้นึ ไป
26 บนั ทกึ หลังการเรียนการสอน 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรยี นรตู้ ามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรยี นได้คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรียนอยใู่ นระดบั ดีมาก คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดับดี คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นกั เรยี นอยใู่ นระดับพอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นักเรียนอย่ใู นระดับปรบั ปรุง คน คิดเป็นร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ นกั เรยี นอยใู่ นระดับดีมาก คน คิดเป็นรอ้ ยละ นักเรยี นอยใู่ นระดับดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรยี นอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดับปรับปรุง คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแกป้ ัญหา ลงชือ่ .....................................ผู้สอน (นางรัชนยี ์ สมิ มาคำ ) ..../................../........
27 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4 รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6 เศษส่วน เวลาเรยี น 16 ชว่ั โมง เรอื่ ง การเรยี งลำดับเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากนั เวลาเรยี น 1 ชัว่ โมง สอนวนั ที.่ ...... เดือน.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การ ดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการ ดำเนนิ การ และการนำไปใช้ ตวั ช้ีวดั ค 1.1 ป.3/4 : เปรียบเทียบเศษส่วนที่ตัวเศษเท่ากันโดยที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัว ส่วน สาระสำคญั การเรียงลำดับเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน ใช้วิธีนำตัวเศษมาเปรียบเทียบกัน เศษส่วนที่มีตัว เศษมากกว่าจะมีค่ามากกว่าเศษส่วนที่มีตัวเศษน้อยกว่า จากนั้นนำมาเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย หรือจากนอ้ ยไปหามาก จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายหลกั การเรียงลำดับเศษสว่ นท่ีตวั สว่ นเทา่ กนั (K) 2. เขยี นขน้ั ตอนแสดงการเรยี งลำดับเศษส่วนทต่ี ัวส่วนเท่ากันได้ (P) 3. นำความร้เู กยี่ วกับการเรียงลำดบั เศษส่วนไปใช้ในชวี ิตประจำวันได้ (A) สาระการเรยี นรู้ การเรยี งลำดบั เศษส่วนทีม่ ตี ัวสว่ นเทา่ กนั ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการสื่อสารและการสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชือ่ มโยง 3. ความสามารถในการให้เหตุผล คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน
28 กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้นั นำเข้าสูบ่ ทเรียน 1. ครูทบทวนเร่ืองการเปรียบเทียบเศษส่วนที่ตัวส่วนเทา่ กัน โดยนำบัตรภาพแสดงเศษส่วน มาให้นักเรียนดูทีละคู่ แล้วให้นักเรียนร่วมกันเปรียบเทยี บวา่ รูปภาพใดแสดงเศษส่วนที่มากกว่าหรือน้อย กว่ากัน (2 - 3 ตัวอย่าง) 2. ครูเขียนตัวเลขบนกระดานทีละคู่ แล้วให้นักเรียนร่วมกันเปรียบเทียบว่าจำนวนใดมีค่า มากกว่าหรือน้อยกวา่ กันโดยใชเ้ ครื่องหมาย ดงั นี้ 5 กบั 2 , 2 กบั 6 , 5 กบั 4 , 3 กับ 1 6 67 75 58 8 ข้ันสอน 1. ครูกล่าวทักทายและทบทวนเรื่องการเปรียบเทียบเศษส่วนที่ตัวส่วนเท่ากันว่า “เศษสว่ นทมี่ ตี ัวส่วนเท่ากัน ให้พิจารณาทตี่ ัวสว่ น เศษสว่ นทม่ี ตี วั เศษมากกว่าจะมีค่ามากกว่าเศษส่วน ที่มตี วั เศษน้อยกว่า” 2. ครูนำบัตรตัวเลข 5 , 3 , 7 , 4 , 1 ขึ้นมา โดยครูตั้งคำถามกระตุ้นให้นักเรียน 99999 ชว่ ยกันคดิ ในประเดน็ ดงั น้ี - นักเรยี นสามารถเรียงลำดับบตั รตัวเลขในลักษณะใดไดบ้ ้าง (เรียงจากน้อยไปหา มาก หรือจากมากไปหานอ้ ย) - จำนวนที่น้อยทสี่ ุดคอื จำนวนใด (1) 9 - จำนวนท่มี ากทสี่ ุดคือจำนวนใด (7) 9 - เรียงลำดบั จากนอ้ ยไปมากไดอ้ ยา่ งไร (1 , 3 , 4 , 5 , 7) 99999 - เรยี งลำดับจากนอ้ ยไปมากได้อย่างไร (7 , 5 , 4 , 3 , 1) 99999 3. ครยู กตัวอยา่ งการเรียงลำดับเศษสว่ นท่ตี วั ส่วนเท่ากันเพ่ิมเติมอีก 2 – 3 ตัวอยา่ ง จน นักเรียนตอบไดค้ ล่อง 4. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 4 การเรียงลำดับเศษส่วนที่มตี ัวส่วนเท่ากนั เมื่อเสร็จแล้ว ให้นกั เรยี นชว่ ยกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง จากนน้ั ครูและนักเรียนรว่ มกันเฉลยกิจกรรมในใบงานที่ 4 ขนั้ สรปุ 1. ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุปส่ิงที่ไดเ้ รียนรู้ร่วมกัน ดงั นี้ การเรียงลำดับเศษส่วนท่ีมีตัว สว่ นเทา่ กัน ใช้วธิ นี ำตวั เศษมาเปรยี บเทยี บกัน เศษสว่ นทมี่ ตี วั เศษมากกว่าจะมีคา่ มากกว่าเศษส่วนที่มี ตวั เศษน้อยกวา่ จากนั้นนำมาเรยี งลำดบั จากมากไปหาน้อย หรอื จากน้อยไปหามาก
29 สอ่ื การเรียนรู้ 1. บตั รภาพแสดงเศษส่วน 2. บัตรตัวเลข 3. ใบงานที่ 4 การเรยี งลำดบั เศษสว่ นที่มีตวั สว่ นเทา่ กัน การวดั ผลและประเมินผล สงิ่ ท่ีต้องการวดั วิธีวดั เครอ่ื งมอื วดั เกณฑก์ ารประเมนิ 1. ด้านความรู้ ใบงานท่ี 4 ทำกิจกรรมจากใบงานท่ี 70% ขน้ึ ไป ถอื ว่าผา่ น 2. ดา้ นทักษะ 4 แบบสังเกตพฤติกรรมด้าน เกณฑ์การประเมนิ กระบวนการ ทักษะกระบวนการ 3. ดา้ นคณุ ลกั ษณะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกตพฤติกรรมด้าน นกั เรยี นได้คะแนน ทีพ่ ึงประสงค์ ทักษะกระบวนการ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพดีขน้ึ ไป สังเกตพฤติกรรมด้าน นักเรียนได้คะแนน คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ ระดับคุณภาพดีขนึ้ ไป
30 บนั ทกึ หลังการเรียนการสอน 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรียนรู้ตามจดุ ประสงค์การเรียนรู้ นกั เรยี นได้คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ 1.2 ผลการประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรียนอยใู่ นระดบั ดีมาก คน คิดเปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ดี คน คดิ เปน็ ร้อยละ นกั เรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นักเรียนอย่ใู นระดับปรบั ปรุง คน คิดเป็นร้อยละ 1.3 ผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ นกั เรยี นอยใู่ นระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ นักเรยี นอยใู่ นระดบั ดี คน คิดเป็นร้อยละ นกั เรยี นอยู่ในระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดบั ปรับปรุง คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงช่ือ.....................................ผู้สอน ( นางรชั นีย์ สิมมาคำ) ..../................../........
31 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 เศษส่วน เวลาเรยี น 16 ช่ัวโมง เรื่อง การเปรยี บเทียบเศษส่วนทีม่ ีตวั เศษเท่ากนั เวลาเรียน 1 ชัว่ โมง สอนวนั ท่ี....... เดอื น.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การ ดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการ ดำเนินการ และการนำไปใช้ ตัวชว้ี ัด ค 1.1 ป.3/4 : เปรียบเทียบเศษส่วนที่ตัวเศษเท่ากันโดยที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัว ส่วน สาระสำคัญ การเปรียบเทียบเศษส่วนทม่ี ีตัวเศษเทา่ กัน จะพจิ ารณาทตี่ วั ส่วน เศษส่วนทม่ี ตี วั ส่วนน้อยกว่า จะมีคา่ มากกว่าเศษสว่ นทม่ี ตี ัวส่วนมากกว่า จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายหลักการเปรียบเทยี บเศษสว่ นทีต่ ัวเศษเท่ากนั (K) 2. เขยี นขัน้ ตอนแสดงการเปรยี บเทยี บเศษส่วนที่ตวั เศษเทา่ กนั ได้ (P) 3. นำความรเู้ กยี่ วกบั การเปรียบเทียบเศษส่วนไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้ (A) สาระการเรียนรู้ การเปรยี บเทียบเศษสว่ นที่มตี ัวเศษเทา่ กัน ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชื่อมโยง 3. ความสามารถในการให้เหตผุ ล คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน
32 กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขั้นนำเข้าสูบ่ ทเรียน 1. ครูทบทวนเรื่องการเปรียบเทียบเศษส่วนโดยการติดแผนภาพบนกระดาน และให้ นกั เรียนร่วมกันบอกเศษสว่ นแสดงจำนวนทแ่ี รเงา ดงั นี้ 1 7 5 7 ครูใช้การถามตอบเพื่อเปรียบเทียบ 1 กับ 5 โดยให้นักเรียนสังเกตจากแถบแสดง 77 เศษสว่ นจนนักเรยี นร่วมกันให้เหตุผลได้ว่า 1 นอ้ ยกวา่ 5 เพราะสว่ นทแี่ รเงาแสดง 1 น้อยกว่า 5 77 77 หรอื 5 มากกวา่ 1 เพราะสว่ นทแ่ี รเงาแสดง 5 มากกว่า 1 77 77 แล้วให้นักเรยี นออกมาเขยี นแสดงการเปรียบเทยี บได้ ดงั น้ี 1 > 5 หรือ 5 < 1 77 77 ขน้ั สอน 1. ครูยกตัวอย่างการเปรียบเทียบเศษส่วนอีก 2 ตัวอย่าง จากแถบแสดงเศษส่วนและ ให้นักเรยี นรว่ มกันใหเ้ หตุผลเพ่ือแสดงการเปรียบเทยี บ เชน่ 3 5 3 7 ครูใช้การถามตอบเพื่อเปรียบเทียบ 3 กับ 3 โดยให้นักเรียนสังเกตจากแถบแสดง 57 เศษสว่ นจนนักเรยี นรว่ มกันให้เหตุผลไดว้ ่า 3 มากกว่า 3 เพราะส่วนทีแ่ รเงาแสดง 3 มากกว่า 3 57 57 หรอื 3 นอ้ ยกว่า 3 เพราะสว่ นทแ่ี รเงาแสดง 3 น้อยกวา่ 3 75 75 แลว้ ให้นกั เรียนออกมาเขยี นแสดงการเปรียบเทยี บได้ ดังน้ี 3 > 3 หรอื 3 < 3 57 75 2. ครูใหน้ กั เรยี นสงั เกตผลจากการเปรยี บเทยี บเศษสว่ นและรว่ มกันสรุปวา่ - เศษส่วนสองจำนวนเมื่อนำมาเปรียบเทียบกันจะเท่ากัน มากกว่ากัน หรือน้อย กวา่ กนั อยา่ งใดอย่างหน่ึง - การเปรยี บเทยี บเศษสว่ นท่ีมตี ัวเศษเทา่ กัน ให้พจิ ารณาท่ตี ัวส่วน เศษส่วนท่ีมีตัว สว่ นน้อยกว่าจะมีค่ามากกว่าเศษส่วนทีม่ ตี วั สว่ นมากกว่า
33 3. ครูยกตวั อย่างเศษส่วนทมี่ ตี วั เศษเทา่ กันเพิม่ เติมอีก จนนกั เรียนตอบไดค้ ลอ่ ง เช่น 33 95 55 79 4. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 5 การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวเศษเท่ากัน เมื่อเสร็จ แล้วใหน้ ักเรยี นช่วยกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง จากนั้นครแู ละนักเรยี นร่วมกนั เฉลยกิจกรรมในใบงานที่ 5 ขน้ั สรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรยี นรู้ร่วมกัน ดังน้ี การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มี ตวั ส่วนเทา่ กัน ใชว้ ิธนี ำตวั เศษมาเปรียบเทียบกัน เศษสว่ นท่มี ีตัวส่วนน้อยกว่าจะมีค่ามากกว่าเศษส่วน ทีม่ ตี ัวสว่ นมากกว่า เศษส่วนทม่ี ตี วั เศษมากกว่าจะมคี า่ มากกว่าเศษส่วนที่มีตัวเศษน้อยกวา่ สอ่ื การเรยี นรู้ 1. บัตรภาพแสดงเศษส่วน 2. ใบงานท่ี 5 การเปรยี บเทยี บเศษสว่ นท่มี ีตวั เศษเทา่ กัน การวัดผลและประเมนิ ผล สงิ่ ทต่ี ้องการวดั วธิ ีวดั เคร่ืองมอื วดั เกณฑ์การประเมนิ 1. ดา้ นความรู้ ใบงานที่ 5 ทำกิจกรรมจากใบงานท่ี 70% ขน้ึ ไป ถือวา่ ผ่าน 2. ด้านทักษะ 5 แบบสังเกตพฤติกรรมดา้ น เกณฑ์การประเมิน กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ 3. ด้านคณุ ลักษณะ สงั เกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกตพฤติกรรมด้าน นักเรียนได้คะแนน ท่พี งึ ประสงค์ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ ระดับคุณภาพดีขึน้ ไป สังเกตพฤติกรรมดา้ น นกั เรยี นได้คะแนน คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ ระดับคุณภาพดีขึ้นไป
34 บนั ทกึ หลังการเรียนการสอน 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรยี นรตู้ ามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรยี นได้คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรียนอยใู่ นระดบั ดีมาก คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดับดี คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นกั เรยี นอยใู่ นระดับพอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นักเรียนอย่ใู นระดับปรบั ปรุง คน คิดเป็นร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ นกั เรยี นอยใู่ นระดับดีมาก คน คิดเป็นรอ้ ยละ นักเรยี นอยใู่ นระดับดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรยี นอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดับปรับปรุง คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแกป้ ัญหา ลงชือ่ .....................................ผู้สอน (นางรัชนยี ์ สมิ มาคำ ) ..../................../........
35 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 6 รายวิชาคณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 เศษส่วน เวลาเรยี น 16 ช่ัวโมง เรื่อง การเรียงลำดับเศษส่วนท่มี ีตัวเศษเทา่ กนั เวลาเรยี น 1 ชว่ั โมง สอนวันที่....... เดือน.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การ ดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการ ดำเนินการ และการนำไปใช้ ตวั ชวี้ ดั ค 1.1 ป.3/4 : เปรียบเทียบเศษส่วนที่ตัวเศษเท่ากันโดยที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัว ส่วน สาระสำคัญ การเรียงลำดับเศษส่วนที่มีตัวเศษเท่ากัน ใช้วิธีนำตัวส่วนมาเปรียบเทียบกัน เศษส่วนที่มีตัว ส่วนน้อยกว่าจะมีค่ามากกว่าเศษส่วนที่มีตัวส่วนมากกว่า จากนั้นนำมาเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย หรือจากนอ้ ยไปหามาก จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายหลักการเรยี งลำดับเศษสว่ นทีต่ ัวเศษเท่ากนั (K) 2. เขยี นข้นั ตอนแสดงการเรยี งลำดับเศษสว่ นท่ตี วั เศษเท่ากันได้ (P) 3. นำความรูเ้ กี่ยวกบั การเรยี งลำดบั เศษสว่ นไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้ (A) สาระการเรยี นรู้ การเรยี งลำดบั เศษส่วนทีม่ ตี วั เศษเทา่ กัน ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการสื่อสารและการสือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชือ่ มโยง 3. ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ล คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งม่ันในการทำงาน
36 กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น 1. ครูทบทวนเร่ืองการเปรียบเทยี บเศษส่วนที่ตัวเศษเท่ากัน โดยนำบัตรภาพแสดงเศษส่วน มาให้นักเรียนดูทีละคู่ แล้วให้นักเรียนร่วมกันเปรียบเทยี บวา่ รูปภาพใดแสดงเศษส่วนที่มากกว่าหรือน้อย กวา่ กนั (2 - 3 ตัวอยา่ ง) 2. ครูเขียนตัวเลขบนกระดานทีละคู่ แล้วให้นักเรียนร่วมกันเปรียบเทียบว่าจำนวนใดมีค่า มากกว่าหรอื น้อยกว่ากนั โดยใชเ้ ครื่องหมาย ดังนี้ 2 กบั 2 , 6 กับ 6 , 4 กับ 4 , 3 กับ 3 6 57 95 78 6 ขน้ั สอน 1. ครูกล่าวทักทายและทบทวนเรื่องการเปรียบเทียบเศษส่วนที่ตัวเศษเท่ากันว่า “เศษส่วนทม่ี ตี ัวเศษเทา่ กนั ให้พจิ ารณาที่ตัวสว่ น เศษสว่ นทมี่ ตี วั สว่ นน้อยกว่าจะมีค่ามากกว่าเศษส่วน ทีม่ ตี ัวสว่ นมากกวา่ ” 2. ครูนำบัตรตัวเลข 3 , 3 , 3 , 3 , 3 ขึ้นมา โดยครูตั้งคำถามกระตุ้นให้นักเรียน 96584 ช่วยกันคดิ ในประเดน็ ดังน้ี - นักเรยี นสามารถเรียงลำดับบตั รตวั เลขในลักษณะใดได้บ้าง (เรียงจากน้อยไปหา มาก หรอื จากมากไปหานอ้ ย) - จำนวนทนี่ อ้ ยทส่ี ดุ คือจำนวนใด (3) 9 - จำนวนท่ีมากทีส่ ุดคือจำนวนใด (3) 4 - เรยี งลำดบั จากนอ้ ยไปมากได้อย่างไร (3 , 3 , 3 , 3 , 3) 98654 - เรียงลำดับจากน้อยไปมากไดอ้ ยา่ งไร (3 , 3 , 3 , 3 , 3) 45689 3. ครยู กตวั อยา่ งการเรียงลำดบั เศษสว่ นท่ีตวั เศษเท่ากันเพิม่ เติมอกี 2 – 3 ตัวอย่าง จน นกั เรยี นตอบได้คล่อง 4. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 6 การเรียงลำดับเศษส่วนที่มีตัวเศษเท่ากัน เมื่อเสร็จแล้ว ให้นักเรยี นชว่ ยกนั ตรวจสอบความถูกต้อง จากน้นั ครูและนกั เรยี นร่วมกันเฉลยกิจกรรมในใบงานท่ี 6 ขนั้ สรปุ 1. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ไดเ้ รยี นรรู้ ่วมกัน ดังน้ี การเรียงลำดับเศษส่วนที่มีตัว เศษเท่ากนั ใช้วธิ ีนำตัวส่วนมาเปรยี บเทียบกนั เศษสว่ นทีม่ ีตวั สว่ นนอ้ ยกว่าจะมีค่ามากกว่าเศษส่วนที่มี ตัวส่วนมากกวา่ จากนน้ั นำมาเรยี งลำดับจากมากไปหานอ้ ย หรือจากน้อยไปหามาก
37 สอ่ื การเรียนรู้ 1. บตั รภาพแสดงเศษสว่ น 2. บัตรตวั เลข 3. ใบงานที่ 6 การเรียงลำดบั เศษส่วนทมี่ ีตวั เศษเท่ากนั การวัดผลและประเมินผล สิ่งทีต่ ้องการวดั วธิ ีวัด เครอ่ื งมอื วัด เกณฑก์ ารประเมนิ 1. ดา้ นความรู้ ใบงานที่ 6 ทำกจิ กรรมจากใบงานท่ี 70% ข้นึ ไป ถือว่าผา่ น 2. ดา้ นทักษะ 6 แบบสังเกตพฤติกรรมด้าน เกณฑ์การประเมนิ กระบวนการ ทักษะกระบวนการ 3. ด้านคุณลกั ษณะ สงั เกตพฤติกรรมดา้ น แบบสังเกตพฤติกรรมด้าน นกั เรียนได้คะแนน ท่พี ึงประสงค์ ทักษะกระบวนการ คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ ระดับคุณภาพดีขน้ึ ไป สังเกตพฤติกรรมด้าน นักเรยี นได้คะแนน คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ระดบั คุณภาพดีขนึ้ ไป
38 บนั ทกึ หลังการเรียนการสอน 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรยี นรตู้ ามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรยี นได้คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรียนอยใู่ นระดบั ดีมาก คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดับดี คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นกั เรยี นอยใู่ นระดับพอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นักเรียนอย่ใู นระดับปรบั ปรุง คน คิดเป็นร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ นกั เรยี นอยใู่ นระดับดีมาก คน คิดเป็นรอ้ ยละ นักเรยี นอยใู่ นระดับดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรยี นอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดับปรับปรุง คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแกป้ ัญหา ลงชือ่ .....................................ผู้สอน (นางรัชนยี ์ สมิ มาคำ ) ..../................../........
39 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 7 รายวิชาคณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 เศษส่วน เวลาเรียน 16 ชว่ั โมง เรอ่ื ง การบวกเศษสว่ นที่มีตัวส่วนเทา่ กัน เวลาเรยี น 1 ชว่ั โมง สอนวนั ท.่ี ...... เดอื น.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การ ดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการ ดำเนนิ การ และการนำไปใช้ ตวั ช้วี ดั ค 1.1 ป.3/10 : หาผลบวกของเศษสว่ นท่ีมีตวั ส่วนเทา่ กันและผลบวกไม่เกนิ 1 และหาผลลบ ของเศษส่วนทม่ี ีตวั สว่ นเทา่ กนั สาระสำคญั การบวกเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันทำได้โดยนำตัวเศษมาบวกกันแล้วเขียนผลบวกในตัวเศษ โดยมีตวั ส่วนเทา่ เดมิ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายขั้นตอนและวิธีการบวกเศษสว่ นทมี่ ตี วั ส่วนเทา่ กันได้ (K) 2. เขยี นข้นั ตอนแสดงการบวกเศษสว่ นท่มี ีตัวส่วนเทา่ กันได้ (P) 3. หาผลลัพธจ์ ากการบวกเศษส่วนทมี่ ีตัวสว่ นเทา่ กนั ได้ถกู ต้อง (P) 4. นำความรเู้ ก่ียวกับการบวกเศษส่วนท่ีมีตวั ส่วนเท่ากนั ไปใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ (A) สาระการเรียนรู้ การบวกเศษสว่ นทมี่ ีตวั สว่ นเทา่ กนั ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการสื่อสารและการสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเช่ือมโยง 3. ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ล คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน
40 กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขนั้ นำเขา้ ส่บู ทเรียน 1. ครทู บทวนเร่ืองการเปรียบเทยี บเศษส่วน โดยนำบตั รภาพแสดงเศษส่วน มาใหน้ ักเรียนดู ทีละคู่ แล้วให้นักเรียนร่วมกันเปรียบเทียบว่า รูปภาพใดแสดงเศษส่วนที่มากกว่าหรือน้อยกว่ากัน (2-3 ตัวอยา่ ง) 2. ครูเขียนตัวเลขบนกระดานทีละคู่ แล้วให้นักเรียนร่วมกันเปรียบเทียบว่าจำนวนใดมีค่า มากกวา่ หรือน้อยกวา่ กนั โดยใช้เครื่องหมาย ดงั น้ี 5 กบั 2 , 2 กบั 6 , 5 กับ 4 , 3 กับ 1 6 67 75 58 8 ขั้นสอน 1. ครูนำแผนภาพแสดงการบวกเศษส่วนทมี่ ตี ัวส่วนเทา่ กัน เช่น 3 +2 =5 10 10 10 สนทนาและอภปิ รายซักถามนักเรียนเกี่ยวกบั วิธีการบวกเศษสว่ นทม่ี ตี วั ส่วนเท่ากนั 2. ครยู กตัวอย่างโจทยห์ รอื ประโยคสัญลักษณ์เกย่ี วกบั การบวกที่มตี ัวสว่ นเท่ากัน 1 – 2 ตวั อย่างมาอภิปรายซกั ถามนักเรียน ถึงการแสดงวิธกี ารทำให้นักเรยี นดเู ปน็ ตวั อย่าง เช่น 32 55 3 + 5 = 5 8 3. ครใู ช้คำถามใหน้ ักเรยี นตอบ เช่น - เศษส่วนท่นี ำมาบวกกนั มีส่วนเทา่ กนั หรอื ไม่ (เทา่ กัน) - ถ้าจะใชแ้ ถบเศษส่วนช่วยหาคำตอบ จะต้องใช้แถบเศษสว่ นทส่ี ่วนแบ่งเท่าๆ กัน กส่ี ่วน (5 สว่ น) ชอ่ งท่ีแรเงา) - นักเรยี นจะต้องแรเงากี่ช่องเพื่อแสงความหมายของ 3 (3 ชอ่ ง) 5 - นกั เรียนจะต้องแรเงากชี่ ่อง เพ่ือแสงความหมาย 2 (2 ชอ่ ง) 5 - นักเรียนจะหาผลบวกของ 3 และ 2 จากแถบเศษส่วนได้อย่างไร (นับจำนวน 55 - จำนวนช่องท่ีแรเงาทั้งหมดเขียนเปน็ เศษส่วนได้อย่างไร (5 หรอื 1) 5 เขียนแผนภาพแสงความสมั พันธ์กันของการบวกเศษสว่ น และแสดงขั้นตอนการหา คำตอบ ดังนี้
41 3 + 2 = 3+2 = 5 5 55 5 4. ครยู กตวั อยา่ งเพ่ิมเติม และให้นักเรยี นแตร่ ว่ มกนั หาคำตอบ เช่น 2+4= 5 + 3 = 88 10 10 4+3= 3+2= 77 66 5. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 7 การบวกเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน เมื่อเสร็จแล้วให้ นกั เรยี นชว่ ยกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง จากน้นั ครูและนกั เรยี นร่วมกันเฉลยกจิ กรรมในใบงานที่ 7 ขน้ั สรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังน้ี การบวกเศษส่วนที่มีตัวส่วน เท่ากนั โดยใชห้ ลกั การนำตวั เศษบวกตัวเศษ ตัวสว่ นคงเดมิ สอ่ื การเรยี นรู้ 1. แผนภาพแสดงการบวกเศษสว่ นท่ีมีตัวสว่ นเท่ากัน 2. ใบงานท่ี 7 การบวกเศษส่วนทม่ี ีตวั ส่วนเท่ากนั การวัดผลและประเมนิ ผล ส่ิงที่ต้องการวัด วิธวี ดั เคร่อื งมอื วัด เกณฑ์การประเมนิ 1. ดา้ นความรู้ ใบงานท่ี 7 ทำกจิ กรรมจากใบงานที่ 70% ขน้ึ ไป ถอื วา่ ผ่าน 2. ด้านทกั ษะ 7 แบบสงั เกตพฤติกรรมด้าน เกณฑ์การประเมิน กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ 3. ด้านคณุ ลักษณะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกตพฤติกรรมดา้ น นักเรียนได้คะแนน ทีพ่ งึ ประสงค์ ทักษะกระบวนการ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ระดบั คุณภาพดีข้ึนไป สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น นกั เรียนได้คะแนน คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์ ระดับคุณภาพดีขึ้นไป
42 บนั ทกึ หลังการเรียนการสอน 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรยี นรตู้ ามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรยี นได้คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรียนอยใู่ นระดบั ดีมาก คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดับดี คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นกั เรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นักเรียนอย่ใู นระดับปรบั ปรุง คน คิดเป็นร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นกั เรยี นอยใู่ นระดับดีมาก คน คิดเป็นรอ้ ยละ นักเรยี นอยใู่ นระดับดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรยี นอยู่ในระดบั พอใช้ คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดับปรับปรุง คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแกป้ ัญหา ลงชือ่ .....................................ผู้สอน (นางรัชนยี ์ สมิ มาคำ ) ..../................../........
43 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 8 รายวิชาคณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 เศษส่วน เวลาเรียน 16 ชว่ั โมง เรอ่ื ง การบวกเศษสว่ นที่มีตัวส่วนเทา่ กัน เวลาเรียน 1 ชว่ั โมง สอนวนั ท.่ี ...... เดอื น.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การ ดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการ ดำเนนิ การ และการนำไปใช้ ตวั ช้วี ดั ค 1.1 ป.3/10 : หาผลบวกของเศษสว่ นท่ีมีตวั ส่วนเทา่ กันและผลบวกไม่เกิน 1 และหาผลลบ ของเศษส่วนทม่ี ีตวั สว่ นเทา่ กนั สาระสำคญั การบวกเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันทำได้โดยนำตัวเศษมาบวกกันแล้วเขียนผลบวกในตัวเศษ โดยมีตวั ส่วนเทา่ เดมิ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายขั้นตอนและวิธีการบวกเศษสว่ นทมี่ ีตัวสว่ นเท่ากนั ได้ (K) 2. เขยี นข้นั ตอนแสดงการบวกเศษสว่ นท่มี ีตัวสว่ นเท่ากนั ได้ (P) 3. หาผลลัพธจ์ ากการบวกเศษส่วนทมี่ ีตัวสว่ นเทา่ กันได้ถูกต้อง (P) 4. นำความรเู้ ก่ียวกับการบวกเศษส่วนท่ีมีตวั ส่วนเทา่ กันไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้ (A) สาระการเรียนรู้ การบวกเศษสว่ นทมี่ ีตวั สว่ นเทา่ กนั ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการสื่อสารและการสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเช่ือมโยง 3. ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ล คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน
44 กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้นั นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครทู บทวนความหมายของเศษสว่ นโดยแจกกระดาษขนาดกว้าง 4 นวิ้ ยาว 8 นวิ้ ให้ นักเรียนทกุ คนแล้วพับแถบกระดาษเป็น 8 ส่วนเท่าๆ กัน ขีดเส้นตามรอยพับแล้วให้นักเรียนระบายสี แดง 3 สว่ น เชน่ ครใู ชก้ ารถามตอบจนนักเรียนตอบได้วา่ เศษสว่ นแสดงสว่ นท่รี ะบายสี คอื 3 8 ข้ันสอน 1. ครูกล่าวทักทายและทบทวนเรื่องการบวกเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันว่า “การบวก เศษสว่ นทม่ี ตี ัวส่วนเท่ากัน ใหน้ ำตัวเศษมาบวกกนั โดยมตี วั สว่ นเทา่ เดมิ ” 2. ครยู กตวั อยา่ งบนกระดานใชก้ ารถามตอบให้นักเรียนช่วยกนั หาผลบวก ดังนี้ 1) 1 + 4 = 1+4 =5 88 8 8 2) 4 + 2 = 4+2 =6 77 7 7 3) 3 + 5 = 3+5 =8 99 9 9 4) 6 + 1 = 6+1 =7 88 8 8 ครูตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง และสนทนาและอภิปรายซักถามนกั เรียนเก่ียวกบั วธิ กี ารบวกเศษสว่ นทม่ี ีตวั สว่ นเท่ากัน 3. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 8 การบวกเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน เมื่อเสร็จแล้วให้ นักเรยี นชว่ ยกนั ตรวจสอบความถูกต้อง จากนน้ั ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรมในใบงานท่ี 8 ขนั้ สรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้ การบวกเศษส่วนที่มีตัวส่วน เท่ากนั โดยใช้หลักการนำตัวเศษบวกตวั เศษ ตวั ส่วนคงเดมิ สอ่ื การเรยี นรู้ 1. กระดาษขนาดกวา้ ง 4 น้วิ ยาว 8 นว้ิ 2. ใบงานท่ี 8 การบวกเศษสว่ นทีม่ ตี วั สว่ นเทา่ กัน
45 การวดั ผลและประเมนิ ผล สิ่งท่ตี ้องการวัด วธิ วี ัด เครือ่ งมอื วดั เกณฑก์ ารประเมนิ 1. ดา้ นความรู้ ใบงานที่ 8 ทำกิจกรรมจากใบงานที่ 70% ข้นึ ไป ถอื ว่าผา่ น 2. ดา้ นทักษะ 8 แบบสงั เกตพฤติกรรมด้าน เกณฑ์การประเมนิ กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ 3. ด้านคณุ ลักษณะ สงั เกตพฤติกรรมดา้ น แบบสงั เกตพฤติกรรมดา้ น นกั เรยี นได้คะแนน ที่พึงประสงค์ ทกั ษะกระบวนการ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพดีขน้ึ ไป สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น นกั เรียนได้คะแนน คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ ระดับคุณภาพดีขนึ้ ไป
46 บนั ทกึ หลังการเรียนการสอน 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรยี นรตู้ ามจดุ ประสงค์การเรียนรู้ นกั เรยี นได้คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรียนอยใู่ นระดบั ดีมาก คน คิดเปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ดี คน คดิ เปน็ ร้อยละ นกั เรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นักเรียนอย่ใู นระดับปรบั ปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ 1.3 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ นกั เรยี นอยใู่ นระดับดีมาก คน คิดเปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยใู่ นระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ นกั เรยี นอยู่ในระดับพอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดบั ปรับปรุง คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงช่ือ.....................................ผู้สอน (นางรัชนยี ์ สิมมาคำ) ..../................../........
47 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 9 รายวิชาคณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 6 เศษสว่ น เวลาเรยี น 16 ชว่ั โมง เร่ือง การลบเศษส่วนทม่ี ีตัวสว่ นเทา่ กัน เวลาเรยี น 1 ชวั่ โมง สอนวนั ท่ี....... เดือน.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การ ดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการ ดำเนนิ การ และการนำไปใช้ ตวั ชีว้ ดั ค 1.1 ป.3/10 : หาผลบวกของเศษส่วนทม่ี ีตวั สว่ นเทา่ กนั และผลบวกไมเ่ กนิ 1 และหาผลลบ ของเศษสว่ นท่มี ีตัวสว่ นเท่ากัน สาระสำคัญ การลบเศษส่วนที่มีส่วนเท่ากัน สามารถทำได้โดยให้นำตัวเศษมาลบกัน ตัวส่วนยังคงเดิมไม่ ตอ้ งลบกนั จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายข้ันตอนและวธิ ีการลบเศษส่วนท่ีมตี วั ส่วนเท่ากันได้ (K) 2. เขียนขน้ั ตอนแสดงการลบเศษสว่ นทมี่ ีตวั ส่วนเทา่ กันได้ (P) 3. หาผลลัพธ์จากการลบเศษส่วนทีม่ ตี วั สว่ นเท่ากนั ไดถ้ ูกตอ้ ง (P) 4. นำความรู้เกี่ยวกับการลบเศษสว่ นทม่ี ตี ัวสว่ นเทา่ กนั ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ (A) สาระการเรียนรู้ การลบเศษสว่ นที่มตี ัวส่วนเท่ากัน ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 1. ความสามารถในการสื่อสารและการสอื่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชอื่ มโยง 3. ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ล คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103