Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข้อแนะนำการออกกำลังกายสำหรับเด็ก (อายุ2-12ปี)

ข้อแนะนำการออกกำลังกายสำหรับเด็ก (อายุ2-12ปี)

Description: ข้อแนะนำการออกกำลังกายสำหรับเด็ก (อายุ2-12ปี)

Search

Read the Text Version

หนังสือชุด ข้อแนะนำการออกกำลังกายสำหรับ ข้อแนะนำ เดก็ (อายุ 2 - 12 ป)ี น้ี กรมอนามยั โดยกองออกกำลงั กาย เพื่อสุขภาพ ได้รวบรวมจากการทบทวน องค์ความรู้ของผู้ การออกกำ ัลงกายสำห ัรบเ ็ดก (อา ุย 2 – 12 ีป) เชี่ยวชาญ ซึ่งเป็นคณะกรรมการที่ปรึกษา ทางวิชาการด้าน การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข วัตถุประสงค์ในการจัดพิมพ์เพื่อเป็นองค์ความรู้ ด้านการ ออกกำลังกายสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และผู้เกี่ยวข้อง ได้ใช้เป็นแนวทางในการแนะนำให้ประชนชนทั่วไป ทุกกลุ่ม วัย ทุกกลุ่มอาชีพ ทั้งผู้ที่มีสุขภาพดีอยู่แล้วหรือ ผู้ที่เจ็บป่วย เล็กน้อยก็ตาม ได้เคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังได้อย่าง เหมาะสมกับตนเอง เพื่อสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง ไม่เป็น ภาระแก่ผู้อื่น เพื่อชีวิตบั้นปลายที่มีความสุข คำนำ กรมอนามัย หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเจ้าหน้าที่ สาธารณสุข ผู้เกี่ยวข้องทุกท่านจะได้ประโยชน์จากหนังสือ เล่มนี้เป็นอย่างมาก ส่วนข้อแนะนำที่ลงสู่ประชาชน กรมอนามัยจะดำเนินการต่อจากการจัดพิมพ์หนังสือชุดนี้ ตอ่ ไป

กรมอนามัย หนงั สอื ชดุ ขอ้ แนะนำการออกกำลงั กายสำหรบั เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ กระทรวงสาธารณสขุ ขอ้ แนะนำการออกกำลงั กายสำหรบั เดก็ (อายุ 2 - 12 ป)ี ผศ.นพ.สมพล สงวนรงั ศริ กิ ลุ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ที่ปรึกษา คณะกรรมการที่ปรึกษาทางวิชาการด้านการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข บรรณาธิการ สมชาย ล่ที องอิน นวลศรี วจิ ารณ์ อำนวย ภภู ทั รพงศ์ นงพะงา ศวิ านวุ ฒั น์ จดั พมิ พโ์ ดย กองออกกำลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ อ.เมอื ง จ.นนทบรุ ี 11000 โทรศพั ท์ : 0-2590-4588 โทรสาร : 0-2590-4584

เนื้อหา หน้า บทนำ 1 ข้อแนะนำ การออกกำลังกายมีผลต่อการเจริญเติบโตและการ 3 การออกกำ ัลงกายสำห ัรบเ ็ดก (อา ุย 2 – 12 ีป) พัฒนาการของเด็กอย่างไร ข้อแนะนำการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพในเด็ก (อายุ 7 2-12 ป)ี สารบญั ข้อควรระวังในการออกกำลังกายในเด็ก 11 เอกสารอ้างอิง 13

ขอ้ แนะนำการออกกำลงั กายสำหรบั เดก็ (อายุ 2 – 12 ป)ี ข้อแนะนำ ผศ.นพ.สมพล สงวนรงั ศริ กิ ลุ การออกกำ ัลงกายสำห ัรบเ ็ดก (อา ุย 2 – 12 ีป) คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เปน็ ทท่ี ราบกนั ดวี า่ การทเ่ี ดก็ มกี ารเคลอ่ื นไหวรา่ งกายและออกกำลงั กายที่เหมาะสม ช่วยส่งสริมให้มีการเจริญเติบโตของระบบกระดูก ระบบกลา้ มเนอ้ื และระบบขอ้ ตอ่ ของรา่ งกาย นอกจากนย้ี งั ทำใหเ้ กดิ ผล ดตี อ่ ระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด การควบคมุ นา้ํ หนกั รวมไปถงึ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพจติ และเสรมิ สรา้ งนสิ ยั ในการออกกำลงั กายใหม้ กี ารออกกำลงั กาย อยา่ งสมา่ํ เสมอเมอ่ื โตเปน็ ผใู้ หญด่ ว้ ย ในปจั จบุ นั เชอ่ื วา่ โรคทางระบบหวั ใจ และหลอดเลอื ด เชน่ โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ โรคความดนั โลหติ สงู หรอื โรค เบาหวานชนดิ ท่ี 2 รวมทง้ั โรคอว้ นทม่ี อี าการแสดงอยา่ งเดน่ ชดั ในวยั ผใู้ หญ่ นน้ั สว่ นใหญเ่ รม่ิ มาแตว่ ยั เดก็ ดงั นน้ั ถา้ มกี ารออกกำลงั กายอยา่ งสมำ่ เสมอ ตง้ั แตใ่ นวยั เดก็ กจ็ ะเปน็ การลดปจั จยั เสย่ี งและลดอบุ ตั กิ ารณก์ ารเกดิ โรค เหลา่ นไ้ี ดใ้ นวยั ผใู้ หญ่ กอ่ นทจ่ี ะกลา่ วถงึ ประโยชนข์ องการออกกำลงั กายในเดก็ จะขอให้ ทำความเข้าใจกับคำจำกัดความของคำว่า การเคลื่อนไหวร่างกาย การ ออกกำลงั กาย และการฝกึ ฝน ทจ่ี ะกลา่ วถงึ ในบทความน้ี ดงั น้ี - การเคลอ่ื นไหวรา่ งกาย (physical activity) หมายถงึ การ เคลอ่ื นไหวรา่ งกายทม่ี กี ารทำงานของกลา้ มเนอ้ื ลายและมกี ารใชพ้ ลงั งาน สำหรบั ทำกจิ กรรมตา่ งๆ - การออกกำลังกาย (exercise) หมายถึง การเคลื่อนไหว รา่ งกายทม่ี รี ปู แบบทแ่ี นน่ อน และมกี ารเคลอ่ื นไหวรา่ งกายในรปู แบบซำ้ ๆ ในชว่ งเวลาหนง่ึ ชนดิ ของการออกกำลงั กายอาจแบง่ ไดอ้ อกเปน็ 2 ชนดิ คอื 1

กรมอนามัย การออกกำลังกายแบบ แอโรบิก (aerobic exercise) หมายถงึ การออกกำลงั กายทก่ี ลา้ มเนอ้ื ไดพ้ ลงั งานจากการใชอ้ อกซเิ จน ใน กระทรวงสาธารณสขุ การเผาผลาญสารอาหารในการออกกำลังกายแบบนี้มักจะมีการหดและ คลายตวั ของกลา้ มเนอ้ื แขนขาอยตู่ ลอดเวลา และพบวา่ ถา้ มกี ารออกกำลงั กาย ใหม้ คี วามเหนอ่ื ยโดยอตั ราการเตน้ ของหวั ใจอยทู่ ่ี 50-60 % ของอตั รา การเตน้ หวั ใจสงู สดุ เปน็ เวลานานกวา่ 20 นาที กจ็ ะเปน็ ผลดตี อ่ ระบบหวั ใจ และหลอดเลอื ดรวมทง้ั การควบคมุ นำ้ หนกั เพราะรา่ งกายจะใชส้ ารอาหาร ไขมนั เปน็ หลกั ในการเผาผลาญเพอ่ื ใหไ้ ดพ้ ลงั งาน และจะเหน็ วา่ ชนดิ กฬี า ทน่ี ยิ มเลน่ เพอ่ื สขุ ภาพในปจั จบุ นั สว่ นใหญจ่ ะเปน็ การออกกำลงั กายแบบ แอโรบกิ เชน่ การวง่ิ เหยาะๆ หรอื เดนิ เรว็ ๆ การปน่ั จกั รยาน การเลน่ ฟตุ บอล บาสเกตบอล ตระกรอ้ เทนนสิ วา่ ยนำ้ การออกกำลงั กายแบบแอนแอโรบกิ (anaerobic exercise) หมายถึง การออกกำลังกายชนิดที่กล้ามเนื้อมีการทำงานในรูปแบบของ การออกแรงอยา่ งมากในทนั ทแี ละใชเ้ วลาสน้ั ๆ (ไมเ่ กนิ 2 นาท)ี และตาม ด้วยการหยุดพัก พลังงานที่กล้ามเนื้อใช้ในการทำงานจะเป็นพลังงาน ที่ได้จากปฏิกิริยาทางเคมีของการสลายสารกลุ่มฟอสเฟต (adenosine triphosphate , creatine phosphate) และการสลายกลยั โคเจนทส่ี ะสม ไว้ในเซลล์กล้ามเนื้อเอง ซึ่งกระบวนการเผาผลาญเหล่านี้เป็นกระบวน การทไ่ี มใ่ ชอ้ อกซเิ จน และการไดพ้ ลงั งานจากกระบวนการนจ้ี ะมผี ลทำให้ เซลล์กล้ามเนื้อมีสภาพเป็นกรด จากกรดแลคติกที่เพิ่มขึ้นจากกระบวน เผาผลาญของไกลโคเจน ตวั อยา่ งการออกกำลงั กายในรปู แบบน้ี ไดแ้ ก่ การ ยกนำ้ หนกั การวง่ิ ระยะสน้ั 100-200 เมตร sit up วดิ พน้ื โหนบาเดย่ี ว การฝกึ ฝน(training) หมายถงึ การออกกำลงั กายทม่ี จี ดุ มงุ่ หมาย เพอ่ื ใหร้ า่ งกาย แขง็ แรง และเกดิ ความชำนาญในชนดิ กฬี านน้ั ๆ เปน็ การฝกึ โดยมจี ดุ มงุ่ หมายเพอ่ื การแขง่ ขนั เปน็ หลกั 2

การออกกำลงั กายมผี ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการพฒั นาการของเดก็ ข้อแนะนำ อยา่ งไร 1,2,3 การออกกำ ัลงกายสำห ัรบเ ็ดก (อา ุย 2 – 12 ีป) ผลตอ่ ความสงู โดยทว่ั ไปความสงู ของเดก็ จะสงู เพม่ิ ขน้ึ ประมาณ 25 ซม. ในขวบปแี รก หลงั จากนน้ั จะสงู ขน้ึ ประมาณปลี ะ5-8 ซม.เมอ่ื เขา้ สชู่ ว่ งรนุ่ จะ มกี ารเจรญิ เตบิ โตอยา่ งรวดเรว็ (Growth spurt) ซง่ึ ในเดก็ ผหู้ ญงิ จะเรม่ิ ใน ชว่ งอายุ 9-10 ปี ความสงู จะเพม่ิ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ จนถงึ อายปุ ระมาณ 12 ปี จากนน้ั อตั ราการเพม่ิ ของความสงู จะลดลง จนกระทง่ั ถงึ อายปุ ระมาณ16-18 ปี ความสงู จะคอ่ นขา้ งคงท่ี สว่ นในเดก็ ชายจะเรม่ิ ชา้ กวา่ ประมาณ 1-2 ปี โดยจะเรม่ิ ในชว่ งอายุ 10-12 ปี มอี ตั ราการเจรญิ เตบิ โตโดยเฉพาะความ สงู จะเพม่ิ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ จนถงึ อายปุ ระมาณ 14 ปี จากนน้ั อตั ราการเพม่ิ ของความสูงจะลดลง จนกระทั่งถึงอายุประมาณ 18-20 ปี ความสูงจะ คอ่ นขา้ งคงท่ี ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสูง ได้แก่ การเจริญเติบโต ของกระดูก โดยเฉพาะกระดูกกลุ่ม long bone และการปิดของบริเวณ growth plate การทเ่ี ดก็ มกี ารเคลอ่ื นไหวรา่ งกายหรอื ออกกำลงั กายอยา่ ง สมา่ํ เสมอ จะกระตนุ้ ใหม้ กี ารหลง่ั ของ growth hormone และ growth factor รวมทั้งการกระตุ้นโดยตรงต่อกระดูก อันเป็นผลทำให้มีการเพิ่มการ สรา้ งกระดกู มากขน้ึ ( bone formation) แมว้ า่ ปจั จบุ นั ยงั ไมม่ กี ารวจิ ยั เชงิ ทดลองทแ่ี สดงใหเ้ หน็ วา่ ในกลมุ่ เดก็ ทม่ี กี ารเคลอ่ื นไหวรา่ งกาย หรอื ออกกำลงั กายอยา่ งสมา่ํ เสมอมี ความสงู มากกวา่ กลมุ่ เดก็ ทไ่ี มม่ กี ารออกกำลงั กายกต็ าม แตม่ กี ารวจิ ยั ทไ่ี ดม้ ี การสำรวจเดก็ นกั เรยี นในชว่ งอาย1ุ 0-16 ปี ในประเทศ แคนาดา เบลเยย่ี ม โปแลนด์ และ สาธารณรฐั เชค พบวา่ ในกลมุ่ เดก็ นกั เรยี นชายทม่ี ี การเคลอ่ื น ไหวออกแรง/ออกกำลงั กายแบบแอโรบคิ (aerobic exercise) ซง่ึ เปน็ รปู แบบ 3

กรมอนามัย ของการออกกำลงั กายทเ่ี ซลลก์ ลา้ มเนอ้ื ใชพ้ ลงั งานมาจากการใชอ้ อกซเิ จนใน การเผาผลาญสารอาหาร เชน่ แปง้ หรอื ไขมนั มากกวา่ 6 ชว่ั โมงตอ่ สปั ดาห์ กระทรวงสาธารณสขุ จะมคี า่ เฉลย่ี ของความสงู มากกวา่ กลมุ่ เดก็ ทม่ี กี ารเคลอ่ื นไหวออกแรง/ออก กำลงั กายนอ้ ยกวา่ 6 ชว่ั โมงตอ่ สปั ดาห์ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื ในวยั เดก็ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื ลายจะคอ่ ยๆเพม่ิ ขน้ึ ตามอายุ และเพิ่มขึ้นอย่างมากเมื่อเข้าสู่ช่วงวัยรุ่น โดยเฉพาะผู้ชายจะมี ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื มากกวา่ ผหู้ ญงิ (เนอ่ื งจากอทิ ธพิ ลของฮอรโ์ มน testosterone) การที่เด็กมีการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกายอย่าง สม่ำเสมอ จะเป็นปัจจัยที่ส่งเสริมให้กล้ามเนื้อมีความแข็งแรงพบว่าการ ออกกำลงั กายแบบแอโรบคิ (เชน่ ถบี จกั รยาน วา่ ยนำ้ ในระยะทางมากกวา่ 200 เมตร) จะมผี ลกระตนุ้ ใหเ้ ซลลก์ ลา้ มเนอ้ื ลายมกี ารเพม่ิ การสรา้ ง Enzyme สำหรับการเผาผลาญเพื่อให้ได้พลังงานสำหรับการหด และคลายตัวของ กลา้ มเนอ้ื โดยการใชอ้ อกซเิ จน ในทำนองเดยี วกนั การออกกำลงั กายในรปู แบบของการทก่ี ลา้ มเนอ้ื ตอ้ งออกแรงมากในระยะเวลาสน้ั ๆ เชน่ การวง่ิ 60 - 100 เมตร กระโดดสงู กระโดดไกล เซลลข์ องกลา้ มเนอ้ื ลายกจ็ ะมกี ารเพม่ิ การสรา้ งEnzymeทเ่ี กย่ี วกบั การเผาผลาญเพอ่ื ใหไ้ ดพ้ ลงั งานทไ่ี มใ่ ชอ้ อกซเิ จน นอกจากนี้การที่เด็กมีการเคลื่อนไหวออกแรงออกกำลังกายก็จะช่วย ส่งเสริมให้มีการพัฒนาระบบประสาทสั่งการ ที่เกียวกับการทำงานของ กลา้ มเนอ้ื ตา่ งๆ สำหรบั การทรงตวั ใหท้ ำงานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ ระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด ขณะทม่ี กี ารเคลอ่ื นไหวออกแรง/ออกกำลงั กายกลา้ มเนอ้ื ตอ้ งการพลงั งานทำใหเ้ กดิ การเคลอ่ื นไหว ระบบหวั ใจและหลอดเลอื ดจงึ มี ความสำคญั ในการขนสง่ สารอาหาร และ ออกซเิ จน ในเลอื ดไปยงั กลา้ มเนอ้ื ทท่ี ำงาน พบวา่ การออกกำลงั กายโดยเฉพาะการออกกำลงั กายแบบแอโรบกิ 4

อย่างสม่ำเสมอ จะมีผลทำให้กล้ามเนื้อหัวใจแข็งแรงขึ้น มีขนาดใหญ่ขึ้น ข้อแนะนำ ทำใหม้ คี วามสามารถในการบบี ตวั ใหม้ ปี รมิ าตรเลอื ดทอ่ี อกจากหวั ใจแตล่ ะครง้ั มากขน้ึ มกี ารเพม่ิ ปรมิ าณของหลอดเลอื ดแดงขนาดเลก็ และหลอดเลอื ดฝอย การออกกำ ัลงกายสำห ัรบเ ็ดก (อา ุย 2 – 12 ีป) ในกลา้ มเนอ้ื ลายและกลา้ มเนอ้ื หวั ใจ การเพม่ิ ปรมิ าณของหลอดเลอื ดนจ้ี ะมี ผลตอ่ การทำงานของกลา้ มเนอ้ื หวั ใจทำใหอ้ ตั ราการเตน้ ของหวั ใจขณะพกั ของผทู้ ม่ี กี ารออกกำลงั กายอยา่ งสมำ่ เสมอจะตำ่ กวา่ ผทู้ ไ่ี มไ่ ดม้ กี ารออกกำลงั กายหรอื ออกกำลงั กายแตไ่ มส่ มำ่ เสมอ มงี านวจิ ยั หลายงานวจิ ยั ทพ่ี บวา่ การ ออกกำลงั กายแบบแอโรบคิ อยา่ งสมำ่ เสมอสามารถลดความดนั โลหติ และ ระดบั ไขมนั ในเลอื ดในเดก็ วยั รนุ่ และวยั ทำงานได้ การควบคมุ นำ้ หนกั จากผลการสำรวจของประเทศสหรฐั อเมรกิ า ในปี 1991 พบวา่ 25%ของเดก็ ในสหรฐั จะมนี ำ้ หนกั เกนิ เกณฑม์ าตรฐาน (overweight) และการศกึ ษาในประเทศไทยทท่ี ำในขอนแกน่ สงขลาและกรงุ เทพมหานคร พบว่า 6-14%ของเด็กไทยเป็นโรคอ้วน4,5,6 ปัจุบันเชื่อว่าการรับประทาน อาหารประเภทแป้ง และไขมันมากเกินไป ร่วมกับการใช้เวลาในการดู โทรทศั น์ และเลน่ เกมคอมพวิ เตอรม์ ากเกนิ ไป เปน็ สาเหตสุ ำคญั ทท่ี ำใหเ้ ดก็ มนี ำ้ หนกั เกนิ เดก็ ทม่ี นี ำ้ หนกั เกนิ จะมแี นวโนม้ ทจ่ี ะทำใหเ้ กดิ โรคของระบบ ทางเดนิ หายใจ โรคของระบบกระดกู และขอ้ และการหลง่ั ของฮอรโ์ มน โดย เฉพาะ growth hormone ทผ่ี ดิ ปกติ ตลอดจนเสย่ี งทจ่ี ะทำใหเ้ กดิ โรคความ ดนั โลหติ สงู โรคหลอดเลอื ดหวั ใจและโรคอว้ นในวยั ผใู้ หญอ่ กี ดว้ ย ในปจั จบุ นั การจำกดั อาหาร การลดเวลาการดโู ทรทศั น์ ภาพยนตร์ และการเลน่ เกมสใ์ ห้ ไมเ่ กนิ 2 ชว่ั โมง/วนั รว่ มกบั การเพม่ิ กจิ กรรมการออกกำลงั กาย ถอื เปน็ วธิ ที ด่ี ี ทส่ี ดุ ในการควบคมุ นำ้ หนกั 5

กรมอนามัย การสะสมมวลกระดกู ปกติกระดูกในร่างกายจะมีการสร้าง(bone formation) กระทรวงสาธารณสขุ และสลาย (bone resorption) อยตู่ ลอดเวลา โดยพบวา่ ในชว่ งวยั เดก็ และ วยั รนุ่ รา่ งกายจะมอี ตั ราการสรา้ งมวลกระดกู มากกวา่ อตั ราการสลายมวลกระดกู เมอ่ื อายปุ ระมาณ 30 มอี ตั ราการสรา้ งมวลกระดกู และการสลายกระดกู จะ เทา่ ๆ กนั และเมอ่ื อายปุ ระมาณ 35 ปี ขน้ึ ไปรา่ งกายจะมอี ตั ราการสลาย กระดกู มากกวา่ ดงั นน้ั การทจ่ี ะกระตนุ้ ใหม้ กี ารเสรมิ สรา้ งมวลกระดกู อยา่ งมี ประสทิ ธผิ ล เพอ่ื ลดภาวะกระดกู พรนุ ในวยั สงู อายคุ วรจะเรม่ิ กอ่ นอายุ 35 ปี มีหลายงานวิจัยที่พบมีผลต่อการเสริมสร้างมวลกระดูก โดยเฉพาะรูปแบบการออกกำลังกายที่มีแรงกด หรือมีน้ำหนักกดลงต่อ กระดกู (weight-bearing exercise ) เชน่ การวง่ิ จะมผี ลกระตนุ้ ใหก้ ระดกู มอี ตั ราการสรา้ งมวลกระดกู มากขน้ึ มงี านวจิ ยั ในเดก็ ชาย 20 คน อายเุ ฉลย่ี 10.4 ปี ทม่ี กี ารออกกำลงั กายในรปู แบบของ weight-bearing exercise ระยะเวลา 30 นาที 3 ครั้ง/สัปดาห์เป็นเวลา 32 สัปดาห์มีปริมาณมวล กระดกู มากกวา่ 2 เทา่ เมอ่ื เทยี บกบั กลมุ่ เดก็ ผชู้ าย 20 คน ทม่ี อี ายเุ ฉลย่ี ใกล้เคียงกัน นอกจากนี้ยังมีการศึกษาปริมาณมวลกระดูก ในนักกีฬา ยิมนาสติกหญิงที่มีอายุเฉลี่ย 10.4 ปีจำนวน 45 คนและอดีตนักกีฬา ยมิ นาสตกิ 36 คน อายเุ ฉลย่ี 25 ปี เทยี บกบั กลมุ่ ผหู้ ญงิ ทไ่ี มไ่ ดเ้ ปน็ นกั กฬี า 50 คน ที่มีอายุ เฉลี่ย 25 ปี พบว่ามวลกระดูกของกลุ่มเด็กหญิงที่เล่น ยิมนาสติก และกลุ่มอดีตนักกีฬายิมนาสติกมีมวลกระดูกมากกว่ากลุ่ม ควบคมุ อยา่ งมนี ยั สำคญั แสดงใหเ้ หน็ วา่ มวลกระดกู ทเ่ี พม่ิ ขน้ึ จากผลของการออก กำลงั กายนน้ั ไมไ่ ดล้ ดลงถงึ แมว้ า่ จะหยดุ ออกกำลงั กาย ผลตอ่ สขุ ภาพจติ การมีกิจกรรมเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกายอย่าง สมำ่ เสมอมผี ลใหเ้ ดก็ เกดิ ความสนกุ สนาน มกี ารพฒั นาทางดา้ นสงั คมกบั 6

เดก็ ในวยั เดยี วกนั และกบั บดิ า-มารดาและการทเ่ี ดก็ มสี ขุ ภาพทางกายท่ี ข้อแนะนำ แขง็ แรง ทำใหเ้ ดก็ สามารถเลน่ กบั เพอ่ื นๆไดอ้ ยา่ งดี ไมม่ คี วามรสู้ กึ วา่ ตนเอง เป็นคนอ่อนแอ อันจะมีผลต่อความเชื่อมั่นในตนเองสูง กล้าแสดงออก การออกกำ ัลงกายสำห ัรบเ ็ดก (อา ุย 2 – 12 ีป) ขอ้ แนะนำการออกกำลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพในเดก็ (อายุ 2-12 ป)ี เดก็ ไมใ่ ชผ่ ใู้ หญต่ วั เลก็ ดงั นน้ั การเคลอ่ื นไหวออกแรง/ออกกำลงั กาย ในเด็กจึงเป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อให้เด็กมีความสนุกสนานลักษณะของ กิจกรรมจะไม่มีรูปแบบที่แน่นอนเหมือนการฝึกในผู้ใหญ่ The National Association for Sport and Physical Education ไดใ้ หข้ อ้ แนะนำการออก กำลงั กายสำหรบั เดก็ ระดบั อนบุ าลและประถมศกึ ษา สรปุ ไดด้ งั น้ี - ในแตล่ ะวนั ควรจะมเี วลาสำหรบั การมกี จิ กรรมเพอ่ื เคลอ่ื นไหว ออกแรง/ออกกำลงั กายเปน็ เวลามากกวา่ 1 ชว่ั โมงขน้ึ ไป - กจิ กรรมในแตล่ ะวนั ควรจะเรม่ิ จากระดบั ความหนกั ทเ่ี บา และ คอ่ ยๆ เพม่ิ ความหนกั จนถงึ ระดบั ทห่ี นกั ปานกลาง - ควรจะมอี ปุ กรณส์ ำหรบั การสนั ทนาการ หลากหลายชนดิ เพอ่ื ใหเ้ ดก็ มกี จิ กรรมเพอ่ื เคลอ่ื นไหว รา่ งกายไดห้ ลากหลายและเปน็ สิ่งล่อใจให้เด็กอยากออกมาเล่นในชั่วโมงพักแทนที่จะนั่งคุย ในหอ้ งเรยี น ชว่ งอายุ 2-3 ปี เด็กในช่วงอายุนี้มีจะสามารถวิ่ง กระโดด และปีนป่าย ถบี จกั รยาน 3 ลอ้ ได้ การมกี จิ กรรมของเดก็ วยั นม้ี จี ดุ มงุ่ หมายเพอ่ื สง่ เสรมิ ใหม้ ี การพฒั นาของระบบประสาทและกลา้ มเนอ้ื ทเ่ี กย่ี วกบั การเคลอ่ื นไหว การสอ่ื ความหมายและการตอบสนองตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม โดยธรรมชาตขิ องเดก็ วยั น้ี ถา้ ไมม่ อี าการปว่ ยทค่ี อ่ นขา้ งหนกั ตวั อยา่ งเชน่ มไี ขส้ งู หรอื ภาวะรา่ งกายมคี วาม 7

กรมอนามัย พกิ ารแตก่ ำเนดิ แลว้ เดก็ จะมแี นวโนม้ ทจ่ี ะมกี จิ กรรมรา่ งกายคอ่ นขา้ งมาก อยแู่ ลว้ กระทรวงสาธารณสขุ การเคลอ่ื นไหวออกแรง/ออกกำลงั กายของเดก็ ของเดก็ วยั น้ี ส่วนที่ต้องระวัง คือ เรื่องของความปลอดภัยของสถานที่หรืออุปกรณ์จำ พวกของเลน่ ตา่ งๆ รวมทง้ั อบุ ตั เิ หตทุ อ่ี าจจะเกดิ ขน้ึ จากการลน่ื ลม้ การแยง่ ของ เล่นระหว่างเด็กด้วยกัน โดยทั่วไปร่างกายจะมีการถ่ายเทความร้อนเมื่อ อุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมรอบตัวเกินกว่า 25 องศาเซลเซียส ซึ่งวิธีถ่ายเท ความรอ้ นจะขบั ออกทางเหงอ่ื และระบบทางเดนิ หายใจ ในเดก็ โดยเฉพาะเดก็ ทอ่ี ายตุ ำ่ กวา่ 10 ขวบนน้ั การถา่ ยเทความรอ้ นโดยเฉพาะการขบั ออกทาง เหงอ่ื จะยงั ไมส่ มบรู ณ์ ประเทศไทยเปน็ ประเทศในเขตรอ้ น และอณุ หภมู ขิ อง สภาพแวดลอ้ มมกั จะเกนิ 25 องศาเซลเซยี ส ดงั นน้ั ถา้ เหน็ วา่ เดก็ มกี จิ กรรม การเคลอ่ื นไหวรา่ งกายทค่ี อ่ นขา้ งมากเชน่ มกี ารวง่ิ เลน่ ตลอดเวลากค็ วรจะเขา้ ไปประเมนิ ภาวะอณุ หภมู กิ ายวา่ เพม่ิ สงู ขน้ึ หรอื ไมเ่ ปน็ ระยะๆ ซง่ึ สามารถ ประเมนิ ไดง้ า่ ยๆโดยการจบั บรเิ วณซอกรกั แร้ ถา้ คอ่ นขา้ งรอ้ นเหมอื นมไี ขก้ ็ ควรให้เด็กหยุดเล่น หรือหากิจกรรมการเคลื่อนไหวที่น้อยลงให้เล่นแทน การเล่นของเด็กวัยนี้ผู้ปกครองสามารถสังเกตเห็นความ ผดิ ปกตไิ ด้ เชน่ การหายใจหอบหายใจแรงไดย้ นิ เสยี งวดี ๆ อาการเหนอ่ื ยหอบ รมิ ฝปี ากเขยี วคลา้ั ขณะเลน่ ถา้ พบอาการเหลา่ นจ้ี ะตอ้ งนำเดก็ ไปพบแพทย์ เพอ่ื ตรวจวนิ จิ ฉยั และดำเนนิ การรกั ษาตอ่ ไป ชว่ งอายุ 4-5 ปี เดก็ ในชว่ งนจ้ี ะมคี วามสามารถในการวง่ิ กระโดดและปนี ปา่ ย เตะลกู บอล ไดด้ ขี น้ึ มกี ารพฒั นาของระบบประสาทและกลา้ มเนอ้ื ท่ี เกย่ี วกบั การเคลอ่ื นไหวทด่ี ขี น้ึ แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม เดก็ ในวยั นก้ี ย็ งั ไมใ่ สใ่ จหรอื ระแวดระวงั เกย่ี วกบั ความปลอดภยั ในขณะเลน่ รวมทง้ั ยงั ไมเ่ ขา้ ใจในการ 8

เลน่ แบบมกี ตกิ าการเฝา้ ระวงั และปอ้ งกนั การเกดิ อบุ ตั เิ หตรุ วมทง้ั การแยง่ ของ ข้อแนะนำ เลน่ เปน็ สง่ิ ทค่ี วรกระทำ เดก็ ในวยั นบ้ี างคนจะเรม่ิ มคี วามชอบในการเลน่ ใน รปู แบบของชนดิ กฬี า เชน่ ชอบเตะฟตุ บอล วง่ิ แขง่ ขนั เลน่ เทนนสิ วา่ ยนำ้ การออกกำ ัลงกายสำห ัรบเ ็ดก (อา ุย 2 – 12 ีป) กค็ วรจะปลอ่ ยใหเ้ ดก็ เลน่ ตามความชอบ แตไ่ มค่ วรใหม้ กี ารเลน่ ในรปู แบบของ การฝึกฝนรวมทั้งไม่สมควรอย่างยิ่งที่จะให้เด็กมีการเล่นกีฬาตามความ ตอ้ งการของผปู้ กครองและควรจะหยดุ การมกี จิ กรรม ถา้ เดก็ แสดงอาการ ออ่ นเพลยี หรอื เหนอ่ื ยมากจากการเลน่ ในเดก็ วยั นม้ี กี ารเลน่ ทค่ี อ่ นขา้ งจะมกี าร ทำงานของกลา้ มเนอ้ื เพอ่ื การเคลอ่ื นไหวรา่ งกายมากประกอบกบั ประเทศไทย อากาศค่อนข้างร้อนดังนั้นควรจะจัดน้ำดื่มให้เพียงพอถ้าเป็นไปได้ควรให้ เดก็ ดม่ื นำ้ ในทกุ ๆครง่ึ ชว่ั โมงขณะทม่ี กี ารออกกำลงั กาย ชว่ งอายุ 6-12 ปี เดก็ ในชว่ งอายนุ จ้ี ะมคี วามสามารถในการเคลอ่ื นไหวออก แรง/ออกกำลงั กายในรปู แบบของกฬี าไดแ้ ทบทกุ ชนดิ มคี วามสามารถทจ่ี ะ เลน่ กฬี าทต่ี อ้ งเลน่ เปน็ ทมี ได้ เขา้ ใจกฎและกตกิ าทไ่ี มซ่ บั ซอ้ นมากนกั รวมทง้ั หนา้ ทข่ี องตวั เองในขณะเลน่ กฬี าชนดิ นน้ั ๆ เดก็ ในวยั นส้ี ว่ นใหญจ่ ะสามารถ เขา้ กบั เพอ่ื นๆทม่ี อี ายไุ ลเ่ ลย่ี กนั ไดด้ ี จะมเี พอ่ื นเลน่ มาก ดงั นน้ั ถา้ เขาเจอเพอ่ื น ทร่ี จู้ กั กนั กจ็ ะชกั ชวนกนั เลน่ เลย ซง่ึ การเลน่ นน้ั ในบางครง้ั จะกอ่ ใหเ้ กดิ การ ทำงานของกลา้ มเนอ้ื ทห่ี นกั ในทนั ที โดยทไ่ี มม่ กี ารเตรยี มรา่ งกาย (warm up) มากอ่ น จะพบเหน็ กนั บอ่ ยทเ่ี ดก็ ลงจากรถของผปู้ กครองเจอกนั ทห่ี นา้ โรงเรยี น แลว้ วง่ิ เลน่ กนั ทง้ั ๆทถ่ี อื หรอื สะพายกระเปา๋ นกั เรยี น การเลน่ ดงั กลา่ วอาจจะ ทำให้เกิดการบาดเจ็บของ เอ็น และกล้ามเนื้อ หรือเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย ดงั นน้ั การทค่ี ณุ ครใู หเ้ ดก็ เกบ็ กระเปา๋ ใหเ้ รยี บรอ้ ย ยกเกา้ อ้ีและนง่ั จดการบา้ น ใหเ้ สรจ็ กอ่ นทจ่ี ะออกมาวง่ิ เลน่ กเ็ ปน็ การเตรยี มกลา้ มเนอ้ื กอ่ นออกกำลงั กาย 9

กรมอนามัย ไปในตวั เด็กในวัยนี้ส่วนใหญ่มักจะมีกิจกรรมการเล่นในสนาม กระทรวงสาธารณสขุ กลางแจง้ ดงั นน้ั สนามทเ่ี ลน่ ควรจะมขี นาดใหญพ่ อสมควรพน้ื สนามควรเรยี บ ไมค่ วรมเี นนิ ดนิ หรอื หลมุ อนั จะเปน็ สาเหตขุ องการบาดเจบ็ ของกลา้ มเนอ้ื เอน็ และกระดกู ได้ ควรเฝา้ ระวงั เรอ่ื งการบาดเจบ็ รา่ งกายอาการเหนอ่ื ยลา้ และ ภาวะขาดนำ้ เพราะเดก็ จะไมห่ ยดุ เลน่ นอกเสยี จากวา่ จะบาดเจบ็ จนวง่ิ ไมไ่ ด้ หรอื เหนอ่ื ยลา้ จนเดนิ แทบไมไ่ หว การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (muscle strength) เพอ่ื เสรมิ สรา้ งกระดกู และใหร้ ะบบกลา้ มเนอ้ื มคี วามแขง็ แรงซง่ึ กจิ กรรมไดแ้ ก่ การsitupการวดิ พน้ื โหนบาเดย่ี ว หรอื แมก้ ระทง่ั การยก นำ้ หนกั ทไ่ี มห่ นกั มากแตจ่ ะไมแ่ นะนำใหม้ ฝี กึ เพอ่ื เพม่ิ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื ในรปู แบบของการกระตนุ้ ใหก้ ลา้ มเนอ้ื มขี นาดใหญ(่ bodybuilding)ซง่ึ รปู แบบ การฝกึ จะหนกั เกดิ การบาดเจบ็ ตอ่ ระบบกลา้ มเนอ้ื เอน็ กระดกู และขอ้ ไดง้ า่ ย นอกจากนก้ี ารฝกึ เพอ่ื ใหก้ ลา้ มเนอ้ื มขี นาดใหญข่ น้ึ จะไดผ้ ลดที ส่ี ดุ กต็ อ่ เมอ่ื มผี ลของฮอรโ์ มนเพศ โดยเฉพาะ testosterone รว่ มดว้ ย จงึ กลา่ วไดว้ า่ การ ออกกำลงั กายในรปู แบบการฝกึ เพอ่ื เพม่ิ ขนาดของกลา้ มเนอ้ื ถอื เปน็ ขอ้ หา้ มในเดก็ เด็กในวัยนี้มีแนวโน้มที่จะมีกิจกรรมเคลื่อนไหวร่างกาย คอ่ นขา้ งมาก และมกั จะมกี จิ กรรมการเลน่ กนั เปน็ กลมุ่ ดงั นน้ั ถา้ สงั เกตเหน็ วา่ เดก็ คนใดมพี ฤตกิ รรมทผ่ี ดิ ปกติ เชน่ แยกตวั ออกจากกลมุ่ ไปเลน่ คนเดยี ว หรอื เกบ็ ตวั แตใ่ นหอ้ ง ผปู้ กครองและอาจารยท์ ร่ี บั ผดิ ชอบควรตอ้ งหาสาเหตุ ของพฤตกิ รรมทเ่ี ปลย่ี นไป 10

ขอ้ ควรระวงั ในการออกกำลงั กายในเดก็ ข้อแนะนำ 1. ภาวะมไี ข้ ในเดก็ ทม่ี อี าการตวั รอ้ นถอื เปน็ ขอ้ หา้ มในการออก การออกกำ ัลงกายสำห ัรบเ ็ดก (อา ุย 2 – 12 ีป) กำลังกาย เพราะกลไกระบายความร้อนออกจากร่างกายในเด็กจะยังไม่ สมบรู ณก์ ารเพม่ิ ขน้ึ ของความรอ้ นในรา่ งกายจากผลของกจิ กรรมการออกกำลงั กาย อาจทำใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ เดก็ ได้ ถงึ แมว้ า่ เดก็ มไี ขเ้ พยี งเลก็ นอ้ ยกไ็ มค่ วร ใหเ้ ดก็ ไปเลน่ หรอื เคลอ่ื นไหวออกแรงทต่ี อ้ งมกี ารทำงานของกลา้ มเนอ้ื มากเกนิ ไป 2. ภาวะรา่ งกายขาดนำ้ ภาวะขาดนำ้ ในรา่ งกายมผี ลตอ่ ปรมิ าตร ของเลือดในระบบไหลเวียนเลือด ดังนั้นในเด็กที่มีอาการถ่ายเหลวหรือ อาเจยี นมากๆ จะมอี าการออ่ นเพลยี มาก และเดก็ กไ็ มอ่ ยากทจ่ี ะวง่ิ เลน่ แต่ เดก็ ทม่ี อี าการเพยี งเลก็ นอ้ ยจะยงั วง่ิ เลน่ ได้ เนอ่ื งจากภาวะขาดนำ้ แตเ่ พยี ง เลก็ นอ้ ยนน้ั รา่ งกายมกี ลไกชดเชยทจ่ี ะคอยปรบั เพอ่ื ใหก้ ารไหลเวยี นเลอื ดอยใู่ น เกณฑ์ปกติได้ แต่ภาวะขาดน้ำแม้เพียงเล็กน้อยก็จะมีผลต่อการระบาย ความรอ้ นออกจากรา่ งกายของเดก็ จงึ ควรจำกดั กจิ กรรมการเลน่ ของเดก็ ไม่ ใหม้ กี ารเคลอ่ื นไหวรา่ งกายมากจนเกนิ ไป 3. การบาดเจบ็ เนอ่ื งจากการเคลอ่ื นไหวรา่ งกายของเดก็ มพี น้ื ฐาน มาจากการเลน่ เพอ่ื ความสนกุ สนาน ดงั นน้ั รปู แบบของการเคลอ่ื นไหวรา่ งกาย ของเดก็ จะไมก่ ระทำตามลำดบั ขน้ั ตอนของการออกกำลงั กาย (stretching- warmup- exercise- cool down) เหมอื นในผใู้ หญ่ นอกจากนค้ี วามแขง็ แรง ของระบบเอน็ กลา้ มเนอ้ื กระดกู และขอ้ ในเดก็ แขง็ แรงนอ้ ยกวา่ ผใู้ หญการ บาดเจบ็ ตอ่ ระบบดงั กลา่ วจงึ สามารถเกดิ ขน้ึ ไดง้ า่ ยในเดก็ การออกระเบยี บ ของบางโรงเรยี นทใ่ี หเ้ ดก็ นกั เรยี นตง้ั แตป่ ระถมปที ่ี1ขน้ึ ไปควรจะถอื กระเปา๋ เอง และนำไปเกบ็ ในหอ้ งเรยี นใหเ้ รยี บรอ้ ยกอ่ นทจ่ี ะลงมาเลน่ หรอื ใหม้ าเปลย่ี นชดุ พละทโ่ี รงเรยี น อาจจะถอื ไดว้ า่ นา่ เปน็ ประโยชนใ์ นสว่ นทช่ี ว่ ยในการเตรยี ม ระบบกลา้ มเนอ้ื กอ่ นการเลน่ กจิ กรรมตา่ งๆ 11

กรมอนามัย เดก็ ชว่ งอายปุ ระมาณ10-12ปีจะเปน็ ชว่ งอายทุ ม่ี กี ารเจรญิ เตบิ โตของกระดกู มากกวา่ ระบบเอน็ และกลา้ มเนอ้ื ซง่ึ ในระยะนเ้ี ดก็ มกั จะ กระทรวงสาธารณสขุ มอี าการปวดหรอื รสู้ กึ ตงึ ๆกลา้ มเนอ้ื มกั จะเปน็ บรเิ วณรอบๆขอ้ เขา่ หรอื บรเิ วณ กลา้ มเนอ้ื นอ่ ง อาการปวดมกั จะมใี นเวลากลางคนื สว่ นใหญอ่ าการปวดจะ หายไปโดยการกดหรอื นวดเบาๆในบรเิ วณทป่ี วด ในภาวะทเ่ี อน็ และกลา้ มเนอ้ื มีความตึงสูงจากการที่มีการเจริญของกระดูกมากกว่า จะทำให้เกิดการ บาดเจบ็ ไดง้ า่ ย สว่ นใหญอ่ าการบาดเจบ็ จากการเลน่ ของเดก็ มกั จะเปน็ ไมม่ าก แตอ่ ยา่ งไรกด็ ี ถา้ ไดร้ บั การปฐมพยาบาลในระยะเวลาหนง่ึ แลว้ ยงั ไมด่ ขี น้ึ กค็ วรสง่ ใหแ้ พทยต์ รวจเพอ่ื ประเมนิ และรกั ษาอาการบาดเจบ็ ตอ่ ไป 4 สภาพอากาศ ประเทศไทยเปน็ เมอื งรอ้ น มแี สงแดดมาก ดงั นน้ั ควรจะมแี หลง่ นำ้ ดม่ื อยา่ งพอเพยี งอยใู่ กลบ้ รเิ วณสนามเพอ่ื ใหเ้ ดก็ ไดด้ ม่ื บอ่ ยๆ ในขณะเลน่ ยงั ไมม่ กี ารแนะนำหรอื งานวจิ ยั ทเ่ี ดน่ ชดั เกย่ี วกบั เครอ่ื งดม่ื เกลอื แร ใ่ นเดก็ นอกจากนบ้ี ทความเกย่ี วกบั การออกกำลงั กายในตา่ งประเทศมกั จะแนะนำใหม้ กี ารใชค้ รมี หรอื โลชน่ั กนั แดด ทาใหเ้ ดก็ เมอ่ื มกี ารออกเลน่ กลาง แจง้ ซง่ึ อาจจะเปน็ เพราะกลมุ่ Caucasian มคี วามเสย่ี งสงู ในการเกดิ skin cancer จากการไดร้ บั แสง ultraviolet มากเกนิ ไป (โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ใน ผวิ หนงั ของผใู้ หญ)่ สำหรบั ในประเทศไทย ถงึ แมว้ า่ อบุ ตั กิ ารณด์ งั กลา่ วจะ เกดิ นอ้ ยในผวิ หนงั ของคนเอเซยี นา่ จะเปน็ การดกี วา่ ถา้ ใชค้ รมี หรอื โลชน่ั กนั แดด ทาใหเ้ ดก็ เมอ่ื มกี จิ กรรมทต่ี อ้ งอยกู่ ลางแจง้ เปน็ เวลานาน 12

เอกสารอา้ งองิ ข้อแนะนำ 1. McArdle WD, Katch, FI, Katch VL. Essential of exercise physiology, 2 nd ed.Lippincott Williams & Wilkins Co,2000 การออกกำ ัลงกายสำห ัรบเ ็ดก (อา ุย 2 – 12 ีป) 2. Ganley, T, Sherman C. Exercise and Children’s Health. The Physician and Sport Medicine, 2000;8(2) 3. Retrieved from www.kidshealth.org\\parent\\nutrition_fit\\ index.html, 15 Aug 2003 4. Langendijk G, Wellings S, van Wyk M, Thompson SJ, McComb J, Chusilp K. The prevalence of childhood obesity in primary school children in urban Khon Kaen, northeast Thailand. Asia Pac J Clin Nutr. 2003;12(1):66-72. 5. Mo-suwan L, Geater AF. Risk factors for childhood obesity in a transitional society in Thailand. Int J Obes Relat Metab Disord. 1996 Aug;20(8):697-703. 6. Ruangdaraganon N, Kotchabhakdi N, Udomsubpayakul U, Kunanusont C, Suriyawongpaisal P. The association between television viewing and childhood obesity: a national survey in Thailand J Med Assoc Thai. 2002 Nov;85 Supple 4:S1075-80. ************************************** 13

กรมอนามัย ภาคผนวก กระทรวงสาธารณสขุ 14

คำสง่ั กระทรวงสาธารณสขุ ข้อแนะนำ ที่ 41/2546 การออกกำ ัลงกายสำห ัรบเ ็ดก (อา ุย 2 – 12 ีป) เรอ่ื ง แตง่ ตง้ั คณะกรรมการทป่ี รกึ ษาทางวชิ าการดา้ นการออกกำงกายเพอ่ื สขุ ภาพ ......................................... สบื เนอ่ื งจากนโยบาย สรา้ ง นำ ซอ่ ม ภายใตก้ ลยทุ ธ์ “รวมพลงั สรา้ ง สขุ ภาพ” ของกระทรวงสาธารณสขุ ในภารกจิ ดา้ นการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ดว้ ยการ เคลอ่ื นไหวรา่ งกายและการออกกำลงั กาย กระทรวงสาธารณสขุ จงึ รว่ มมอื กบั หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ทง้ั มหาวทิ ยาลยั ของรฐั และกระทรวงกลาโหมเพอ่ื ระดม สมองผู้เชี่ยวชาญด้านการออกกำลังกายให้ได้มาซึ่งคำปรึกษาเชิงนโยบาย ยุทธศาสตร์การกำหนดกรอบและแนวทางในการศึกษาวิจัยตลอดจนข้อแนะนำ ต่างๆ เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายแก่ประชาชนทั่วไป ดงั นน้ั เพอ่ื ใหก้ ารดำเนนิ งานดงั กลา่ วเกดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ จงึ แตง่ ตง้ั คณะ กรรมการที่ปรึกษาทางวิชาการด้านการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพดังนี้ 1. ศาสตราจารยค์ ลนิ กิ นายแพทยธ์ รี วฒั น์ กลุ ทนนั ทน์ คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 2. พลโทนายแพทยป์ ระวชิ ช์ ตนั ประเสรฐิ กรมแพทยท์ หารบก กระทรวงกลาโหม 3. รองศาสตราจารย์ นายแพทยช์ าญวทิ ย์ โคธรี านรุ กั ษ์ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั 4. รองศาสตราจารย์ ดร.กลั ยา กจิ บญุ ชู สถาบนั วจิ ยั โภชนาการ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 5. รองศาสตราจารย์ ดร.ประสทิ ธ์ิ ลรี ะพนั ธ์ุ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 15

กรมอนามัย 6. รองศาสตราจารย์ นายแพทยอ์ ตเิ รก จวิ ะพงศ์ คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล กระทรวงสาธารณสขุ 7. รองศาสตราจารยเ์ จรญิ กระบวนรตั น์ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทยาลยั เกษตรศาสตร์ 8. รองศาสตราจารย์ ดร.สปุ ราณี ขวญั บญุ จนั ทร์ คณะพลศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ 9. รองศาสตราจารย์ ดร.สาล่ี สภุ าภรณ์ คณะพลศกึ ษา มหาวทิ ลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ 10. รองศาสตราจารย์ ศริ ริ ตั น์ หริ ญั รตั น์ วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารกฬี า มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 11. รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ อารรี ตั น์ สพุ ทุ ธธิ าดา คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 12. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทยว์ ศิ าล คนั ธารตั นกลุ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 13. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วรรธนะ ชลายนเดชะ คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 14. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทยส์ มพล สงวนรงั ศริ กิ ลุ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 15. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ฉววี รรณ บญุ สยุ า คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลบั มหดิ ล 16. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นฤพนธ์ วงศจ์ ตรุ ภทั ร คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา 17. นายแพทยช์ นนิ ทร์ ลำ่ ซำ่ คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 16

18. นายแพทย์ ฉกาจ ผอ่ งอกั ษร ข้อแนะนำ คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล การออกกำ ัลงกายสำห ัรบเ ็ดก (อา ุย 2 – 12 ีป) 19. ดร.แพทยห์ ญงิ อรอนงค์ กลุ ะพฒั น์ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 20. ดร.นายแพทย์ ภาสกร วธั นธาดา คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 21. ดร.บษุ บา สงวนประสทิ ธ์ิ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 22. แพทยห์ ญงิ ปยิ ะนชุ รกั ษพ์ านชิ ย์ ศนู ยโ์ รคหวั ใจ โรงพยาบาลกรงุ เทพ โดยทำหน้าที่ให้คำปรึกษาด้านการกำหนดนโยบายยุทธศาสตร์แนว ทาง มาตรการการกำหนดกรอบ และแนวทางในการศกึ ษาวจิ ยั เพอ่ื พฒั นา องคค์ วามรู้ ดา้ นการสง่ เสรมิ สขุ ภาพดว้ ยการเคลอ่ื นไหวรา่ งกายและการออก กำลงั กาย ใหก้ า้ วหนา้ และทนั สมยั ยง่ิ ขน้ึ ทง้ั น้ี ตง้ั แตบ่ ดั นเ้ี ปน็ ตน้ ไป สง่ั ณ วนั ท่ี 10 มกราคม พ.ศ. 2546 (นายธวชั สนุ ทราจารย)์ ผตู้ รวจราชการกระทรวง รกั ษาราชการแทนรองปลดั กระทรวง ปฏบิ ตั ริ าชการแทนปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 17