Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รับมือภัยแล้ง

รับมือภัยแล้ง

Description: รับมือภัยแล้ง

Search

Read the Text Version

สกั วา ทกุ ขใ์ หญ่ จากภยั แล้ง ดินระแหง แห้งผาก ทกุ ภาคผืน ร้อนดุจไฟ ไหมร้ มุ สุมเชอ้ื ฟืน ยงั หยดั ยนื ฝืนอยู่ สู้ทุกขท์ น แม้ทวั่ ถ่นิ ดินแยก แตกระแหง เกดิ ภยั แล้ง พอมที าง แก้หวงั ผล แต่แลง้ ใจ ในช่องวา่ ง ระหวา่ งคน รวยกับจน จะแกไ้ ด้ เมื่อไหร่เอย บทกลอนประพนั ธโ์ ดย กวี ซมี ่า เวป็ ไซต.์ thaipoem.com เผยแพร่ 4 ม.ิ ย. 2553 1

ทุกวันน้ี สภาวะของโลกได้มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างรวดเร็ว ซึ่งจะสังเกต ได้จากการท่ีมีอากาศท่ีแปรปรวน พายุท่ีแรงขึ้น ฝนท่ีตกหนักมากข้ึนหรือฝนท่ีตกน้อยลง กวา่ ปกติ อากาศทร่ี อ้ นมากขน้ึ ซง่ึ กร็ วมถงึ การทม่ี คี วามแหง้ แลง้ มากขน้ึ และยาวนานตอ่ เนอ่ื งมากขน้ึ ดว้ ย สำ�หรับสภาวะแห้งแล้งท่ีประเทศไทยกำ�ลังได้ประสบอยู่ หากเราได้ทำ�ความรู้จักและ เตรียมพร้อมที่จะรับมือกับความแห้งแล้งแล้ว เราก็สามารถเอาตัวรอดไปจากภัยพิบัติที่ แห้งแล้งนีไ้ ด้ เม่ือท่านได้อ่านหนังสือเสริมความรู้เล่มน้ีแล้วท่านจะได้รับความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ ภัยแล้งท้ังหมด ต้ังแต่สาเหตุที่เกิดภัยแล้ง ความเสียหายและผลกระทบจากภัยแล้ง ช่วงเวลาที่จะเกิดภัยแล้งในประเทศไทย การเตรียมตัวรับกับภัยแล้งทั้งในภาคประชาชนและภาค ชุมชน รวมถงึ การเตรียมปอ้ งกนั โรคภัยทีม่ ากบั ภยั แลง้ ภยั แลง้ คืออะไร ภัยแล้ง คือ ภัยท่ีเกิดจากการขาดแคลนนํ้าในพื้นที่ใดพื้นที่หน่ึงเป็นเวลานาน จนก่อให้เกิดความ แห้งแล้งและส่งผลกระทบต่อชุมชน 2

สาเหตุของการเกดิ ภัยแลง้ ภยั แลง้ เกดิ ขนึ้ ทงั้ จากธรรมชาตแิ ละทง้ั จากฝมี อื ของมนษุ ยเ์ อง โดยทวั่ ๆ ไปภยั แลง้ เกดิ จาก สาเหตุ ดงั น้ี 1. โดยธรรมชาติ 1.1 การเปลีย่ นแปลงอณุ หภมู ิโลก 1.2 การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 1.3 การเปลย่ี นแปลงของระดบั น้ําทะเล 1.4 ภยั ธรรมชาติ เชน่ วาตภยั แผน่ ดนิ ไหว 2. โดยการกระทำ�ของมนษุ ย์ 2.1 การทำ�ลายชั้นโอโซน 2.2 ผลกระทบของภาวะเรอื นกระจก 2.3 การพฒั นาด้านอตุ สาหกรรม 2.4 การตดั ไมท้ ำ�ลายปา่ แต่ในประเทศไทย ภัยแลง้ เกดิ จากสาเหตหุ ลกั ๆ 4 ประการ คอื 1. ป ริ ม า ณ ฝ น ต ก น้ อ ย เ กิ น ไ ป เกิดภาวะฝนท้ิงช่วงติดต่อกันเป็นเวลานาน หรอื การกระจายนาํ้ ฝนทต่ี กไมส่ ม่ำ�เสมอตลอด ทั้งปี ซึ่งกรณีหลังจะทำ�ให้การขาดแคลนนํ้า เปน็ บางชว่ งหรอื บางฤดกู าลเทา่ นน้ั แตถ่ า้ หาก ฝนตกน้อยกว่าอัตราการระเหยของนํ้าก็จะ ทำ�ให้บริเวณน้ันเกิดสภาพการขาดแคลนน้ํา ท่ตี ่อเน่อื งกันอยา่ งถาวร 3

2. ขาดการวางแผนในการใช้น้ํา ท่ีดี เชน่ ไม่จัดเตรียมภาชนะหรืออา่ งเก็บน้ํา ร อ ง รั บ น้ํ า ฝ น ที่ ต ก เ พื่ อ นำ� ไ ป ใ ช้ ใ น ช่ ว ง ขาดแคลนน้ํา 3. ลักษณะภูมิประเทศไม่อำ�นวย จึงทำ�ให้บริเวณนั้นไม่มีแหล่งนํ้าธรรมชาติ ขนาดใหญ่และถาวรหรืออยู่ใกล้ภูมิประเทศ ลาดเอยี งและดนิ ไมอ่ มุ้ นา้ํ จงึ ทำ�ใหก้ ารกกั เกบ็ นา้ํ ไวใ้ ชท้ ำ�ไดย้ าก เชน่ ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของประเทศไทย 4. พืชพันธุ์ธรรมชาตถิ กู ทำ�ลาย โด ย เฉพ า ะ พ้ืนท่ีป่ า ต้ นน้ํา ลำ� ธ า ร การสำ�รวจทรัพยากรป่าไม้ 4

นอกจากนน้ั ยงั สามารถแบง่ ออกเปน็ ภยั แลง้ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในสภาพพนื้ ทก่ี ารเกษตร ท่ตี อ้ งพ่ึงนํ้าฝนและภยั แล้ง ที่เกดิ ขึ้นในพ้นื ทเ่ี กษตรชลประทาน 1. ภัยแล้งท่ีเกิดขึ้นในพื้นท่ีเกษตร น้ําฝน เป็นสภาวะที่เกิดจากการขาด แคลนน้ําสำ�หรับการเพาะปลูกในช่วง ฤดูฝน หรือช่วงฤดูแล้งมีผลกระทบต่อ การเจริญเติบโตของพืชในช่วงระยะเวลา ตา่ ง ๆ เปน็ ผลใหพ้ ชื ชะงัก 2. ภัยแล้งที่เกิดขึ้นในพื้นที่เกษตรชลประทาน ถึงแม้ว่าจะเป็นพื้นท่ีส่งน้ําสำ�หรับ การเพาะปลูกแต่สภาวะท่ีเกิดการขาดแคลนน้ําสำ�หรับการเพาะปลูกในช่วงเวลาใดเวลาหน่ึง ของชว่ งการเพาะปลกู พชื สามารถเกดิ ขน้ึ ไดเ้ ชน่ กนั เชน่ ปรมิ าณนาํ้ ในอา่ งเกบ็ นาํ้ มนี อ้ ย หรอื สดั สว่ น การใช้นาํ้ ดา้ นอนื่ เพมิ่ มากขึน้ ซึ่งมีผลกระทบใหก้ ารเจรญิ เตบิ โตของพืชชะงักทำ�ให้ผลผลติ พืชลดลง หรือตายไปในทส่ี ุด 5

ภัยแล้งสร้างความเสยี หายและผลกระทบในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. ผลกระทบทางด้านส่ิงแวดล้อม การเกิด ภั ย แ ล้ ง อ ย่ า ง ต่ อ เ น่ื อ ง ทำ� ใ ห้ เ กิ ด ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ทำ�ให้แหล่งน้ํา ตามธรรมชาติตื้นเขิน ระดับน้ําใต้ดินเปล่ียนแปลง พื้นท่ีท่ีเคยอุดมสมบูรณ์เกิดความแห้งแล้ง เกิดการ กดั เซาะของหนา้ ดนิ และการท้งิ ร้างไม่ไดใ้ ชป้ ระโยชน์ ของท่ีดิน 2. ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ ทำ� ใ ห้ ผ ล ผ ลิ ต ด้ า น เ ก ษ ต ร ก ร ร ม และอุตสาหกรรมลดลง รวมทั้ง ก ร ะ ท บ ต่ อ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ โ ด ย ร ว ม ข อ ง ประเทศ เช่น ผลผลิตทางการเกษตร คุณภาพต่ำ� ทำ�ให้ราคาผลผลิตลดลง เกิดความยากจน และเกิดการสูญเสีย จากการทิ้งร้างที่ดิน 3. ผลกระทบทางด้านสังคม เกิดการ ล ะ ทิ้ ง ถ่ิ นฐ า น เ ข้ า ม า ทำ� ง า น ใ น เมื อ ง ให ญ่ เกิดผลกระทบในด้านสุขภาพอนามัย การจัดการ คุณภาพชีวิตลดลง และเกิดความขัดแย้งในการ ใชน้ าํ้ 6

ภยั แลง้ ในประเทศไทยสามารถเกดิ ชว่ งเวลาใดบา้ ง ภยั แล้งในประเทศไทยจะเกดิ ใน 2 ช่วง ได้แก่ 1. ช่วงฤดูหนาวต่อเนื่องถึงฤดูร้อน ซ่ึงเริ่มจากคร่ึงหลังของเดือนตุลาคมเป็นต้นไป บรเิ วณประเทศไทยตอนบน (ภาคเหนอื ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ภาคกลางและภาคตะวนั ออก) จะมีปริมาณฝนลดลงเป็นลำ�ดับ จนกระท่ังเข้าสู่ฤดูฝนในช่วงกลางเดือนพฤษภาคมของปี ถัดไป ซ่งึ ภัยแล้งลักษณะนี้จะเกดิ ขนึ้ เป็นประจำ�ทุกปี ภาค/ เหนอื ตะวนั ออก กลาง ตะวนั ออก ใต้ ฝง่ั ตะวนั ออก ฝง่ั ตะวนั ตก เดือน เฉียงเหนอื ม.ค. ฝนแล้ง ก.พ. ฝนแล้ง ฝนแล้ง ฝนแล้ง ม.ี ค. ฝนแลง้ ฝนแล้ง ฝนแลง้ ฝนแล้ง ฝนแลง้ ฝนแล้ง เม.ย. ฝนแล้ง ฝนแลง้ ฝนแล้ง ฝนแลง้ ฝนแล้ง พ.ค. ฝนแล้ง ม.ิ ย. ฝนทงิ้ ชว่ ง ฝนทง้ิ ช่วง ฝนท้ิงช่วง ฝนทิง้ ช่วง ก.ค. ฝนทงิ้ ช่วง ฝนท้งิ ชว่ ง ฝนทงิ้ ช่วง ฝนทิง้ ช่วง 2. ช่วงกลางฤดูฝน ประมาณปลายเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม จะมีฝนท้ิงช่วง เกิดขึ้น ภัยแล้งลักษณะนี้จะเกิดข้ึนเฉพาะท้องถ่ินหรือบางบริเวณ บางคร้ังอาจครอบคลุมพ้ืนท่ี เป็นบรเิ วณกวา้ งเกอื บท่ัวประเทศ 7

ภัยซ�้ำ ซ้อนที่เกิดจากภัยแลง้ 1. เกิดไฟป่าข้ึน เช่น ต้นไผ่ เสียดสีกัน หรือฟ้าผ่าทุ่งหญ้าแห้ง ห รื อ เ ก ษ ต ร ก ร จุ ด ไ ฟ เ ผ า ฟ า ง ข้ า ว เผาหญ้า ทำ�ให้เกิดลุกลามกว้างขวาง บางทีอาจลุกลามไหม้อาคารบ้านเรือน ไร่นา เสียหาย ควันไฟที่เผาไหม้ ขา้ งทางมีผลเสยี ต่อทัศนวสิ ัย ทำ�ให้เกดิ อุบัติเหตุทางจราจรข้ึนได้ และปัญหา หมอกควัน ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อ สขุ ภาพ เปน็ ตน้ 2. มีลักษณะสภาวะของอากาศแปรปรวน เนื่องมาจากอากาศร้อนจัดติดต่อกัน หลาย ๆ วัน ทำ�ใหเ้ กดิ การสะสมความรอ้ นในบรรยากาศบรเิ วณหนึ่งไว้มาก เกดิ ลมสองกระแสพัด สอบเขา้ หากนั ทำ�ใหบ้ รเิ วณดงั กลา่ วเกดิ เปน็ แนวตบี ของลมจะเกดิ พายฤุ ดรู อ้ น หรอื พายฟุ า้ คะนองขน้ึ มีลมกระโชกแรงเปน็ พัก ๆ มฝี นตกหนัก ฟ้าผา่ เกิดในระยะสัน้ ไม่เกิน 2 ชว่ั โมง บางครัง้ กำ�ลังลม ทำ�ให้พัดอาคารบ้านเรอื น ทรัพยส์ ินเสยี หายได้ อาจมลี กู เห็บตกเกิดร่วมดว้ ย 8

การเตรียมตวั รับมอื กับภัยแลง้ ส�ำ หรับประชาชนทั่วไป 1. เตรียมกักเก็บนํ้าสะอาดเพ่ือการ บริโภคให้เพียงพออย่ารีรอมิฉะน้ันจะไม่มีน้ํา ให้กกั เกบ็ 2. ขุดลอกคู คลอง และบอ่ นา้ํ บาดาล เพ่อื เพมิ่ ปริมาณกักเก็บน้ํา 3. วางแผนใช้นํ้าอย่างประหยดั เพือ่ ให้ มีนํ้าใช้ตลอดช่วงภัยแล้ง 9

4. การใช้น้าํ เพ่ือการเกษตร ควรใชใ้ น ชว่ งเช้า และเย็นเพือ่ ลดอตั ราการระเหยนา้ํ 5. การใช้น้ําจากฝักบัวเพ่ือชำ�ระ ร่างกายจะประหยัดนํ้ามากกว่าการตักอาบ 6. กำ�จดั วสั ดเุ ชอื้ เพลงิ รอบทพี่ กั เพอ่ื ปอ้ งกนั การเกดิ ไฟป่า และการลกุ ลาม 7. เตรียมหมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน เพอ่ื การขอน้าํ บริโภค และการดบั ไฟปา่ 10

วิธกี ารแกป้ ัญหาภัยแลง้ สำ�หรับเกษตรกร 1. ตดิ ตามสภาวะอากาศ ฟงั คำ�เตอื นจาก กรมอุตุนยิ มวิทยา 2. ไม้ผล คลุมโคนต้นด้วยฟาง เปลือกถ่ัว เศษใบไม้ ใบหญ้า ปลูกพืช ตระกูลถั่วรอบบริเวณโคนต้น โดยเริ่ม คลุมในช่วงปลายฤดูฝน หรือช่วงต้น ฤดแู ลง้ พชื ผกั คลมุ ดว้ ยฟางขา้ ว แกลบสด พลาสติก เป็นต้น 3. ปลูกหญ้าแฝกรอบ ๆ ต้นไม้ผล หรือรอบแปลงปลูกผัก ตัดใบหญ้าแฝกใน ช่วงหน้าแล้ง ลดการคายน้ํา ลดการใช้น้ําของหญ้าแฝก และนำ�ใบมาใช้ใบคลุมโคนต้นไม้ และแปลงผัก 11

ส�ำ หรบั ระดบั ชมุ ชน ควรวางแนวทางการแกไ้ ข หรอื บรรเทาปญั หา ภยั แลง้ ไดด้ งั น้ี 1. จัดการวางแผนการใช้น้ําท่ีดี เช่น ในช่วงฤดูฝนตก ควรเตรียมภาชนะ บ่อ หรืออ่างเก็บนํ้าเพ่ือรวบรวมนํ้าฝนไว้ใช้ใน ยามขาดแคลน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง ฤ ดู แ ล้ ง ก า ร กั ก เ ก็ บ น้ํ า ไว้ ใช้ ส่ ว นตัว ควรจัดหาโอ่งน้ํา หรือภาชนะเก็บกักน้ํา ไว้ให้มากท่สี ุดเท่าท่จี ะทำ�ได้ ส่วนการวางแผน เกบ็ กักน้ําสำ�หรับส่วนรวม ควรจัดสร้างอ่าง เกบ็ นํ้าหรอื สระน้ําขนาดใหญ่ เพอื่ เก็บนํา้ ไว้ใช้ อยา่ งเพียงพอสำ�หรบั การใชข้ องชุมชน 2. การสำ�รวจน้ําใต้ดินมาใช้ เป็นการ จัดหานํ้ามาใช้ท่ีดีวิธีหน่ึงการสำ�รวจและขุดเจาะ นาํ้ ใตด้ นิ หรอื นา้ํ บาดาลมาใชน้ อกจากเพอ่ื บรโิ ภค อุปโภคแล้ว ยังใช้เพื่อการเกษตรกรรมและ อุตสาหกรรมด้วย 3. การนำ�น้าํ มาใชห้ มนุ เวียน เปน็ วิธกี าร นำ�น้ําทีใ่ ช้แล้วหมนุ เวียนกลับมาใช้ใหม่ โดยผา่ น กระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ํา เช่น นํ้า ที่นำ�มาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม โรงพยาบาล ชมุ ชนใหญ่ ๆ ทม่ี ปี ญั หาขาดแคลน น้าํ หรอื มนี ้ําเสยี เปน็ จำ�นวนมาก 12

4. การแปรสภาพนํ้าทะเลเป็นน้ําจืด วิธีนี้เป็นวิธีการแก้ปัญหาการขาดแคลนนํ้าจืด ในเขตภูมิอากาศแห้งแล้งติดชายฝ่ังทะเล ซึ่งทำ�ได้โดยการใช้วิธีการกลั่น ถึงแม้ว่าการผลิต น้ําจืดจากน้ําเค็มจะต้องลงทุนสูงกว่าการทำ�นํ้าจืดให้บริสุทธ์ิถึง 4 เท่า แต่ก็เป็นสิ่งจำ�เป็น เพียงบรรเทาความเดือดร้อนในการขาดแคลนนํ้าในบริเวณน้ัน และมีแนวโน้มว่าต้องใช้ นา้ํ เคม็ เป็นวัตถุดิบในการผลติ นํา้ จดื เพม่ิ มากขนึ้ เนอื่ งจากขาดแคลนแหล่งนา้ํ จดื 5. การขอทำ�ฝนเทียม มีวิธีการแก้ไขปัญหาในการขาดแคลนน้ําจืด ที่ได้ผลดีวิธีหน่ึงโดย ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาช่วย ซึ่งส่วนใหญ่แล้วมักใช้ในพ้ืนท่ีฝนทิ้งช่วงในฤดูฝนและ พน้ื ทส่ี ำ�คัญในการเพาะปลูก 13

ระวงั 5 โรคอนั ตรายแฝงมาในชว่ งฤดแู ล้ง โรคอนั ตรายซ่งึ มี 5 โรคส�ำ คญั ทีม่ ักระบาดในช่วงท่ีเกดิ ภาวะแล้งจัด คอื 1. โรคอจุ จาระร่วงเฉยี บพลัน อาการท่แี สดงถ้าเปน็ เช้ือไวรสั อาจมไี ขต้ ำ่ � ๆ เปน็ หวัด ตอ่ มามอี าการคล่นื ไส้ อาเจียน และถ่ายอุจจาระเหลวตามมา สว่ นเชื้อแบคทเี รยี อาการถา่ ยอุจจาระ มหี ลายลกั ษณะ ต้งั แตถ่ า่ ยเหลว มีมูกปนเลอื ด รายท่รี ุนแรงถา่ ยอจุ จาระเปน็ เลอื ดปนหนอง 2. โรคอาหารเป็นพิษ อาการท่ีแสดงจะมีไข้ ปวดศีรษะ ปวดมวนท้อง คล่ืนไส้ อาเจียน ถา่ ยเปน็ นา้ํ อาจมีมูกเลอื ดปน 3. โรคบิด อาการของบิดไม่มีตัว มีอาการน้อย จะถ่ายเหลวเป็นมูกเลือด และ ปวดบิดแต่ไม่มาก ถ้ามีอาการรุนแรง จะปวดท้องบิดอย่างรุนแรง มีไข้สูง อาเจียน ถ่ายมี มูกเลือดและหนองปน ถ่ายน้อยแต่บ่อยมาก ถ้าร่างกายอ่อนแอ อาจจะมีการช็อคได้ อาการ ของบิดมีตัว มีอาการชนิดเฉียบพลัน ปวดบิด ถ่ายอุจจาระเหลว อุจจาระมีกล่ินคล้าย หัวกุ้งเน่า อาการไม่แรงเท่าบิดไม่มีตัว ถ้าผู้ป่วยต้านทานโรคได้น้อย อาจจะมีไข้สูงและ ถ่ายเปน็ มกู เลือดมาก 4. ไข้ไทฟอยด์ หรอื ไขร้ ากสาดน้อย จะมีอาการไข้สูงคงตวั ทปี่ ระมาณ 40 ํ C° (104 ํ F° ) เหง่ือออกมาก กระเพาะและลำ�ไสอ้ กั เสบ และทอ้ งเสยี ไม่มีเลือด 5. โรคอหิวาตกโรค อาการไม่รุนแรง จะถ่ายอุจจาระเหลวเป็นนํ้า วันละหลายครั้ง ในผู้ใหญ่อาจมีปวดท้อง หรือคลื่นไส้อาเจียนได้ และเป็นอย่างรุนแรง อาการระยะแรก มที อ้ งเดนิ มเี นอ้ื อจุ จาระมาก ตอ่ มามลี กั ษณะเปน็ นา้ํ ซาวขา้ ว เพราะวา่ มมี กู มาก มกี ลน่ิ เหมน็ คาว ถ่าย อจุ จาระไดโ้ ดยไมม่ ีอาการปวดทอ้ ง บางครัง้ ไหลพุ่งออกมาโดยไม่รู้สกึ ตัว มอี าเจยี นโดยไมค่ ล่นื ไส้ 14

สำ�หรับการปอ้ งกนั ขอให้ประชาชนดแู ลความสะอาดอาหาร นํา้ ด่มื ภาชนะใส่อาหาร ใช้ส้วม ทถ่ี กู สขุ ลกั ษณะ กำ�จดั ขยะมลู ฝอย แยกเขยี งและมดี หนั่ อาหารดบิ กบั อาหารสกุ กนิ อาหารทป่ี รงุ สกุ และปรงุ เสรจ็ ใหม่ ๆ หากอาหารข้ามมื้อให้อุ่นให้รอ้ นหรือเดือดกอ่ น ใช้ชอ้ นกลางตักอาหาร ลา้ งมือ ฟอกสบู่ทกุ ครัง้ หลังจากใชห้ อ้ งสว้ ม กอ่ นรบั ประทานอาหารหรอื กอ่ นเตรยี มนมให้เด็กทุกครั้ง หาก มอี าการถา่ ยอุจจาระเป็นน้ําติดตอ่ กนั มากกว่า 2 ครง้ั ข้ึนไป ขอใหด้ ม่ื น้าํ ละลายผงนา้ํ ตาลเกลือแร่ ด่ืมแทนนํ้า หากอาการไมด่ ขี นึ้ ใหไ้ ปพบแพทย์ใกลบ้ า้ น 15

บรรณานุกรม กวี ซมี ่า (นามปากกา) “กลอนให้ข้อคดิ (ภยั แลง้ )” (ออนไลน์). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: www.thaipoem.com เผยแพร่ 4 ม.ิ ย. 2553 (วันท่ีค้นข้อมลู 12 มกราคม 2558) กรมพฒั นาทด่ี นิ . “แนวทางการจัดการพื้นทภี่ ยั แลง้ ”. (ออนไลน์). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : www.irw101.ldd.go.th (วนั ท่คี น้ ข้อมูล : 8 มกราคม 2558). กรมอุตนุ ิยมวทิ ยา. หนังสอื อตุ นุ ยิ มวทิ ยา “ภยั แล้ง” (ออนไลน)์ . เข้าถึงไดจ้ าก : www.tmd.go.th (วนั ที่คน้ ขอ้ มูล : 8 มกราคม 2558) ไทยรฐั ออนไลน.์ “ภาพประกอบฝนหลวง” ขา่ วกรมฝนหลวงเตรยี มฝนเทยี ม. วนั ท่ี 4 สงิ หาคม 2557 (ออนไลน)์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก : www..thairat.co.th. (วนั ทีค่ ้นข้อมลู : 12 มกราคม 2558) เรวัติ นอ้ ยวจิ ติ ร. “ปัญหาภยั แลง้ บ้านหนองแต้ หมู่ 4 ต.ตล่ิงชนั อ.เมอื ง จ.สพุ รรณบรุ ”ี ศนู ย์ข่าวหนงั สอื พิมพพ์ ลงั ชน จงั หวัดสุพรรณบรุ ี. เข้าถงึ ไดจ้ าก : www.suphaninsure.com (วนั ทค่ี ้นข้อมูล : 12 มกราคม 2558) โรคบดิ , ไข้ไทฟอยด์,โรคอหิวาตกโรค. (ออนไลน)์ . เข้าถึงไดจ้ าก : www.wiki.com (วันทีค่ น้ ขอ้ มูล 29 มกราคม 2558) โรคอุจจาระรว่ งเฉยี บพลนั . (ออนไลน์). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : www.thaiemsinfo.com (วนั ทคี่ ้นขอ้ มลู 26 มกราคม 2558) วิทยาลยั สารพดั ช่างขอนแก่น. “การรบั มอื กบั ภัยพบิ ัติ” (ออนไลน)์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www.kkp.ac.th. (วันที่ค้นข้อมูล : 7 มกราคม 2558) เวบ็ ไซตบ์ รษิ ทั PRESISION Co. ,LTD อ.สตั หบี จ.ชลบรุ .ี ภาพประกอบเครอ่ื งกรองน�ำ้ ทะเลใหเ้ ปน็ น�ำ้ จดื สำ�นักงาน กศน. “ภยั หมอกควัน” หนงั สอื เสริมความร้ชู ุดรทู้ ันภัยพิบตั .ิ มปม. 2555 สำ�นักงาน กศน. “ลมพาย”ุ หนังสือเสริมความรชู้ ุดรทู้ ันภัยพิบตั .ิ มปม. 2555 สำ�นกั ระบาดวิทยา กลุ่มระบาดวิทยาโรคติดต่อ. (ออนไลน์). เข้าถึงไดจ้ าก : www.boe.moph.go.th/fact/Food_Poisoning.htm (วันทคี่ ้นข้อมลู : 26 มกราคม 2558) www.desalination-membrane.com “seawater desalination system” ภาพประกอบเครอื่ งกรองนำ้�ทะเลใหเ้ ปน็ น้ำ�จดื (วันที่ค้นข้อมูล : 14 มกราคม 2558) 16

คณะผูจ้ ดั ทำ�หนังสือเสริมความรู้ชุด”ร้ทู นั ภัยพิบัต”ิ รับมอื ภัยแล้ง คณะทปี่ รึกษา สกลุ ประดษิ ฐ ์ เลขาธกิ าร กศน. เกษมสวัสดิ์ รองเลขาธิการ กศน. ๑. นายการุณ งามเขตต ์ ผอู้ �ำ นวยการกล่มุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ ๒. นายดศิ กุล และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ๓. นางศทุ ธนิ ี ผู้เขยี น/เรยี บเรยี ง นายสรุ พงษ ์ ม่ันมะโน ผเู้ ขยี นภาพประกอบเรื่อง ๑. นายสุรพงษ ์ มนั่ มะโน ๒. นายศภุ โชค ศรรี ตั นศลิ ป์ คณะบรรณาธิการ ๑. นายศภุ โชค ศรีรัตนศลิ ป์ ๒. นางสาวสุลาง เพช็ รสว่าง ๓. นางสาวเบญ็ จวรรณ อำ�ไพศรี ๔. นางสาวชมพนู ท สังข์พิชยั คณะดำ�เนินงานและจดั ทำ�รูปเลม่ ๑. นายสุรพงษ์ มนั่ มะโน ๒. นายศภุ โชค ศรรี ตั นศิลป์ ๓. นางสาวสลุ าง เพ็ชรสว่าง ๔. นางสาวเบญ็ จวรรณ อำ�ไพศรี ๕. นางสาวชมพูนท สังขพ์ ชิ ยั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook