Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง นมร.บ.ร '64

คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง นมร.บ.ร '64

Published by Phatchara Chansri, 2021-06-15 02:21:40

Description: คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2564
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย

Search

Read the Text Version

พระพทุ ธเบญจมม่งิ มงคล พระพุทธรูปประจ�ำโรงเรยี นนวมินทราชินทู ศิ เบญจมราชาลัย พระพุทธเบญจมมิ่งมงคล  แปลว่า  พระพุทธเจ้าผู้ทรงคุณอันประเสริฐ  บริสุทธ์ิหมดจดด้วย พระปญั ญาธิคณุ หมายความว่า “พระองคเ์ ปยี่ มดว้ ยพระปัญญาธิคุณ พระบรสิ ทุ ธคิ ุณ พระมหากรุณาธคิ ณุ ยังชนที่ดีให้เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ดุจพระอาทิตย์ท�ำบัวให้บาน น�ำความเป็นสิริมงคล ความสุข ความเจริญรุ่งเรืองมาสนู่ วมินทราชินทู ิศ เบญจมราชาลยั ” พระคาถาบชู าพระพทุ ธเบญจมมิง่ มงคล (ต้งั นะโม 3 จบ) โย ปญฺจโม ปรม มงคฺ ลพทุ ธฺ พิมโฺ พ าณาวิสทุ ธวรตาทคิ ุณาภิยตุ ฺโต โพเธสิ โย สชุ นตํ กมลํ ว สโู ร วนฺทามหํ ปรม มงฺคลพุทธฺ พิมฺพํ โรงเรียนนวมินทราชินูทศิ เบญจมราชาลัย 1

ศูนย์รวมจติ ใจชาว “นวมนิ ทร์ เบญจมะ” พนั ตรีพระยาสเุ รนทร์ราชเสนา (พึ่ง สิงหเสนี) พนั ตรีพระยาสเุ รนทรร์ าชเสนา (พ่ึง สิงหเสนี) เปน็ บตุ รของเจา้ พระยา มุขมนตรี (เกด สิงหเสน)ี กบั นางนาค กัลป์ยาณสุต ทา่ นรบั ราชการทหาร สืบต่อจากเจ้าพระยาบดินทร์เดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ผู้มีศักดิ์เป็นปู่และเป็น นักรบผู้กล้าในสมัยรัชกาลที่ 3 พระยาสุเรนทร์ราชเสนา ได้ท�ำนุบ�ำรุงและ สืบทอดพระพุทธศาสนา โดยสรา้ งวดั พระยาสเุ รนทร์ เพอ่ื ถวายเป็นพระราชกศุ ล แดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว รัชกาลที่ 5 ด้วยความจงรกั ภกั ดี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย ร�ำลึกในพระคุณของ พันตรีพระยาสุเรนทร์ราชเสนา (พึ่ง สิงหเสนี) เสมอมา ท่ีได้ก่อตั้งโรงเรียน บนพืน้ ทีท่ ่เี คยเปน็ ศักดนิ าของท่าน นวมนิ ทรเ์ บญจมะน้อม บูชา คุณเฮย พระยาสุเรนทรร์ าชเสนา เทดิ ไว้ จักสร้างเกียรติ “บึงพระยา” ให้กกึ -ก้องนา มงุ่ ม่นั กตัญญไู ซร์ สบื สร้างความดี 2 ค่มู อื นกั เรยี นและผู้ปกครอง ปกี ารศกึ ษา 2564

สญั ลักษณ์โรงเรียน “พระนามาภิไธยย่อ สก. ประดบั มงกฎุ ขัตติยราชนารี” มงกฎุ ขัตติยราชนารี คือ พระมหาพิชัยมงกฎุ ประดบั พระนามาภไิ ธยย่อ สก. อนั เปน็ พระสญั ลกั ษณป์ ระจ�ำองค์ของ สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิติพ์ ระบรมราชินนี าถ ในรชั กาลที่ ๙ โรงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ูทศิ เบญจมราชาลยั ไดร้ ับพระราชทาน พระราชานญุ าตให้ใช้พระปรมาภิไธยย่อ สก. ประดบั มงกุฎขัตติยราชนารี เป็นสญั ลกั ษณ์ของโรงเรียน มงกฎุ ขตั ติยราชนารี คอื ศกั ด์ศิ รีทรงคณุ ค่ามหาศาล ลูกนวมินทร์ เบญจมะ จักเทดิ ไวน้ ิรันดร์กาล นอ้ มดวงมานสกั การะพระราชนิ ี พานพุม่ ดอกไม้ ตราสญั ลกั ษณ์ สก. พานพุ่มดอกไมต้ ราสัญลกั ษณ์ สก. หมายถงึ พานดอกไม้สดหรือดอกไมป้ ระดิษฐท์ ่ีตกแต่งเปน็ รปู ทรงดอกบวั ตูม โดยอญั เชิญตราสัญลักษณ์ สก. มาประดบั ไว้ เพ่อื เปน็ เคร่อื งราชสักการะ หรอื ถวายพระพรชัยมงคลแด่ สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิตพิ์ ระบรมราชนิ นี าถ ในรชั กาลที่ ๙ พานพ่มุ คอื เครอ่ื งราชสกั การะ แดส่ มเดจ็ พระราชินจี กั รสี ยาม ด้วยใจภักดิด์ ว้ ยมาลาบปุ ผาราม เทิดพระนาม “สริ ิกิต”ิ์ นิจนิรันดร์ พิธีอญั เชญิ มงกุฎขตั ตยิ ราชนารี พิธอี ญั เชญิ มงกุฎขตั ตยิ ราชนารี อัญเชิญในโอกาสดงั ตอ่ ไปนี้ 1. พธิ ปี ฐมนเิ ทศนักเรียนใหม่ประจ�ำปีการศกึ ษา 2. พธิ ปี ระดับเข็มมงกฎุ ขัตตยิ ราชนารี นักเรยี นระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 คุณสมบตั ผิ ู้อัญเชญิ มงกุฎขตั ตยิ ราชนารี เป็นนกั เรียนหญงิ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 1. มีความประพฤตเิ รียบร้อย กริ ิยามารยาทดงี าม 2. มีผลการเรียนเฉลยี่ ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 อย่ใู นระดับเกรดเฉลีย่ 3.5 ขน้ึ ไป 3. แต่งกายเครอื่ งแบบนกั เรยี น ทรงผม เครอื่ งแต่งกายถูกต้องตามระเบียบของโรงเรยี น 4. มบี คุ ลกิ ภาพดี สง่างาม ย้ิมแย้มแจ่มใส องค์ประกอบอัญเชิญมงกุฎขตั ตยิ ราชนารี 3 1. มงกุฎขัตตยิ ราชนารี (นกั เรียนหญงิ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 5 ท่ไี ดร้ บั การคดั เลือกเปน็ ผู้อัญเชิญ) 2. พานพุ่มดอกไมต้ ราสญั ลกั ษณ์ สก. จำ� นวน 1 คู ่ (นกั เรียนชายและนักเรียนหญงิ เปน็ ผถู้ อื ) 3. ธงโรงเรยี น (ผนื ใหญ่) จ�ำนวน 1 ผนื 4. ธงชาติไทย จำ� นวน 9 คู่ 5. ธงสมเด็จพระราชนิ ี จำ� นวน 9 คู่ 6. ธงโรงเรยี น (ผนื เลก็ ) จ�ำนวน 9 คู่ 7. เพลงประกอบอัญเชิญมงกฎุ ขตั ติยราชนารี คือ เพลงสดดุ ีมหาราชินี โรงเรียนนวมนิ ทราชนิ ูทิศ เบญจมราชาลยั

4 ค่มู ือนกั เรยี นและผู้ปกครอง ปกี ารศึกษา 2564

ทำ� เนยี บผู้บริหาร โรงเรียนนวมนิ ทราชนิ ทู ศิ เบญจมราชาลัย ผู้อำ� นวยการ เอกจติ รา ชูสกลุ ชาติ ผ้อู ำ� นวยการ สรุ เทพ ตั๊นประเสรฐิ ผอู้ �ำนวยการ สุรยิ นต์ วะสมบัติ ผอู้ ำ� นวยการ ดวงจติ ค�ำวงษา ดำ� รงต�ำแหนง่ พ.ศ.2534-2535 ดำ� รงตำ� แหน่ง พ.ศ.2535-2539 ดำ� รงต�ำแหนง่ พ.ศ.2539-2540 ด�ำรงต�ำแหนง่ พ.ศ. 2540-2542 ผอู้ �ำนวยการ สุธน คุ้มสลุด ผอู้ �ำนวยการ ณัฐกจิ บัวชม ผอู้ ำ� นวยการ สพุ ล ทองดี ผอู้ �ำนวยการ เฉลิมชยั จนั ทรมติ รี ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ. 2543-2544 ด�ำรงตำ� แหน่ง พ.ศ. 2544-2546 ด�ำรงตำ� แหนง่ พ.ศ. 2546-2548 ดำ� รงต�ำแหนง่ พ.ศ. 2548-2551 ผู้อำ� นวยการ บรรลือชัย ผิวสานต์ ผูอ้ �ำนวยการ บุญฤทธิ์ รุ่งเรอื ง ผู้อำ� นวยการ วรรณภา ทองสีไพล ผู้อำ� นวยการ วีระ เจนชัย ด�ำรงต�ำแหนง่ พ.ศ. 2551-2556 ด�ำรงตำ� แหน่ง พ.ศ. 2556-2561 ด�ำรงต�ำแหนง่ พ.ศ. 2561-2562 ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ. 2562-ปัจจุบัน โรงเรยี นนวมินทราชินทู ศิ เบญจมราชาลัย 5

ขอ้ มลู จ�ำเพาะของโรงเรียน ชอ่ื : โรงเรียนนวมนิ ทราชินูทศิ เบญจมราชาลัย สญั ลกั ษณ์โรงเรียน : ตรามงกฎุ ขตั ตยิ ะราชนารี อกั ษรย่อ : นมร.บ.ร. ท่ีต้ัง : 333 ถนนไทยรามัญ แขวงสามวาตะวนั ตก เขตคลองสามวา กรงุ เทพมหานคร รหัสไปรษรยี ์ 10510 โทรศพั ท ์ : 0-2181-1100, 0-2181-1107 โทรสาร : 0-2181-1108 เวบ็ ไซต ์ : www.nbr.ac.th พนื้ ท ่ี : 25 ไร่ วนั สถาปนาโรงเรยี น : 4 มนี าคม 2534 ปรชั ญาของโรงเรยี น : รู้วชิ า จรรยาดี ปลกู ไมตรี มเี มตตา คติพจนป์ ระจำ� โรงเรยี น : รู้จกั สามคั คี มีนำ้� ใจ รู้จกั ใหก้ อ่ นรับ รกั สจั จะตอ่ ตนเอง คำ� ขวัญประจ�ำโรงเรียน : รกั ศกั ดิศ์ รี มีคุณธรรม นำ� วิชาการ สบื สานงานพระราชด�ำริ เพลงประจำ� โรงเรียน : เพลงสดดุ มี หาราชนิ ี และมารช์ นมร.บ.ร. ต้นไมป้ ระจำ� โรงเรียน : ตน้ ทองกวาว ดอกไมป้ ระจ�ำโรงเรยี น : ดอกบวั จงกลนี สีประจ�ำโรงเรยี น : เลือดหม-ู ขาว เลือดหมู หมายถึง ความเขม้ ขน้ ทางการศกึ ษาและกิจกรรม สีขาว หมายถึง ความประพฤตดิ ี มีคณุ ธรรมและจริยธรรม คณะส ี : คณะฉัตรสตั ตบรรณ (สีแดง) : คณะสุวรรณปัทมา (สเี หลอื ง) : คณะสุทธาสโิ นบล (สีมว่ ง) : คณะอุบลจงกลนี (สชี มพ)ู : คณะขจีบณุ ฑริก (สีเขยี ว) 6 คมู่ อื นกั เรียนและผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2564

ค�ำนำ� คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย ปีการศึกษา 2564 เล่มน้ีจัดท�ำขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการให้ความรู้ความเข้าใจ แกน่ ักเรียน ผปู้ กครอง ครู และผูเ้ กี่ยวขอ้ งทุกฝ่าย ในเรอีื่ งตา่ งๆ อาทิเช่น กลุ่มบริหาร วชิ าการ โครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษา การจัดการเรยี นการสอน การวัดผลประเมนิ ผล การจบหลักสตู ร กลุ่มบริหารงานบุคคล การปฏิบัตติ นประจ�ำวนั การแตง่ กาย ทรงผม กฎระเบียบวินยั การดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น เครอื ข่ายผู้ปกครอง กลุม่ บรหิ ารงบประมาณ หลกั เกณฑ์การเกบ็ เงนิ บ�ำรุงของสถานศึกษา กลุ่มบรหิ ารท่ัวไป อาคารสถานท่ี ภมู ิทศั น์ สิง่ แวดล้อม สาธารณปู โภค เปน็ ต้น ทั้งนี้เพอื่ พฒั นาผ้เู รียนให้มีคณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ ซึ่งสอดคลอ้ งกบั พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พุทธศักราช 2542 แกไ้ ขเพิม่ เตมิ 2545 ความมงุ่ หมายและหลกั การ มาตรา 6 การจดั การศึกษาตอ้ งเปน็ ไปเพือ่ พัฒนา คนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจรยิ ธรรมและวฒั นธรรมในการด�ำรงชีวติ สามารถอยู่ร่วมกบั ผ้อู ืน่ ไดอ้ ยา่ งมีความสุข โรงเรยี นหวงั ว่าคู่มอื เล่มนีจ้ ะเป็นประโยชนแ์ กน่ กั เรยี น ผู้ปกครอง ครู และผ้ทู ่ี เก่ียวข้องท่ีจะใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติตามบทบาทหน้าท่ีได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และอยูร่ ่วมกันอย่างมีความสขุ (นายวีระ เจนชยั ) ผู้อำ� นวยการโรงเรยี นนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลยั โรงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ูทิศ เบญจมราชาลยั 7

สารบญั ค�ำนำ� ................................................................................................................... 7 วิสยั ทศั น์ พันธกจิ เป้าประสงค.์........................................................................10 เป้าประสงค์ ปรัชญา คำ� ขวัญ อตั ลักษณ.์..........................................................11 ประวัติโรงเรียน................................................................................................. 12 ค�ำสง่ั แตง่ ต้ังคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน...........................................16 โครงสรา้ งการบริหารงาน..................................................................................18 ผู้บรหิ ารโรงเรียน...............................................................................................19 คณะกรรมการกล่มุ บรหิ ารวิชาการ...................................................................20 หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนร.ู้.............................................................................22 ครกู ลมุ่ สาระการเรียนร.ู้....................................................................................23 กลุ่มบรหิ ารวิชาการ..........................................................................................31 แผนภูมกิ ารบริหารงาน.....................................................................................32 หลักสตู รโรงเรยี นมาตรฐานสากล......................................................................33 โครงสร้างหลักสูตรมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ............................................................57 โครงสรา้ งหลักสูตรมธั ยมศึกษาตอนปลาย........................................................70 คณะกรรมการกลุม่ บรหิ ารงานบุคคล................................................................99 กลมุ่ บริหารงานบคุ คล.....................................................................................101 แผนภูมิการบรหิ ารงาน...................................................................................102 บทบาทหน้าทีข่ องครทู ปี่ รกึ ษา........................................................................103 แนวปฏบิ ัติของผปู้ กครอง ในการตดิ ต่อกบั กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล...................104 ระเบียบ วา่ ดว้ ยการแตง่ กายของนักเรียน.......................................................106 เครื่องแบบนกั เรียน-ทรงผม............................................................................117 ระเบียบทว่ั ไปเกีย่ วกับการเปน็ พลเมืองด.ี .......................................................122 ระเบยี บโรงเรียน เรอื่ งการปฏิบตั ิตนของนกั เรยี น............................................123 กฎกระทรวง ก�ำหนดความประพฤติของนักเรยี นและนกั ศกึ ษา......................132 ระเบยี บโรงเรียน วา่ ดว้ ยการลงโทษนักเรยี น...................................................134 ระเบยี บส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน...................................146 ว่าดว้ ยเครอื ข่ายผ้ปู กครอง 8 คมู่ อื นกั เรียนและผู้ปกครอง ปีการศกึ ษา 2564

โครงสรา้ งของคณะกรรมการเครือข่ายผปู้ กครอง...........................................152 คณะกรรมการกลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ...........................................................153 กลมุ่ บริหารงบประมาณ..................................................................................155 แผนภมู กิ ารบริหารงาน...................................................................................156 ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอื่ ง การเก็บเงนิ บ�ำรงุ การศกึ ษา.....................157 ของสถานศึกษา หลกั เกณฑก์ ารเก็บเงินบ�ำรุงของสถานศกึ ษา..................................................158 คณะกรรมการกลุ่มบริหารท่ัวไป.....................................................................165 กลมุ่ บริหารท่ัวไป............................................................................................167 แผนภูมกิ ารบรหิ ารงาน...................................................................................168 งานสำ� นักงานกลมุ่ บรหิ ารทั่วไป งานอาคารสถานท.่ี......................................169 งานภูมิทศั น์และสง่ิ แวดล้อม งานประชาสมั พันธ.์..........................................170 งานโภชนาการ................................................................................................171 งานอนามยั โรงเรยี น........................................................................................172 งานสวัสดกิ าร..................................................................................................173 งานโสตทัศนศกึ ษา..........................................................................................174 งานเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ.....................................175 งานบริหารนกั พฒั นา .....................................................................................175 งานร้านคา้ สวัสดิการ งานจราจร งานอนรุ ักษ์พลังงานและสง่ิ แวดล้อม...........176 งานตามโครงการพระราชด�ำริ กองทุนบึงพระยา............................................177 ภาคผนวก.......................................................................................................179 บทสวดมนต์ประจำ� วัน....................................................................................180 แผ่เมตตา กิจกรรมนิเทศพัฒนา......................................................................181 หมายเลขโทรศพั ท.์ .........................................................................................182 แผนที่แสดงท่ตี ั้งโรงเรียน.................................................................................183 แผนผังโรงเรยี น...............................................................................................184 แผนผงั เสน้ ทางจราจรผู้ปกครองส่งนักเรียน....................................................185 แผนผังหอ้ งเรยี นอาคารอเนกประสงค์ 3 ชน้ั .................................................186 แผนผังหอ้ งเรียนอาคารเฉลิมพระเกยี รติฯ 7 ช้นั .............................................187 แผนผงั ห้องเรยี นอาคาร 30 ปี นวมนิ ทร์ เบญจมะ..........................................188 โรงเรยี นนวมินทราชินูทศิ เบญจมราชาลัย 9

วิสัยทศั นโ์ รงเรยี นนวมินทราชนิ ูทศิ เบญจมราชาลัย ผเู้ รยี นมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลบนพ้ืนฐานความเป็นไทย ประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยี มคี วามรคู้ ่คู ุณธรรม มีวินยั รกั ษส์ ง่ิ แวดล้อม พนั ธกจิ โรงเรยี นนวมินทราชนิ ทู ิศ เบญจมราชาลัย 1. ส่งเสริมผ้เู รยี นใหม้ คี ณุ ภาพระดับสากล รักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม มคี ุณธรรมจริยธรรม และมีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลกั สตู ร 2. พฒั นาหลักสตู รสถานศึกษาเทยี บเคยี งมาตรฐานสากล ส่งเสริมทักษะการเรยี นรู้ โดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและนวตั กรรม 3. พัฒนาการบรหิ ารจัดการด้วยระบบคุณภาพ โดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน และยึดหลกั ธรรมาภบิ าล 4. ส่งเสรมิ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ให้ไดค้ ณุ ภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ เปา้ ประสงค์โรงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ูทศิ เบญจมราชาลัย 1. ผูเ้ รยี นมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนทกุ กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ งู ขน้ึ 2. ผเู้ รยี นมีความสามารถในการสอื่ สาร ฟงั พูด อ่าน เขยี น 2 ภาษา 3. ผเู้ รยี นสามารถใชเ้ ทคโนโลยี สร้างสรรคผ์ ลงานอยา่ งมคี ุณภาพ 4. ผเู้ รยี นมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 5. ผู้เรียนอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 6. มหี ลักสูตรสถานศึกษาเทยี บเคียงมาตรฐานสากล ตอบสนองความถนดั และความตอ้ งการของผู้เรียน 7. มีระบบการบรหิ ารจดั การที่เนน้ คุณภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล 8. ครูและบคุ ลาการทางการศึกษามีคณุ ภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี 9. มสี อื่ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาเพือ่ สง่ เสรมิ สนบั สนุน ในการจัดการเรียนการสอน 10 คูม่ อื นกั เรยี นและผู้ปกครอง ปกี ารศกึ ษา 2564

เปา้ ประสงค์ ผู้เรียนเปน็ คนดี มคี วามรู้ อยใู่ นสังคมอยา่ งมคี วามสขุ ปรชั ญา รู้วชิ า จรรยาดี ปลกู ไมตรี มเี มตตา คำ� ขวัญ รกั ษศ์ กั ดิศ์ รี มีคุณธรรม น�ำวิชาการ สบื สานงานพระราชดำ� ริ อตั ลักษณ์ ลกู พระราชนิ ี มีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ เชดิ ชูสถาบัน โรงเรยี นนวมินทราชินูทศิ เบญจมราชาลัย 11

ประวัติโรงเรยี นนวมนิ ทราชินทู ิศ เบญจมราชาลัย ประวตั คิ วามเป็นมาของโรงเรียนมดี ังนี้ วันท่ี 22 มกราคม พ.ศ. 2534 นางเสงย่ี ม อน้ สวุ รรณ นางสมจติ ต์ เดชดี นางกรองแก้ว โพธว์ิ ิเชยี ร และนายสำ� เรงิ สุวรรณน้อย ได้มหี นังสอื แจง้ ไปยงั โรงเรียน เบญจมราชาลัย ว่ามคี วามประสงคบ์ ริจาคทด่ี ิน จ�ำนวน 10 ไร่ เพอื่ สร้างโรงเรียน สาขาขึน้ ในบริเวณพืน้ ทีแ่ ขวงสามวาตะวันตก เขตมีนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร โดยมี นายประสงค์ อน้ สุวรรณ และ นายเชิดชยั พลานิวัติ เป็นผ้ปู ระสานงานระหว่าง ผ้บู ริจาคที่ดนิ กับกระทรวงศกึ ษาธิการ วันท่ี 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 กรมสามัญศึกษาได้อนุมัติให้โรงเรียน เบญจมราชาลัย สาขารบั นกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ปกี ารศึกษา 2534 จำ� นวน 2 ห้องเรยี น และในปกี ารศึกษา 2535 จำ� นวน 10 ห้องเรียน โดยได้รับความอนเุ คราะห์ จากพระอธิการดวง อคฺคปญฺโญ (ดวง สิงหเสนี) เจา้ อาวาสวัดพระยาสุเรนทร์ ไดใ้ ห้ ใช้โรงเรียนวัดพระยาสุเรนทร์และศาลาการเปรียญวัดพระยาสุเรนทร์เป็นสถานท่ีเรียน ช่วั คราว วันท่ี 28 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2534 ดร.โกวทิ วรพิพฒั น์ อธบิ ดีกรมสามัญศึกษา คณะผูบ้ ริหารโรงเรยี นเบญจมราชาลยั และผู้ประสานงาน ไปตรวจดพู ืน้ ที่จัดตั้งโรงเรยี น และไดข้ อทด่ี นิ เพิม่ เติมจากคณะผ้บู รจิ าคอีก 10 ไร่ รวมเป็นที่ดิน จ�ำนวน 20 ไร่ วันท่ี 4 มีนาคม พ.ศ. 2534 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่องจัดต้ังโรงเรียน เบญจมราชาลัยสาขาเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้า สริ กิ ิต์พิ ระบรมราชินนี าถ ในวโรกาสมหามงคลสมยั เฉลมิ พระชนมพรรษาครบ 5 รอบ โดยใช้ช่อื ว่า “โรงเรียนเบญจมราชาลัย 3” ซึ่งถอื วา่ เป็นวันสถาปนาโรงเรียน คณะผู้บรจิ าค ท่ีดินเห็นว่าพื้นที่ยังคับแคบจึงได้บริจาคท่ีดินเพิ่มอีก 5 ไร่ รวมเป็น 25 ไร่ และ นายสรุ นิ ทร์ มีเงิน ไดบ้ รจิ าคเงินซ้ือทด่ี ินเพือ่ สร้างถนนทางเขา้ โรงเรียน กรมสามญั ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ ไดม้ ีหนงั สอื คำ� ส่งั ท่ี 1724/2535 ลงวันท่ี 26 มีนาคม พ.ศ. 2535 ให้นางสาวเอกจติ รา ชสู กลุ ชาติ ตำ� แหน่ง ผู้อำ� นวยการ โรงเรยี นเบญจมราชาลยั ในขณะน้ันปฏิบตั หิ นา้ ท่ีผูบ้ ริหารโรงเรียนเบญจมราชาลัย 3 12 คูม่ อื นักเรียนและผูป้ กครอง ปีการศกึ ษา 2564

และต่อมามคี ำ� สั่งท่ี 1822/2535 ลงวนั ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2535 ให้นายสรุ เทพ ต๊ันประเสริฐ ต�ำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการโรงเรียนเบญจมราชาลัย ปฏิบัติหน้าท่ี ผูบ้ รหิ ารโรงเรียนเบญจมราชาลยั 3 วันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2535 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เปล่ียนช่ือ โรงเรียนในโครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ของกรมสามัญศึกษาจำ� นวน 9 โรงเรยี นใหใ้ ชข้ น้ึ ต้นชื่อวา่ “โรงเรียนนวมนิ ทราชนิ ูทศิ ” เพอ่ื เปน็ การเฉลิมพระเกียรติสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกติ ิ์พระบรมราชนิ ีนาถ หนึ่งในเก้า คือ โรงเรียนเบญจมราชาลยั 3 จึงได้เปลยี่ นชือ่ เป็น “โรงเรียนนวมนิ ทราชนิ ทู ิศ เบญจมราชาลยั ” วนั ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2537 การก่อสรา้ งโรงเรียนเสรจ็ สมบูรณ์ โรงเรียน จงึ ยา้ ยสถานทเ่ี รยี นชัว่ คราว จากวดั พระยาสเุ รนทรม์ ายังโรงเรยี น ซงึ่ เปน็ อาคารเรียน 7 ชัน้ ตามแบบอาคารเรียนของโรงเรียนมธั ยมศกึ ษาในโครงการเฉลมิ พระเกยี รติ เพ่ือ ความเป็นสิริมงคล พระอธิการดวง อคฺคปญฺโญ ได้มอบพระพุทธเบญจมม่ิงมงคล เพ่ือประดิษฐานเป็นพระพุทธรูปประจ�ำโรงเรียน และในปี พ.ศ. 2544 พระอธิการ ดวง อคฺคปญฺโญ เจ้าอาวาสวดั พระยาสุเรนทรไ์ ดม้ อบหมายใหพ้ ระครูสังฆรกั ษ์โสภณ โสภโณ (สิงหเสน)ี ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวดั พระยาสุเรนทร์ อญั เชญิ รูปหลอ่ เจา้ คุณปพู่ นั ตรี พระยาสุเรนทรร์ าชเสนา (พึ่ง สงิ หเสน)ี มาประดิษฐานไว้ ณ ทางเขา้ ประตูโรงเรียน นวมินทราชินูทศิ เบญจมราชาลยั เพื่อเป็นอนุสรณ์ใหร้ ะลกึ ถงึ พ้นื ทกี่ อ่ สร้างโรงเรียน อันเคยเป็นศักดินาของทา่ น วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ.2557 โรงเรียนไดป้ ระกอบพธิ พี ทุ ธาภิเษกเททองหลอ่ พระพุทธรปู ประจำ� โรงเรียน “พระพุทธเบญจมมิ่งมงคล” ขนาดหนา้ ตัก 39 นิว้ โดยมี สมเดจ็ พระวนั รัต (จนุ ท์ พรฺ หมฺ คโุ ตมหาเถร) เจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศราชวรวหิ าร เปน็ ประธานฝา่ ยสงฆ์ ฯพณฯ ปองพล อดิเรกสาร อดีตรองนายกรฐั มนตรี และรฐั มนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานฝ่ายฆราวาส และได้อัญเชิญส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ พระพุทธเบญจมมิง่ มงคล รปู หลอ่ พระยาสเุ รนทรร์ าชเสนา (พ่ึง สิงหเสนี) ศาลพระภมู ิ เจา้ ท่ี ศาลตา-ยาย ประดษิ ฐาน ณ มณฑปบรเิ วณทางเขา้ หนา้ ประตโู รงเรียนเพือ่ เป็น ศูนย์รวมจิตใจชาวนวมนิ ทร์เบญจมะ โรงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ูทิศ เบญจมราชาลยั 13

วนั ท่ี 19 พฤษภาคม พ.ศ.2559 สมเด็จพระมหารัชมงั คลาจารย์ (ชว่ ง วรปุญฺโญมหาเถร) ผูป้ ฏบิ ัตหิ นา้ ท่สี มเดจ็ พระสงั ฆราช เจ้าอาวาสวัดปากนำ้� ภาษีเจริญ เดินทางมาเป็นประธานมอบโล่เกียรติคุณให้โรงเรียน “โรงเรียนส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมดเี ดน่ ” และมอบปา้ ยโรงเรยี นรกั ษาศีล 5 พร้อมปลกู ตน้ ไมป้ ระจำ� โรงเรยี น คือ “ต้นทองกวาว” โรงเรียนไดร้ ับรางวลั “ด้านการสง่ เสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรมดเี ดน่ ” ระดบั ประเทศ ประจ�ำปกี ารศึกษา 2560 ............................................... 1. โรงเรียนไดร้ บั “รางวลั พระราชทาน รางวัลเกียรติคณุ สญั ญา ธรรมศักด”์ิ มูลนิธิธารน�้ำใจ “โครงการเชิดชูเกียรติสถานศึกษาท่ีสร้างคนดีให้สังคม ด้วยการ สง่ เสรมิ คุณธรรมจริยธรรมดีเด่น” พระราชทานโล่รางวลั โดย สมเด็จพระเทพรตั น- ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 2. โรงเรียนได้รับ “โล่รางวัล MOE AWARDS สถานศึกษาจัดกิจกรรม ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมดีเด่น” จากกระทรวงศึกษาธิการ มอบโล่รางวัลโดย รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร 3. โรงเรยี นได้รับ “โล่รางวัลโรงเรียนสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมดีเด่น” โดย สมเดจ็ พระมหารชั มงั คลาจารย์ ผปู้ ฏบิ ตั ิหน้าทีส่ มเด็จพระสงั ฆราช เป็นประธานมอบโล่ เกียรตริ างวัล 4. โรงเรียนได้รบั “เกียรติบัตรรางวลั โรงเรียนส่งเสรมิ คุณธรรมและจรยิ ธรรม ดีเด่น” จากธนาคารออมสินและส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 14 ค่มู ือนักเรยี นและผปู้ กครอง ปีการศกึ ษา 2564

5. โรงเรยี นไดร้ บั คดั เลือกจากสำ� นักงานเขตพื้นทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 เขา้ รว่ มโครงการโรงเรยี นสจุ ริต และไดร้ บั “โลร่ างวลั รองชนะเลิศอนั ดับ 1 การประกวด ผลงานวิจัยประเภทสร้างองค์ความรู้ใหม่สู่ปฏิบัติสุจริตจาก 1000 งานวิจัย” ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน 6. โรงเรยี นไดร้ ับ “รางวัลชนะเลศิ ในโครงการประกวดการให้ความรแู้ ละการ คัดแยกขยะพษิ ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร”ี โรงเรยี นนวมินทราชนิ ทู ิศ เบญจมราชาลัย 15

16 คมู่ อื นกั เรยี นและผปู้ กครอง ปกี ารศกึ ษา 2564

พระสทิ ธสิ งิ หเสนี (โสภณ สงิ หเสน)ี เจ้าอาวาสวัดพระยาสเุ รนทร์ ผู้อุปถมั ภ์โรงเรียน นางปรานี อนรุ ักษอ์ าชากุล นายสรุ ินทร์ มีเงนิ ปฏิบัตหิ นา้ ท่ีประธานมลู นิธิ นายกสมาคมผู้ปกครองและครู พนั ตรีพระยาสเุ รนทร์ราชเสนา (พง่ึ สิงหเสน)ี โรงเรยี นนวมินทราชนิ ูทิศ เบญจมราชาลัย นายเฉลมิ ชยั จนั ทรมติ รี นายวนิ จิ พวงมาลี ประธานชมรมครเู กา่ ประธานเครอื ข่ายผปู้ กครอง โรงเรียนนวมินทราชนิ ทู ิศ เบญจมราชาลยั โรงเรยี นนวมนิ ทราชินูทศิ เบญจมราชาลยั โรงเรียนนวมนิ ทราชินทู ศิ เบญจมราชาลัย 17

18 คมู่ อื นกั เรยี นและผปู้ กครอง ปกี ารศกึ ษา 2564

ผบู้ ริหารโรงเรียนนวมินทราชนิ ูทิศ เบญจมราชาลยั นายวีระ เจนชัย ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนนวมนิ ทราชินทู ศิ เบญจมราชาลัย นางสาวจนั ทิรา ภสู่ �ำลี นางวลิ าสนิ ี ปลายเนนิ รองผู้อำ� นวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ รองผู้อ�ำนวยการกลุ่มบรหิ ารงบประมาณ นายศตวธุ หรอื โอภาส นางสาวสุรัตยา รอดรตั น์ รองผู้อำ� นวยการกลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล รองผ้อู �ำนวยการกลุ่มบริหารทั่วไป โรงเรียนนวมินทราชนิ ทู ศิ เบญจมราชาลยั 19

คณะกรรมการกลมุ่ บริหารวชิ าการ นางสาวจันทริ า ภสู่ �ำลี รองผู้อ�ำนวยการกลุม่ บรหิ ารวิชาการ นางเพชรนิ ทร์ วงศข์ า้ หลวง นางสาวเสาวณีย์ สมสขุ ทวกี ุล นายพุทธิพงษ์ ทิพวาที ผ้ชู ว่ ยรองผ้อู �ำนวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ ผชู้ ว่ ยรองผู้อ�ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ ผ้ชู ่วยรองผูอ้ �ำนวยการกลมุ่ บริหารวชิ าการ หวั หน้างานพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา หัวหน้างานบรหิ ารกลุม่ สาระการเรยี นรู้ และงานพฒั นาผ้เู รยี น นางพิศมยั สารผล นายชาครติ หะซัน นายพลู สขุ ชำ� นาญไพร หัวหนา้ งานพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ หวั หนา้ งานโรงเรยี นมาตรฐานสากล หวั หนา้ งานกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน นายกุณฑณ เดชดี นางสาวมยุรี คำ� แกว้ นางสาวนุสรา จไู ข่ นางสาวเนาวรัตน์ ขจติ จรรยา หัวหนา้ งานนกั ศึกษาวชิ าทหาร หวั หน้างานนิเทศการการศึกษา หวั หนา้ งานประกนั คณุ ภาพ หวั หน้างานวดั ผลประเมนิ ผล และมาตรฐานการศกึ ษา และเทียบโอนผลการเรียนรู้ 20 คมู่ ือนักเรยี นและผ้ปู กครอง ปกี ารศกึ ษา 2564

นางสาวอญั ชลี ไชยบรรดษิ ฐ์ นางเอราวณั ดำ� ภูผา นางสาวดลณชั ฐ์ มนต์ศรัณย์ นางสาวเบญญาภา ศิวะสกุล หวั หนา้ งานทะเบียนนกั เรยี น หวั หน้างานพฒั นาสอ่ื และนวัตกรรม หวั หนา้ สำ� นกั งาน หวั หน้างานการรับนกั เรยี น และการจดั ทำ� สำ� มะโนนกั เรยี น เทคโนโลยที างการศึกษา กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ นางสาวจิราพร หมอบอก นางสาววราพร ผลดดี ก นางสาวลักษ์ขณา จันทรดา นางสาวเขมจิรา ภาเจรญิ สริ ิ หวั หนา้ งานชุมชนแห่งการเรยี นรู้ หวั หน้างานหอ้ งเรยี นพิเศษ หัวหน้างานห้องเรยี นพเิ ศษ MEP หวั หน้างานหอ้ งสมุด วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ทางวชิ าชีพ หวั หนา้ โครงการหอ้ งเรยี น EMS นางสาวธดิ ารตั น์ ขะแมสันเทยี ะ นางสาวสุนารี พลีพูล นางสาวกนกวรรณ สวุ รรณกูฏ นางสาวรัตนาวดี พางาม หวั หน้างานสารสนเทศ หวั หนา้ งานวิจยั พัฒนา หัวหนา้ งานตารางสอน หวั หนา้ งานเรียนรวม คณุ ภาพการศึกษา นายภุชงค์ ในพิมาย นางสาวกัญฐภา เต่าสวุ รรณ นางสาวพรพรรณ ปิติภทั รภิญโญ นางสาวจุฬาลกั ษณ์ ชาวเวยี ง หัวหนา้ งานจัดการเรยี น หัวหนา้ งานสนับสนุนงานวิชาการ ส�ำนกั งานกล่มุ บรหิ ารวิชาการ เจา้ หนา้ ท่ีส�ำนักงาน การสอนแบบสะเตม็ ศกึ ษา แกช่ มุ ชน (STEM Education) โรงเรยี นนวมินทราชินทู ิศ เบญจมราชาลัย 21

หวั หนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ นางพศิ มัย สารผล นายพุทธพิ งษ์ ทิพวาที นางศรกช เดชะ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี นางชวนพศิ ตินตะบรุ ะ นางวัฒนาศิริ ชุ่มธิ นายกณุ ฑล เดชดี กลุม่ สาระการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม นายชาครติ หะซนั นายจักรี ภูมบิ รู ณ์ นางสาวทศั นยี ์ วงศศ์ รี หัวหน้ากล่มุ สาระการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ หวั หน้างานแนะแนว ภาษาตา่ งประเทศ 22 คู่มอื นกั เรยี นและผปู้ กครอง ปกี ารศกึ ษา 2564

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นายพทุ ธิพงษ์ ทิพวาที นางสาวมยุรี ค�ำแก้ว นางสมร เอกจีน นางอาภรณ์ ศริ ิคณนิ ทร์ นางสาวรัตตยิ า สุขนจิ รัญ ครู คศ.3 ครู คศ.3 ครู คศ.3 ครู คศ.3 ครู คศ.3 หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ รองหัวหนา้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ นางสาวปารชิ าต บุญวเิ ชียร นายมงคล ประเสรฐิ สงั ข์ นายพรี ะเทพ กาวนิ ชยั นางสาวนุสรา จูไข่ นายไพศาล อรุณศรีพมิ าน ครู คศ.3 ครู คศ.2 ครู คศ.2 ครู คศ.2 ครู คศ.2 นางเอราวณั ด�ำภูผา นางสาวสริ ลิ กั ษณ์ เพชรสิริ นางสาวกนกวรรณ สวุ รรณกฎู นางสาววราพร ผลดดี ก นางสาววลิ าสินี โกศลิ ปส์ ุข ครู คศ.2 ครู คศ.2 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 นางกรรณา ดษิ ยธำ� รงกุล นายภชุ งค์ ในพมิ าย นางสาวจิราพร หมอบอก นางสาวธิดารตั น์ ขะแมสันเทียะ นายนรตุ ม์ อัฐนาค ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครูผชู้ ่วย นางสาวณฐั รดา ไชยสมร นางสาวเนตรทราย เทียมสมั ฤทธิ์ ครูผู้ช่วย ครผู ชู้ ว่ ย โรงเรียนนวมินทราชนิ ูทิศ เบญจมราชาลัย 23

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ นางศรกช เดชะ นางสาวดวงกมล ลิภนู นท์ นางศิรนิ ทร์ เอยี่ มเจรญิ นางสาวเนาวรตั น์ ขจิตจรรยา ครู คศ.2 ครู คศ.3 ครู คศ.3 ครู คศ.3 หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ รองหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ นางสาวสุภาวดี แรกตง้ั นางอชั ฉรา จติ ตพ์ ุทธคณุ นางสาวณฐั กานต์ มั่นยา นายสมพงษ์ อ�ำพนั เสน ครู คศ.3 ครู คศ.2 ครู คศ.2 ครู คศ.2 นางกาญจนา ชดิ สนิ นางสาวสุนารี พลีพลู นางสาวอรุณประไพ สวา่ งวงค์ นายมานิตย์ รองเมือง นางสาวรจนา สืบสาม ครู คศ.2 ครู คศ.2 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 นางนชุ จรนิ ทร์ ปิยะจันทร์ นางสาวภิดาพรรธน์ เกษมสมทิ ธิพงศ์ นางสาววราภรณ์ ดับทุกข์ นายธีรายุ อศิ รางกูร ณ อยุธยา นางสาววนดิ า ปนั โนจา ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 24 คู่มือนักเรยี นและผปู้ กครอง ปกี ารศกึ ษา 2564

กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย นางพศิ มยั สารผล นางนุช เมอื งแกว้ นางสาวปรยี านชุ เสนาธนศักด์ิ ครู คศ.3 ครู คศ.2 ครู คศ.3 หัวหนา้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ รองหวั หนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ นางอไุ รวรรณ ทองชมุ นางสาวณฐั นนั ท์ ปานกูล นางสาวตรยี กนษิ ฐ์ จนั ทรสถาพร ครู คศ.2 ครู คศ.2 ครู คศ.2 นางอไุ ร เจ๊ะและ๊ นางสาวสุภารตั น์ เพียกขุนทด นางสาวเกลา้ ลฎา ปลอ้ งประภา ครู คศ.2 ครู คศ.1 ครู คศ.1 นางสาวดารณิ ี สุขชยั นางสาวศภุ กั ษร โมกข์รตั น์ นางสาวภาณุกา บินฮาซัน ครูผชู้ ่วย ครูผชู้ ว่ ย ครูผู้ช่วย โรงเรยี นนวมนิ ทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย 25

กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม นางชวนพิศ ตนิ ตะบุระ นางจรี าภรณ์ อรุณศรพี มิ าน ครู คศ.3 ครู คศ.3 หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ รองหัวหน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้ นางเพชรนิ ทร์ วงศ์ขา้ หลวง นางสาวอัญชลี ไชยบรรดษิ ฐ์ นางสาวจนิ ตนา ปานเถอ่ื น นายพงษพ์ นั ธ์ พรมทอง ครู คศ.3 ครู คศ.2 ครู คศ.2 ครู คศ.2 นายณรงคฤ์ ทธิ์ ศักดแ์ิ สน นางสาวนสิ ากรณ์ ฉิมมี นางสาววรปภา รญิ ญาธนนั ท์ นางสาวลีลาวดี กลา้ รอด ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 นางสาวพมิ พ์ปวีณ์ มณีสวาท นางสาวพงศล์ ดา สุภาพ นางสาวจริ าพรรณ ประสารวุฒิ นางสาวจริ าพรรณ ประสารวุฒิ ครู คศ.1 ครูผชู้ ว่ ย ครผู ู้ช่วย ครูผชู้ ่วย 26 คู่มอื นกั เรยี นและผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2564

กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ นายชาครติ หะซัน นางสาวสาธวนิ ี พลเสน นางปาลรี ัฐ จันทรางกูร นางสาวนฤมล เลียบสวสั ด์ิ ครู คศ.3 ครู คศ.2 ครู คศ.3 ครู คศ.2 หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ รองหวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ นางสาวนฤมล เอ่ยี มสำ� องค์ นางสาวจรัมพร จิตร์ช่นื นางสาวจนิ ตหรา หนองบัว นางสาวลคกั รษู ์ขคณศ.า1 จันทรดา นางสาวภัทราภรณ์ ศรสี ธุ รรม ครู คศ.2 ครู คศ.2 ครู คศ.1 ครู คศ.1 นายปิยะพงษ์ ไชยเพยี ร นางสาวสจุ ติ รา สาลวี ัน นางสาวเบญญาภา ศวิ ะสกุล นางสาวภมุ รนิ ทร์ เกตุมณี นางสาวชุติมา แสนคำ� ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 นางสาวกญั ฐภา เต่าสุวรรณ นายชชั พสิ ฐิ ศ์ สงิ หเสนี นายทรงศกั ดิ์ วรี บญุ ชยั วัฒน์ นางสาวพนดิ า ศรจี �ำนงค์ นางสาวพิราอร จนั ทรเ์ ปรม ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 นางสาววิชตุ า สมพรงิ้ นางสาวอจั ฉรา จนั ทรแ์ จ่มแจง้ นายภษู ณุ แตง่ งาม นางสาวจดิ าภา หวังสุขเกษม นายธรี ะศกั ดิ์ ต้นกัลยา ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครูผชู้ ว่ ย โรงเรยี นนวมินทราชินทู ิศ เบญจมราชาลัย 27

กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี นางวฒั นาศิริ ชมุ่ ธิ นางสาวพิกลุ เสนทรนารถ ครู คศ.2 ครู คศ.1 หัวหนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ รองหวั หน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้ นางสาวกรองกาญจน์ ขาวทอง นางมะลวิ ัลย์ ศิรสิ ุทธิ์ นางขนิษฐา ชมภูศรี ครู คศ.3 ครู คศ.3 ครู คศ.3 นางสาวอญั ชลี สารนา นางศิรริ กั ษ์ สมพงษ์ นางสาวช่อทพิ ย์ ขนุ พลิ ึก ครู คศ.2 ครู คศ.2 ครู คศ.1 นายอภิสทิ ธ์ิ ภรู ะวงษ์ นางสาวประกายดาว จนั ทรา ครู คศ.1 ครู คศ.1 28 คมู่ อื นักเรยี นและผปู้ กครอง ปกี ารศึกษา 2564

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ นายจักรี ภูมิบูรณ์ นางสาวกรศศริ ์ ดียง่ิ ครู คศ.1 ครู คศ.2 หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ รองหัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้ นายพลากร พงศพธุ นายพัชรพล จันทร์ศรี นางสาวพรพรรณ ปิตภิ ทั รภิญโญ นายศรณั ย์ บญุ สนธิ ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครผู ู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนร้สู ุขศึกษาและพลศึกษา นายกุณฑณ เดชดี นายจตรุ งค์ พันธุ นายพูลสุข ชำ� นาญไพร หนา้ กลคมุ่ สรูาคระศก.2ารเรียนรู้ รองหัวหน้าคกรลู มุ่ คสศา.ร2ะการเรียนรู้ ครู คศ.1 นายวชิ าญ บรรจงศลิ ป์ นายประกิต กอ่ แก้ว นางสาวจุฑามาศ จันนาวัน ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 โรงเรยี นนวมินทราชินทู ิศ เบญจมราชาลยั 29

กลุ่มสนบั สนนุ การสอน นางสาวทศั นีย์ วงศ์ศรี นางสาวเสาวณยี ์ สมสขุ ทวกี ูล นางชัชมน ลลี ะอ�ำไพกุล นายอนนั ต์ ขันแกว้ นางสาวรตั นาวดี พางาม ครู คศ.3 ครู คศ.3 ครู คศ.3 ครู คศ.2 ครู คศ.2 นางสาวเขมจิรา ภาเจรญิ สิริ นายทศั นพ์ ล ยะมามัง นายศตพล สมยา นางสาวณฏั ปัณณกิ า เอี่ยมตน้ วงศ์ นางสาวอมุ าพรรณ ลทั ธิธรรม นางสาวนภาพร ปจุ ฉาการ ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครูผู้ชว่ ย ครูพิเศษ พนักงานราชการ นางณัฐรมจว์ ดี ศิรโิ วหาร ว่าที่ ร.ต.สุประสิทธ์ิ อิ่มคง นางสาวจฬุ าลักษณ์ ชาวเวียง นางจำ� เนียน มหาวฒั นะ นางสาวประไพพรรณ ทองกำ� เหนิด นางสาวสกุ ัญญา มะลิวงษ์ เจา้ หนา้ ท่สี �ำนกั งาน นางดวงพร ราชประสิทธ์ิ นางศริ ภสั สร ผลานุสนธิ์ นางสาวสรุ รี ตั น์ เทศทอง นางสาววรรณา ชไู สว นายสิทธิ อารีพงษ์ นางสาวสริ ิพร สวนส�ำราญ นายพงศกร เชียงไฝ นายกติ ตคิ ุณ กันแยม้ นางสาวนติ ยา มเี งิน 30 คู่มอื นกั เรยี นและผู้ปกครอง ปกี ารศกึ ษา 2564

กลุ่มบริหารวชิ าการ โรงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ูทศิ เบญจมราชาลยั 31

 ⌫     ⌫              ⌫ ⌦          ⌦  ⌫⌫   ⌫   ⌦  ⌫⌦  ⌫ ⌫   ⌫   ⌫     ⌫  ⌫    ⌦     ⌦       ⌫   ⌫     งา นห้องเร ยีนพเิ ศษMEP  ⌫     ⌫  32 คู่มือน ัก เรยี นแ⌫ ละผ้ปู ก ครอง  ⌦   ปกี ารศึกษา 2564

 ⌫  ⌫     ⌫           โรงเรยี นนวมนิ ทราชินทู ศิ เบญจมราชาลัย 33 ⌫      

ปณธิ าน โรงเรียนมาตรฐานสากล สรา้ งคนไทยรุ่นใหม่ ให้เป็นคนดีของสังคมโลก ความมุ่งมน่ั สรา้ งผู้เรยี นให้มศี ักยภาพเป็นพลโลก ด้วยการพัฒนาหลกั สตู รและการสอน การบริหารคุณภาพระดบั มาตรฐานสากล ความส�ำเร็จโรงเรียนมาตรฐานสากล ลกั ษณะการเปน็ มาตรฐานสากล ประกอบดว้ ย 1. การจัดการเรยี นการสอน 2. บรหิ ารจัดการด้วยระบบคุณภาพ คณุ ลักษณะโรงเรยี นมาตรฐานสากล มดี งั น้ี 1. ผู้เรยี นมศี ักยภาพเป็นพลโลก [เปน็ เลศิ ทางวชิ าการ, สอื่ สารสองภาษา, ลำ้� หน้าทางความคดิ , ผลติ งานอยา่ งสรา้ งสรรค์] 2. การจัดการเรยี นการสอนเทยี บเคยี งมาตรฐานสากล 3. บริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ วตั ถปุ ระสงค์ โรงเรียนมาตรฐานสากล 1. พฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ศี ักยภาพเปน็ พลโลก 2. ยกระดบั การจดั การเรียนการสอนเทียบเคยี งมาตรฐานสากล 3. ยกระดับการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ 34 คมู่ ือนกั เรยี นและผปู้ กครอง ปกี ารศึกษา 2564

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นมาตรฐานสากล โรงเรียนนวมนิ ทราชินูทศิ เบญจมราชาลัย พุทธศกั ราช 2560 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั รราช 2551 วสิ ยั ทัศนโ์ รงเรียนนวมนิ ทราชินทู ิศ เบญจมราชาลัย ม่งุ เนน้ ใหผ้ ู้เรยี นมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานระดับสากล ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยแี ละ นวัตกรรม ธำ� รงความเปน็ ไทย ใฝเ่ รยี นรูค้ คู่ ณุ ธรรม ปฏบิ ตั ติ ามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปา้ ประสงคโ์ รงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ทู ิศ เบญจมราชาลัย ผเู้ รยี นเปน็ คนดี มคี วามรู้ อยใู่ นสังคมอย่างมีความสขุ ปรัชญาโรงเรียนนวมนิ ทราชินทู ศิ เบญจมราชาลัย รวู้ ิชา จรรยาดี ปลูกไมตรี มีเมตตา ค�ำขวญั โรงเรยี นนวมินทราชนิ ทู ิศ เบญจมราชาลยั รักษศ์ ักดิ์ศรี มคี ณุ ธรรม นำ� วิชาการ สบื สานงานพระราชดำ� ริ อตั ลักษณโ์ รงเรยี นนวมินทราชนิ ทู ศิ เบญจมราชาลยั ลกู พระราชินี มวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ เชดิ ชสู ถาบัน พันธกจิ โรงเรียนนวมนิ ทราชินทู ศิ เบญจมราชาลัย 1. ส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณภาพระดับสากลตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มคี ุณธรรมและจรยิ ธรรม มีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามหลักสตู ร มคี า่ นยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ และน้อมน�ำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏิบตั ิ 2. พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานวชิ าชีพ 3. พัฒนาการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานและ ยดึ หลกั ธรรมาภิบาล โรงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ทู ิศ เบญจมราชาลยั 35

4. พัฒนาหลักสูตรการศึกษาเทียบเคียงมาตรฐานสากล ส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มที กั ษะการเรียนรศู้ ตวรรษท่ี 21 5. ส่งเสริมการมสี ่วนรว่ มของทกุ ภาคสว่ นในการจดั การศึกษา กลยทุ ธ์โรงเรียนนวมินทราชนิ ทู ศิ เบญจมราชาลัย 1. เสรมิ สรา้ ง สนับสนุนโอกาสทางการศกึ ษาอยา่ งเสมอภาค 2. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐานและมาตรฐาน ระดับสากล มีความรู้คู่คุณธรรม โดยน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สูก่ ารปฏบิ ตั ิ 3. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีทักษะตามมาตรฐานวิชาชีพ โดยมงุ่ เนน้ ผลสัมฤทธิ์ 4. พัฒนาการบรหิ ารจดั การด้วยระบบคณุ ภาพ 5. สรา้ งบรรยากาศการเรียนรู้ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนา หลกั การศกึ ษาเทียบเคียงมาตรฐานสากล และมที กั ษะการเรยี นรศู้ ตวรรษท่ี 21 6. สร้างเครือขา่ ยร่วมพัฒนาจากทกุ ภาคส่วนในการจัดการศึกษา จดุ หมาย หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัยพุทธศักราช 2552 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 ม่งุ พฒั นาผู้เรยี นให้เป็นคนดี มีปญั ญา มีความสุข มีศักยภาพ ในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพ จึงก�ำหนดเป็นจดุ หมายเพอ่ื ให้เกดิ กับผเู้ รียน เมอื่ จบการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ดังนี้ 1. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมที่พึงประสงค์ เหน็ คุณคา่ ของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือ ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มคี วามรู้ ความสามารถในการสอ่ื สาร การคิด การแกป้ ัญหาการใชเ้ ทคโนโลยี และมที กั ษะชวี ิต 3. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทีด่ ี มีสขุ นสิ ัย และรักการออกกำ� ลังกาย 36 คู่มอื นกั เรยี นและผปู้ กครอง ปกี ารศึกษา 2564

4. มคี วามรกั ชาติ มจี ิตส�ำนกึ ในความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่นั ในวิถีชีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข 5. มีจติ ส�ำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย การอนรุ ักษ์และ พัฒนาส่ิงแวดล้อมมีจติ สาธารณะท่ีมุ่งท�ำประโยชน์และสร้างส่งิ ทด่ี ีงามในสังคม และ อยรู่ ว่ มกันในสังคมอยา่ งมีความสขุ นโยบายโรงเรียนนวมินทราชนิ ทู ศิ เบญจมราชาลยั 1. พัฒนาการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพโดยยึดหลักการบริหารโดยใช้ โรงเรยี นเปน็ ฐาน และหลกั ธรรมาภบิ าล 2. สง่ เสรมิ ผเู้ รียนให้มีคณุ ภาพระดบั สากล ตามมาตรฐานการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน มคี ณุ ธรรม และจรยิ ธรรม มคี ุณลักษณะอนั พึงประสงค์ตามหลักสูตร มีคา่ นยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ นอ้ มน�ำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏบิ ตั ิ 3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณภาพมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและมาตรฐาน สากล 4. สง่ เสริมให้ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามีคุณภาพมาตรฐานวชิ าชีพ 5. พฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศ และจดั สภาพแวดลอ้ มให้มีบรรยากาศท่เี อ้ือ ตอ่ การเรียนรู้ 6. ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา และระดมทรัพยากรเพ่ือ พฒั นาการศกึ ษา เป้าหมายด้านคณุ ภาพโรงเรยี นนวมนิ ทราชินทู ศิ เบญจมราชาลัย 1. นกั เรยี นจบการศกึ ษาภาคบังคับและการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานอยา่ งมคี ณุ ภาพ 2. นักเรียนมวี ินยั มคี ณุ ธรรม มีคา่ นยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ ด�ำรง ชวี ิตอย่างมคี วามสุขบนพน้ื ฐานความเป็นไทยตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มคี วามเอือ้ อาทรซ่ึงกันและกัน สามารถเลอื กและตดั สินใจใช้เทคโนโลยีในทางทถี่ กู ต้อง โรงเรยี นนวมนิ ทราชินูทิศ เบญจมราชาลยั 37

3. ครูมีความรู้ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็น สำ� คัญ เพือ่ พฒั นาผเู้ รยี นให้มที ักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ใช้สอื่ และเทคโนโลยี ทางการศึกษาอย่างหลากหลายมีการท�ำวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนและ รรู้ ักสามัคคที ำ� งานร่วมกันเป็นหมคู่ ณะ 4. สถานศึกษาสะอาดร่มรื่นมีระเบยี บเรยี บรอ้ ยปลอดภัยปลอดจากอบายมุข มีแหลง่ เรียนรู้หลากหลาย และมบี รรยากาศทีเ่ อือ้ ตอ่ การเรียนรู้ 5. ทุกภาคส่วนให้ความสนับสนุนการจัดการศึกษาและระดมทรัพยากรเพ่ือ พัฒนาและจัดการศึกษา สมรรถนะส�ำคัญของผเู้ รยี น หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลยั พุทธศักราช 2560 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มุ่งพฒั นาผเู้ รยี นให้มคี ณุ ภาพมาตรฐานการเรยี นรู้ ซ่ึงการพฒั นา ผูเ้ รยี นให้บรรลุมาตรฐานการเรยี นรทู้ ่กี ำ� หนดนั้น จะชว่ ยให้ผู้เรยี นเกิดสมรรถนะสำ� คัญ 5 ประการ ดงั นี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มวี ัฒนธรรมในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคดิ ความรู้ความเขา้ ใจ ความรสู้ ึก และ ทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์อันจะเป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและ ลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผล และความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยค�ำนึงถึง ผลกระทบที่มตี อ่ ตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิด สงั เคราะห์ การคิดอยา่ งสรา้ งสรรค์ การคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ และคดิ อยา่ งเป็น ระบบ เพื่อน�ำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพ่ือการตัดสินใจเก่ียวกับ ตนเองไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและ อปุ สรรคต่างๆ ที่เผชิญไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสมบนพนื้ ฐานของหลกั เหตุผล คณุ ธรรม 38 คมู่ ือนักเรยี นและผปู้ กครอง ปีการศึกษา 2564

และขอ้ มูลสารสนเทศ เขา้ ใจความสัมพันธ์ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรู้ มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยค�ำนึงถึง ผลกระทบทเี่ กิดขึ้นตอ่ ตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ เปน็ ความสามารถในการน�ำกระบวนการ ต่างๆ ไปใช้ในการดำ� เนินชีวิตประจ�ำวัน การเรยี นรู้อย่างตอ่ เนือ่ ง การท�ำงาน และ การอย่รู ่วมกนั ในสังคมด้วยการสรา้ งเสริมความสัมพันธอ์ ันดรี ะหวา่ งบคุ คล การจดั การ ปัญหาและความขัดแยง้ ต่างๆ อยา่ งเหมาะสม การปรับตัวใหท้ นั กับการเปลีย่ นแปลง ของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู้จักหลีกหลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ สง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผ้อู น่ื 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือกและใช้ เทคโนโลยดี ้านตา่ งๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพือ่ การพฒั นาตนเอง และสังคม ในดา้ นการเรยี นรู้ การสอ่ื สาร การทำ� งาน การแกป้ ญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสมและมีคณุ ธรรม คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลยั พุทธศกั ราช 2552 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพฒั นาผ้เู รียนใหม้ ีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ เพอ่ื ใหส้ ามารถ อยู่ร่วมกับผู้อน่ื ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดงั น้ี 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2. ซ่อื สตั ยส์ ุจริต 3. มวี ินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพยี ง 6. มุง่ ม่นั ในการทำ� งาน 7. รกั ความเปน็ ไทย 8. มจี ติ สาธารณะ โรงเรียนนวมนิ ทราชนิ ูทิศ เบญจมราชาลยั 39

มาตรฐานการเรยี นรู้ การพัฒนาผูเ้ รยี นให้เกิดความสมดลุ ตอ้ งค�ำนงึ ถึงหลักพฒั นาการทางสมอง และพหปุ ัญญาหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนนวมินทราชนิ ูทิศ เบญจมราชาลยั พทุ ธศกั ราช 2552 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 จึงกำ� หนดใหผ้ ู้เรียนเรยี นรู้ 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ดงั นี้ 1. กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย 2. กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ 3. กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 4. กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5. กลุม่ สาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา 6. กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ 7. กลุม่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี 8. กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้ก�ำหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมาย ส�ำคญั ของการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น มาตรฐานการเรยี นรู้ระบสุ ิง่ ทีผ่ ้เู รยี นพึงรู้ ปฏบิ ตั ิได้ มคี ุณธรรม จริยธรรมและค่านยิ มท่พี ึงประสงค์เมือ่ จบการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน นอกจาก น้ันมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกส�ำคัญในการขับเคลื่อนเม่ือจบการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไร รวมทงั้ เป็นเครื่องมอื ในการตรวจสอบเพือ่ การประกนั คุณภาพการศกึ ษา โดยใช้ระบบ การประเมนิ คณุ ภาพภายในและการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ซ่ึงรวมถงึ การทดสอบ ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบ เพ่ือประกันคุณภาพดังกล่าวเป็นสิ่งส�ำคัญท่ีจะช่วยสะท้อนภาพการจัดการศึกษาว่า สามารถพัฒนาผู้เรยี นให้มคี ุณภาพตามท่ีมาตรฐานการเรยี นรกู้ �ำหนดเพยี งใด 40 คมู่ ือนกั เรยี นและผปู้ กครอง ปีการศึกษา 2564

ตวั ช้วี ัด ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมท้ังคุณลักษณะของผู้เรียน ในแต่ละระดับชนั้ ซง่ึ สะท้อนถงึ มาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมี ความเปน็ รปู ธรรม น�ำไปใชใ้ นการก�ำหนดเนอื้ หา จัดท�ำหนว่ ยการเรยี นรู้ จัดการเรยี น การสอน และเปน็ เกณฑ์สำ� คญั ส�ำหรบั การวัดประเมนิ ผลเพ่อื ตรวจสอบคณุ ภาพผู้เรยี น 1. ตัวชว้ี ดั ช้นั ปี เปน็ เป้าหมายในการพัฒนาผูเ้ รยี นแตล่ ะชน้ั ปีในระดับการศกึ ษา ภาคบังคับ (ประถมศึกษาปีท่ี 1 - มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3) 2. ตวั ช้ีวัดช่วงช้นั เปน็ เปา้ หมายในการพัฒนาผู้เรยี นในระดบั ช้นั มัธยมศึกษา ตอนปลาย (มัธยมศึกษาปีที่ 4-6) หลักสูตรได้มีการก�ำหนดรหัสก�ำกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด เพื่อ ความเข้าใจและใหส้ ่อื สารตรงกนั ดังนี้ ว 1.1 ม.1/2 ม.1/2 ตัวชว้ี ัดชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ขอ้ ที่ 2 1.1 สาระท่ี 1 มาตรฐานขอ้ ที่ 1 ว กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ส 2.2 ม.4-6/3 ม.4-6/3 ตวั ช้วี ัดชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ข้อที่ 3 2.2 สาระท่ี 2 มาตรฐานข้อท่ี 2 ส กลมุ่ สาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม โรงเรียนนวมนิ ทราชนิ ูทิศ เบญจมราชาลยั 41

สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย องคค์ วามรู้ ทักษะหรอื กระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซึ่งก�ำหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษา ข้ันพ้ืนฐานจำ� เป็นตอ้ งเรยี นรู้ โดยแบง่ เป็น 8 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ดงั น้ี ภาษาไทย : ความรู้ ทักษะ คณิตศาสตร์ : การนำ� ความรู้ วทิ ยาศาสตร์ : การน�ำความรู้และ และวัฒนธรรมการใช้ภาษา ทักษะและกระบวนการทาง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ เพอื่ การส่อื สาร ความชืน่ ชม คณิตศาสตร์ไปใช้ในการแก้ ในการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ และ การเห็นคุณค่าภูมิปัญญาไทย ปัญหาการด�ำเนินชีวิต และ แก้ปญั หาอย่างเป็นระบบ การคดิ และภูมิใจในภาษาประจำ� ชาติ ศึกษาต่อการมีเหตุมีผล มี อย่างเป็นเหตุเป็นผลคิดวิเคราะห์ เ จ ต ค ติ ที่ ดี ต ่ อ ค ณิ ต ศ า ส ต ร ์ คิดสร้างสรรค์ และจติ วทิ ยาศาสตร์ พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบ และสร้างสรรค์ ภาษาต่างประเทศ : ความรู้ องคค์ วามรู้ สั ง คม ศึ ก ษ า ศา สน า และ ทกั ษะ เจตคติ และวัฒนธรรม ทักษะส�ำคญั และคณุ ลักษณะ วฒั นธรรม : การอยู่ร่วมกันใน การใช้ภาษาต่างประเทศ สังคมไทยและสังคมโลกอย่าง ในการสือ่ สาร การแสวงหา ในหลกั สตู รแกนกลาง สันติสุข การเป็นพลเมืองดี ความรู้ และการประกอบ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา อาชพี การเห็นคณุ ค่าของทรพั ยากรและ สง่ิ แวดลอ้ ม ความรกั ชาติ และ ภมู ิใจในความเป็นไทย การงานอาชีพและเทคโนโลยี ศิลปะ : ความร้แู ละทักษะในการ สุขศึกษาและพลศึกษา : : ความรู้ ทกั ษะ และเจตคตใิ น คิดรเิ ริม่ จินตนาการ สร้างสรรค์ ความรู้ทักษะและเจตคติใน การท�ำงาน การจดั การ การดำ� รง งานศิลปะ สุนทรียภาพและการ การสร้างเสรมิ สุขภาพลานามยั ชวี ติ การประกอบอาชีพ และ เห็นคณุ ค่าทางศิลปะ ของตนเองและผอู้ น่ื การป้องกนั การใชเ้ ทคโนโลยี และปฏิบตั ิต่อสง่ิ ตา่ งๆ ทีม่ ผี ล ต่อสุขภาพอย่างถูกวิธีและ ทักษะในการด�ำเนนิ ชีวิต 42 คมู่ อื นักเรียนและผู้ปกครอง ปีการศกึ ษา 2564

ความสมั พันธ์ของการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน วิสัยทศั น์ หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน มงุ่ พฒั นาผ้เู รยี นทุกคน ซ่งึ เปน็ ก�ำลงั ของชาตใิ หเ้ ป็นมนุษย์ที่ มีความสมดลุ ท้งั ดา้ นรา่ งกาย ความรู้ คณุ ธรรม มจี ิตส�ำนกึ ในความเป็นพลเมอื งไทยและเปน็ พลโลก ยึดม่นั ในการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ มคี วามรแู้ ละทักษะพน้ื ฐาน รวมทง้ั เจตคติ ทจ่ี �ำเปน็ ตอ่ การศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และการศึกษาตลอดชีวิต โดยม่งุ เนน้ ผ้เู รยี นเปน็ ส�ำคัญบนพืน้ ฐานความ เชอ่ื ว่า ทกุ คนสามารถเรียนร้แู ละพัฒนาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ จุดหมาย 1. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มทพี่ งึ ประสงค์ เห็นคณุ ค่าของตนเอง มีวนิ ยั และปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือ ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. มคี วามรูอ้ ันเปน็ สากลและมคี วามสามารถในการสอ่ื สาร การคิด การแกป้ ญั หา การใช้เทคโนโลยแี ละ มที ักษะชวี ติ 3. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ท่ีดี มีสุขนิสัย และรกั การออกก�ำลงั กาย 4. มคี วามรกั ชาติ มีจิตส�ำนกึ ในความเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ยดึ มน่ั ในวถิ ีชีวิตและการปกครองใน ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข 5. มจี ิตส�ำนกึ ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย การอนรุ ักษ์และพฒั นาสิ่งแวดล้อม มีจติ สาธารณะ ทมี่ งุ่ ท�ำประโยชน์และสรา้ งสิ่งทีด่ ีงามในสงั คม และอยูร่ ่วมกันในสงั คมอย่างมีความสุข สมรรถนะสำ� คัญของผเู้ รียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2. ซอ่ื สตั ย์สุจริต 2. ความสามารถในการคดิ 3. มีวินยั 4. ใฝ่เรยี นรู้ 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง 6. ม่งุ มัน่ ในการทำ� งาน 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 7. รกั ความเปน็ ไทย 8. มีจติ สาธารณะ มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วดั 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน 1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร ์ 3. วิทยาศาสตร์ 4. สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5. สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 1. กจิ กรรมแนะแนว 6. ศิลปะ 7. การงานอาชพี และเทคโนโลย ี 8. ภาษาต่างประเทศ 2. กจิ กรรมนักเรียน 3. กิจกรรมเพ่ือสงั คมและ สาธารณประโยชน์ คุณภาพของผเู้ รยี นระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน โรงเรียนนวมินทราชนิ ูทิศ เบญจมราชาลัย 43

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน มงุ่ ให้ผู้เรยี นไดพ้ ัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่าง รอบด้านเพอ่ื ความเปน็ มนษุ ยท์ ีส่ มบูรณ์ ท้ังร่างกาย สตปิ ญั ญา อารมณ์ และสังคม เสริมสรา้ งใหเ้ ป็นผูม้ ีศีลธรรม จรยิ ธรรม มรี ะเบยี บวินัย ปลูกฝังและสรา้ งจติ สำ� นึก ของการท�ำประโยชน์เพ่ือสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน อย่างมคี วามสขุ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น แบ่งเปน็ 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. กจิ กรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคดิ ตดั สินใจ คิดแกป้ ัญหา กำ� หนดเปา้ หมาย วางแผนชวี ิตทง้ั ดา้ นการเรยี น และอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะ นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจ ผู้เรียน ทั้งยังเปน็ กจิ กรรมท่ชี ่วยเหลอื และให้คำ� ปรึกษาแก่ผูป้ กครองในการมีส่วนรว่ ม พฒั นาผู้เรียน 2. กิจกรรมนกั เรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้น�ำผู้ตามท่ีดี ความรบั ผดิ ชอบ การทำ� งานรว่ มกนั การรู้จกั แกป้ ัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกันเอ้ืออาทร และสมานฉันท์ โดยจัดให้ สอดคลอ้ งกบั ความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผเู้ รยี นให้ได้ปฏิบัตดิ ้วย ตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏบิ ัตติ ามแผน ประเมนิ และปรบั ปรุงการทำ� งาน เนน้ การท�ำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและ สอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน บริบทของสถานศึกษาและท้องถ่ิน กิจกรรม นักเรียนประกอบด้วย 2.1 กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บ�ำเพ็ญประโยชน์ และ นักศึกษาวชิ าทหาร 2.2 กิจกรรมชมุ นมุ ชมรม 3. กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมทส่ี ง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนบ�ำเพญ็ ตนใหเ้ ป็นประโยชนต์ ่อสงั คม ชมุ ชน และท้องถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสยี สละตอ่ สงั คม มีจติ สาธารณะ เช่นกจิ กรรมอาสาพฒั นาตา่ งๆ กจิ กรรมสรา้ งสรรค์สังคม 44 คู่มือนักเรยี นและผปู้ กครอง ปกี ารศกึ ษา 2564

ระดับการศกึ ษา หลกั สูตรมาตรฐานสากล โรงเรียนนวมนิ ทราชนิ ทู ิศ เบญจมราชาลัย พทุ ธศักราช 2552 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ไดจ้ ดั ระดบั การศกึ ษาเป็น 2 ระดบั ดังนี้ 1. ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น (ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1-3) เป็นชว่ งสุดทา้ ยของการศกึ ษาภาคบังคับ มุ่งเน้นใหผ้ ู้เรียนได้สำ� รวจความถนัด และความสนใจของตนเอง สง่ เสริมการพัฒนาบุคลกิ ภาพส่วนตน มที กั ษะในการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณคิดสรา้ งสรรค์และคิดแก้ปัญหา มที กั ษะในการด�ำเนินชีวิต มีทักษะ การใช้เทคโนโลยเี พื่อเป็นเครอื่ งมือในการเรียนรู้ มคี วามรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม มคี วาม สมดุลทั้งด้านความรู้ ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจในความเป็นไทย ตลอดจนใช้เป็นพืน้ ฐานในการประกอบอาชพี หรือการศกึ ษาตอ่ 2. ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4-6) การศึกษาระดับนี้เน้นการเพิ่มพูนความรู้และทักษะเฉพาะด้าน สนองตอบ ความสามารถความถนัดและความสนใจของผู้เรียนแต่ละคนท้ังด้านวิชาการและ วิชาชพี มที ักษะในการใช้วทิ ยาการ และเทคโนโลยี ทกั ษะ กระบวนการคิดขน้ั สงู สามารถน�ำความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการศึกษาต่อและการประกอบ อาชีพ มงุ่ พฒั นาตนและประเทศตามบทบาทของตน สามารถเป็นผู้น�ำ และผู้ให้บริการ ชุมชนในด้านตา่ งๆ การจดั เวลาเรียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลยั พทุ ธศกั ราช 2552 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ก�ำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนขั้นต�่ำส�ำหรับกลุ่มสาระ การเรียนรู้ 8 กลุ่ม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ซ่ึงสถานศึกษาสามารถเพิ่มเติม ไดต้ ามความพรอ้ มและจุดเนน้ โดยสามารถปรบั ใหเ้ หมาะสมตามบริบทของสถานศึกษา และสภาพของผ้เู รียน ดังน้ี 1. ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนต้น (ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-3) ใหจ้ ัดเวลาเรยี น เป็นรายภาค ใช้เกณฑ์ 40 ช่วั โมง ต่อภาคเรยี น มีคา่ น้ำ� หนกั วิชา เท่ากับ 1 หนว่ ยกติ (นก.) 2. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4-6) ให้จัดเวลาเรียน เป็นรายภาคคิดน้�ำหนักของรายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ 40 ช่ัวโมง ต่อภาคเรยี น มีคา่ น�ำ้ หนกั วิชาเทา่ กบั 1 หน่วยกิต โรงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ทู ศิ เบญจมราชาลยั 45

ระเบียบสถานศึกษา ว่าด้วยการวดั และประเมนิ ผลการเรยี น โรงเรยี นนวมนิ ทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย พุทธศกั ราช 2560 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช 2559) โดยท่ีกระทรวงศึกษาธกิ าร ไดป้ ระกาศใชห้ ลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ตามคำ� สงั่ กระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ 293/2551 ลงวนั ท่ี 11 กรกฎาคม 2551 เรื่องใหใ้ ชห้ ลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานพุทธศกั ราช 2551 จึงเป็นการสมควรที่จะก�ำหนดระเบียบโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกับคำ� ส่งั ดงั กล่าว ฉะนน้ั อาศัยอำ� นาจตามความในมาตรา 39 แห่ง ระเบยี บพระราชบญั ญัติ บรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2546 และ กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรวิชาการของสถานศึกษาโดยความเห็นชอบของคณะ กรรมการบริหารโรงเรยี น จงึ วางระเบยี บไว้ ดังตอ่ ไปน้ี ข้อ 1 ระเบยี บน้ีเรียกวา่ “ระเบยี บโรงเรียนนวมินทราชินูทศิ เบญจมราชาลัย” ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย พทุ ธศกั ราช 2552 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ในระเบียบนี้ค�ำว่า “สถานศึกษา” หมายถึง โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย ค�ำว่า “ผู้เรียน” หมายถึง ผู้ท่ีขึ้นทะเบียนเป็นนักเรียนโรงเรียน นวมนิ ทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย ขอ้ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บงั คับตงั้ แต่ ปกี ารศกึ ษา 2562 เปน็ ต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบ ข้อบังคับ หรือค�ำสั่งอื่นใด ในส่วนท่ีโรงเรียน นวมินทราชนิ ูทศิ เบญจมราชาลยั ก�ำหนดไว้ หรือซ่ึงขดั แยง้ กับระเบียบนี้ ใหใ้ ช้ ระเบียบนีแ้ ทน 46 ค่มู ือนักเรยี นและผปู้ กครอง ปกี ารศกึ ษา 2564

ขอ้ 4 ให้ใช้ระเบียบน้ีควบคู่กับหลักสูตรของ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย พทุ ธศักราช 2560 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ขอ้ 5 ให้คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานและคณะกรรมการวิชาการ ของโรงเรียนนวมนิ ทราชินทู ศิ เบญจมราชาลัย ดำ� เนนิ การบริหารหลกั สตู รใหเ้ ปน็ ไป ตามระเบยี บนี้ หมวดท่ี 1 หลักการในการประเมินผลการเรียน ข้อ 6 การประเมนิ ผลการเรยี นให้เป็นไปตามหลักการต่อไปนี้ 6.1 สถานศึกษามีหน้าท่ีประเมินผลการเรียน โดยความเห็นชอบ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย ในเรื่องของเกณฑแ์ ละแนวด�ำเนินการเกีย่ วกบั การประเมินผลการเรียน 6.2 ประเมินผลการเรยี นเปน็ รายวชิ า โดยคดิ เปน็ หน่วยกติ การคิด จ�ำนวนหน่วยกิตให้ถือปฏิบัติตามที่ก�ำหนดไว้ในหลักสูตร โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย พุทธศักราช 2560 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 6.3 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ให้สอดคล้องและครอบคลุม มาตรฐาน การเรียนร/ู้ ตวั ช้วี ัด ตามกล่มุ สาระการเรียนรทู้ ี่ก�ำหนดในหลักสูตรและ จัดให้มีการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตลอดจนกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 6.4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการ จัดการเรียนการสอน ต้องด�ำเนนิ การด้วยเทคนิควิธีการท่ีหลากหลาย เพอื่ ให้สามารถ วัดและประเมินผลผู้เรียนได้อย่างรอบด้านท้ังด้านความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกับส่งิ ที่ตอ้ งการวดั ธรรมชาตวิ ชิ า และระดับชั้น ของผู้เรียน โดยต้ังอยู่บนพื้นฐานความเที่ยงตรง ยุติธรรมและเชื่อถือได้ และให้ เป็นไปตามหลักการและทฤษฎีการวดั และประเมินผล โรงเรียนนวมนิ ทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย 47

6.5 การประเมนิ ผลการเรียนรู้ มจี ดุ มงุ่ หมายเพอ่ื ปรับปรงุ พัฒนาผ้เู รียน พัฒนาการจัดการเรยี นรู้ และตัดสินผลการเรียน 6.6 เปิดโอกาสให้ผเู้ รียนและผูม้ สี ว่ นเก่ยี วขอ้ งตรวจสอบผลการเรียนรู้ 6.7 ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนระหว่างสถานศึกษาและรูปแบบ การศึกษาตา่ ง ๆ 6.8 ให้สถานศึกษาจัดทำ� เอกสารหลักฐานการศกึ ษา เพือ่ เป็นหลกั ฐาน การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ รายงานผลการเรยี น แสดงวุฒกิ ารศกึ ษาและรับรองผล การเรียนของผู้เรยี น หมวดที่ 2 วิธีการประเมนิ ผลการเรียน ข้อ 7 การประเมินผลเพื่อปรบั ปรงุ การเรียนให้ถอื ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี 7.1 แจ้งให้ผู้เรยี นทราบตวั ชวี้ ัด วิธกี ารประเมินผลการเรยี น เกณฑ์ขั้นต�ำ่ ของการผา่ นรายวิชา 7.2 ตัวชี้วัดรายวิชาจะต้องครอบคลุมพฤติกรรมด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการคุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นยิ มอนั พึงประสงคต์ ามหลักสตู รของโรงเรียน นวมนิ ทราชนิ ูทิศ เบญจมราชาลยั พทุ ธศักราช 2552 7.3 การประเมินผลก่อนเรียน เพ่ือศึกษาความรู้พื้นฐานของผู้เรียน ซงึ่ เปน็ หนา้ ทขี่ องครูผสู้ อนทกุ รายวชิ าทต่ี ้องท�ำการส�ำรวจ เพอ่ื น�ำไปเปน็ ข้อมลู ในการ จดั กระบวนการเรยี นการสอนให้สอดคล้องกบั พืน้ ฐานของนกั เรียนแต่ละคน 7.4 วัดและประเมินผลระหว่างภาคเรียน เพ่ือศึกษาผลการเรียน การจัดการสอนซ่อมเสริมและการน�ำคะแนนจากการวัดและประเมินผลไปรวมกับ การวัดผลปลายภาคเรยี น โดยวดั และประเมินผลตามตัวชวี้ ดั และประเมินผลระหวา่ ง ภาคเรยี น ประกอบด้วย 7.4.1 วัดและประเมินผลระหว่างเรียน เป็นระยะๆ โดยให้ สถานศึกษาเป็นผกู้ ำ� หนดตวั ชี้วัด 7.4.2 วดั และประเมนิ ผลกลางภาคเรยี นอย่างนอ้ ย 1 ครงั้ โดย ให้สถานศึกษาเป็นผู้กำ� หนดตวั ช้ีวัด 48 คมู่ อื นักเรยี นและผ้ปู กครอง ปกี ารศกึ ษา 2564


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook