Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานนำเสนอไม่มีชื่อ

งานนำเสนอไม่มีชื่อ

Published by Thanawat Saijit, 2022-11-16 07:27:35

Description: Ebook เรื่องฮาร์ตเเวร์ หน่วยประมวณผลกลางหน้า111เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้วิชาวิทยาการคำนวณและมัลติมีเดีย เสนอครูสุนทร และครูเอกศักดิ์

Search

Read the Text Version

e-beo-obkook เรื่องฮาร์ตเเวร์ หน่วยประมวณผลกลางหนา้ 111 จดั ทาํ โดย ด.ช.ธนวฒั น์ ใสจิต ม.2/10 รหสั การเรียน21029 ด.ช.สุรยทุ ทธ์ แดงสาย ม.2/10 รหสั การเรียน21028

ฮารด เเวร ฮารด แวรท่ีสาํ คัญในหนว ยประมวลผลกลาง คือ ไมโครโพรเซสเซอร หนวยประมวลผลกลาง ประกอบดวยสว นสําคัญ 2 สว น คอื หนวยควบคุม (ControlUnit) ทาํ หนา ทีค่ วบคมุ การทํางาน ของอุปกรณตางๆในระบบท้งั หมด ใหทํางาน อยางถูกตอ ง หนว ยคํานวณ (Arithmetic Logic Unit) ทาํ หนาท่ีประมวลผลขอ มลู ทางคณิตศาสตรและทางตรรกะ

หนว ยประมวลผลกลาง หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) เปนอุปกรณท ท่ี ําหนาท่ใี นการ ประมวลผลขอมูลในเครือ่ งคอมพวิ เตอร เรียกยอ ๆวา ซีพยี ู ในซีพยี ทู ําหนา ท่ีหลักในการ ควบคุมการทาํ งานของคอมพิวเตอร (Control Unit) ทั้งหมด และทําหนา ทีใ่ นการคาํ นวณตาม คําสง่ั คณติ ศาสตร และการทาํ งานตามลอจิกของคําส่งั จากโปรแกรม หรอื จากอุปกรณใดๆ ของเคร่อื งคอมพวิ เตอร (Arithmetic Logic Unit: ALU)

หนวยประมวลผลกลาง การทาํ งานของซพี ยี ูใชห ลักการเก็บคาํ สง่ั ไวที่ หนว ยความจาํ ซีพียูทาํ การอา นคาํ ส่ังจาก หนว ยความจาํ หลังจากนัน้ จะแปลความหมาย และกระทําตามเรียงกนั ไปทีละคาํ ส่งั หนาที่ หลักของซีพียู คือควบคุมการทํางานของคอมพวิ เตอรท้งั ระบบ ความสามารถในการประมวล ผล (Processing Power) นนั้ ขึน้ อยูกับชนดิ หรอื รนุ ของซพี ียู 2.1 หนว ยความจํา (Storage Unit) ทําหนา ทใ่ี นการเกบ็ คําส่ังหรอื ขอ มลู ตา งๆที่ไดร บั จากอปุ กรณนําเขาขอมูล เชน แปนพิมพ เมาส กลองถา ยภาพ เครื่องสแกน จากนน้ั มาเกบ็ ไว เพื่อรอการประมวลผล และทาํ หนา ทเ่ี ก็บผลลัพธทไี่ ดจ ากการประมวลผล เพ่ือนําไปแสดงออก ทางอุปกรณส งออกขอมลู เชน ทางจอภาพ เคร่อื งพิมพ ลาํ โพง หนวยความจาํ สามารถแบง ได 2 ประเภท

หนว ยประมวลผลกลาง (1) นันโวลันไทล (Nonvolatile Memory) คือ หนวยความจาํ ทีข่ อ มูลไมถ กู ลบหายไป เม่ือ ทําการปด เครือ่ ง หรือไมม ไี ฟเลย้ี ง เปน หนว ยความจาํ ถาวร เปน ขอมูลหรอื โปรแกรมพืน้ ฐานที่ สําคัญ ในการเรม่ิ ทํางานของระบบคอมพิวเตอร ไดแ ก หนว ยความจําประเภทรอม (Rom)

หนว ยประมวลผลกลาง (2) โวลนั ไทล (Volatile Memory) คือ หนว ยความจําทีข่ อ มลู จะถกู ลบหรอื หายไปเมอ่ื ทาํ การปด เครอื่ งคอมพิวเตอร หรือหายไปเมื่อไมมีไฟเล้ียง ไดแก หนว ยความจําประเภทแรม (RAM)

หนวยประมวลผลกลาง 2.2 หนวยความจํา(Storage Unit) แบง ตามลกั ษณะการใชง าน (1) แรม (Random Access Memory: RAM) เปน หนว ยความจําที่เขยี นหรืออา นขอ มูลได เปนหนวยความจาํ หลกั หนว ยความจําชนิดนี้ อนญุ าตใหเขียนและอานขอมลู ไดในตําแหนง ตางๆ อยางอิสระ และรวดเร็ว การเขียนหรืออานจะเลือกท่ตี าํ แหนงใดก็ได เราเรยี กหนวย ความจําประเภทนี้วา แรม

หนว ยประมวลผลกลาง 2.2 หนว ยความจํา(Storage Unit) แบง ตามลกั ษณะการใชง าน (2) รอม (Read Only Memory: ROM) เปนหนวยความจาํ ท่ซี ีพยี อู านไดอยา งเดยี วไม สามารถเขยี นลงไปได เปน หนว ยความจาํ แบบสารกึ่งตวั นาํ ชว่ั คราวชนิดอา นได อยา งเดยี ว ไมสามารถบนั ทกึ ซา้ํ ได เปนหนวยความจาํ ทีม่ ซี อฟตแวรห รือขอ มูลอยแู ลว เม่อื เปดเครอ่ื งใหม ขอมลู ในรอมกย็ งั อยูเ หมอื นเดมิ

หนวยความจาํ สํารอง (Secondary Storage) (1) เทปแมเ หล็ก (Magnetic Tape) เปน หนว ยเก็บขอมลู ในยคุ แรกๆของ คอมพิวเตอร ปจจบุ ันไดรบั ความนยิ มนอ ยลงเนื่องจากเทคโนโลยที ี่พฒั นาขึ้นทาํ ใหการจดั เก็บ ขอมูลของเทปแมเ หลก็ ไมสามารถใชง านได เทปแมเ หลก็ มีหลกั การการทํางานคลา ยคลึงกับเทป บันทกึ เสียง แตเปลยี่ นจากการเลน (Play) และบันทึก (Record) เปนการอา น (Read) และเขยี น (Write) แทน มีการจดั เกบ็ และเรยี กคนขอ มูลแบบเปน ลําดับ เพราะฉะน้นั การเขาถงึ ก็จะเปน แบบ การเขาถงึ โดยลาํ ดบั (sequential access) แตกตางจากการเขาถึงขอ มูลท่อี ยใู นฮารด ดิสก (Hard disk)

หนว ยความจําสาํ รอง (Secondary Storage) (2) จานแมเ หลก็ (Magnetic Disk) สามารถเก็บขอ มลู ไดเ ปนจาํ นวนมาก และมีคณุ สมบัติในการ เขาถงึ ขอ มลู โดยตรง (Direct access) ไมตองอา นไปตามลําดับ เทปจานแมเหลก็ จะตอ งใชค วบคู กับตวั ขับจานแมเหลก็ หรือ ดิสกไดรฟ (Disk drive) ซ่งึ เปน อปุ กรณสําหรับอา นจานแมเ หล็ก มีหนา ทีค่ ลายกับเครื่องเลนเทปจานแมเ หล็กเปน สอื่ ทีใ่ ชห ลักการของการเขาถึงขอมูลแบบสมุ (Random-access)

คยี บอรด หรือ แปนพมิ พ (ศพั ทบ ัญญตั ใิ ชว า แผงแปน อกั ขระ) เปนอุปกรณคอมพวิ เตอรท่ที ุกเครือ่ งจําเปนตองมี เปน อปุ กรณหลกั ทใี่ ชใ นการนําขอมลู ลงในเคร่ืองคอมพวิ เตอร โดยปกติมกั จะมีลักษณะเปนสเ่ี หลี่ยมผืนผา หรอื ใกลเคียง มแี ปนตา งๆ ประมาณรอยแปน อยูบนคียบอรด (ขนึ้ อยูกบั ผงั แปน พมิ พ) ซงึ่ ถอดแบบมาจากเครอ่ื ง พมิ พดีด ออกแบบมาเพอ่ื ใชสําหรับรบั ขอมูลทเ่ี ปน ตัวอักขระ แลว ทําการเปล่ียนเปน รหสั 7 หรือ 8 บติ จากนน้ั จงึ สง ใหคอมพวิ เตอรป ระมวลผล หรือใชค วบคมุ ฟง กช นั การทํางานบางอยา งของคอมพวิ เตอร และเพ่อื ใหก ารปอน ขอ มูลที่เปนอกั ขระและตัวเลขทาํ ไดงายและสะดวกข้ึน คยี บ อรด จงึ แยกแผงทเ่ี ปนแปนอกั ขระกับแปนตัวเลขแยก ไวต า งหาก ประวตั ิ คียบอรดของไมโครคอมพวิ เตอรต ระกูล IBM ในรนุ แรกๆ ประมาณป ค.ศ.1981 มีปุมทัง้ หมด 83 ปุม ซงึ่ มชี ื่อเรยี ก วา คียบ อรด PC/XT และในป ค.ศ. 1984 กไ็ ด เพิม่ จํานวนปุมข้ึนเปน 84 ปุมมชี ่อื เรยี กวา คียบอรด PC/AT ตอ จากนนั้ กไ็ ด พัฒนาข้ึนมาเร่อื ยๆ ตามความตองการของผใู ชเ รยี กวา คียบ อรด AT และพัฒนามาเปน รนุ PS/2 โดยมีแปนพมิ พเพ่ิมข้นึ อีก 17 ปุมรวมแลว ก็เปน 101 ปมุ

จอคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์แสดงผล สามารถแบ่งไดห้ ลายรูปแบบ จอภาพ เป็น อุปกรณ์ท่ีรับสญั ญาณจากการ์ดแสดงผล มาแสดงเป็นภาพบน จอภาพ การที่ผใู้ ช้ มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ปรากฏบนจอภาพไดน้ ้นั เป็นเพราะฮาร์ดแวร์อีกตวั หน่ึง ที่ทาํ งาน ควบคู่กบั จอภาพเรียกวา่ การ์ดสาํ หรับแสดงผลจอภาพ

เมาส (อังกฤษ: Mouse) คืออุปกรณท ่ีใชใ นการควบคุมตวั ช้ีบนจอคอมพวิ เตอร (pointing device) เปน อปุ กรณสาํ คญั ในการใชงานคอมพวิ เตอรช้ินหนงึ่ ซ่ึงปจ จบุ นั ถกู ออกแบบมาใหม รี ูปราง ลักษณะ สสี นั ตางๆ กัน บางรนุ มไี ฟประดับใหสวยงาม เพอื่ ใหเ มาะสมกบั การใชง านในแตล ะประเภทและความช่นื ชอบของผใู ช เชนมีขนาดเลก็ มีสว นโคงและสวนเวาเขา กบั องุ มือของผูใช มรี ูปรา งสสี ันแปลกตาไปจากรุน ท่ัวๆไป หรอื เปน รูปตวั การตนู และลา สดุ ไดมีการพัฒนา เมาสอากาศ (Air Mouse) ซง่ึ สามารถใชง านเมาสโดยถอื ขน้ึ มาเอียง ไปมาในอากาศโดยไมจาํ เปนตองใชแ ผนรอง กส็ ามารถควบคมุ ตวั ช้ไี ดเ ชน กนั การทาํ งานของเมาส ภายในตวั เมาสจะมีอุปกรณสาํ หรบั ตรวจจับตาํ แหนง การเคลื่อนไหวของลกู กลิง้ ยาง (สาํ หรบั รนุ เกา)หรอื อุปกรณต รวจจับการเปล่ียนแปลงของแสง (ในเมาสทใี่ ชแอลอดี ีหรือเลเซอรเปนแหลง กําเนิดแสง) โดยตวั ตรวจจับจะสง สัญญาณไปที่คอมพวิ เตอรเ พื่อแสดงผลของตวั ช้บี นหนา จอคอมพิวเตอร

ลาํ โพงหรือดอกลาํ โพง ( loudspeaker, speaker) ส่วนใหญ่จะใชเ้ รียกรวมไปถึงดอกลาํ โพงหรือตวั ขบั (driver) ซ่ึงลาํ โพงจดั เป็นตวั แปลงข้วั กระแสไฟฟ้ า จะเกิดเสียงไดก้ ต็ ่อเมื่อ มีการป้ อนสญั ญาณไฟฟ้ าใหก้ บั ขดลวด หรือมีการนาํ ลาํ โพงไปต่อกบั เครื่องขยายสญั ญาณเสียง จึงทาํ ใหเ้ กิดการส่งสญั ญาณของเสียงออกมา ท่ีลCซาํ โพีeพnียงtู จr(นCalเPกPิดUrเป)o็ นหcคeรลือsื่นsไเiสมnียโgงคขUร้ึนโnมปiาtรเเซรซียงึ่ สกหเไซมดาอว้ ยรา่ ลค (าํวMโาพiมcงวเrปาo็ นเpปสrน ่oวหนcนสeาํวsคยsญั ปoทรr)่ีสะมุนดวขัน้ ลอยผงเอลคมรกื่อาลงจาเาสงกียซงคเ่งึ าํลเวยปการว็ ยี า่ บได้ เพราะ หนเา้ สทม่ีสอื าํ นคญัสมสุอดงขของอลงาํคโอพมงคพือิวเเปตลอ่ียรนใสนญักญาราทณําทหางนไา ฟทฟตี่้ าัดทสี่ไดินม้ ใาจจหากรเือคคร่ือาํ งนขวยณายเจป็านกสคญั ําญสาง่ั ณทเี่ไสดียรงแบั ละขบั ออกมมาาถใหอื เ้เรปานไดหย้ ัวนิ ใกจนั หนล้นั กั เอใงนการประมวลผลของคอมพิวเตอร โดยพนื้ ฐานแลว ซีพียทู าํ หนา ท่ปี ระมวลผลขอ มูลทางคณิตศาสตรแ ละขอมูลเชิงตรรกะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook