Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 11 การสอบบัญชีภาษีอากร

หน่วยที่ 11 การสอบบัญชีภาษีอากร

Published by Patumwadee Sophathorn, 2020-01-03 05:46:40

Description: หน่วยที่ 11 การสอบบัญชีภาษีอากร

Search

Read the Text Version

หนวยท่ี 11 การสอบบัญชีภาษีอากร สาระการเรยี นรู 1.ความรูท ัว่ ไปเกีย่ วกบั การสอบบัญชภี าษีอากร 2. มาตรฐานการปฏิบัตงิ านของผสู อบบญั ชภี าษีอากร 3. การจดั ทําแนวทางการสอบบัญชีของผูสอบบัญชีภาษอี ากร 4. หลักฐานการตรวจสอบและรบั รองบัญชี 5. การจัดทาํ กระดาษทาํ การของผูสอบบญั ชีภาษอี ากร 6. การทดสอบรายการทางบัญชแี ละภาษีอากร 7. จรรยาบรรณของผสู อบบัญชีภาษีอากร 8. การรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี สาระการเรียนรู 1.บอกความรูทั่วไปเก่ยี วกบั การสอบบญั ชภี าษอี ากรได 2. อธิบายมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านของผสู อบบัญชีภาษอี ากรได 3. อธิบายการจดั ทําแนวทางการสอบบญั ชขี องผูสอบบญั ชภี าษอี ากรได 4. อธิบายหลักฐานการตรวจสอบและรบั รองบัญชีได 5. อธิบายการจัดทํากระดาษทําการของผูสอบบัญชภี าษีอากรได 6. อธบิ ายการทดสอบรายการทางบัญชีและภาษีอากรได 7. อธบิ ายจรรยาบรรณของผูสอบบัญชภี าษอี ากรได 8. อธบิ ายการรายงานการตรวจสอบและรบั รองบญั ชีได สาระสาํ คัญ จากขอกําหนดของมาตรา 11 วรรค 4 แหง พระราชบัญญัตกิ ารบญั ชี พ.ศ. 2543 ยกเวน การสอบบัญชี ในหางหุนสวนจดทะเบียนไมเกนิ 5 ลา นบาท และสินทรพั ยร วมไมเกนิ 30 ลานบาทหรือท่ีเรยี กวา หางหุนสวน จดทะเบียนขนาดเล็ก ทําใหงบการเงินของหางหุนสวนขนาดเล็ก ไมตองผานการตรวจสอบจากผูสอบบัญชี รับอนุญาต ดังน้ัน เพ่ือประโยชนแหงการจัดเก็บภาษีอากร กรมสรรพากรตองดําเนินการจัดการผูสอบบัญชี ภาษีอากรเพื่อตรวจสอบและรับรองบัญชีของหางฟหุนสวนจดทะเบียนขนาดเล็กดังกลาว เพ่ือใหเปนไปตาม มาตรา 69 แหง ประมวลรษั ฎากร

1. ความรูท ั่วไปเกยี่ วกบั บัญชภี าษอี ากร ตามที่พระราชบญั ญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ไดย กเวนการสอบบัญชีในหางหุนสว น จดทะเบยี นท่ีมีทุน จดทะเบยี นไมเกนิ 5 ลานบาท และสินทรัพยรวมไมเ กิน 30 ลานบาท และรายไดร วมไมเ กิน 30 ลานบาท หรือ ที่เรียกวาหางหุนสวนจดทะเบียนขนาดเล็ก สงผลใหงบการเงินของหางหุนสวนขนาดเล็ก ไมตองผานการ ตรวจสอบจากผูสอบบญั ชีรับอนญุ าต ทําใหก รมสรรพากรมีแนวคิดเกี่ยวกบั ผสู อบบญั ชีภาษีอากร เพือ่ ทําหนาที่ ตรวจสอบและรับรองบัญชีหางหุนสวนจดทะเบียนขนาดเล็กและเพื่อประโยชนในการจัดเก็บภาษีอากร กรมสรรพากรจึงไดดําเนินการจัดหาผูสอบบัญชีภาษีอากร เพ่ือตรวจสอบและรับรองบัญชีของหางหุนสวน จดทะเบียนขนาดเล็กดังกลาว เพื่อใหเปนไปตามมาตรา 69 แหงประมวลรัษฎากร ในพ.ศ. 2544 อธิบดีกรมสรรพากรจงึ ไดอ อกประกาศ เรอ่ื งกําหนดระเบยี บเก่ียวกบั การตรวจสอบและรบั รองบญั ชีตามมาตรา 3 สัตต แหงประมวลรัษฎากร กําหนดคุณสมบัติและระเบียบปฏิบัติสําหรับบุคคลท่ีตรวจสอบรับรองบัญชี บริษัทและหางหุนสวนนิติบุคคลไววา ผูตรวจสอบและรับรองบัญชี ไดแก ผูสอบบัญชีรับอนุญาตหรือผูสอบ บญั ชีภาษีอากร ผูสอบบัญชีรับอนุญาต (Certified Public Accountant : CPA) ตองปฏิบัติงานตามมาตรฐานที่กําหนด โดยกฎหมาย หรือองคกรวิชาชพี บัญชีสําหรับการตรวจสอบและรับรองบัญชี บริษทั และหางหนุ สวนนิติบุคคล ขนาดใหญท่ีทุนจดทะเบยี นเกิน 5 ลา นบาท สินทรัพยร วมเกิน 30 ลานบาท และรายไดร วมเกิน 30 ลานบาท สวนการตรวจสอบและรับรองบัญชีหางหุนสวนจดทะเบียนขนาดเล็กที่มีทุนจดทะเบียนไมเกิน 5 ลานบาท สินทรัพยรวมไมเกิน 30 ลานบาท และรายไดรวมไมเกิน 30 ลานบาท ใหผูสอบบัญชีรับอนุญาตปฏิบัติตาม หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนดเชนเดียวดับผูสอบบัญชีภาษีอากร ในเรื่อง มรรยาท การปฏิบัติงาน การรายงานและบทลงโทษ ผูสอบบัญชีภาษีอากร (Tax Auditor : TA) ตองปฏิบัติตามหลักเกณฑวิธีการ และเง่ือนไขที่อธิบดี กรมสรรพากรกําหนด ผูสอบบัญชีภาษีอากรสามารถตรวจสอบไดเฉพาะงบการเงินของหางหุนสวนนิติบุคคล ขนาดเล็ก ซ่ึงตามพระราชบัญญตั ิ พ.ศ. 2543 งบการเงินดังกลาวไมตองไดรับการตรวจสอบบัญชีรับอนุญาต ผูสอบบัญชีภาษีอากรสามารถตรวจสอบและรับรองบัญชีไดเฉพาะหางหุนสวนจดทะเบียนท่ีจัดต้ังขึ้น ตามกฎหมายไทยที่ไดร ับยกเวน ไมตอ งจัดใหงบการเงนิ ไดรับการตรวจสอบและแสดงความเหน็ โดยผสู อบบัญชี รับอนญุ าตโดยมที นุ สนิ ทรัพยและรายได ทกุ รายการไมเกนิ จํานวนทก่ี ําหนดไวต ามกฎกระทรวง ดังนี้ (1) ทนุ 5 ลา นบาท (2) สินทรพั ยรวม 30 ลา นบาท (3) รายไดรวม 30 ลา นบาท กรณหี างหุนสว นจดทะเบียนที่ตัง้ ขึ้นตามกฎหมายไทยที่มีทนุ สนิ ทรพั ย และรายไดตามเงือ่ นไขขางตน มีการแจง เลกิ กิจการ ผูสอบบญั ชภี าษีอากรไมม สี ิทธิตรวจและรบั รองงบการเงนิ ที่แจง เลิก

คุณสมบตั ิผูสอบบญั ชภี าษอี ากร 1. สําเร็จการศึกษาไมต่ํากวาปริญญาตรีทางการบัญชี หรือประกาศนียบัตรทางการบัญชีซึ่งสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา และสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือนรับรองเทียบเทาไมตํ่ากวา ปริญญาดังกลาว 2. มอี ายุไมต ํ่ากวายีส่ บิ ปบริบูรณ 3. มสี ัญชาติไทย หรือมีเชือ้ ชาตขิ องประเทศทยี่ นิ ยอมใหบ คุ คลสัญชาตไิ ทยเปน ผสู อบบญั ชใี นประเทศน้นั ได 4. ไมเ ปนผูมคี วามประพฤติเสอื่ มเสยี หรือบกพรอ งในธรรมอันดี 5. ไมเคยตองคุกในคดเี ก่ียวกบั ภาษีอากรหรือคดีอ่ืนตามที่อธิบดีกรมสรรพากรเห็นวาอาจนํามาซ่ึงความเส่ือม เสียเกียรตศิ กั ด์แิ หงความเปน ผสู อบบัญชีภาษีอากร 6. ไมเ ปน บคุ คลวิกลจรติ หรอื จติ ฟน เฟอนไมสมประกอบ 7. ไมเปน ผตู รวจสอบและรับรองบัญชีทอี่ ยาระหวางถกู สัง่ พักหรือถกู เพกิ ถอนใบอนญุ าต 8. ตองผา นการทดสอบตามทอ่ี ธบิ ดกี รมสรรพากรกําหนด 3 วชิ า คอื วิชาการบัญชี วชิ าการสอบบัญชี และวิชา ความรเู กี่ยวกับประมวลลรษั ฎากร และประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ในสวนท่ีเกี่ยวของกับหางหุนสวน นติ ิบุคคลที่ตั้งขนึ้ ตามกฎหมายไทย โดยเกณฑก ารผานการทดสอบ คอื รอยละ หนาทข่ี องผสู อบบญั ชภี าษอี ากร กรมสรรพากรไดก าํ หนดหนาท่ีของผสู อบบัญชีภาษีอากรตองปฏิบตั ิงานตามการตรวจสอบและรบั รองบัญชีดังนี้ 1. แจง รายชอื่ ชื่อกิจการที่ตรวจสอบและรับรองบญั ชโี ดยการยนื่ แบบ บภ.07 และแบบ บภ.08 2. ปฏบิ ตั ิงานตามมาตรฐานการปฏิบตั งิ านตามทก่ี รมสรรพากรกาํ หนด 3. การรายงานการตรวจสอบและรับรองบญั ชี 4. การรกั ษาจรรยาบรรณ 5. การอบรมทางดานกฎหมายภาษีอากรและความรูอ่ืนท่ีเก่ียวของกับวิชาชีพผูสอบบัญชีภาษีอากร 9 ชัว่ โมง การยนื่ แบบแจงชอ่ื กจิ การทตี่ รวจสอบ ในการปฏิบัติงานตรวจสอบและรับรอง ผสู อบภาษีอากรตองแจงรายชอ่ื กิจการท่ีตรวจสอบและรับรอง บัญชีโดยการยืน่ แบบ บภ.07 และแบบ บภ.08 แบบ บภ.07 คือ แบบแจงจํานวนและรายชื่อหางหุนสวนนิติบุคคลท่ีตรวจสอบและรับรองบัญชีและ ลงลายมือชื่อ แบบ บภ.08 คือ แบบแจงการเปลีย่ นแปลงจํานวนและรายชือ่ หา งหนุ สวนนิตบิ คุ คลทผ่ี ูต รวจสอบและ รบั รองบัญชีจะลงลายมอื ชอ่ื รับรอง

กาํ หนดเวลาการยนื่ แบบ ผูสอบบัญชีภาษีอากรจะตอ งย่ืนแบบ บภ.07 ภายในวันท่ี 30 มิถุนายนของทุกป โดยตอ งแจงกอนปที่ จะลงลายมือช่ือรับรองไมวาจะมีหรือไมมีการลงลายมือช่ือรับรองการตรวจสอบรับรองบัญชี และตองแนบ หนังสือตอบรบั งานตรวจสอบและรบั รองบญั ชีท่มี ขี อ ความไมน อ ยกวาทอ่ี ธิบดีกําหนด ในปแรกที่ไดรับอนุญาตจากอธิบดีใหเปน ผูสอบบัญชีภาษีอากร ผูสอบบัญชีภาษีอากรจะตองย่ืนแบบ บภ.07 จํานวน 2 ฉบับ ตามปปฏิบัติงาน ภายในวันท่ี 30 มิถุนายน หรือภายใน 60 วัน นับแตวันที่ไดรับ อนุญาตจากอธิบดี แลวแตกรณี ท้ังนี้ไมวาจะมีการลงลายมือชื่อหรือไมมีการลงลายมือชื่อและในปตอ ๆ ไป ผูส อบบญั ชีภาษอี ากรจะตองยื่นแบบ บภ.07 ภายในวนั ที่ 30 มิถนุ ายนของทุกป กรณที ี่มีการเปล่ยี นแปลงจาํ นวนและรายชือ่ หา งหุนสว นนิตบิ ุคคลทไี่ ดแ จงไว ใหแ จงการเปล่ียนแปลง ตอ อธิบดตี ามแบบ บภ.08 ภายในวนั ท่ี 5 ของเดือนถัดจากเดือนทม่ี กี ารเปลี่ยนแปลงน้นั ทงั้ น้ตี องแจงกอ นวนั ท่ี ลงลายมือชื่อรบั รองการตรวจสอบและรับรองบัญชี การอบรมทางดานกฎหมายภาษีอากรและความรอู ่นื ทเี่ กย่ี วของกบั วชิ าชพี ผสู อบบญั ชภี าษอี ากร ผูสอบบัญชีภาษีอากรตองเขารับการอบรมทางดานกฎหมายภาษีอากรและความรูอ่ืนท่ีเกี่ยวของ กับวิชาชีพผูสอบบัญชีภาษีอากร จากองคกรวิชาชีพบัญชีหรือหนวยงานที่อธิบดีใหความเห็นชอบในการจัด อบรมแกผูสอบบัญชีภาษีกากร ไมนอยกวา 9 ชั่วโมงตอป และแจงการเขารับการอบรมตออธิบดีตามแบบที่ อธิบดีกําหนดภายใน 1 เดือนนับแตวันท่ีใบอนุญาตมีอายุครบทุก 1 ป สําหรับปสุดทายท่ีใบอนุญาตสิ้นอายุ ใหแ จงพรอมการยื่นคาํ ขอตอ อายใุ บอนุญาต หลักสูตรที่จะเนนอบรมตองมีเน้ือหาหลักสูตร ขอบเขตวิชา ครอบคลุมกฎหมายหลักในประมวล รัษฎากร และมงุ เนน เนือ้ หาท่ีมีการเปลี่ยนแปลงในแตละป ระยะเวลาในการจดั อบรม ดังน้ี หัวขอกฎหมายภาษอี ากร - ภาษเี งนิ ไดนติ บิ คุ คล 3 ช่วั โมง - ภาษมี ลู คา เพ่ิม 3 ชั่วโมง - ภาษธี รุ กิจเฉพาะ ภาษีเงินไดห กั ณ ท่ีจา ย และกฎหมาย ระเบียบขอ บงั คับอ่นื ๆ 3 ชั่วโมง หัวขอความรูอื่นท่ีเกย่ี วของกับวชิ าชีพผูสอบบัญชีภาษอี ากร 3 ชั่วโมง กรณมี เี หตุจาํ เปนไมสามารถเขา รับการอบรมตามท่ีอธบิ ดกี ําหนดได ใหย ื่นคาํ ขอผอ นผันการเขารบั การ อบรมตออธิบดีตามแบบที่อธิบดีกําหนด ภายใน 1 เดือนนับแตวันท่ีใบอนุญาตมีอายุครบทุก 1 ป สําหรับป สุดทายที่ใบอนุญาตสิ้นอายุจะไมพิจารณาผอนผันใหผูสอบบัญชีภาษีอากรที่ไมไดเขารับการอบรมหรือเขารับ การอบรมนอยกวา 9 ชั่วโมงตอป อธิบดีอาจพิจารณาพักใบอนุญาตการเปนผูสอบบัญชีภาษีอากรเปนการ ชั่วคราวจนกวาผูน้ันจะไดเขารับการอบรมตามที่กําหนด และแจงการเขารับการอบรมดังกลาวตออธิบดี

การพักใบอนญุ าตเปนการชวั่ คราวมิไดท ําใหอ ายุของใบอนญุ าตสะดุดหยดุ ลง ใบอนญุ าตยังคงมีอายุ 5 ปนับแต วันท่อี อกใบอนญุ าต 2. มาตรฐานการปฏิบัติงานของผสู อบบัญชภี าษอี ากร กรมสรรพากรไดออกประกาศอธิบดีกรมสรรพากร กําหนดแนวทางการปฏิบัติงานมาตรฐาน การปฏิบัตงิ านตรวจสอบและรับรองบญั ชีของผูสอบบัญชีภาษอี ากร ไวดงั ตอไปน้ี 1. จัดทําแนวทางการสอบบัญชีและตองเก็บไวเปนหลักฐานสําหรับงานที่รับตรวจสอบเพ่ือใหทราบถึงวิธีการ ปฏิบตั งิ านตรวจสอบ 2. จดั ทํากระดาษทาํ การ เพ่ือบันทึกและสรุปการตรวจสอบพรอ มขอ เสนอแนะท่ีตรวจพบและตองเก็บไวเปน หลักฐาน 3. ทดสอบความถูกตอ งของงบการเงนิ บญั ชี และเอกสารประกอบการลงบญั ชี 4. ทดสอบการบนั ทกึ บัญชตี ามหลกั การบัญชีทร่ี บั รองท่ัวไป 5. ตรวจสอบความถกู ตองในสวนทีเ่ ปนสาระสาํ คัญทางดา นภาษีอากร 6. ตรวจสอบการปรบั ปรุบกําไรสทุ ธ/ิ ขาดทุนสุทธิทางบญั ชี เปน กําไรสทุ ธิ/ขาดทุนสุทธเิ พื่อเสยี ภาษีอากร 7. ตรวจสอบการจัดทําบญั ชพี เิ ศษ 8. เปดเผยขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญของบัญชี และตองแจงพฤติกรรมไวในรายงานการตรวจสอบและ รับรองบัญชี ในกรณีท่ีพบหางหุนสวนนิติบุคคลขนาดเล็กมีพฤติกรรมในการทําเอกสารประกอบการลงบัญชี หรือบันทกึ บญั ชี โดยเห็นวานาจะไมต รงกบั ความเปน จริงอันอาจเปน เหตุใหห างหนุ สว นนิติบคุ คลขนาดเล็กนั้น มติ อ งเสียภาษหี รือเสียภาษนี อ ยลงกวาที่ควรเสีย 3. การจดั ทาํ แนวทางการสอบบัญชีของผูสอบบัญชขี องผูสอบบญั ชีภาษีอากร อธิบดีกรมสรรพากรไดออกคําส่ังกรมสรรพากร ท่ี ท.ป.112/2545 เรื่องกําหนดหลักเกณฑ การปฏิบัติงาน และการรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชขี องผสู อบบญั ชีภาษอี ากรตามมาตรฐาน 3 สตั ต แหง ประมวลรษั ฎากร ลงวันที่ 19 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2548 เรอ่ื งกาํ หนดหลกั เกณฑก ารปฏบิ ัติงาน การรายงาน การตรวจสอบและรับรองบัญชีของผูสอบบัญชีภาษอี ากร ตามมาตรฐาน 3 สัตต แหง ประมวลรษั ฎากร ลงวนั ท่ี 4 มนี าคม พ.ศ. 2548 ไวด ังตอ ไปนี้ ผูสอบบัญชีภาษีอากรตองจัดทําแนวทางการสอบบัญชีสําหรับงานที่รับตรวจสอบไวเปนลายลักษณ อกั ษร เพอ่ื ใหทราบถึงวิธีการปฏิบัติงานตรวจสอบและจดั เก็บไวเ ปน หลักฐาน เนื่องจากแนวทางการสอบบัญชี เปนสวนหน่ึงของการวางแผนการตรวจสอบ ผูสอบบัญชีภาษีอากรจึงตองถือปฏิบัติตามขอกําหนด ของมาตรฐานการสอบบัญชี หมวดรหัส 300-399 เรื่องการวางแผนงานสอบบัญชี ซ่ึงในการจัดทําแนวทาง การสอบบัญชีผูสอบบัญชีภาษีอากรตองพิจารณาการประเมินเฉพาะเร่ืองเกี่ยวกับความเสี่ยงสืบเนื่องและ

ความเสี่ยงจากการควบคุมตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 400 เรื่อง การประเมินความเสี่ยงในการสอบ บญั ชีกับการควบคมุ ภายใน การจัดทําแนวทางการสอบบัญชีเปนสวนหน่ึงของการวางแผนการตรวจสอบ ดังนั้น การจัดทําแนว ทางการสอบบัญชี ผูสอบบัญชีภาษีอากรจึงตองจัดทําแผนงานการสอบบัญชีโดยรวม ซ่ึงจะตองมีความรู เกี่ยวกับธุรกิจของกิจการที่ตรวจสอบอยางเพียงพออยูในระดับท่ีชวยใหสามารถเขาใจในเหตุการณ รายการ และวิธีการปฏิบัติงาน ตลอดจนขอมูลอ่ืน ๆ ที่มีความสําคัญตอการจัดทํางบการเงินโดยจะตองจัดทําแนว ทางการสอบบัญชีเปน ลายลกั ษณอ กั ษรและเก็บไวเปน หลกั ฐาน ประโยชนของแนวทางการสอบบญั ชี 1. แนวทางการสอบบัญชีใชเปนคําส่งั งานแกผชู วยผูสอบบัญชีภาษีอากร แนวทางการสอบบัญชีจึงตองระบุถึง วิธีการตรวจสอบท่ีจะใชเกณฑในการเลือกรายการมาทดสอบ วิธีการเลือกตัวอยางและขนาดของตัวอยาง เพ่อื ใหบ รรลุวตั ถุประสงคข องการตรวจสอบ โดยผูชวยผูส อบบัญชภี าษอี ากรปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบตามวิธที ี่ระบุ ไวในแนวทางการสอบบัญชเี พือ่ ใหไ ดม าซง่ึ หลักฐานท่ตี องการ 2. แนวทางการสอบบัญชีใชในการควบคมุ และบนั ทึกการปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบเพือ่ ใหบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคของ การตรวจสอบ เนอ้ื หาสาํ คัญทีต่ อ งกําหนดไวในแนวทางการสอบบัญชี ผูสอบบญั ชภี าษอี ากรจะตองจดั ทําแนวทางการสอบบญั ชีเปน ลายลกั ษณอ กั ษรและใหม ีรายละเอียด เพยี งพอ ซ่งึ ตองประกอบดว ยเน้อื หาสําคัญ ดังนี้ (1) วตั ถปุ ระสงคข องการตรวจสอบ ผูสอบบัญชีภาษอี ากรตองกาํ หนดวัตถุประสงคของการตรวจสอบในแตล ะ เร่ืองเพ่ือใหไดมาซึ่งหลักฐานประกอบรายการท่ีทําการตรวจสอบวาถูกตองครบถวนเปนจริงและตรงตาม เอกสารประกอบการลงบัญชี รวมถึงการตรวจสอบความถูกตองในสวนที่เปนสาระสําคัญดานภาษีอากร ตามประมวลรษั ฎากร (2) ขอบเขตในการตรวจสอบ ผูสอบบญั ชภี าษอี ากรจะตองกาํ หนดขอบเขตของการตรวจสอบในแตละเรือ่ งไว วาจะทาํ การตรวจสอบเพียงใดเพ่อื ใหบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคข องการตรวจสอบ สําหรบั ขนาดตัวอยาง และวิธกี าร เลือกตวั อยา งทจี่ ะทําใหการตรวจสอบ ผูสอบบัญชีภาษีอากรจะแจงไวใ นแนวทางการสอบบญั ชีนห้ี รอื จะแจงไว ในกระดาษทําการตรวจสอบรายวันน้นั ๆ ได (3) ชวงเวลาในการตรวจสอบและรับรองบัญชี ผูสอบบัญชีภาษีอากรจะตองกําหนดชวงเวลาท่ีเหมาะสม ของการเขาตรวจสอบในแตละเร่ืองเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของการตรวจสอบท่ีไดกําหนดไว ซึ่งการกาํ หนด จงั หวะเวลาดังกลาวขึ้นอยูกับลักษณะและประเภทของธุรกิจที่ตรวจสอบรวมถึงวิธีการตรวจสอบผทู ี่สอบบัญชี ภาษอ ากรใช

(4) วิธีการตรวจสอบแตละเรื่องเพื่อบรรลุวัตถุประสงค ผูสอบบัญชีภาษีอากรจะตองใชดุลพินิจในเชิงวิชาชีพ ในการเลอื กวธิ ีการตรวจสอบท่ีจะใชใ หเ หมาะสมแกก รณี ไดแ ก 1. การวเิ คราะหเปรยี บเทียบ 2. การตรวจนบั 3. การขอยืนยนั จากบคุ คลภายนอก 4. การสงั เกตการณ 5. การตรวจสอบเอกสารหลักฐาน 6. การตรวจสอบการคํานวณ 7. การสอบถาม วิธีการตรวจสอบที่ผูสอบบัญชีภาษีอากรเลือกใชในการตรวจสอบและรับรองบัญชีของแตละกิจการ จะตองรวมถึงการขอขอ มูลจากธนาคาร การขอคํายืนยนั ยอดลูกหน้ี การขอคํายนื ยันยอดเจา หน้ี การขอยืนยัน การออกใบกํากับภาษี การเขาสังเกตการณการตรวจสอบนับสินคาคงเหลือ และการตรวจสอบเอกสารสิทธิ ตาง ๆ เวน แตม ีเหตสุ ุดวิสัยไมสามารถใชวธิ กี ารดังกลาวได ผูสอบบัญชีภาษีอากรตอ งใชว ธิ ีอืน่ ท่ใี หค วามเช่ือม่ัน เชนเดยี วกนั และอยูในวิสยั ทสี่ ามารถกระทาํ ได (5) ดัชนีกระดาษทําการที่อางถึงเวลาท่ีประมาณวาจะใชในการตรวจสอบและเวลาท่ีใชไปจริงในภายหลัง นอกจากนีผ้ ตู รวจสอบและผูสอบทานตองลงลายมือชื่อพรอ มทงั้ วันทที่ ีต่ รวจสอบเสร็จในแตละเร่อื งดว ย ขอ พจิ ารณาในการจดั ทาํ แนวทางการสอบบญั ชี ในการจดั ทําแนวทางการสอบบัญชี ผูสอบบญั ชีภาษีอากรตองพิจารณาถึงเรื่องตา ง ๆ ดงั นี้ 1. วตั ถปุ ระสงค ขอบเขต และชว งเวลาในการตรวจสอบและรับรองบัญชี (1) วัตถุประสงคของการตรวจสอบและรับรองบัญชี เพื่อใหผูสอบบัญชีภาษีอากรไดมาซึ่งหลักฐาน ประกอบรายการที่ปรากฎในงบการเงินเพื่อใชเปนหลักเกณฑใ นการตรวจสอบวา ถกู ตองตามท่ีควร ใน สาระสําคญั และเปนไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงการตรวจสอบความถูกตองในสว นที่เปน สาระสาํ คัญทางดานภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร (2) ขอบเขตของการตรวจสอบและรับรองบัญชี การตรวจสอบอาจมีขอบเขตของงานที่แตกตา งกันไป ตามลักษณะของการรับงานธุรกิจที่ตรวจสอบ แตท้ังน้ีจะตองเปนไปตามมาตรฐานการปฏิบัติงานที่อธิบดี กรมสรรพากรกาํ หนด (3) ชวงเวลาในการตรวจสอบและรับรองบัญชี ผูสอบบัญชภี าษีอากรจะตอ งกําหนดจงั หวะเวลาในการ เขาตรวจสอบ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของการตรวจสอบและรับรองบัญชีซ่ึงอาจข้ึนอยูกับลักษณะ และประเภทของธรุ กิจทตี่ รวจสอบ วิธกี ารตรวจสอบที่ผสู อบบญั ชภี าษอี ากรใช

2. ลกั ษณะและประเภทของธุรกจิ ท่ีตรวจสอบ และปญหาเฉพาะเรอื่ งของกิจการ ผูสอบบัญชีภาษอากรจะตองมีความรูเก่ียวกับธุรกิจท่ีกิจการดําเนินอยู ซึ่งไดแก ลักษณะของธุรกิจ ลกั ษณะการเปนเจาของรปู แบบกิจการ การบริหารงาน วิธีการปฏิบัติงานของกิจการที่ตรวจสอบ และปญหา เฉพาะเรื่องของกิจการ ทั้งน้ีเพื่อใหผูสอบบัญชีภาษีอากรสามารถระบุและเขาใจเหตุการณ รายการ วิธีปฏิบัติงาน และความเสี่ยงที่งบการเงินและบัญชีไมไดแสดงอยางถูกตองเปนจริงตามควร ตลอดจน ความเสี่ยงท่ีกจิ การเสยี ภาษีอากรไมถ กู ตองครบถว นซ่ึงผสู อบบัญชีภาษีอากรเห็นวาอาจมผี ลกระทบที่สําคัญตอ งบการเงิน การเสยี ภาษีอากรของกิจการ หรือสงผลตอ การปฏิบัตงิ านตรวจสอบและรับรองบญั ชี 3. ประสบการณจากการตรวจสอบกิจการนน้ั และ/หรือกจิ การอน่ื ทีป่ ระกอบธรุ กิจประเภทเดยี วกัน ผูสอบบัญชีภาษีอากรจะตองใชประสบการณจากการปฏิบัติงานตรวจสอบและรับรองบัญชีกิจการ ในปก อ น กรณีทไ่ี ดป ฏิบตั ิงานใหก ิจการ หรือจากการปฏบิ ัติงานตรวจสอบและรบั รองบัญชีกจิ การอนื่ ที่ประกอบ ธุรกิจประเภทเดียวกัน มาใชในการพจิ ารณาจัดทําแนวทางการสอบบญั ชี 4. ความเขาใจในระบบบัญชีและการควบคมุ ภายในของกจิ การ ผูสอบบัญชีภาษีอากรจะตองเขาใจในระบบบัญชีและระบบการควบคุมภายในของกิจการ อยางเพียงพอ โดยจะตองเขาใจเกี่ยวกับประเภทของรายการที่สําคัญ การเกิดขึ้นของรายการและการบันทึก รายการและเอกสารท่ีเก่ียวของ รวมถึงวิธีการควบคุมภายในที่สําคัญ ซึ่งความเขาใจในระบบบัญชีและระบบ การควบคุมภายใน อาจไดมากจาก (1) ประสบการณก ารตรวจสอบที่ผานมาเกย่ี วกับกิจการ (2) การสอบถามผูบริหาร ผูควบคุมงาน และบุคลากรอืน่ ในระดบั ตา ง ๆ ของกจิ การ (3) การศกึ ษาแผนภมริ ะบบบญั ชขี องกจิ การ (4) การสงั เกตการณการปฏิบัติงานและการดําเนินงานของกจิ การ 5. การประเมินความเสี่ยงและความมีสาระสาํ คัญ (1) การประเมินความเสย่ี ง ผูสอบบัญชภี าษีอากรตองใชความรูความเขา ใจเกีย่ วกับธรุ กิจที่ตรวจสอบ ไมวาจะเปนระบบบัญชี รับบการควบคุมภายใน ประสบการณจากการตรวจสอบกิจการน้ัน หรือกิจการอื่น ท่ีประกอบธุรกิจประเภทเดียวกันมาประเมินความเสี่ยงสืบเนื่อง ความเสี่ยงจากการควบคุมภายในและ ความเสี่ยงในการตรวจสอบและรับรองบัญชีที่คาดวาจะเกิดขึ้น รวมถึงการกําหนดเร่ืองสําคัญท่ีตรวจสอบ โอกาสทอ่ี าจเกดิ การแสดงขอ มูลท่ีขัดตอขอ เทจ็ จรงิ อนั เปน สาระสาํ คญั หรอื โอกาสในการเกดิ การทุจรติ (2) ความมีสาระสําคัญ ผูสอบบัญชีภาษีอากรจะตอ งกําหนดระดับความมีสาระสําคัญและประเมนิ วา ระดับความมีสาระสําคัญที่กําหนดนั้นยังคงมีความเหมาะสมหรือไม โดยผูสอบบัญชภี าษีอากรจะตองกําหนด ระดับสําคัญท่ีตนยอมรับได เพื่อตรวจสอบการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญเชิงปริมาณ

การประเมินความมีสาระสําคัญจะชวยใหผ ูสอบบัญชีภาษีอากรสามารถตัดสนิ ใจไดว าควรตรวจสอบรายการใด และใชว ธิ ีการวิเคราะหเปรียบเทียบหรอื ไม รวมถงึ สามารถเลือกใชวิธีการตรวจสอบท่คี าดวาจะลดความเสี่ยงได 6 ขอมลู ทีแ่ สดงอยูในงบการเงนิ ขอ มูลทแ่ี สดงอยูในงบการเงิน ซง่ึ หมายความรวมถงึ รปู แบบของงบการเงิน การจัดรายการและขอ มูล ในงบการเงิน เปนการพิจารณารายการที่เปนสาระสําคัญของงบการเงินท่ีจะตรวจสอบ ซึ่งไดแก รายการ สินทรัพย หนี้สิน สวนของผูเปนหุนสวน รายไดและคาใชจาย ตลอดจนขอมูลอื่นในหมายเหตุประกอบ งบการเงนิ เชน นโยบายทางบัญชี ภาระผูกพนั หนีส้ ินที่อาจเกิดขึ้น เปนตน 7. สาระสําคัญดานภาษอี ากรของกิจการตามประมวลรษั ฎากร ผูสอบบัญชีภาษีอากรจะตองศึกษาขอมูลเก่ียวกับธุรกิจของกิจการเพื่อใหทราบวากิจการจะตองเสีย ภาษีอากรประเภทใดบาง รวมถึงหนาท่ีที่กิจการจะตองปฏิบัติตามท่ีประมวลรัษฎากรกําหนดเพ่ือกําหนด วิธีการตรวจสอบความถูกตองในสวนทเ่ี ปน สาระสาํ คญั ดา นภาษอี ากรตามประมวลรษั ฎากร การทบทวนแนวทางการสอบบญั ชี ผูสอบบัญชีภาษีอากรตองมบทวนแนวทางการสอบบัญชีตามความจําเปนในระหวางการตรวจสอบ เนื่องจากสถานการณเปล่ียนแปลงหรือไดรับผลท่ีไมคาดหมายจากการตรวจสอบโดยผูสอบบัญชีภาษีอากร จะตอ งบนั ทึกเหตุผลของการเปลย่ี นแปลงแนวทางการสอบบญั ชไี วดวย แนวทางการสอบบัญชีเปนสวนหน่ึงของกระดาษทําการและเปน กรรมสิทธิ์ของผูสอบบัญชีภาษอี ากร ซึ่งผูสอบบัญชีภาษีอากรจะตองนํามาสงมอบ และชี้แจงเกี่ยวกับการปฏิบัติการตรวจสอบและรับรองบัญชี ตอหนาที่ผูตรวจสอบการปฏิบัติงานของกรมสรรพากร เมื่อเจาหนี้ไดเรียกใหชี้แจงพรอมสงมอบเอกสาร ดงั กลา ว 4. หลักฐานการตรวจสอบและรับรองบัญชี หลักฐานการตรวจสอบและรบั รองบญั ชี หมายถงึ ขอ มูลหรือขอ เท็จจริงซง่ึ ผูสอบบญั ชีภาษีอากรไดร ับ ซงึ่ ประกอบดวย หลกั ฐานทางบัญชแี ละหลกั ฐานประกอบตา ง ๆ รวมถึงหลกั ฐานทางดานภาษอี ากรของกจิ การ ผูสอบบัญชีภาษีอากรตองไดมาซึ่งหลักฐานการตรวจสอบและรับรองบัญชีท่ีเพียงพอและเหมาะสม โดยการทดสอบความถูกตอ งของรายการบญั ชี และการตรวจสอบความถูกตอ งทางดา นภาษีอากรตามประมวล รษั ฎากร เพ่ือใหส ามารถทราบผลการตรวจสอบและรบั รองบญั ชี รวมถงึ ใชเ ปนหลกั ฐานประกอบรายการ ที่ ปรากฏในงบการเงิน ความเพยี งพอและเหมาะสมของหลักฐานการตรวจสอบและรบั รองบญั ชี ความเพยี งพอ หมายถึง ปรมิ าณของหลกั ฐานทไ่ี ดจากการตรวจสอบ ซงึ่ จะตองพิจารณาวา ตองหาหลักฐานเปน จาํ นวนมากนอ ยเพยี งใด

ความเหมาะสม หมายถึง คุณภาพหรอื ความเชื่อถือไดข องหลกั ฐานการตรวจสอบและรับรองบัญชี รวมถงึ ความ ถูกตองตรงกับขอเท็จจริงของหลักฐาน ดังน้ัน ความเหมาะสมของหลักฐานการตรวจสอบและรับรองบัญชี จงึ ประกอบดว ย (1) คุณภาพของหลกั ฐานการตรวจสอบและรับรองบัญชี (2) ความเก่ยี วของกนั ระหวางหลักฐานการตรวจสอบและรบั รองบัญชีกบั สงิ่ ที่ผบู ริหารไดใหก ารรับรอง ไว นอกจากนี้หลกั ฐานการตรวจสอบและรับรองบัญชียงั ตองมคี วามเกยี่ วขอ งและสัมพันธกบั วัตถปุ ระสงคของ การตรวจสอบท่ีตองการทดสอบ (3) ความเชื่อถอื ไดข องหลกั ฐานการตรวจสอบและรับรองบัญชี ซ่งึ ขนึ้ อยกู บั แหลง ที่ไดม าของหลักฐาน ลักษณะหรือวิธีการของการไดมาซึ่งหลักฐาน ระยะเวลาท่ีไดรับหลักฐาน และหลักฐานที่ไดมานั้นตองเปน หลกั ฐานท่ีเนนรปู ธรรมชดั เจน การประเมินความเช่อื ถือไดของหลักฐานการตรวจสอบและรบั รองบญั ชี องคป ระกอบในการพจิ ารณาความเพียงพอและเหมาะสม องคป ระกอบทใี่ ชใ นการพจิ ารณาถงึ ความเพียงพอและเหมาะสมของหลักฐานการตรวจสอบและรับรองบัญชี มีดงั นี้ (1) ระดับความเสีย่ งเกย่ี วกบั ความผิดพลาดของขอ มูลและรายการ ซง่ึ มีผลกระทบจาก (ก) ลักษณะของขอมูลและรายการ (ข) ลกั ศณะของธรุ กิจทีด่ าํ เนนิ การอยู (ค) ฐานะการเงนิ ของกิจการ (ง) สถานการณทีอ่ าจกอ ใหเกิดความผิดปกตใิ นการบริหาร (2) ลกั ษณะของระบบบัญชี (3) ความมีสาระสาํ คัญของขอมลู และรายการทมี่ ีตองบการเงนิ โดยรวม และตอ การเสียภาษอี ากรของกิจการ (4) ประสงการณท่ีไดจากการตรวจสอบครง้ั กอ น ๆ (5) ผลของการตรวจสอบ ตลอดจนการทจุ ริตและขอ ผดิ พลาดที่ตรวจพบ (6) แหลงท่ีมาและความเชอ่ื ถอื ไดข องขอ มูลทีม่ อี ยู การรวบรวมหลักฐานการตรวจสอบและรับรองบัญชี ผูสอบบัญชีภาษีอากรตองรวบรวมหลักฐานการตรวจสอบและรับรองบัญชี เพ่ือทําการทดสอบ ความถูกตอ งของรายการและยอดคงเหลอื ในดา นตา ง ๆ ดังตอไปนี้ 1. ความมีอยูจริง เพื่อใหทราบวาสินทรัพย หนี้สิน และสวนของผูเปนสวนที่ปรากฏในงบการเงินน้ัน มีอยจู ริง หรือไม

2. สิทธิและภาระผูกพัน เพ่ือใหทราบแนชัดวาสินทรัพยตามท่ีปรากฏในงบการเงินเปนกรรมสิทธิ์ ของกิจการ และหน้ีสินเปนภาระความรับผิดชอบของกิจการ กลาวคือ หน้ีสินที่เกิดขึ้นจากการดําเนินธุรกิจ มิใชหนีส้ ินบุคคล 3. เกิดขึ้นจริง เพ่ือใหทราบวารายได คาใชจาย กําไรหรือขาดทุนเกิดข้ึนจริง และรายการท่ีปรากฏ ในงบการเงินไมไดรวมรายการที่ไมไดเกิดขึ้นจริงอยูดวย รวมถึงรายการตามใบกํากับซื้อที่กิจการไดรับเปน รายการที่เกิดขึน้ จรงิ 4. ความครบถวน เพื่อใหทราบวารายการตาง ๆ ที่เกิดขึ้น กิจการไดนํามาลงบัญชี จัดทําบัญชีพิเศษ จัดทาํ รายงานทางดานภาษีตาง ๆ ตามประมวลรษั ฎากรโดยถูกตองและครบถวนแลว รวมถงึ การออกใบกํากับ ภาษขี องกจิ การวา มรี ายการควบถวนตามประมวลรัษฎากรหรอื ไม 5. การแสดงมลู คา เพ่อื ใหท ราบวา สนิ ทรัพยและหนี้สนิ รวมถงึ รายไดและคาใชจา ยไดบันทกึ บัญชีไวใน ราคาหรือจํานวนเงินท่ีเหมาะสมตามหลักการบัญชีท่ีรับรองทั่วไป และบันทึกไวในบัญชีที่ถูกตองตรงตาม งวดบญั ชี 6. การแสดงรายการและการเปดเผยขอมูลของงบการเงิน เพ่ือใหทราบวารายการในงบการเงินได แสดงรายการบญั ชี และเปดเผยขอ มูลไวโ ดยถกู ตอง เหมาะสม เพียงพอตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และเปน ไปตามทีก่ ําหนดไวในกาํ หมายทเ่ี กย่ี วขอ งกับบัญชี 5. การจัดทาํ กระดาษทําการของผูสอบบัญชภี าษอี ากร ผูสอบบัญชภี าษอี ากรตองจัดทํากระดาษทาํ การ เพ่ือบันทึกการตรวจสอบและจดั เกบ็ ไวเ ปนหลักฐาน โดยตอ งถอื ปฏิบตั ิตามขอ กําหนดของมาตรฐานการสอบบญั ชี รหสั 230 เอกสารหลักฐานการตรวจสอบ ผูสอบบัญชีภาษีอากร ตองจัดทํากระดาษทําการไวเปนหลักฐานในการปฏิบัติงานตรวจสอบและ รับรองบญั ชี โดยขอมูลที่จดบันทึกในกระดาษทําการจะตองมีความสมบรู ณและมีรายละเอยี ดเพียงพอที่แสดง ใหเห็นวาผูสอบบัญชีภาษีอากรไดปฏิบัติงานตรวจสอบและรับรองบัญชีตามมาตรฐานการปฏิบัติงานที่อธิบดี กรมสรรพากรกาํ หนด กระดาษทําการไมมีขอบเขต รปู แบบและเน้ือหาที่แนน อน ขึ้นอยูก ับวัตถปุ ระสงคและเนอื้ หาในเร่อื งท่ี ตรวจสอบ ดังนน้ั จงึ เปน เรื่องของการใชดุลพินจิ เยี่ยงผปู ระกอบการวิชาชพี ของผูส อบบญั ชีภาษีอากร ขอบเขต รูปแบบ และเนื้อหาของกระดาษทําการควรมีลกั ษณะดังตอไปนี้ การกาํ หนดขอบเขตของกระดาษทําการ ผูสอบบัญชภี าษีอากรจะตองพิจารณาถงึ ธรุ กิจท่ีตรวจสอบ และมาตรฐานการปฏบิ ัติงานทีอ่ ธบิ ดีกรมสรรพากรกําหนดตามคาํ สงั่ กรมสรรพากร โดยจะตองรวบรวมส่ิงทมี่ ี ความจาํ เปน และเหมาะสมในการตรวจสอบบนั ทกึ ไวในกระดาษทําการ

รูปแบบและเนอ้ื หาของกระดาษทาํ การ ผูสอบบัญชีภาษีอากรตองออกแบบ และจดั ทํากระดาษทําการใหเหมาะสมกับสถานการณและความ ตองการของตนในการตรวจสอบเพอื่ ใหบรรลุวตั ถุประสงคข องการตรวจสอบและรบั รองบัญชีของแตละกิจการ ซงึ่ ผสู อบบัญชภี าษีอากรอาจใชกระดาษทาํ การทแ่ี ตละสํานักจัดทาํ ไว เปน รปู แบบมาตรฐานก็ได รูปแบบ และเน้ือหาของกระดาษทําการท่ีผูสอบบัญชีภาษีอากร ตองจัดทํานั้น ข้ึนอยูกับเร่ืองตาง ๆ ดังน้ัน ตอไปนี้ (1) ลกั ษณะและความซบั ซอ นของธรุ กจิ กระดาษทําการท่ีจัดทําขึ้นสําหรับกิจการที่มีการดําเนินธุรกิจหลายประเภทและมีความซับซอน ยอ มมเี นอื้ หาและรายละเอียดที่จาํ เปน มากย่ิงขึ้น (2) ลกั ษณะและสภาพของระบบบัญชีและระบบการควบคุมภายในของกิจการ กระดาษทาํ การทผี่ ูสอบบัญชีภาษีอกรจัดทําขนึ้ เพื่อบันทึกความเขาใจในระบบบัญชีระบบการควบคุม ภายใน และการประเมินความเสี่ยงจากการควบคุมของกิจการ อาจมีลักษณะเปนแผนภูมิระบบบัญชีหรือ คําอธบิ ายเกี่ยวกบั ระบบบญั ชี ผงั ทางเดนิ เอกสาร การใชแบบสอบถามเพื่อจดบันทกึ ขอ มูลเก่ียวกับระบบบญั ชี และระบบการควบคมุ ภายใน (3) การใชกระดาษทําการเพื่อประโยชนใ นการส่ังการ การควบคมุ ดูแลและการสอบทาน กระดาษทําการท่ีมีรูปแบบเปนมาตรฐานจะชวยอํานวยความสะดวกใหแกผูสอบบัญชีภาษีอากร ในการแบงงาน และเปนเครอื่ งมือในการควบคมุ คุณภาพงานของผชู ว ยผูสอบบัญชภี าษอี ากร สาระสําคัญทค่ี วรปรากฏในกระดาษทาํ การของผสู อบบัญชภี าษอี ากร ในกระดาษทําการของผสู อบบญั ชีภาษอี ากรควรมีขอมลู ดังตอไปนี้ (1) กระดาษทาํ การควรแสดงใหเห็นวาผูสอบบัญชีภาษอี ากรไดจดั แนวทางการสอบบัญชีอยา งระมดั ระวังและ รอบคอบ (2) กระดาษทําการตองแสดงใหเห็นวา ขอมูลและตัวเลขในงบการเงินที่ผูสอบบัญชีภาษีอากรรับรองถูกตอง ตรงตามบนั ทกึ (3) กระดาษทําการตองแสดงใหเห็นวาผูสอบบัญชีภาษีอากรและผูชวยผูสอบบัญชีภาษีอากรไดปฏิบัติงาน ตรวจสอบตามแนวทางการสอบบัญชที ่ไี ดกําหนดขึน้ โดยถูกตอ ง (4) กระดาษทําการตองแสดงขอมูลท่ีไดจากการปฏิบัติงานตรวจสอบและรับรองบัญชีโดยจะตองแสดงถึง การทดสอบความถูกตองของรายการบัญชี การตรวจสอบสอบความถูกตองในสวนที่เปนสาระสําคัญ ทางดา นภาษีอากรตามประมวลรษั ฎากร การปรับปรุงกําไรสุทธิ/ขาดทุนสุทธิทางบัญชีเปนกําไรสทุ ธิ/ขาดทุน สุทธิทางภาษี และการตรวจสอบรายการในแบบแจงขอความตามแบบแสดงรายการ ภาษีเงินไดนิติบุคคล

(ภ.ง.ด 50) รวมถงึ ปรมิ าณและขอบเขตการตรวจสอบแตละดาน ในกรณที ี่ผสู อบบัญชีภาษีอากรมิไดกําหนดไว ในแนวทางการสอบบญั ชี (5) กระดาษทําการตองแสดงผลการตรวจสอบในแตละเรื่อง รวมถึงขอบกพรอง ส่ิงผิดปกติท่ีมีสาระสําคัญ ท่ีผูสอบบัญชีภาษีอากรไดตรวจพบ การวินิจฉัยและขอสรุปเก่ียวกับขอบกพรองหรือสิ่งผิดปกติท่ีตรวจพบ คําชี้แจงของผูบริหารของกิจการดังกลาว และขอเสนอแนะที่ผูสอบบัญชีภาษีอากรไดใหแกกิจการ ตลอดจน การแกไ ขขอ บกพรอ งหรอื สิง่ ผิดปกติน้ันวาไดด าํ เนนิ การแลว หรือไม ประเภทกระดาษทาํ การ กระดาษทาํ การทผ่ี ูสอบบญั ชภี าษอี ากรตอ งจัดทาํ แบง ไดเ ปน 2 ประเภท ดงั นี้ (1) กระดาษทาํ การที่ผสู อบบญั ชีภาษอี ากรจัดทําข้ึนเอง (2) กระดาษทําการที่ผสู อบบญั ชีภาษีอากรไดร ับจากกิจการและบุคคลภายนอก แบงออกเปน 2 ประเภท ดงั น้ี 1) กระดาษทาํ การทีไ่ ดร ับจากกจิ การ อาจไดม าจากกจิ การจัดทําขึ้นเอง หรือกจิ การไดจาก บคุ คลภายนอก เชน สาํ เนางบทดลองที่ลกู คาจดั ทํา 2) กระดาษทําการที่ไดรับจากภายนอกกิจการ เชน หนงั สอื ยืนยนั ยอดลกู หนี้ การใชเครือ่ งหมายการตรวจสอบ เครื่องหมายการตรวจสอบ หมายถึง สัญลักษณท่ีผูสอบบัญชีภาษีอากรกําหนดข้ึนเอง โดยเครื่องหมาย ดงั กลาวจะมรี ูปรางและความหมายท่ีตางกนั ซึ่งรูปแบบของสัญลักษณจะไมมีรูปแบบทีแ่ นนอน ท้ังน้ีขนึ้ อยูกับ ผสู อบบัญชภี าษีอากรจะกําหนด การใชเครอ่ื งหมายการตรวจสอบ มีวตั ถปุ ระสงคเ พอื่ แสดงใหเหน็ วาผูสอบบัญชภี าษอี ากรไดต รวจสอบ ขอ มลู ในกระดาษทําการดว ยวิธกี ารตรวจสอบใด ดังนั้น ผูสอบบัญชีภาษอี ากรตองใสเ ครื่องหมายการตรวจสอบ กํากับรายการที่ทาํ การตรวจสอบและอธิบายความหมายของเครื่องหมายการตรวจสอบนั้นในกระดาษทาํ การ ดว ย และเพ่อื สะดวกในการสอบทานการตรวจสอบ เครื่องหมายการตรวจสอบจึงควรแสดงใหเ หน็ อยางเดนชัด ดว ยการใชดินสอสตี าง ๆ ทาํ เครอ่ื งหมาย ขอ ปฏบิ ัติในการจัดทํากระดาษทําการ (1) จดั ทําสารบญั กระดาษทําการท่แี สดงถึงเรอ่ื งตาง ๆ ที่อยูใ นกระดาษทาํ การ เพือ่ ใหเ หน็ โครงสราง ของกระดาษทําการทงั้ หมด (2) กาํ หนดรหัสอางองิ ของกระดาษทาํ การ เพ่ือใชในการอางองิ ระหวา งกระดาษทาํ การทเ่ี กีย่ วของกัน (3) ในกรณีที่ผูส อบบัญชภี าษอี ากรไดห ลักฐานจากการสอบถามจากบคุ ลากรของกจิ การผูสอบบัญชี ภาษอี ากรตองระบชุ อ่ื ของบคุ ลากรพรอมตําแหนง เพื่อประโยชนในการอางองิ ในภายหลัง (4) กระดาษทําการเปนหลักฐานที่แสดงถึงการปฏิบัตงิ านตรวจสอบและรับรองบัญชีหลักฐานทไ่ี ดรับ จากการปฏิบตั ิงานตรวจสอบและรับรองบญั ชี และสิ่งที่ตรวจพบจากการตรวจสอบของผูสอบบัญชีภาษีอากร

ดังนั้น ผูสอบบัญชีภาษีอากรตองเก็บรักษากระดาษทําการใหปลอดภัยจากการถูกแกไข สูญหาย หรือท่ีนํา ขอมูลทอ่ี าจเปนความลับของกจิ การไปเปดเผยตอ บุคคลอ่ืน กรรมสิทธิข์ องกระดาษทําการ กระดาษทาํ การถือเปน กรรมสทิ ธ์ิชองผูสอบบญั ชภี าษอี ากร ซง่ึ ผสู อบบญั ชภี าษีอากรจะตอ งนาํ มาสง มอบใหแกเ จาหนาที่ผตู รวจสอบการปฏบิ ตั ิงานของกรมสรรพากร เพ่ือชแี้ จง เก่ียวกับการปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบ และรับรองบัญชีของตน 6. การทดสอบการรายงานทางบญั ชแี ละภาษอี ากร การทดสอบรายการทางบัญชีและภาษีอากรกําหนดขึ้น เพ่ือใหผูสอบบัญชีภาษีอากร ใชเปนแนวทาง ประกอบการปฏิบตั ิงานตรวจสอบและรับรองบัญชีหางหนุ สว นนิติบคุ คล ตามมาตรบานการปฏิบัติงานทีอ่ ธิบดี กรมสรรพากกําหนด กรมสรรพากรไดจัดทําคูมือ การปฏิบัติงานเร่ืองการทดสอบราชการทางบัญชีและภาษีอากร เพ่ือให ผสู อบบญั ชีภาษีอากรใชเ ปนแนวทางในการปฏบิ ัตงิ าน มีรายละเอยี ดดงั น้ี 1. การทดสอบรายการบญั ชี การทดสอบรายการบัญชี หมายถงึ การเลอื กรายการบญั ชีหรือรายการจากยอดคงเหลือของสินทรัพย และหนีส้ ิน รวมถงึ รายการดา นภาษีอากรมาตรวจสอบเพอื่ บรรลุวัตถุประสงคข องการตรวจสอบซ่งึ ในการเลือก รายการดังกลาว ผสู อบบัญชภี าษอี ากรสามารถเลือกใชว ธิ กี ารดงั ตอ ไปน้ี วิธีท่ี 1 การเลือกตวั อยางท่ีเปนตวั แทนประชากร วธิ ีท่ี 2 การเลอื กอยางแบบเจาะจง ไดแก (1) รายการทมี่ จี ํานวนเงนิ เปน สาระสาํ คัญ (2) รายการทีม่ คี วามเสย่ี งสงู ตอ การผิดพลาดหรอื จากการทุจริต (3) รายการท่ีมลี กั ษณะผิดปกตหิ รอื ทีน่ าสงสัย (4) รายการทตี่ องการความมั่นใจสูงวาถูกตอ งและเปน จรงิ ขนาดตวั อยาง ขนาดตัวอยางของรายการท้ังหมดในแตละกิจการน้ัน ข้ึนอยูกับดลุ พินิจของผูสอบบัญชีภาษีอากรวา กจิ การท่รี ับตรวจสอบรายน้ันจะกําหนดตวั อยางเทาใด โดยอาศยั การพจิ ารณาลักษณะของการประกอบกิจการ ขอมูลตาง ๆ ทีผ่ ูสอบบัญชีภาษีอากระบในข้ันตอนการจัดทําแนวทางการสอบบัญชี รวมถึงสถานการณตาง ๆ ท่ีพบระหวา งทาํ การตรวจสอบ ในการเลอื กตัวอยางตามวธิ ีที่ 1 หรอื วิธีท่ี 2 เพ่อื นาํ มาตรวจสอบน้ัน ขนาดตวั อยางทเี่ ลือกมาจะตองมี จํานวนมากพอท่ีจะทําใหส่ิงท่ีตรวจพบ สะทอนภาพรวมของเร่ืองท่ีทดสอบอยางนอยท่ีสุดมีจํานวนรายการ ดงั นี้

1) กรณีท่ีเปนรายการบัญชีรับ-จา ย บัญชีซื้อ-ขายและเร่ืองอ่ืน ๆ ท่ีมีรายการเปนจํานวนมากใหเลือกรายการ เพอ่ื ตรวจสอบอยา งนอย 20 รายการของแตล ะบัญชี 2) กรณีการตรวจสอบเอกสารสทิ ธิ์ การขอขอมลู ธนาคาร ผูส อบบญั ชีภาษอี ากรตอ งดําเนินการทุกรายการ 3) การยืนยันยอดเจาหน้หี รอื ลูกหนี้ ใหย ืนยันเจาหนห้ี รอื ลูกหนห้ี รือมูลคา หนี้ ไมน อยกวา รอ ยละ 60 ของมูลคา หนี้ทงั้ หมด 4) การยืนยันการออกใบกํากับภาษี ใหยืนยันการออกใบกํากับภาษีซื้อฉบับที่มีมูลคาสูงสุด 20 รายการแรก ของรายงานภาษีซ้ือ และจะตองไมเปน ใบกาํ กับภาษีโดยผูประกอบการรายเดียวกนั 5) กรณีเขา สงั เกตการณก ารตรวจนับสินคาคงเหลือ ตองสังเกตการณก ารตรวจสอบนับสนิ คาคงเหลือรวมมลู คา ไมนอ ยกวารอยละ 50 ของมลู คาสนิ คาคงเหลอื ท้ังหมด หากจํานวนรายการของกิจการในเรื่องนั้น ๆ มีจํานวนรายการนอย และมีสาระสําคัญคอนขางมาก ผูสอบบัญชภี าษอี ากรจะตองทําการตรวจสอบทุกรายการ 2. วธิ ีการทดสอบรายการทางบัญชแี ละภาษอี ากร ไดแก (1) การทดสอบระบบบัญชี ผูสอบบัญชีภาษีอากรตองทําการทดสอบรับบบัญชีของกิจการ เพ่ือใหแนใจวา การบนั ทกึ บัญชีของกจิ การและนโยบายการบัญชีท่กี ิจการเลอื กใชเปน ไปตามมาตรฐานการบัญชี (2) การทดสอบเน้ือหาสาระ ผูสอบบัญชีภาษีอากรตองทดสอบเนื้อหาสาระของรายการและยอดคงเหลือ ของกิจการเพ่ือใหแนจา รายการบัญชีและยอดคงเหลือของสินทรัพยและหนี้สิน รวมถึงรายการทางดาน ภาษอี ากรถูกตอ ง วธิ กี ารทดสอบเนอื้ หาสาระ ประกอบดว ยวธิ ีตอ ไปน้ี 1) การวิเคราะหเปรยี บเทียบ การวิเคราะหเปรียบเทียบ หมายถึง การวิเคราะหอัตราสวนและแนวโนมตาง ๆ ท่ีสําคัญ รวมถึง การตรวจสอบผลการเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธท่ีไมสอดคลองกับขอมูลที่เกี่ยวของหรือไมเปนไปตามที่ คาดหมาย ซ่งึ สามารถเลือกวิธีใดวธิ ีหนึง่ ดังตอ ไปน้ี 1. เปรยี บเทยี บขอ มูลทางการเงนิ ของปป จ จบุ ันกบั ปก อ น 2. ศึกษาความสมั พันธของขอมูล ทางการเงินกบั เปา หมายที่คาดการณไวจากประสบการณ 3. เปรียบเทียบขอมลู ทางการเงินกบั ขอมลู ของธุรกจิ อนื่ ทีป่ ระกอบธรุ กจิ ประเภทเดยี วกนั 4. ศกึ ษาความสัมพันธของขอ มลู ทางการเงนิ กับขอมลู ของธรุ กิจอนื่ ที่ประกอบธรุ กจิ ประเภทเดยี วกัน 2. การทดสอบรายละเอยี ดของรายการและยอดคงเหลอื การทดสอบรายละเอียดของรายการและยอดคงเหลอื หมายถึง การนาํ วิธกี ารตรวจสอบตาง ๆ มาใช ในการรวบรวมหลักฐาน เพื่อพิสูจนความถูกตองของรายการท่ีบันทึกไวในบัญชีและยอดคงเหลือในบัญชี ตลอดจนความถูกตองทางดา นภาษีอากรของกิจการ ซึ่งวิธีการตรวจสอบมีดว ยกนั หลายวิธี การเลือกใชขนึ้ อยู

กับความเหมาะสมและรายการที่ตรวจสอบ อยางไรก็ตาม วิธกี ารตรวจสอบท่ีผสู อบบัญชภี าษีอากรเลอื กใชใน การตรวจสอบและรับรองบัญชีของแตละกิจการ จะตองรวมถึงการขอขอมูลจากธนาคาร การขอยืนยันยอด ลูกหน้ีเจาหน้ีการขอยืนยันการออกใบกํากับภาษี การเขาสังเกตการณการตรวจนับสินคาคงเหลือ และการ ตรวจสอบเอกสารสิทธิตาง ๆ เวน แตมีเหตุสดุ วิสัย ไมส ามารถใชวธิ ีการดังกลาวได ผูสอบบัญชภี าษีอากรตองใช วธิ ีอื่นที่ใหค วามเชือ่ ม่ันเชนเดยี วกนั และอยใู นวิสยั ท่สี ามารถกระทาํ ได 3. การทดสอบการจัดทํางบการเงนิ ผูสอบบัญชีภาษีอากรตองทําการทดสอบการจัดทํางบการเงินของกิจการ ใหครอบคลุมถึงเร่ืองตอ ไปน้ี (1) ความเพียงพอของการเปดเผยขอความและรายการในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน อนั จะไมทําใหผ ูใชง บการเงินเกิดการหลงผิดในฐานะการเงนิ หรือผลการดาํ เนินงานของกจิ การ (2) การจัดทาํ งบการเงินถกู ตองตามกฎหมายบัญชีท่ีเก่ยี วของเพยี งใด (3) ความเหมาะสมของการจดั ประเภทรายการตา ง ๆ ซ่งึ แสดงไวในงบการเงินโดยจะตอ งไมล ะเอยี ด หรอื ยอ จนเกินสมควร (4) งบการเงนิ ที่ตรวจสอบสะทอนใหเ หน็ ผลของเหตกุ ารณหรือรายการดงั ทเ่ี กิดขนึ้ อยา งเหมาะสมและ ยอมรับไดเพียงใด ซึ่งหมายถึงงบการเงินน้ันแสดงฐานะการเงิน ผลการดําเนินงานของกิจการ อยา งสมเหตุสมผลตรงตอความจรงิ และดที สี่ ดุ เทาที่นักบญั ชจี ะปฏิบัตไิ ด ในการจดั ทาํ งบการเงินแลว หรือไม 4. การตรวจสอบการปฏิบัตหิ นา ท่ีตามทีป่ ระมวลรัษฎากรกาํ หนด เชน ความถูกตองครบถว นของใบกาํ กับภาษี ท่กี ิจการออก การจดั ทาํ บญั ชพี เิ ศษ และการจัดทาํ รายงายภาษตี า ง ๆ 5. การตรวจสอบการปรับปรุงกําไรสุทธิ/ขาดทุนสุทธิทางบัญชีเปนกําไรสิทธิ/ขาดทุนสุทธิ เพื่อเสียภาษีอากร ผูสอบบัญชีภาษีอากรตองตรวจสอบนโยบายบัญชีของกิจการกับหลักเกณฑทางดานภาษีอากรตามประมวล รัษฎากร เชน มาตรา 65 ทวิ มาตรา 65 ตรี มาตรา 70 ตรี แหงประมวลรัษฎากร พระกฤษฎีกา พระราชกําหนด กฎกระทรวง ประกาศและคาํ สงั่ ตาง ๆ ทเ่ี กีย่ วของกับเร่อื งนัน้ ๆ แลวดาํ เนินการดงั นี้ (1) ตรวจสอบหาความแตกตางระหวา งนโยบายบญั ชขี องกจิ การกับหลกั เกณฑท างดานภาษอี ากรตามประมวล รษั ฎากร (2) ตรวจสอบความถูกตองครบถวนของการปรบั ปรงุ รายการตาม (1) เพื่อย่นื แบบแดวรายการภาษีเงนิ ไดน ติ ิ บคุ คล 6. การทดสอบรายการในแบบแจง ขอ ความ การทดสอบรายการตามแบบแจงขอ ความของกรรมการ หรอื ผูเ ปน หุนสวนหรอื ผูจดั การในแบบ ภ.ง.ด. 50 จะตองทาํ การทดสอบ 5 ขอ ดงั น้ี (1) ทดสอบวามกี ารขายสินคา บรกิ าร หรอื ทรัพย ใหกูยมื เงนิ หรอื ใหเ ชา ทรพั ยสินโดยไมมีคา ตอบแทน อันถือไดวา เปน สาระสาํ คญั ชดั แจง หรอื ไม

(2) ทดสอบวา มีการซ้ือทรพั ยสิน รวมทงั้ รายจายเพอื่ ซื้อทรัพยส ินดังกลาว และคา บรกิ ารในราคาที่เกิน ปกติอนั ถอื ไดว า เปนสาระสาํ คัญชดั แจงหรือไม (3) ทดสอบวามีการตั้งเจาหนี้หรือลูกหน้ีโดยไมมีตัวตน แตมีจํานวนเกินความเปนจริง อันถือไดวา เปนสาระสําคัญชัดแจง หรือไม (4) ทดสอบวา มผี ลขาดทุนสุทธติ ิดตอกนั เกิน 3 รอบระยะเวลาบัญชี แตม ีการขยายกจิ การหรือไม (5) ทดสอบวา มกี ารหกั ภาษี ณ ทจ่ี าย และนาํ สงถูกตอ งครบถวนแลว หรอื ไม 7. การทดสอบรายการใบกํากับภาษีซ้ือ เน่ืองจากใบกํากับภาษีซ้ือเปนเอกสารหลักฐานท่ีมี ความสําคัญ ผูสอบบัญชีภาษีอากรตองทําการขอยืนยันใบกํากับซื้อ เพ่ือใหไดมาซ่ึงหลักฐานจากภายนอก กจิ การทผ่ี ูสอบบัญชีอากรทําการตรวจสอบ เพื่อพิสูจนค วามมีอยูจริง และการเกิดขึ้นจริงของใบกํากบั ภาษีซื้อ ซง่ึ จะสงกระทบตอถความถูกตอ งของงบการเงนิ และความถูกตอ งทางดานภาษอี ากร วิธีการขอยนื ยันการออกใบกํากับภาษซี ้ือ การขอยืนยันการออกใบกํากับภาษีซื้อ เปนวิธีการขอยืนยันขอมูลเชนเดียวกับการยืนยันยอดลูกหนี้ การยืนยนั ยอดเจา หน้ี ซง่ึ เปนลักษณะขอความรวมมือจากผูออกใบกาํ กับภาษี ลูกหนี้ เจา หนี้ ในการตอบขอมูล ดังกลาว วิธีการขอยืนยันใบกํากับภาษีควรใชวิธีการแบบตอบทุกกรณี จึงจะเปนวิธีท่ีเหมาะสมและใหความ เชื่อม่ันแกผูสอบบัญชีภาษีอากรวาใบภาษีท่ีขอยืนยันไปนั้นมีอยูจริงและเกิดข้ึนจริงไดดีกวาวิธีอ่ืน แตอยางไร ก็ตาม หากผสู อบบัญชีภาษอี ากรไมสามารถใชวิธีการขอยืนยันการออกใบกํากับภาษีซอื้ ได ก็สามารถใชวิธกี าร ตรวจสอบอ่นื ที่ใหความเชื่อมั่นเชนเดียวกนั และอยูใ นวิสัยท่ีสามารถกระทําได จํานวนรายการท่ีจะตอ งขอยืนยนั ผูสอบบัญชีภาษีอากรจะตองขอยืนยันการออกใบกํากับภาษีซ้ือฉบับท่ีมีมูลคาสูงสุด 20 ลําดับแรก ของรายงายภาษซี ้ือ โดยจะตองไมเปนใบกํากับภาษีซื้อท่อี อกโดยผูประกอบการรายเดียวกัน ในกรณีกิจการที่ ผูสอบบัญชีภาษีอากรทําการตรวจสอบมีจํานวนผูประกอบการท่ีออกใบกํากับภาษีซ้ือใหนอยกวาท่ีกําหนด ขา งตน ผสู อบบญั ชีภาษอี ากรสามารถขอยืนยันการออกใบกาํ กับภาษีซื้อเทากบั จํานวนท่ีมีก็ได การปฏบิ ัติในการขอยนื ยนั การออกใบกาํ กบั ภาษซี ื้อ ในการขอยืนยันการออกใบกํากบั ภาษซี ื้อตอ งจดั ทําหนงั สอื ขอยืนยนั การออกใบกาํ กบั ภาษซี ื้อโดยมี รายละเอียดดังนี้ 1. ขอความในหนังสือขอยืนยันการออกใบกํากับภาษีซื้อ ควรเปนลักษณะของการขอความรวมมือ ผอู อกใบกํากับภาษใี หตอบกลับ 2. การลงลายมือช่ือในหนังสือขอยืนยันการออกใบกํากับภาษีซ้ือ ควรใหผ ูรับมอบอํานาจของกิจการที่ทําการ ตรวจสอบลงลายมือชื่อในหนังสือดังกลาวพรอมกับประทับตราหางฯ โดยในการกรอกขอความในหนังสือ ขอยืนยันนน้ั ผูสอบบัญชีภาษีอากรอาจใหกจิ การเปน ผูกรอกขอ ความ หรอื ผูสอบบัญชีภาษอี ากรจะเปน ผูกรอก ขอ ความเองก็ได

3. การสงหนังสือขอยืนยนั การออกใบกํากับภาษีซอ้ื ดาํ เนินการดงั นี้ 1) ผูสอบบัญชีภาษีอากรตองเปนผูจัดสงหนังสือขอยืนยันการออกใบกํากับภาษีซื้อดวยตนเอง เพื่อปองกนั ไมใหพ นกั งานของกจิ การท่ีทําการตรวจสอบแกไ ขรายการในหนังสือขอยนื ยันการออกใบกํากับภาษี ซ้ือ 2) ควรแนบซองจดหมายปดแสตมปจ าหนาซองถงึ ผูสอบบัญชีภาษอี ากรสาํ หรับใหผอู อกใบกํากับภาษี ซื้อใชต อบกลบั เม่อื ผูสอบบัญชภี าษอี ากรไดสง หนังสอื ขอยืนยันใบกํากับภาษซี ้ือแลว และไดร บั คาํ ตอบกลับมาบางสวน สว นทเี่ หลือไมไดตอบกลับ ผูสอบบัญชีภาษีอากรตองใชวิธีการอื่นที่ใหความเชื่อมนั่ เชนเดียวกันและอยูในวิสัย ท่ีสามารถทําได และเมอื่ ไดผ ลการตรวจสอบแลว ผสู อบบญั ชีภาษีอากรตอ งพจิ ารณาจากผลท่ีตรวจสอบวา มนั่ ใจ ในความถูกตองหรอื ไม หากไมมั่นใจใหรายงานเปน ขอยกเวนหากมนั่ ใจใหสรุปไวในกระดาษทําการและไมตอ ง ออกรายงานโดยมขี อยกเวน กรณีท่ีผูสอบบัญชีไมสามารถใชวิธีการยืนยันการออกใบกํากับภาษีได เน่ืองจากกิจการไมอนุญาตให ผูสอบบัญชีภาษอี ากรสงหนังสือยืนยันการออกใบกํากับภาษโี ดยไมม ีเหตอุ ันสมควรถือวาผูสอบบัญชีภาษีอากร ถูกจํากัดขอบเขต ผสู อบบัญชีภาษีอากรสามารถใชวิธกี ารตรวจสอบอืน่ ทใ่ี หความเชอ่ื มนั่ เชนเดียวกันและอยูใน วสิ ยั ท่ีสามารถทําได และรายงานเปนขอ ยกเวน ใหก รมสรรพากรทราบถึงการทีถ่ ูกจํากดั ขอบเขตดงั กลาว 8. การเปด เผยขอเท็จจริง ผูสอบบัญชีภาษีอากรตองเปดเผยขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญของบัญชี และแจงพฤติการณไวใน รายงานการตรวจสอบบและรับรองบัญชที ต่ี นจะตองลงลายมอื ชือ่ รบั รองในกรณีทีพ่ บวา กิจการน้นั มพี ฤติการณ

ในการทําเอกสารประกอบการลงตบวั ัญอยชา ี งโหดนยงัทสเี่ ือหข็นอวยาืนนยานั จกะาไรมอต อรกงใกบับกําคกวบั าภมาเษปีซน ้อืจริง แบบตอบทกุ กรณี วนั ที่............................. ท่ี..... (เลขทหี่ นังสอื ขอยนื ยนั การออกใบกํากับภาษ)ี ...... เรียน....(ช่อื กิจการที่ขอยนื ยนั การออกใบกาํ กับภาษ)ี ..... โปรดแจงไปยัง......(ช่ือผูสอบบัญชีภาษีอากร).......ผูตรวจสอบและรับรองบัญชีของหาง....(ช่ือหางท่ีทําการ ตรวจสอบ)......วา ใบกาํ กับภาษเี ลม ท.ี่ ...........เลขที่.............ลงวันท่ี.................. ทอี่ อกใหก ับ....................... ตามที่แนบมาพรอ มนีเ้ ปน ใบกาํ กับภาษที ี่ออกโดยทา นจริง ขอขอบคุณที่ใหความรวมมือในโอกาสนี้ และขอเรียนตอ ทานวาหนงั สือขอยืนยันการออกใบกํากับภาษนี ี้ มิได มเี จตนาจบั ผิด เพียงแตเพื่อประโยชนใ นการตรวจสอบและรับรองบัญชีของหาง.....(ชื่อกิจการท่ที ําการตรวจสอบ)......และอาจเปน ประโยชนตอ ทานในกรณีที่มผี ูแอบอา งนาํ ชอ่ื ของทานออกใบกาํ กับภาษโี ดยมชิ อบ ขอแสดงความนับถือ ............................................................... (..ชือ่ ผรู บั มอบอาํ นาจของกิจการทท่ี ําการตรวจสอบ..) หนงั สือตอบยืนยนั การออกใบกาํ กับภาษี ท่.ี .....(เลขท่หี นังสือขอยืนยันการออกใบกํากบั ภาษ)ี ....... เรียน....(ช่ือผสู อบบญั ชภี าษีอากร).... ผูตรวจสอบและรบั รองบญั ชีหาง....(ชื่อกิจการท่ีทําการตรวจสอบ)..... (ก) ยืนยนั วาใบกาํ กับภาษที ีท่ านสงสอบยันเปน สําเนาภาพถายขอบใบกาํ กับภาษที ่ีออกโดย...(ช่อื กจิ การ ท่ีออก)......จรงิ (ข) ยืนยนั วา ใบกาํ กับภาษีที่ทานสง สอบยงั ไมใ ชส าํ เนาภาพถา ยของใบกํากับภาษีออกโดย....(ชือ่ กจิ การ ทอ่ี อก)......เน่ืองจาก ............................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................. ขอแสดงความนับถือ ............................................................. 7.จรรยาบรรณของผสู อบบัญชีภาษีอากร(...........................................................) อธิบดีกรมสรรพากรไดออกคําสั่งกรมสรรพากร คําสั่งกรมสรรพากรท่ี ท.ป.123/2545 เร่ืองกําหนด จรรยาบรรณของผูตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แหงประมวลรัษฎากรกําหนดจรรยาบรรณ ของผูต รวจสอบและรบั รองบญั ชีไวดังน้ี

1.ความเปน อสิ ระ ความเที่ยงธรรม และความซ่ือสัตยส ุจริต (1) ไมร ับตรวจสอบและรบั รองบญั ชใี นการทต่ี นขาดความเปน อิสระ (2) ไมร ับตรวจสอบและรับรองบัญชใี นกิจการทต่ี นขาดความเปนกลางโดยมีผลประโยชนห รือตําแหนง ท่ีเกี่ยวของกับกิจการนั้น หรือโดยมีเหตุผลอื่นที่อาจกอใหเกิดความลําเอียงและสงผลใหมีการละเวน การเสยี ภาษี หรอื เสียภาษีนอยกวาความเปน จริง (3) ปฏิบตั ิงานตรวจสอบและรับรองบัญชดี วยความเทยี่ งธรรมและความซ่ือสตั ยส ุจริต (4) ไมป กปดขอเทจ็ จรงิ หรือบดิ เบือนความเปนจริงอนั เปน สาระสาํ คัญของงบการเงินทต่ี นลงลายมือชื่อ รับรองไวในรายงาน ซ่ึงอาจทําใหเกิดการหลงผิดและอาจเสียหายแกกิจการท่ีตรวจสอบและรับรองบัญชีนั้น หรือแกกรมสรรพากร หรอื แกบุคคลอน่ื ท่เี กย่ี วของ (5) ไมเ ปน ผทู ่ีมีสว นเกย่ี วของกับการซอ้ื ขาย ออก หรอื ใบกาํ กับภาษีท่ไี มชอบดว ยกฎหมาย (6) ไมเปนผูท่ีมีสวนเก่ียวของกับการลงบัญชีหรือการทําเอกสารประกอบการลงบัญชีซึ่งเปนเหตุให กิจการท่ตี รวจสอบและรอบรองบัญชีนัน้ มติ อ งเสยี ภาษหี รือภาษนี อ ยกวา ท่ีควรคเสยี (7) ไมเปนผูท ี่มีสว นเกี่ยวขอ งหรือมสี วนรวมในการตรวจสอบและรับรองบัญชขี องกจิ การใด ซ่งึ เหตุผล เช่ือไดวามีขอมูลที่ผิดหรือบิดเบือนไปจากขอเท็จจริงและมีการละเวนหรือปดบังขอมูลท่ีจําเปนตองยื่นตอ กรมสรรพากร (8) ไมรับรองบญั ชีที่ตนเปนผูจัดทําข้ึนเอง หรือชวยเหลือ หรือเปนผูจ ัดทําบัญชีชุดอื่นข้ึน เพ่ือเจตนา หลีกเลย่ี งภาษีอากร 2. ความรคู วามสามารถในการปฏิบัติงาน (1) ตองปฏบิ ัตงิ านดว ยความรูความสามารถของวิชาชีพ (2) ไมต รวจสอบและรับรองบญั ชีในกิจการท่เี กนิ ความรคู วามสามารถของตนที่ปฏบิ ัติงานได และไม ทาํ การตรวจสอบและรับรองบัญชเี กนิ กวา 300 รายตอป (3) ไมลงลายมอื ชอื่ รับรองในรายงานของกิจการท่ตี นมไิ ดป ฏิบตั ิงานตรวจสอบควบคุมการปฏบิ ตั งิ าน ตรวจสอบ (4) สอดสองใชความรูความระมดั ระวังในการตรวจสอบและรับรองบัญชเี ย่ียงผปู ระกอบวิชาชีพ โดยท่วั ไป (5) ไมยินยอมใหผูอน่ื อา งวา ตนเปน ผูตรวจสอบและรับรองบัญชใี นกจิ การใด โดยตนมิไดปฏบิ ตั ิงาน ตรวจสอบและรับรองบญั ชี

3. จรรยาบรรณตอผเู สยี ภาษี (1) ไมเปดเผยความลบั กิจการของผูเสียภาษีหรือผูอ่ืนท่ีเก่ียวขอ งโดยนําออกแจงแกผ ูใด หรือใหทราบ ดวยวิธีใดสําหรบั กจิ การที่ตนไดรูมาในหนา ท่ีจากการตรวจสอบและรับรองบัญชีอันเปนเหตุใหกิจการน้ันไดรับ ความเสยี หาย เวนแตก ารกระทาํ นนั้ เปน การกระทาํ ตามหนา ท่ีทางวชิ าชีพหรือตามกฎหมาย (2) ไมล ะทิ้งการปฏิบัตงิ านตรวจสอบและรับรองบญั ชีทรี่ บั ไวแ ลวโดยไมมีเหตอุ นั สมควร 4. จรรยาบรรณตอ ผรู วมอาชีพ (1) ไมแ ยง งานตรวจสอบและรับรองบญั ชีจากผตู รวจสอบและรบั รองบัญชีอืน่ (2) ไมทําการตรวจสอบและรับรองบัญชีเกินกวาท่ีไดรับมอบหมายจากผูตรวจและรับรองบัญชีอ่ืน เวน แตจะไดรบั อนญุ าตจากผูร ับมอบหมายน้นั 5. จรรยาบรรณทั่วไป (1) ไมก ระทาํ การใด ๆ อนั อาจนํามาซ่ึงความเส่อื มเสยี เกยี รติศักดิ์แหง วิชาชีพในสวนเก่ยี วกบั กฎหมาย ภาษีอากร หรอื กฎหมายอ่ืน (2) ไมโ ฆษณาหรือยินยอมใหผ อู ืน่ โฆษณาดว ยประการใด ๆ ซึ่งการประกอบวชิ าชพี อนั แสดงใหเ หน็ วา จะชวยเหลือใหเสียภาษีนอ ยกวา ความเปนจริง (3) ไมใหหรือรับวาจะใหทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนใด ๆ เพ่อื เปน การจูงใจใหบ ุคคลอื่นแนะนาํ หรอื จดั หา งานตรวจสอบและรบั รองบัญชีมาใหตนทํา (4) ไมเ รยี กหรือรบั ทรัพยส นิ หรือประโยชนจ ากบคุ คลใดในเม่อื บคุ คลน้ันไดรับงานเฉพาะการแนะนาํ หรือการจัดหางานของตน (5) ไมกําหนดคาธรรมเนียมหรือคาตอบแทนโดยถือเอาอัตราสูงต่ําตามยอดเงินหรือของมูลคา ทรัพยสินใดที่ตนตรวจสอบและรับรองบัญชี หรือมีสวนรวมในการตรวจสอบและรับรองบัญชี เปน เกณฑ 8. การรายงานการตรวจสอบและรบั รองบัญชี การตรวจสอบและรับรองบัญชีของผูสอบบัญชีภาษีอากรตามมาตร3 สัตต แหงประมวล รัษฎากร มีวัตถปุ ระสงคเพ่ือใหผสู อบบัญชีภาษอี ากรไดมาซึ่งหลักฐานประกอบรายการที่ปรากฎในงบการเงิน เพ่ือใชเปนเกณฑในการตรวจสอบวาถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญ เปนไปตามมาตรฐานการรายงาน ทางเงิน รวมถึงการตรวจสอบความถกู ตองในสวนที่เปนสาระสําคญั ทางดา นภาษอี ากรตามประมวลรัษฎากร ผูสอบบัญชีภาษีอากรจะตองจัดทํารายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี ที่มีขอความ ตามแบบท่อี ธบิ ดีกาํ หนดและสรุปผลการตรวจในแตล ะรายเพื่อแนบกบั งบการเงิน 5 ขอ ดังนี้ 1. รายงานวางบการเงินแสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน ของหา งหนุ สวนตรงกบั สมุดบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชหี รือไม

2. รายงานวา งบการเงินไดจดั ทําข้ึนตามหลกั การบัญชีและวธิ ีปฏิบัตทิ างการบญั ชีท่รี ับรองท่ัวไป หรือมาตรฐานการบัญชีท่กี าํ หนดตามกฎหมายวา ดว ยการนนั้ หรือไม 3. รายงานวาเอกสารประกอบดวยการลงบัญชี เปนเอกสารท่ีเกี่ยวขอ งกับรายการที่เกดิ ข้ึนจริง ถูกตอง เช่ือถอื ไดแ ละเก่ียวของกับกจิ การหรือไม 4. รายงานวากิจการไดป รบั ปรุงกําไรสุทธ/ิ ขาดทุนสุทธิทางบญั ชี ใหเ ปนกาํ ไรสทุ ธิ/ ขาดทุนสุทธิ เพื่อเสียภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรหรือไม 5. รายงานในกรณอี น่ื ๆ ท่ีเปน สาระสําคัญซ่งึ มไิ ดก าํ หนดไวตาม 1-4 ขางตน สง่ิ ที่ตรวจพบท่ีจะนาํ มารายงานใน ขอ 5 ดงั กรณีดงั ตอ ไปน้ี 1 ขอบเขตถูกจํากัด หมายถึง การท่ีผูสอบบัญชีภาษีอากรไมอาจทําการตรวจสอบ ตามแนวทาง การตรวจสอบที่กําหนด ซ่ึงอาจเกิดจากการท่ีหางฯ ไมยินยอมใหทําการตรวจสอบ หรือไมใหความรวมมือ ในการจัดหาเอกสารหลักฐาน หรือโดยสถานการณทําใหไมอาจตรวจสอบได เชน เอกสารหลักฐาน ประกอบการบันทึกบัญชีเสยี หายเนื่องจากภัยธรรมชาติ หรอื เอกสารหลักฐานไมเ พยี งพอสําหรบั การตรวจสอบ เปนตน และผูสอบบัญชีภาษีอากรไมอาจใชว ิธีการตรวจสอบอื่นทดแทนไดซง่ึ ในกรณีนีไ้ มรวมถึงกรณีท่ีผูสอบ บัญชภี าษอี ากรจาํ กัดขอบเขตการตรวจสอบของตนเอง กรณีที่ถูกจํากัดขอบเขต จะตองมีเอกสารหลักฐานซ่ึงสามารถพิสูจนยืนยันไดวาถูกจํากัดขอบเขต จงึ เก็บไวเปนหลักฐานการตรวจสอบดวยสําหรับกรณีทีไ่ มอาจใชวิธีการตรวจสอบทดแทนได ผูสอบบัญชีภาษี อากรตอ งแสดงวธิ กี ารตรวจสอบอื่นใหเ หน็ ไวในกระดาษทาํ การ (2) พฤติการณ หมายถึง การท่ีผูสอบบัญชีภาษีอากรตรวจสอบแลวพบวา หางฯ มีพฤติการณในการ ทําเอกสารประกอบการลงบัญชีหรือบนั ทึกบัญชี โดยท่ีเห็นวานาจะไมตรงกับความเปนจริงอันอาจเปนเหตุให หา งฯ น้นั มิตอ งเสียภาษหี รือเสยี ภาษีนอ ยกวาท่คี วรเสีย ซ่ึงในกรณีนี้ถงึ แมหา งฯจะทาํ การปรับปรุงตามท่ีผสู อบ บญั ชภี าษอี ากรแจงแลว ก็ตอ งนาํ มาแรงงานในขอ 5 ดวย (3) กิจการปฏิบัติหนาท่ีตามที่ประมวลรัษฎากรกําหนดไวไมถูกตอง เชน ความถูกตองครบถวน ของใบกํากับภาษีทีก่ จิ การออก การจัดทําบญั ชีพเิ ศษและการจดั ทาํ รายงานภาษตี าง ๆ (4) กรณีที่มีผลกระทบตอความถูกตองครบถวนและขอมูลในงบการเงินและการเสียภาษีอากร ซง่ึ ไมถ ือเปนขอ ยกเวนในขอ 1-4 ของรายงานการตรวจสอบและรบั รองบญั ชี คําอธิบายรายงาน การรายงานในกรณีขอบเขตถูกจํากัด ควรระบุถึงรายงานท่ีตรวจสอบไมได จํานวนเงินที่เกี่ยวของ สาเหตุที่ทําใหไมสามารถตรวจสอบใหไดขอสรุปได สําหรับกรณีของพฤติการณ ใหระบุถึงรายละเอียด ของขอเทจ็ จรงิ น้นั ๆ

ในขน้ั วางแผนงานการตรวจสอบ การพิจารณาความมีสาระสําคัญ ผูส อบบัญชีภาษีอากรตองคาํ นงึ ถึง วัตถุประสงคหลักในการตรวจสอบและรับรองบัญชีท่ีกําหนดใหตรวจสอบวา หางฯ เสียภาษีถูกตองหรือไม ดังนั้น ในการตรวจสอบรายการบัญชีรายการใดก็ตามที่อาจทําใหหางฯ เสียภาษีผิดอยางมีสาระสําคัญ ผูสอบบัญชภี าษีอากรก็ตอ งพจิ ารณาวา รายการบัญชีน้ันมีสาระสําคัญ โดยจะตองพิจารณาความมีสาระสําคัญ ท้ังทางดานจํานวนเงินเชิงปริมาณและลักษณะเชิงคุณภาพ ซึ่งในทางปฏิบัติผูสอบบัญชีภาษีอากรควรศึกษา ขอ มูลเก่ียวกับธุรกจิ ทีต่ นทาํ การตรวจสอบเพ่อื ที่จะระบุได วา รายการบัญชใี ดทอ่ี าจทําใหหา งฯ เสียภาษผี ดิ อยางมีสาระสาํ คญั แลววางแผนเพื่อทดสอบรายการ บญั ชดี งั กลาวเปนอยา งนอย ในการจดั ทาํ รายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี เพอื่ พิจารณาความมีสาระสาํ คญั ผสู อบบญั ชภี าษี อากรตองพิจารณาวาส่ิงท่ีตรวจพบนั้นมีสาระสําคัญท่ีตองนํามาแรงงานเปนขอยกเวนในการรายงาน การตรวจสอบและรับรองบญั ชีหรอื ไม นายพิจารณาจากหลักเกณฑด งั น้ี 1. กรณีตรวจสอบแลวพบขอผิดพลาด และรายการที่พบดังกลาวมีลักษณะเปนพฤติการณดังน้ัน ไมวาหางฯ จะทําการปรับปรุงหรือไม ก็ตองรายงานพฤติการณดังกลาวไวในรายงาน การตรวจสอบและรับรองบัญชี 2. กรณีตรวจสอบแลวพบขอผิดพลาด แตรายการที่พบดังกลาวไมมีลักษณะเปนพฤติการณและ หางฯ ไดท ําการปรบั ปรุง พิจารณาไดด ังน้ี (1) กรณีขอผิดพลาดทีพ่ บเปนรายการที่อยูในบัญชีท่มี ีสาระสําคัญ อาจพจิ ารณาวา เปนไปไดท่ีจะ มขี อผดิ พลาดเชนนี้อีก ก็นาจะสรุปวาสําคัญ เวนเสียแตว าไดตรวจสอบรายการบัญชดี ังกลา ว ท้ังหมดหรือสวนใหญแลว ซ่ึงในกรณีนี้การพิจารณาสาระสําคัญจะพิจารณาจํานวนเงิน ทีพ่ บวา จะทําใหเ สยี ภาษผี ดิ ไปอยา งมีสาระสาํ คญั หรือไม (2) กรณีขอผิดพลาดท่ีพบเปนรายการที่อยูในบัญชีที่ไมมีสาระสําคัญ อาจพิจารณาวาไมสําคัญ ก็ได เนอ่ื งจากบญั ชดี งั กลาวไมอาจทําใหห างฯ เสียภาษีผิดอยางมสี าระสําคญั ในการตรวจสอบและรบั รองบัญชีน้นั ผูส อบบญั ชีภาษีอากรตองทดสอบความถกู ตองตามหลักการ บญั ชีดวย ดงั นั้น ในกรณีท่ีตรวจสอบแลวพบวารายการบัญชีใดท่ีทําใหง บการเงินอาจผิดหลักการ บัญชีอยางมสี าระสําคญั แตไมกระทบตอการเสยี ภาษีของหา งฯ ผสู อบบญั ชีภาษีอากรตองรายงาน เปน ขอยกเวน ในรายงานการตรวจสอบและรับรองบญั ชีดวย รูปแบบรายงานตามแบบ ร.1-ร.5 ปรากฏดังนี้ แบบ ร.1 สาํ หรบั กรณีงบการเงินของรอบระยะเวลาบัญชีแรก ในการจัดตั้งหางหนุ สวนนติ ิ บคุ คล

แบบ ร.2 สาํ หรับกรณีทงี่ บการเงนิ ปกอนเปน ของหางหุน สวนนติ บิ ุคคล ซ่งึ งบการเงิน ป ปจ จบุ นั ไดร บั การตรวจสอบและรับรองบญั ชีโดยผูสอบและผรู บั รองบัญชรี ายเดิม แบบ ร.3 สําหรับกรณีที่งบการเงินปกอนเปนของหางหุนสวนนิติบุคคล ซึ่งไดรับการ ตรวจสอบและรับรองบัญชีรายอน่ื แบบ ร.4 สาํ หรบั กรณที ง่ี บการเงินปกอนไมมีสถานะเปน งบการเงินของหางหุนสว นนิตบิ ุคคล แตงบการเงินปปจจุบันเปนของหางหุนสวนนิติบุคคล ซ่ึงไดรับการตรวจสอบและรับรองบัญชี โดยผตู รวจสอบและรบั รองบญั ชรี ายเดิม แบบ ร.5 สําหรบั กรณที ่ีงบการเงนิ ปก อนไมมีสถานะเปน งบการเงินของหางหุนสว นนิตบิ คุ คล ซ่ึงไดรับการตรวจสอบและรับรองบัญชีโดยผูตรวจสอบและรับรองบัญชีรายอ่ืน และงบการเงิน ของปป จจุบันเปนของหา งหุนสว นนติ บิ คุ คล

รายงานการตรวจสอบและรบั รองบัญชี แบบ ร.1 เสนอ ผเู ปนหา งหนุ สว น หางหนุ สว น ........... งบการเงินรอบระยะเวลาบัญชปี  ..........(ปแรก) ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุล ณ วันที่ .......... และงบกําไรขาดทุน สําหรับระยะเวลาตั้งแต....วันที่........ถึง วันที่ ...... ของ หางหุนสวน .......... ซึ่งผูบริหารของกิจการเปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลาน้ี สวนขา พเจาเปนผรู ับผิดชอบในการรายงานตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขา พเจา ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามแนวทางและวิธีการตรวจสอบที่กรมสรรพากรกําหนด โดยใชวิธีทดสอบ และ วิธตี รวจสอบอ่นื ท่ีเหมาะสม การตรวจสอบดังกลา วไดร วมถงึ การทดสอบรายการในแบบแจงขอความของผเู ปนหุนสว นดว ย จากการตรวจสอบดงั กลาว ขา พเจาพบวา 1. งบการเงินขางตนแสดงฐานะการเงิน ณ วันท่ี .......... และผลการดําเนินงานสําหรับระยะเวลาต้ังแตวันท่ี ...... ถึง วนั ที.่ ....... ของ หา งหุนสว น ........ ตรงตามสมดุ บัญชแี ละเอกสารประกอบการลงบัญชี (อธบิ ายขอยกเวนท่สี าํ คัญ ถา มี) 2. งบการเงินไดจดั ทาํ ขน้ึ ตามหลกั การบญั ชีทีร่ บั รองท่วั ไป (อธบิ ายขอยกเวน ท่ีสาํ คัญ ถา ม)ี 3. เอกสารประกอบการลงบญั ชเี ปนเอกสารท่ีเกย่ี วของกับรายการทเ่ี กิดข้ึนจรงิ ถูกตองเชื่อถือได และเก่ียวของกบั กจิ การ (อธิบายขอ ยกเวน ทีส่ าํ คญั ถา มี) 4. กิจการไดป รบั ปรุงกําไรสุทธ/ิ ขาดทุนสุทธทิ างบัญชี ใหเปน กาํ ไรสุทธิ/ขาดทุนสทุ ธิ เพ่ือเสียภาษอี ากรตามประมวล รษั ฎากร (อธบิ ายขอยกเวน ทส่ี าํ คัญ ถาม)ี 5. อ่ืน ๆ ลายมอื ชอ่ื (...................................................................)  ผูสอบบัญชรี ับอนญุ าต  ผูส อบบญั ชีภาษีอากร เลขทะเบยี น ....................................... เลขประจําตัวประชาชน ท่อี ยู...................................... วนั ที.่ .............................

รายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี แบบ ร.2 เสนอ ผูเปน หางหนุ สว น หา งหนุ สวน ........... งบการเงนิ รอบระยะเวลาบญั ชีป ..........(ปป จ จบุ ัน) ขา พเจาไดตรวจสอบงบดุล ณ วันท่ี .......... และงบกําไรขาดทุน สําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของหางหุนสวน .......... ซึ่งผูบริหารของกิจการเปนผรู ับผิดชอบตอความถกู ตองครบถวนของขอมลู ในงบการเงนิ เหลาน้ี สวนขาพเจาเปนผรู ับผิดชอบ ในการรายงานตองบการเงินดังกลา วจากผลการตรวจสอบของขาพเจา ขา พเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามแนวทางและวิธีการตรวจสอบท่ีกรมสรรพากรกําหนด โดยใชวิธีทดสอบและวิธี ตรวจสอบอ่ืนทเ่ี หมาะสม การตรวจสอบดงั กลา วไดรวมถึงการทดสอบรายการในแบบแจงขอความของผเู ปนหุนสวนดว ย จากการตรวจสอบดงั กลาว ขาพเจา พบวา 1. งบการเงินขางตนแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ .......... และ ผลการดําเนินงานสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน ของหางหุนสว น ........ ตรงตามสมุดบญั ชีและเอกสารประกอบการลงบญั ชี (อธิบายขอ ยกเวนทสี่ ําคัญ ถา ม)ี 2. งบการเงนิ ไดจ ดั ทําข้นึ ตามหลักการบัญชีที่รบั รองท่วั ไป (อธบิ ายขอยกเวนที่สําคัญ ถา มี) 3. เอกสารประกอบการลงบัญชีเปนเอกสารท่ีเก่ียวของกับรายการที่เกิดขึ้นจริงถูกตองเช่ือถือได และเกี่ยวของ กบั กิจการ (อธิบายขอ ยกเวนท่ีสําคญั ถามี) 4. กิจการไดปรบั ปรงุ กาํ ไรสทุ ธ/ิ ขาดทนุ สุทธิทางบัญชี ใหเ ปน กาํ ไรสุทธ/ิ ขาดทุนสทุ ธิ เพ่อื เสยี ภาษีอากรตามประมวล รัษฎากร (อธบิ ายขอ ยกเวนที่สําคญั ถา มี) 5. อ่ืน ๆ งบการเงนิ รอบระยะเวลาบญั ชีป ........ (ปกอ น) งบการเงนิ สาํ หรบั ป ........ (ปกอน) ไดรับการตรวจสอบและรับรองบัญชโี ดยขาพเจา ตามรายงานการตรวจสอบและรับรอง บญั ชี ลงวันที่ ............ ซ่ึงรายงานโดย ( ) ไมมขี อ ยกเวน ( ) มีขอ ยกเวน ลายมือช่อื (...................................................................)  ผสู อบบญั ชรี ับอนุญาต  ผูสอบบัญชภี าษีอากร เลขทะเบยี น ....................................... เลขประจําตัวประชาชน ท่ีอยู. ..................................... วันที.่ .............................

รายงานการตรวจสอบและรบั รองบัญชี แบบ ร.3 เสนอ ผเู ปนหางหนุ สว น หา งหุนสว น ........... งบการเงินรอบระยะเวลาบัญชปี  ..........(ปป จ จุบัน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุล ณ วนั ที่ .......... และงบกําไรขาดทุน สําหรับปส้ินสดุ วันเดียวกันของหางหุนสวน .......... ซ่งึ ผูบริหารของกิจการเปนผรู ับผิดชอบตอความถกู ตองครบถวนของขอมูลในงบการเงนิ เหลานี้ สวนขาพเจาเปนผรู ับผิดชอบ ในการรายงานตองบการเงนิ ดังกลา วจากผลการตรวจสอบของขา พเจา ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามแนวทางและวิธีการตรวจสอบที่กรมสรรพากรกําหนด โดยใชวิธีทดสอบและวิธี ตรวจสอบอ่ืนทเี่ หมาะสม การตรวจสอบดังกลา วไดรวมถึงการทดสอบรายการในแบบแจง ขอความของผูเ ปน หุนสวนดวย จากการตรวจสอบดังกลา ว ขาพเจาพบวา 1. งบการเงินขางตนแสดงฐานะการเงิน ณ วันท่ี .......... และ ผลการดําเนินงานสําหรับปส้ินสุดวันเดียวกัน ของหางหุนสวน ........ ตรงตามสมุดบัญชแี ละเอกสารประกอบการลงบัญชี (อธิบายขอ ยกเวนท่สี ําคัญ ถามี) 2. งบการเงินไดจดั ทําขึน้ ตามหลกั การบญั ชีท่ีรับรองทั่วไป (อธบิ ายขอ ยกเวน ทสี่ าํ คญั ถาม)ี 3. เอกสารประกอบการลงบัญชีเปนเอกสารที่เก่ียวของกับรายการท่ีเกิดขึ้นจริงถูกตองเชื่อถือได และเก่ียวของ กับกิจการ (อธบิ ายขอยกเวน ท่ีสาํ คญั ถาม)ี 4. กิจการไดป รบั ปรงุ กําไรสุทธ/ิ ขาดทนุ สทุ ธทิ างบัญชี ใหเปนกําไรสุทธิ/ขาดทุนสทุ ธิ เพ่อื เสียภาษีอากรตามประมวล รัษฎากร (อธบิ ายขอยกเวน ท่ีสําคัญ ถามี) 5. อ่ืน ๆ งบการเงนิ รอบระยะเวลาบญั ชีป ........ (ปก อ น) งบการเงินสําหรับป ........ (ปกอน) ไดรับการตรวจสอบและรับรองบัญชีโดยผูตรวจสอบและรับรองบัญชีอื่น ตามรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี ลงวันที่ ............ ซึ่งรายงานโดย ( ) ไมมีขอยกเวน ( ) มีขอ ยกเวน ลายมือชอื่ (...................................................................)  ผสู อบบัญชรี บั อนุญาต  ผสู อบบัญชีภาษอี ากร เลขทะเบยี น ....................................... เลขประจาํ ตวั ประชาชน ทอ่ี ยู. ..................................... วันท่ี..............................

รายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี แบบ ร.4 เสนอ ผเู ปน หา งหุน สวน หา งหุนสวน ........... งบการเงินรอบระยะเวลาบญั ชปี  ..........(ปป จ จบุ ัน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุล ณ วนั ที่ .......... และงบกําไรขาดทุน สําหรับปส้ินสุดวันเดียวกันของหางหุนสวน .......... ซึ่งผูบริหารของกิจการเปนผูร ับผิดชอบตอความถูกตองครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผรู ับผิดชอบ ในการรายงานตองบการเงินดงั กลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามแนวทางและวิธีการตรวจสอบที่กรมสรรพากรกําหนด โดยใชวิธีทดสอบ และวิธีตรวจสอบอ่ืนท่ีเหมาะสม การตรวจสอบดังกลาวไดรวมถึงการทดสอบรายการในแบบแจงขอ ความของผูเปนหุนสวน ดว ย จากการตรวจสอบดังกลา ว ขา พเจา พบวา 1. งบการเงินขางตนแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ .......... และ ผลการดําเนินงานสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน ของหา งหุนสว น ........ ตรงตามสมดุ บญั ชีและเอกสารประกอบการลงบัญชี (อธบิ ายขอยกเวนทสี่ าํ คญั ถามี) 2. งบการเงนิ ไดจ ัดทําข้ึนตามหลกั การบญั ชีทรี่ บั รองท่วั ไป (อธบิ ายขอยกเวนทีส่ าํ คญั ถา ม)ี 3. เอกสารประกอบการลงบัญชีเปนเอกสารที่เก่ียวของกับรายการที่เกิดขึ้นจริงถูกตองเช่ือถือได และเกี่ยวของ กบั กจิ การ (อธิบายขอยกเวน ทีส่ าํ คญั ถา มี) 4. กจิ การไดปรบั ปรงุ กําไรสุทธ/ิ ขาดทุนสทุ ธทิ างบัญชี ใหเปนกาํ ไรสุทธ/ิ ขาดทุนสทุ ธิ เพอ่ื เสียภาษอี ากรตามประมวล รัษฎากร (อธิบายขอ ยกเวน ทส่ี ําคญั ถา มี) 5. อ่ืน ๆ งบการเงนิ รอบระยะเวลาบญั ชีป ........ (ปกอน) งบการเงนิ สําหรับป ........ (ปกอ น) ไดร บั การตรวจสอบและรับรองบญั ชีโดยขา พเจา ตามรายงานของผูสอบบญั ชีรับ อนญุ าต ลงวนั ที่ ............ ซึ่งรายงานโดย ( ) แสดงความเหน็ อยางไมม เี งื่อนไข ( ) แสดงความเหน็ อยา งมเี งอื่ นไข หรือแสดงความเห็นวางบการเงนิ ไมถูกตอ ง หรือไมแ สดงความเหน็ ลายมอื ชอ่ื (...................................................................)  ผสู อบบัญชรี บั อนญุ าต  ผสู อบบัญชีภาษีอากร เลขทะเบยี น ....................................... เลขประจําตัวประชาชน ทอี่ ยู......................................

รายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี แบบ ร.5 เสนอ ผเู ปน หางหนุ สวน หา งหนุ สวน ........... งบการเงินรอบระยะเวลาบญั ชปี  ..........(ปป จ จุบัน) ขา พเจาไดต รวจสอบงบดุล ณ วนั ท่ี .......... และงบกําไรขาดทุน สําหรับปส้ินสุดวันเดียวกันของหางหุนสวน .......... ซึ่งผูบริหารของกิจการเปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองครบถวนของขอมลู ในงบการเงนิ เหลาน้ี สวนขาพเจาเปนผูรับผดิ ชอบ ในการรายงานตอ งบการเงนิ ดังกลา วจากผลการตรวจสอบของขา พเจา ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามแนวทางและวิธีการตรวจสอบที่กรมสรรพากรกําหนด โดยใชวิธีทดสอบ และวิธีตรวจสอบอ่ืนท่ีเหมาะสม การตรวจสอบดังกลาวไดรวมถึงการทดสอบรายการในแบบแจงขอความของผูเปนหุนสวน ดว ย จากการตรวจสอบดงั กลาว ขาพเจา พบวา 1. งบการเงินขางตนแสดงฐานะการเงิน ณ วันท่ี .......... และ ผลการดําเนินงานสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน ของหางหุนสวน ........ ตรงตามสมดุ บญั ชีและเอกสารประกอบการลงบญั ชี (อธบิ ายขอ ยกเวนท่สี ําคัญ ถาม)ี 2. งบการเงินไดจดั ทาํ ขึน้ ตามหลกั การบญั ชีทรี่ ับรองท่ัวไป (อธิบายขอ ยกเวนทสี่ าํ คญั ถามี) 3. เอกสารประกอบการลงบัญชีเปนเอกสารท่ีเกี่ยวของกับรายการที่เกิดข้ึนจริงถูกตองเชื่อถือได และเก่ียวของ กับกจิ การ (อธิบายขอ ยกเวน ทีส่ ําคญั ถามี) 4. กิจการไดป รับปรุงกําไรสุทธ/ิ ขาดทุนสทุ ธทิ างบัญชี ใหเปนกาํ ไรสุทธิ/ขาดทุนสุทธิ เพื่อเสยี ภาษอี ากรตามประมวล รษั ฎากร (อธบิ ายขอ ยกเวนที่สําคญั ถามี) 5. อน่ื ๆ งบการเงนิ รอบระยะเวลาบญั ชีป ........ (ปก อ น) งบการเงินสําหรับป ........ (ปกอน) ไดรับการตรวจสอบและรับรองบัญชีโดยผูตรวจสอบและรับรองบัญชีอื่น ตามรายงานของผสู อบบญั ชีรบั อนุญาต ลงวันท่ี ............ ซ่ึงรายงานโดย ( ) แสดงความเหน็ อยางไมม เี งอื่ นไข ( ) แสดงความเห็นอยางมเี งือ่ นไข หรอื แสดงความเหน็ วางบการเงนิ ไมถูกตอ ง หรอื ไมแ สดงความเห็น ลายมอื ช่ือ (...................................................................)  ผูสอบบญั ชรี บั อนุญาต  ผูส อบบญั ชภี าษอี ากร เลขทะเบยี น ....................................... เลขประจําตัวประชาชน ท่อี ย.ู .....................................

ในการจัดทํารายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชีของผูสอบบัญชีภาษีอากรตามแบบ ร.1-ร.5 ยงั คงใช “งบแสดงฐานะการเงิน” และ “งบกาํ ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ” ดังน้ัน เพ่ือใหชอื่ บัญชีอนั เปน งบการเงิน ที่ตองจัดทําตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคา เร่ือง กําหนดรายการยอท่ีตองมีในงบการเงิน พ.ศ. 2554 สอดคลองกบั บญั ชีท่ีจัดทําตามประมวลรัษฎากร กรมสรรพากรไดออกประกาศกรมสรรพากร เร่ือง การจัดทํา บัญชีงบดุล บัญชีทําการ และบัญชีกําไรขาดทุนตามมาตรา 68 ทวิ แหงประมวลรัษฎากร ลงวันท่ี 23 กมุ ภาพันธ พ.ศ. 2555 สรปุ ไดดังนี้ 1. งบแสดงฐานะการเงินท่ีตองจัดทําตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคา เร่ืองกําหนดรายการยอท่ี ตอ งมใี นงบการเงนิ พ.ศ. 2554 ถอื เปน “บญั ชีงบดลุ ” ตามมาตรา 68 ทวิแหง ประมวลรษั ฎากร 2. งบกาํ ไรขาดทนุ เบด็ เสร็จ ท่ีตองจดั ทําตามประกาศกรมพฒั นาธุรกิจการคา เรอื่ งกําหนดรายการยอ ทต่ี อ งมใี นงบการเงิน พ.ศ. 2554 ถอื เปน “บัญชกี าํ ไรขาดทุน” ตามมาตรา 68 ทวิ แหง ประมวลรัษฎากร 3. งบกําไรขาดทนุ ที่ตองจัดทําตามประกาศกรมพัฒนาธรุ กจิ การคา เรอ่ื งกําหนดรายการยอทต่ี อ งมใี น งบการเงิน พ.ศ. 2554 ถอื เปนน “บญั ชีกําไรขาดทนุ ” ตามมาตรา 68 ทวิ แหง ประมวลรษั ฎากร สรุป จากการท่พี ระราชบญั ญตั ิการบญั ชี พ.ศ. 2543 ไดย กเวนการสอบบัญชีสาํ หรบั หางหุนสวนจดทะเบียน ท่ีมีทุนจดทะเบียนไมเกิน 5 ลานบาท และสินทรัพยรวมไมเกิน 30 ลานบาท และรายไดรวมไมเกิน 30 ลาน บาท สงผลใหงบการเงินของหางหุนสวนขนาดเล็กไมตองผานการตรวจสอบจากผูสอบบัญชีรับอนุญาต ทําใหกรมสรรพากรมีแนวคิดเกี่ยวกับผูสอบบัญชีภาษีอากร เพ่ือทําหนาท่ีตรวจสอบและรับรองบัญชี หางหุนสวนจดทะเบียนขนาดเล็กดังกลาว และเพ่ือประโยชนในการจัดเก็บภาษีอากร กรมสรรพากรจึงได ดําเนินการจัดหาผูสอบบัญชีภาษีอากร เพื่อตรวจสอบและรับรองบัญชีของหางหุนสวนจดทะเบียนขนาดเล็ก ดังกลาว เพ่ือใหเปนเปนไปตามมาตรา 69 แหงประมวลรัษฎากร ผูสอบบัญชีภาษีอากร (Tax Auditor : TA) เปนผทู ่ีไดรบั การข้ึนทะเบยี นและไดรับใบอนญุ าตเปนผูสอบบัญชีภาษีอากรจากอธิบดกี รมสรรพากร ตองปฏิบัติ ตามหลักเกณฑ วิธกี าร และเง่ือนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนด ผูสอบบญั ชีภาษีอากรสามารถตรวจสอบได เฉพาะ งบการเงินของหางหุนสวนขนาดเลก็ (ทุนจดทะเบียนไมเกิน 5 ลานบาท สินทรพั ยรวมไมเกิน 30 ลาน บาท และรายไดรวมไมเกิน 30 ลานบาท ซ่ึงตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินดังกลาว ไมตองไดรบั การตรวจสอบโดยผูสอบบัญชีรบั อนญุ าต ในการปฏบิ ัติงานตรวจสอบและรับรองผูสอบบัญชีภาษี อากรตองเขารับการอบรมทางดานกฎหมาย ภาษีอากรและความรูอื่นที่เกี่ยวของกับวิชาชีพผูสอบบัญชีภาษี อากร 9 ช่ัวโมงตอ ป และตองปฏิบัตติ ามมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน การรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี การรกั ษาจรรยาบรรณตามทก่ี รมสรรพากรกําหนด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook