Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้

ใบความรู้

Published by Fern_Ohm ch, 2019-07-12 03:55:05

Description: เรื่อง ระบบหน่วยและปริมาณพื้นฐานทางไฟฟ้า

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ เรอ่ื ง ระบบหนว่ ยและปรมิ าณพ้นื ฐานทางไฟฟา้

ใบความรู้ เร่อื ง ระบบหนว่ ยและปรมิ าณพืน้ ฐานทางไฟฟา้ 1. ระบบหนว่ ย 1.1 ความหมายของหน่วย หนว่ ย (Unit) คอื วธิ ีการแสดงขนาดของพน้ื ฐานด้านการวดั ไดแ้ ก่ เมตร, วินาที , กรัม, เคลวิน เปน็ ตน้ 1.2 ระบบหนว่ ย ระบบการวัดมี 5 ระบบดว้ ยกันได้แก่ CGS , FPS , SI ทงั้ 3 ระบบนเ้ี ปน็ ระบบสัมบูรณ์ (Absolute System) สว่ นอีก 2 ระบบ ได้แก่ ระบบ British Engineering และ American Engineering ซ่ึงเป็นระบบแรงโน้มถว่ ง (Gravitation Systems) ระบบหน่วยที่เป็นที่ยอมรบั และใช้กันมากทีส่ ดุ คือ ระบบ SI (Standard International Unit)ความแตกต่างของระบบท้งั 5 น้ี แสดงไวใ้ นตารางท่ี 1 หนว่ ย CGS FPS SI British American Engineering Engineering ระยะทาง Cm ft m Ft ft มวล Gram lb kilogram Slug pound-mass เวลา Sec hr sec Hr hr แรง Dyne poundal newton pound pound-force weight อุณหภมู ิ K , oC oR , oF K , oC oR , oF oR , oF พลังงาน Erg,joule,calori ft-poundal joule Btu,ft-lb,ft-lbf Btu , hp-hr e ตารางท่ี 1 แสดงระบบหนว่ ย 1.3 การใชห้ น่วยในระบบ SI ส่วนใหญ่ตัวย่อของหนว่ ยในระบบ SI มักใช้ตวั อักษรภาษาอังกฤษตวั เล็กเป็นสญั ลักษณ์แทน เชน่ h (hour;ช่วั โมง ) m (metre;เมตร) ยกเวน้ สญั ลกั ษณ์ของหนว่ ยท่ีตงั้ ขึน้ เพือ่ เปน็ เกยี รตติ ามชอื่ บคุ คล แลว้ จึงจะใชต้ วั อักษรตัวใหญ่เปน็ ชอื่ นาหน้า เชน่ N (Newton;นวิ ตัน) Pa (Pascal;ปาสคาล) J(Joule;จลู ) เปน็ ต้น

ในกรณที ีจ่ านวนของตัวเลขมีปรมิ าณมากหรือนอ้ ยเกนิ กว่าปกติ ในระบบ SI จะใชต้ วั นา หนา้ หน่วยแทน ตัวนาหน้านคี้ อื วิธเี พ่มิ หรือลดคา่ ดชั นีของสบิ ทใ่ี ช้กบั หน่วยพ้ืนฐานและเขียนเป็นตวั ย่อ เชน่ 103 g เท่ากับ 1 kg (kilogram;กิโลกรัม) จะเหน็ ว่าตวั ยอ่ ของตัวนาหนา้ หน่วยบางตวั กเ็ ขยี นเป็น ตัวอักษรตวั ใหญ่ บางตัวก็เล็ก ดงั แสดงในตารางท่ี 2 ซง่ึ ทงั้ นีข้ ้ึนอยูก่ บั ช่ือท่ีต้งั ขนึ้ และมขี อ้ ควรระวงั ใน การเขียนตวั ยอ่ ของตัวนาหนา้ หน่วย กล่าวคือจะตอ้ งเขียนให้ชิดกับหนว่ ยเลย มฉิ ะนน้ั แลว้ ความหมาย ของหนว่ ยนน้ั จะผดิ ไปทนั ที เช่นตอ้ งการเขยี นเปน็ มิลลินิวตัน(mN) ถา้ เขียนห่างกันเปน็ m N อาจเข้าใจ ผดิ เปน็ เมตรนวิ ตัน หรอื นวิ ตนั เมตร ซ่ึงหมายถงึ หน่วยของแรงบิดได้ คานาหนา้ หน่วยได้แสดงไวด้ ังตารางดา้ นลา่ ง โดยแสดงชอื่ เรียกคานาหน้าหน่วย,ตวั คูณหรอื Factor และสัญลักษณท์ ี่ใช้ ตัวคูณ คานาหนา้ สญั ลกั ษณ์ 1024 Yotta(ยอตต้า) Y 1021 Zetta(เซ็ตต้า) Z 1018 Exa(เอ๊กซ่า) e 1015 Peta(ปีต้า) p 1012 Tera(เทรา่ ) T 109 Giga(จีกา) G 106 Mega(เมกกะ) M 103 Kilo(กโิ ล) k 102 Hecto(เฮ๊กโต) h 101 Deca(เดก้า) da 10-1 Deci(เดซ)ิ d 10-2 Centi(เซ็นติ) c 10-3 Milli(มลิ ลิ) m 10-6 Micro(ไมโคร)  10-9 Nano(นาโน) n 10-12 Pico(พกิ โก) p 10-15 Femto(เฟมโต) f 10-18 Atto(แอต๊ โต) a 10-21 Zepto(เซพโต) z 10-24 Yocto(ยอคโต) y ตารางท่ี 2 คานาหน้าหน่วยในระบบ SI

หนว่ ยพืน้ ฐานของระบบ SI มี 7 หน่วยที่ใช้กนั มีดงั ตารางท่ี 3 ปรมิ าณ ชอ่ื หน่วย สญั ลักษณ์ ระยะทาง เมตร (metre) M มวล กิโลกรมั (kilogram) kg เวลา วนิ าที (second) s กระแสไฟฟา้ แอมแปร์ (ampere) A อณุ หภมู ิ เคลวิน (kelvin) K ปริมาณสาร โมล (mole) mol ความเขม้ แสง แคนเดลลา (candela) cd ตารางที่ 3 หน่วยมลู ฐานทั้ง 7 ในระบบ SI เนอ่ื งจากการวัดในทางวิทยาศาสตร์ หรอื ในทางอุตสาหกรรมนั้น มกี ารวัดปริมาณต่าง ๆ มากขึน้ ซงึ่ ทาใหห้ น่วยวัดพน้ื ฐานของระบบ SI ไมพ่ อใช้ จึงไดม้ ีหนว่ ยวัดอืน่ เข้ามาใช้ระบบในระบบ SI ดว้ ย และถอื ว่าหน่วยทีน่ ามาใชร้ ว่ มนี้ เปน็ ระบบ SI รว่ ม ปรมิ าณ ช่อื หน่วย สญั ลกั ษณ์ พ้นื ท่ี ตารางเมตร m2 ปริมาตร ลกู บาศก์เมตร m3 ความถ่ี เฮิร์ตซ์ Hz หรือ s-1 ความหนาแนน่ มวล กโิ ลกรัมตอ่ ลูกบาศกเ์ มตร kg / m3 ความเร็ว เมตรต่อวินาที m/s ความเร็วเชิงมมุ เรเดียนตอ่ วินาที rad / s ความเรง่ เมตรต่อวนิ าทีกาลงั สอง m / s2 ความเรง่ เชิงมุม เรเดยี นตอ่ วินาทกี าลังสอง rad / s2 แรง นวิ ตนั N หรอื kg m / s2 ความดนั ปาสคาล Pa หรือ N / m2 งาน พลงั งาน ปริมาณความร้อน จลู J หรือ N m กาลัง วตั ต์ W หรือ J / s ปริมาณประจุไฟฟ้า คูลอมบ์ C หรือ A s ความตา่ งศักย์ แรงขับเคลื่อนไฟฟ้า โวลต์ V หรอื W / A

ปรมิ าณ ชอ่ื หนว่ ย สญั ลักษณ์ โวลต์ต่อเมตร หรือ นิวตัน ความเข้มสนามแมเ่ หล็ก V/m ตอ่ คลู อมบ์ เอนโทรปี จลู ต่อเคลวิน J/K ความร้อนจาเพาะ จลู ต่อกโิ ลกรัม เคลวนิ J / ( kg K ) คา่ การนาความร้อน วตั ต์ตอ่ เมตร เคลวนิ W/(m K) ตารางที่ 4 หน่วยอนพุ ันธ์บางตวั ในระบบ SI 2. ปรมิ าณพ้นื ฐานทางไฟฟ้า 2.1 ประจุไฟฟ้า ประจุไฟฟ้า (Charge) หมายถึง อนุภาคทเ่ี ล็กท่ีสดุ ของไฟฟ้าท่ีไหลในตวั นา ใชส้ ัญลกั ษณค์ ือ Q มีหน่วยเปน็ คูลอมบ์ (Culomb , C) โดยมีนกั ฟสิ ิกขช์ าวฝรั่งเศส ช่อื วา่ ชาร์ล เอ.คูลอมป์ (Charles Augustin Coulomb)เป็นผู้คน้ พบแรงระหวา่ งประจไุ ฟฟ้า เรยี กว่ากฎของคลู อมป์ ประจุ ไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ ประจุบวก และประจุลบ ประจไุ ฟฟา้ จะถกู ยึดเหนยี่ วเขา้ ด้วยกนั เรยี กว่า อเิ ล็กตรอน โดยอเิ ลก็ ตรอนหนง่ึ ตัวจะมจี านวนประจเุ ทา่ กับ  1.60203 x 10-19 คูลอมป์ คือ ประจุหน่ึงคูลอมบ์จะ มคี ่าเท่ากับ  6.242x1018 อิเลก็ ตรอน คือกลา่ วอีกนัยหนึ่งว่า อิเล็กตรอนทีเ่ ปน็ ลบกค็ ือเปน็ ประจุไฟฟา้ ลบ ส่วนอเิ ลก็ ตรอนทเ่ี ปน็ บวกเรยี กอีกอย่างหนึ่งว่า โปรตรอน(Proton) นัน่ เอง รปู ท่ี 1.1 ชารล์ เอ.คูลอมป์ (Charles Augustin Coulomb)

การทีจ่ ะทาให้ประจไุ ฟฟ้า เคล่ือนท่ีไดน้ ้ัน ต้องมแี รงผลักหรือแรงดึงดดู ซึง่ เราเรยี กวา่ แรงเคล่ือนไฟฟา้ หรอื แรงดันไฟฟ้า นัน่ เอง ประจไุ ฟฟา้ ชนิดเดียวกนั จะผลักและประจไุ ฟฟ้าต่างชนดิ กัน จะดงึ ดูดกนั การเคลอื่ นท่ีของประจุภายในตัวนา จะเกดิ พลงั งานอย่างอนื่ เกดิ ขึ้นอีกด้วย รปู ท่ี 1.2 การเคลอื่ นท่ีของประจุไฟฟ้า 2.2 แรงเคล่อื นไฟฟ้าหรือแรงดันไฟฟ้า แรงเคลอ่ื นไฟฟ้าหรือแรงดันไฟฟ้า (Electromotive Force , EMF) คอื แรงดนั ท่ีเกดิ จากการ เปลีย่ นพลงั งานอืน่ มาเปน็ พลงั งานไฟฟา้ เรยี กวา่ โวลต์เตจ เป็นแรงดัน ทาใหเ้ กิดการเคล่อื นท่ขี อง อิเล็กตรอน เมอ่ื นาแรงดันน้นั มาต่อเขา้ กบั ตัวนาไฟฟ้า โดยปกตแิ รงดนั ไฟฟา้ มหี นว่ ยเป็น โวลต์ (Volt , V)  รูปท่ี 1.3 การเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า

2.3 ความตา่ งศักยไ์ ฟฟ้า ความตา่ งศักย์ไฟฟา้ หมายถงึ ความแตกตา่ งระหว่าง คา่ แรงดันไฟฟ้า ณ จุดนน้ั เทียบกบั จุดที่เปรียบเทยี บ ถ้าค่าศักย์ไฟฟ้าไม่เท่ากันหรือเกิดความตา่ งศักย์ กจ็ ะเกดิ การเคลอ่ื นท่ขี องอิเลก็ ตรอน ทาให้เกดิ กระแสไหลจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสงู ไปยังจุดทีม่ ศี ักยไ์ ฟฟ้าต่า ปริมาณของกระแสที่ไหลจะแปร ตามค่าความต่างศกั ย์ท่เี กิดขน้ึ รปู ที่ 1.4 การเกดิ ความตา่ งศักย์ไฟฟ้า จากรปู ท่ี 1.4 จดุ A มีศักยไ์ ฟฟ้า 5 โวลต์ เทียบกบั จุด B ซงึ่ มีศกั ย์ไฟฟ้า 3 โวลต์ ค่าความต่างศักย์ ทไี่ ด้เท่ากับ 5 – 3 V = 2 V 2.4 กระแสไฟฟา้ กระแส (Current) ใชส้ ญั ลักษณ์ I มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (Ampere , A) คือ อัตราการ เคลื่อนทข่ี องประจุ หรือค่าเฉล่ยี จานวนประจทุ ี่เคล่ือนที่ผา่ นจดุ ใดจุดหน่งึ ในแตล่ ะวินาที เราสามารถเขียน สมการได้ ดงั นี้ I Q t โดย I คือ กระแสไฟฟ้า มหี น่วยเปน็ แอมแปร์ (Ampere , A) Q คือ ประจุไฟฟ้า มหี นว่ ยเป็น คูลอมบ์ (Culomb , Q) t คือ เวลา มหี นว่ ยเปน็ วินาที (Second , s) นักวิทยาศาตรท์ ่ีคน้ พบความสมั พันธ์ดังกล่าวคอื นายแอนดรู มารี่ แอมป์แปร์

รปู ท่ี 1.5 Andre-Marie Ampere 2.5 กาลังงานไฟฟ้า กาลังงานไฟฟา้ คืออัตราการทางานต่อเวลา ดงั นั้น กาลังงานคืองานที่ทาไดใ้ นหนง่ึ หนว่ ย เวลา P w t โดย P คือ กาลงั มีหน่วยเป็น วตั ต์ (watt หรือ w) w คอื งาน มหี นว่ ยเป็น จลู (Joul,J) t คอื เวลา มีหนว่ ยเป็น วินาที (s) ดงั นนั้ จงเขียนสมการไดว้ า่ 1 w = 1 J/s (1 วตั ต์ = 1 จลู ตอ่ วนิ าที) ในทางไฟฟ้าไม่สะดวกท่ีจะหาคา่ งานเป็นจลู จงึ แปลงสมการการหากาลังไฟฟ้าในรปู ของ แรงดันและกระแสไฟฟา้ ดงั น้ี P  w  w . Q  VI มหี น่วยเป็น watt t Qt หนว่ ยของกาลังที่นิยมอีกหน่วยหนึ่ง คือ กาลังม้า ( Horsepower หรือ HP ) ซึง่ เป็น หนว่ ย ของประเทศอังกฤษ โดยเทียบค่าไดด้ ังน้ี 1 hp = 746 W 2.6 พลังงานไฟฟา้ พลังงานไฟฟา้ คือ กาลังงานไฟฟ้าท่ถี กู ใช้งานคณู ดว้ ยคา่ เวลา ในทางปฏิบตั ิ จะคดิ คา่ พลงั งานเปน็ กโิ ลวตั ต์ (kW) และค่าเวลาเปน็ ชั่วโมง (h) เชน่ การคิดคา่ ไฟฟ้าในการใชพ้ ลังงานไฟฟ้า ภายในบ้านเรือน W = Pt มีหนว่ ยเปน็ kw.h

ตัวอย่างท่ี 1 ถ้าค่าไฟฟ้ามรี าคาหน่วยละ 2.75 บาท กรณีใช้หลอดไฟฟ้า 60 w กบั แรงดัน 220 v เปน็ เวลา 30 วนั โดยใช้วันละ 8 ชว่ั โมง จงหาว่าจะตอ้ งจา่ ยคา่ ไฟฟา้ เทา่ ไร วธิ ที า หน่วยของกาลงั งานไฟฟ้า หมายถึง 1kw.h หาคา่ กาลังเปน็ kw = 0.06 kw หาค่าเวลาท่ใี ช้พลังงานไฟฟา้ = 30 x 8 = 240 h ดังน้นั w = p x t = 0.06 kw x 240 h = 14.4 kw.h คา่ ไฟฟา้ หนว่ ยละ 2.75 บาท ดังน้ันจะตอ้ งจา่ ยคา่ ไฟฟ้า 14.4 kw.h x 2.75 บาท = 28.8 บาท 2.7 ประสทิ ธิภาพ หรอื เป็น ประสทิ ธิภาพ คือ อตั ราสว่ นของงานที่ไดร้ บั ออกมาตอ่ งานท่ีป้อนเข้ามา เชน่ การ ความสามารถในการเปล่ียนพลังงานรูปหนึ่ง เป็นพลังงานรูปหนง่ึ ตามที่เราต้องการใช้งาน เปลี่ยนพลงั งานไฟฟ้า เป็นพลงั งานกล เป็นต้น   Wout โดย  อ่านว่า นตี ้า Win โดย  คือ ค่าประสิทธภิ าพ Wout คือ งานท่ีรบั ออกมา Win คือ งานท่รี ับเข้ามา เมื่อวัดประสิทธิภาพเป็นเปอรเ์ ซนต์ (%) จะได้   Wout x100 Win ในทางปฏิบตั นิ ยิ มวัดประสิทธิภาพจากกาลัง จะได้   Pout .t x 100 Pin .t   Pout x 100 Pin

ตวั อยา่ งที่ 2 จงหากาลังอินพุตของมอเตอร์ขนาด 2 hp ทมี่ ีประสิทธิภาพ 80% วธิ ีทา จากสมการ   Pout x 100 Pin จะได้ Pin  Pout x 100  เม่อื Pout = 2x746 = 1492 w และ   80% แทนคา่ Pin  1492 x 100 80 1865 w กาลังอินพตุ ของมอเตอรเ์ ท่ากบั 1,865 W. 3. กฎของโอห์ม ในวงจรไฟฟ้า จะมี 3 ปรมิ าณเกิดขึ้น อันไดแ้ ก่ แหลง่ จ่ายไฟฟา้ , ความตา้ นทาน และ กระแสไฟฟ้า ความสัมพันธ์ดังกล่าวถกู คดิ ค้นโดยนกั วทิ ยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ชอ่ื จอร์จ ไซมอน โอหม์ ซ่ึงไดอ้ ธิบายความสัมพนั ธ์ของปริมาณดังกลา่ ว โดยกระแสแปรผันตรง กับแรงดันไฟฟา้ (IE) แต่จะ แปรผกผนั กับตัวตา้ นทาน (I 1 ) กฎของโอห์มน้ถี อื วา่ เป็นทฤษฎแี รกท่นี าไปสกู่ ารวิเคราะห์ ใน R ทฤษฎีอ่นื ๆ ต่อไป เชน่ กฎการแบ่งกระแส,กฎการแบง่ แรงดัน,กฎเคอรช์ อฟ,เมช ,ทิวินิน,นอร์ตัน เปน็ ต้น ซ่ึงกฎหรือทฤษฎเี หล่านลี้ ้วนมีรากฐานมาจากกฎของโอห์มท้งั สิน้ รปู ท่ี 1.6 จอร์จ ไซมอน โอห์ม

3.1 นยิ ามกฎของโอหม์ (Ohm's law) นักวิทยาศาสตร์ ชาวเยอรมนั ชอ่ื จอรจ์ ไซมอน โอห์ม ได้คน้ พบ ความสมั พนั ธข์ อง 3 ปรมิ าณ อนั ได้แก่ กระแสไฟฟ้า (I) , แรงดนั ไฟฟ้า (E,V) และความต้านทาน (R) โดยกล่าวไวว้ า่ \"ในวงจรไฟฟา้ ใด ๆ กระแสไฟฟ้าจะแปรผันตรงกบั แรงดนั ไฟฟ้า (IE) และแปรผกผันกับตวั ต้านทาน (I 1 ) \" R  (I)  (E) RL รูปท่ี 1.7 วงจรไฟฟา้ ทีม่ าของนิยามกฎ ของโอหม์ เราเขียน ความสมั พนั ธ์ดงั กลา่ วขา้ งต้นไว้ดังน้ี IE R เม่ือ I คือ กระแสไฟฟ้า (Current) มหี น่วยเปน็ แอมแปร์ (Ampere) ใช้อกั ษรย่อ A E คือ แรงดันไฟฟ้า (Voltage) มีหน่วยเป็น โวลท์ (Volt) ใชอ้ ักษรย่อ V R คือ ความต้านทาน (Resistor) มหี นว่ ยเป็นโอห์ม (Ohm) ใช้อักษรย่อ  จากความสมั พนั ธ์ของกฎของโอหม์ I  E เราสามารถหาค่าใด ๆ จากรูปที่ 1.8 ได้ R E IR รูปที่ 1.8 ความสมั พนั ธ์ของกฎของโอหม์

จากรปู ที่ 1.8 เมอ่ื เราตอ้ งการทราบค่าใดกป็ ิดค่าน้นั ไว้ กจ็ ะไดค้ า่ ความสมั พันธข์ องค่าที่เรา ตอ้ งการทราบ เชน่ เมือ่ เราตอ้ งการทราบคา่ กระแสไฟฟา้ ที่เกดิ ข้นึ ในวงจร กใ็ ห้ปดิ คา่ กระแสไฟฟา้ (I) จะได้ ความสมั พนั ธ์แรงดนั ไฟฟา้ (E) หารด้วย คา่ ความตา้ นทาน (R) เม่อื เราต้องการทราบค่าแรงดันไฟฟา้ ท่เี กดิ ข้ึนในวงจร ก็ให้ปิดคา่ แรงดนั ไฟฟ้า (E) จะได้ ความสัมพันธก์ ระแสไฟฟา้ (I) คณู ดว้ ย คา่ ความตา้ นทาน (R) เมื่อเราตอ้ งการทราบค่าค่าความตา้ นทาน (R) ท่ีเกดิ ขนึ้ ในวงจร ก็ใหป้ ดิ ค่าความต้านทาน (R) จะ ได้ความสัมพนั ธ์แรงดนั ไฟฟ้า (E) หารดว้ ย กระแสไฟฟ้า (I) 3.2 การหาค่ากระแสไฟฟา้ จากกฎของโอหม์ การหาค่ากระแสไฟฟ้าจากกฎของโอหม์ สามารถทาได้โดยการใช้ความสัมพันธ์ของกฎของ โอห์ม จาก I  E R โดย I คือ คา่ ของกระแสไฟฟา้ ทีต่ อ้ งการหา มีหน่วยเป็น แอมแปร์ (Ampere,A) E คือ ค่าแรงดันไฟฟา้ ในวงจร มหี น่วยเป็น โวลท์ (Volt,V) R คือ ค่าความต้านทานไฟฟ้า มหี นว่ ยเป็น โอห์ม (Ohm,) ตัวอยา่ งท่ี 3 จากรูปท่ี 1.9 จงหาค่ากระแสไฟฟ้าทไ่ี หลในวงจร โดยปอ้ นแรงดันไฟฟ้าให้กับวงจร 15 โวลท์ และความตา้ นทาน เทา่ กับ 3 โอหม์ I=? E=15V 3 รปู ท่ี 1.9 การหาค่ากระแสไฟฟา้ ตามกฎของโอห์ม วธิ ีทา จาก I  E R

กาหนดให้ E = 15 V R  3 แทนคา่ I  15V 3 = 5A  กระแสไฟฟ้าท่ไี หลในวงจรเท่ากับ 5 แอมแปร์ 3.3 การหาค่าแรงดนั ไฟฟา้ จากกฎของโอห์ม การหาคา่ แรงดันไฟฟ้า หรอื แรงเคลื่อนไฟฟ้าจากกฎของโอหม์ สามารถทาได้โดย การใชค้ วามสมั พันธข์ องกฎของโอห์ม จาก I  E R ดงั น้ัน E=I x R โดย I คือ คา่ ของกระแสไฟฟา้ ท่ีตอ้ งการหา มหี นว่ ยเป็น แอมแปร์ (Ampere,A) E คือ คา่ แรงดนั ไฟฟ้าในวงจร มีหน่วยเปน็ โวลท์ (Volt,V) R คือ คา่ ความต้านทานไฟฟ้า มหี นว่ ยเปน็ โอห์ม (Ohm,) ตัวอย่างท่ี 4 จากรปู ที่ 1.10 จงหาค่าแรงดนั ไฟฟา้ ท่ีทาให้มกี ระแสไฟฟา้ ไหลในวงจร 2 แอมแปร์ ผ่านตัวต้านทาน 5 โอห์ม I=2A E=? 5 รปู ที่ 1.10 การหาแรงดันไฟฟา้ ตามกฎของโอหม์

วธิ ที า จาก I  E R E = IR กาหนดให้ I = 2A R = 5 แทนคา่ E = 2 A 5.2 = 10 V  แรงดันไฟฟ้าเทา่ กบั 10 โวลท์ 3.4 การหาค่าความต้านทานจากกฎของโอหม์ การหาค่าความต้านทานจากกฎของโอห์มสามารถทาได้โดยการใช้ความสัมพันธ์ของกฎ ของโอห์ม จาก I  E R E ดังน้นั R  I โดย I คือ ค่าของกระแสไฟฟ้าทตี่ ้องการหา มหี นว่ ยเปน็ แอมแปร์ (Ampere,A) E คือ ค่าแรงดันไฟฟ้าในวงจร มหี น่วยเปน็ โวลท์ (Volt,V) R คือ คา่ ความต้านทานไฟฟ้า มหี น่วยเปน็ โอหม์ (Ohm,) ตวั อย่างที่ 5 จากวงจรรปู ที่ 1.11 จงคานวณหาคา่ ความตา้ นทานในวงจร I=2A E=30V R=? รูปท่ี 1.11 การหาคา่ ความต้านทานจากกฎของโอห์ม

วธิ ที า จาก I  E R RE I กาหนดให้ E = 30 I = 3A แทนคา่ R  30V 3A = 10   ค่าความตา้ นทานในวงจรเท่ากับ 10 โอหม์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook