Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภัยแล้ง

ภัยแล้ง

Published by fa_songka, 2021-09-08 07:19:10

Description: ภัยแล้ง

Search

Read the Text Version

คู่มือ การจัดการสาธารณภัย ภัยแล้ง วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

คานา ปัจจุบนั สาธารณภยั ในประเทศไทยยงั คงมีแนวโน้มจะเกดิ ขึ้นอย่างต่อเนื่อง และซับซ้อนมากข้ึนเนื่องจากความแปรปรวนของภูมิอากาศโลกความเสื่อมโทรม ของทรพั ยากรธรรมชาติประกอบกับการเปล่ียนแปลงโครงสร้างสังคมไทยจากสังคม ชนบทไปสู่สังคมเมืองอย่างรวดเร็วประชาชนมีโอกาสอาศัยอยู่ในพื้นท่ีเส่ียงภัย เพิม่ ขึ้นส่งผลให้ความเสียหายจากสาธารณภัยรุนแรงมากข้ึนในเรื่องของภัยแล้งเป็น ภัยธรรมชาติทาใหป้ ระชาชนไดร้ ับผลกระทบเป็นจานวนมากทัง้ ในด้านการดารงชีวิต ประจาวันและด้านการประกอบอาชีพทางการเกษตรซึ่งผลกระทบท่ีเกิดขึ้นอาจ สง่ ผลต่อสุขภาพทางด้านร่างกายจิตใจและเศรษฐกิจของประชาชน ดังน้ันประชาชน ควรมีความรเู้ ร่ืองภัยแล้ง ในด้านสาเหตุการเกิด วิธีการป้องกันภัยแล้งในระยะก่อน เกิดภัย ระยะเกิดภัย และระยะหลังเกิดภัย นอกจากนี้ควรมีความเข้าใจในเรื่อง แผนการป้องกันและเตรยี มรบั มือภัยแล้ง เพอ่ื ทาใหป้ ระชาชนสามารถรบั มือกับภัย แลง้ ได้ และเกดิ ผลกระทบตอ่ ประชาชนนอ้ ยท่ีสุด ดังนั้นคณะผู้จัดทาคู่มือการจัดการสาธารณภัยเล่มน้ีจึงได้รวบรวมเนื้อหา สาระที่เกี่ยวกับภัยแล้งทั้งหมด โดยคณะผู้จดั ทาหวังว่าคู่มือในการจัดการภัยแล้งจะ สร้างความเข้าใจในเรื่องของภัยแล้งมากยิ่งขึ้นและรับรถู้ ึงกระบวนการเตรียมความ พร้อมจากหน่วยงานท่ีเกยี่ วข้องในการจดั การภยั แล้ง เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนแก่ ผู้ประสบภัยให้น้อยลง และหากมีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาขออภัยไว้ ณ ทนี่ ด้ี ้วย จิราพัชร์ ไขส่ ี และคณะ 2

สารบญั หนา้ 3 ความหมายของภัยแลง้ 4 ความหมายของฝนแล้ง 4 ความหมายของฝนทิ้งชว่ ง 5 สาเหตขุ องภยั แลง้ 5 ลักษณะของภยั แลง้ โดยท่ัวไป 7 ผลกระทบจากภัยแล้ง 8 วิธกี ารพยากรณ์ภยั แลง้ 9 การเตรยี มความพร้อมรับมอื ภัยแล้ง 9 12 ระยะก่อนเกิดภยั 16 ขณะเกดิ ภัยแล้ง 18 ระยะหลงั เกิดภยั บรรณานุกรม 1

ภัยแล้ง คืออะไร ? ภัยแล้ง เป็นภัยธรรมชาติท่ีเกิดจากการขาดแคลนน้าเป็นระยะเวลานาน เป็นเดอื น ๆ หรอื เปน็ ปี โดยทวั่ ไปเกิดข้ึนเมื่อพ้ืนที่ที่ได้รบั น้าอย่างสม่าเสมอเกิดฝน ตกต่ากว่าค่าเฉลี่ย เกิดผลกระทบอย่างมากต่อการดารงชีวิต การเกษตร และ ระบบนิเวศในพน้ื ทีเ่ กดิ ภยั ความหมายของภัยแล้ง (สานักอนามยั สิง่ แวดล้อม กรมอนามยั , 2559) กรมอุตุนิยมวิทยา : ภัยแล้ง คือ ภัยท่ีเกิดจากการขาดแคลนน้าในพ้ืนท่ีใด พ้ืนท่ีหน่ึงเป็นเวลานาน จนก่อให้เกิดความแห้งแล้งและส่งผลกระทบต่อชุมชน Wikipedia : ภัยแล้ง คือ ภัยท่ีเกิดจากการขาดแคลนน้าในพ้ืนท่ีใดพนื้ ท่ี หน่ึง เป็นเวลานาน จนก่อให้เกิดความแห้งแล้ง และส่งผลกระทบต่อชุมชน พ้ืนที่ แห้งแล้ง เป็นสภาพอากาศที่แห้งและไม่มีน้า เกิดข้ึนเมื่อพื้นที่ท่ีได้รับฝนตกน้อย ต่ากว่า ค่าเฉลี่ย ส่ิงท่ีมีผลมากท่ีสุด คือ การเกษตร องค์การสหประชาชาติคาดว่า ในแต่ละปี พื้นท่ีดินอุดมสมบูรณ์ มีจานวนลดลงเท่ากับขนาดเนื้อที่ของประเทศ ยเู ครน เนอ่ื งจากภาวะฝนแล้ง และความไม่ แน่นอนของสภาพอากาศ 3

ภัยแล้ง คืออะไร ? ความหมายของภัยแล้ง (ต่อ) (สานักอนามัยส่ิงแวดล้อม กรมอนามัย, 2559) กรมส่งเสริมคุณภพสิ่งแวดล้อม : ภัยแล้ง หมายถึง ความแห้งแล้งของลมฟ้า อากาศ อันเกิดจากการท่ีมีฝนน้อยกว่าปกติ หรือฝน ไม่ตกต้องตามฤดูกาล เป็น ระยะเวลานานกว่าปกติ และครอบคลุมพื้นที่บริเวณกว้าง ท้าให้เกิดการขาดแคลน น้า ดื่มน้าใช้ พืชพันธุ์ไม้ ต่าง ๆ ขาดน้า ท้าให้ไม่เจริญเติบโตตามปกติเกิดความ เสียหาย และความอดอยากท่ัวไป ความแห้งแล้งเป็นภัยธรรมชาติประเภทหนึ่งท่ี เกิดข้ึนเป็นประจ้าทุกปี โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนกลางของ ประเทศไทย เพราะเป็นบรเิ วณท่ีอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉยี งใต้เข้าไปไม่ถึง ท้าให้เกิด ความอดอยากแร้นแค้น ซ่ึงหากปีใดท่ีไม่มีพายุเคลื่อนผ่านเลยก็จะ ก่อใหเ้ กิดความแห้งแล้งรุนแรงมากขึ้น อนั เนื่องมาจากฝนท้ิงช่วงยาวนาน โดยภัย แล้งที่เกิดขึ้นทุกปีจะอยู่ระหว่างเดือนมิถุนายนต่อเน่ืองถึงเดือน กรกฎาคม ในช่วง ดังกล่าวพืชไร่ท่ีเพาะปลูกจะขาดน้าได้รับความเสียหายมนุษย์ –สัตว์ขาดแคลนน้า ดื่มน้าใช้ ส่งผลกระทบต่อการดารงชีพรวมถึงด้านเศรษฐกิจและสังคม ท้ังนี้ความ รุนแรงจะมากหรือน้อยเพยี งใดขึ้นอยู่กับ ปัจจัยหลายด้าน เช่น ความชื้นในอากาศ ความช้ืนในดิน ระยะเวลาที่เกิดความแห้งแล้ง และขนาดของพ้ืนท่ีท่ีมี ความแห้ง แลง้ เปน็ ต้น 3

ฝนแล้ง คืออะไร ? ด้านอุตุนิยมวิทยา หมายถึง สภาวะท่ีมีฝนน้อยหรือไม่มีฝนเลยใน ช่วงเวลาหนึ่ง ซ่ึงตามปกติควรจะต้องมีฝน โดยข้ึนอยู่กับสถานที่และฤดูกาล ณ ทนี่ ้ัน ๆ ดว้ ย ดา้ นการเกษตร หมายถงึ สภาวะการขาดแคลนน้าของพชื ด้านอุทกวิทยา หมายถึง สภาวะท่ีระดับน้าผิวดินและใต้ดินลดลง หรือ นา้ ในแม่นา้ ลาคลองลดลง ดา้ นเศรษฐศาสตร์ หมายถึง สภาวะการขาดแคลนน้า ซึ่งมีผลกระทบต่อ สภาพเศรษฐกิจในภูมภิ าค ฝนทิ้งชว่ ง คืออะไร ? ฝนทง้ิ ช่วง หมายถึง ช่วงท่ีมีปริมาณฝนตกไม่ถึงวันละ 1 มิลลิเมตรติดต่อกัน เกิน 15 วัน ในช่วงฤดูฝน เดือนที่มีโอกาสเกิดฝนทิ้งช่วงสูงคือ เดือนมิถุนายนและ กรกฎาคม 4

สาเหตุของภัยแล้ง สาเหตโุ ดยธรรมชาติ 1. การเปลยี่ นแปลงอณุ หภูมิโลก เช่น ระบบการหมุนเวียนหรือส่วนผสม ของบรรยากาศเปลยี่ นแปลง สภาวะอากาศในฤดรู อ้ นท่รี ้อนมากกวา่ ปกติ 2. การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ เชน่ ฝนท้ิงช่วง ฝนตกน้อย ดินเก็บ ความช้ืนต่าไดไ้ ม่ดี ปริมาณนา้ ใตด้ นิ มีน้อย 3. การเปลี่ยนแปลงของระดบั นา้ ทะเล 4. ภยั ธรรมชาติ เช่น วาตภยั แผน่ ดินไหว สาเหตุโดยการกระทาของมนษุ ย์ 1. การทาลายช้นั โอโซน 2. ผลกระทบของภาวะเรอื นกระจก 3. การพัฒนาดา้ นอุตสาหกรรม 4. การตัดไมท้ าลายป่า ลักษณะของภัยแล้ง ประเทศไทยจดั อยใู่ นเขตภมู อิ ากาศชื้นและแหง้ (Wet and Dry Climate) หรอื ท่ีรจู้ ักกนั ในการจาแนกเขตภมู ิอากาศแบบ Koppen โดย Waldimir Koppen ว่ามีลกั ษณะดงั น้ี (ระบบสารสนเทศพนื้ ท่ีเส่ยี งภยั แลง้ , 2564) 1. Am คอื มีช่วงแห้งแล้งระยะส้ัน ความชนื้ ในดนิ ไม่เพียงพอใหพ้ ืชได้ เจรญิ เติบโตไม่หยุดชะงกั 2. Aw คอื มีชว่ งแห้งแล้งระยะยาว ความช้ืนในดินหมดไป จนกระท่งั พชื บางชนดิ ตอ้ งตายไป หรอื ไมก่ ต็ อ้ งปรับตวั โดยวธิ กี ารตา่ ง ๆ เพอื่ ใหด้ ารงชพี ได้ ในชว่ งทแี่ หง้ แล้ง 5

ความแหง้ แล้งจงึ เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติท่ีเกิดข้ึนเป็นปรกติซึ่งต้องยอมรบั และเตรยี มการเพอ่ื แก้ไข ทั้งนี้ภาวะความแห้งแล้งของลมฟา้ อากาศ สามารถแบ่ง ตามระดบั ความรุนแรงทเ่ี กดิ ขนึ้ ได้ ดังนี้ 1. ความแห้งแล้งอย่างเบา หรือช่วงฝนท้ิง (Dry Spell) เป็นสภาวะความ แห้งแล้งท่ีมีฝนตกเฉลี่ยไม่ถึงวันละ 1 มม. เป็นเวลาต่อเนื่องกันถึง 15 วันในช่วง ฤดูฝน ความแห้งแล้งแบบน้ีเกิดขึ้นตามภาคต่าง ๆ ในประเทศไทยเสมอ ในตอนต้นฤดูฝน ระหวา่ งเดอื นมิถุนายน และกรกฎาคม 2. ความแห้งแล้งปานกลางหรือความแห้งแล้งชั่วระยะ (Partial Drought) เป็นช่วงฝนแล้งที่มีฝนตกในฤดูฝนเฉลี่ยไม่เกินวันละ 0.25 มม. เป็นเวลานานต่อเนื่องกันไม่น้อยกว่า 29 วัน ความแล้ง แบบนี้เกิดขึ้นถึงขั้นขาด แคลนน้า มีผลกระทบต่อการกสิกรรม ความเป็นอยู่ของประชาชน และเศรษฐกิจ ของประเทศ แตไ่ มค่ อ่ ยไดเ้ กดิ ขน้ึ ในประเทศไทยบอ่ ยนัก 3. ความแห้งแล้งอย่างรุนแรง หรือความแห้งแล้งสัมบูรณ์ (Absolute Drought) เป็นความแห้งแล้งท่ีฝนไม่ตกในฤดูฝน ต่อเน่ืองกันไม่น้อยกว่า 15 วัน หรืออาจมีตกบ้างแต่ไม่มีวันใดที่มีฝนตกถึง 0.25 มม. นับเป็นภัยธรรมชาติท่ี รุนแรงที่สุด มีพืชพรรณต่าง ๆ ล้มตายเรือ่ ย ๆ ทาให้ไม่มีผลผลิต สภาวะแห้งแล้ง แบบนี้ยงั ไม่เคยปรากฏในประเทศไทย 6

ผลกระทบจากภัยแล้ง ผลกระทบท่อี าจเกิดข้ึนไดจ้ ากภาวะภยั แลง้ มดี งั นี้ 1. ผลิตผลทางการเกษตรลดลง ไม่เพียงพอต่อการบริโภค และการเล้ียง ปศสุ ตั ว์ 2. เกิดการกัดเซาะ กดั กรอ่ นภูมิทัศน์ พ้ืนดินแห้งแล้งและเกิดการพังทลายของ ผวิ ดนิ 3. เกิดฝุ่นละออง พายุฝุน่ เพราะพ้ืนดินแหง้ แล้งขาดน้า 4. ประชาชนเกิดความอดอยากเนื่องจากการขาดน้าในการอปุ โภคบรโิ ภค 5. เกิดความเสียหายต่อที่อยู่อาศัยของสัตว์ ท่ีได้รับผลกระทบทั้งบนบกและ ในน้า 6. เกดิ ภาวะขาดน้า ขาดสารอาหาร และเพิ่มโอกาสเกดิ โรคระบาด 7. เกดิ การอพยพย้ายถนิ่ ของประชากร 8. ผลผลติ กระแสไฟฟ้าลดลง เนอ่ื งจากการไหลของน้าผ่านเข่ือนลดลง 9. การประกอบการดา้ นอตุ สาหกรรมต้องหยดุ ชะงัก เพราะขาดแคลนนา้ ที่ใช้ ในการขบวนการผลติ 10. เพิ่มโอกาสการเกดิ ไฟปา่ ในชว่ งเกิดภัยแล้ง 7

วิธีการพยากรณ์ภัยแล้ง 1. ภัยแล้งในประเทศไทยสามารถเกิดใน 2 ช่วง ไดแ้ ก่ 1.1. ช่วงฤดูหนาวต่อเนื่องถึงฤดูร้อน ซ่ึงเร่ิมจากคร่ึงหลังของเดือน ตุ ล า ค ม เ ป็ น ต้ น ไ ป บ ริ เ ว ณ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ต อ น บ น ( ภ า ค เ ห นื อ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก) จะมีปริมาณฝน ลดลงเปน็ ลาดับ จนกระท่งั เขา้ สู่ฤดฝู นในชว่ งกลางเดือนพฤษภาคมของปีถัดไป ซงึ่ ภัยแล้งลักษณะนี้จะเกดิ ข้นึ เป็นประจาทกุ ปี 1.2. ช่วงกลางฤดูฝน ประมาณปลายเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม จะมีฝนท้ิงช่วงเกิดข้ึน ภัยแล้งลักษณะน้ีจะเกิดข้ึนเฉพาะท้องถิ่นหรือบาง บรเิ วณ บางครง้ั อาจครอบคลมุ พืน้ ท่ีเปน็ บรเิ วณกวา้ งเกือบทว่ั ประเทศ 2. บริเวณพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง แยกตามรายภาคของ ประเทศไทย ภัยแล้งในประเทศไทยส่วนใหญ่มีผลกระทบต่อการเกษตรกรรม โดย เป็นภัยแล้งที่เกิดจากขาดฝนหรือ ฝนแล้ง ในช่วงฤดูฝน และเกิดฝนทิ้งช่วงใน เดือนมิถุนายนตอ่ เนื่องเดอื นกรกฎาคม พน้ื ที่ท่ไี ด้รับผลกระทบจากภัยแล้งมาก ได้แก่ บริเวณภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนกลาง เพราะเป็นบรเิ วณท่ีอทิ ธิพล ของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เข้าไปไม่ถึง และถ้าปีใดไม่มีพายุหมุนเขตร้อน เคลื่อนผ่านในแนวดังกล่าว จะก่อให้เกิดภัยแล้งรุนแรงมากขึ้น นอกจากพ้ืนท่ี ดงั กล่าวยังมีพน้ื ที่อนื่ ๆ ท่ีมักจะประสบปัญหาภัยแล้งเป็นประจาอีก ดังตาราง ข้างล่าง (กรมอุตุนยิ มวทิ ยา, 2564) ภาค/เดอื น เหนอื ตะวนั ออกเฉียง กลาง ตะวนั ออก ใต้ เหนือ ฝั่งตะวนั ออก ฝั่งตะวันตก ม.ค. ฝนแลง้ ฝนแลง้ ก.พ. ฝนแล้ง ฝนแลง้ ฝนแลง้ ฝนแล้ง ฝนแล้ง มี.ค. ฝนทิ้งชว่ ง ฝนแลง้ ฝนแลง้ ฝนทง้ิ ช่วง ฝนแล้ง เม.ย. ฝนท้ิงชว่ ง ฝนแลง้ ฝนแลง้ ฝนทง้ิ ช่วง ฝนแลง้ ฝนแลง้ พ.ค. ฝนแล้ง มิ.ย. ฝนทง้ิ ชว่ ง ฝนท้งิ ช่วง ฝนแลง้ ก.ค. ฝนทิ้งชว่ ง ฝนทิ้งช่วง 8

การเตรยี มความพรอ้ มรบั มือภัยแล้ง ระยะก่อนเกิดภัย 1. เจา้ หนา้ ทหี่ นว่ ยตา่ ง ๆ มหี น้าทีด่ ังต่อไปนี้ 1.1 สารวจ จัดหา และสะสมทรัพยากรทางการแพทย์และการสาธารณสุข รวมทั้งประสานการระดมสรรพกาลัง 1.2 ให้ความรแู้ ก่ประชาชนในด้านการรกั ษาพยาบาลเบ้ืองต้น การสุขาภิบาล และอนามัยสิง่ แวดลอ้ ม เพ่อื ให้สามารถชว่ ยเหลือตนเอง และผอู้ ื่นได้เมอ่ื ประสบภยั 1.3 จัดให้มีการรักษาพยาบาล การอนามัย การสุขาภิบาลและ เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรค/ภัย (Hazard) แก่ผู้ประสบภัย และจัดให้มี การฟนื้ ฟูจิตใจ และร่างกาย 1.4 จดั ให้มรี ะบบบรกิ ารการแพทย์ฉุกเฉนิ ทพ่ี ร้อมออกปฏบิ ตั ิงาน ช่วยเหลือ ผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ พร้อมท้ังจัดระบบเครือข่ายการให้บริการ เพื่อสนับสนุน การปฏบิ ัติงานทั่วประเทศ 1.5 จดั ให้มีการพฒั นาระบบฐานข้อมูล และการรายงานผลอย่างถูกต้องและ รวดเรว็ 1.6 จัดให้มีการพฒั นาระบบการสื่อสารเพ่ือประสานงาน และส่ังการภายใน หนว่ ยงานสาธารณสุข และหน่วยงานทเี่ ก่ียวข้องใหม้ ีประสิทธภิ าพ 1.7 จัดให้มีการจัดทาแผน ฝึกซ้อม และประเมินผลแผนเตรียมรับ สาธารณภยั 1.8 จดั ทาฐานขอ้ มูลพืน้ ที่เสี่ยงภัย พ้ืนทป่ี ลอดภยั และสถติ สิ าธารณภัย 1.9 ปฏิบัติการ ประสานการปฏิบัติ ให้การสนับสนุน และช่วยเหลือ หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และหน่วยงาน ภาคเอกชนในการ ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั 1.10 ให้การสงเคราะห์แก่ผู้ประสบภัย ผู้ได้รับอันตราย หรือผู้ได้รับความ เสยี หายจากสาธารณภัย 9

การเตรยี มความพรอ้ มรบั มือภัยแล้ง 10 ระยะก่อนเกิดภัย 2. ประชาชนมีหนา้ ทีด่ งั ตอ่ ไปน้ี 2.1 การจัดการระบบน้าในอ่างเก็บน้าของเขื่อนต่าง ๆ จะต้องดูความสมดุล ระหว่างน้าท่วมกับน้าขาดแคลน เพื่อให้การจัดการน้ามีประสิทธิภาพ พร้อมทั้ง สารวจปริมาณน้าเก็บกักในแหล่งน้า ณ ช่วงสิ้นฤดูฝน และวางแผนการใช้น้าให้ ตลอดช่วงฤดูแล้ง โดยมีการเตือนภัยล่วงหน้าก่อน ที่จะมีการเพาะปลูกพืชเพ่ือ ให้เกษตรกร ได้มีการวางแผนให้สอดคล้องกับปริมาณน้าต้นทุนที่มีอยู่ เพ่ือกาหนดพื้นที่ปลูกข้าวนาปรังให้เหมาะสมกับปริมาณน้า พร้อมท้ังจัดระบบ การทาการเกษตรทีเ่ หมาะสมและมีการสร้างระบบสบู นา้ และส่งทางท่อ 2.2 การจัดการท้ังในดา้ นของทรัพยากรน้า ป่าไม้ทส่ี อดคลอ้ งกับภูมิศาสตร์ ใน แต่ละพ้ืนที่ สภาพการอยู่อาศัยของประชากร รวมถึงการเชื่อมโยงข้อมูลและการ เข้าถึงข้อมูล ระหว่างหน่วยงานราชการเพื่อทาให้เกิดการประสานงานและการ วางแผนร่วมกันของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในพ้ืนท่ีโดยมีการลงทุนให้ระบบการ พยากรณ์อากาศมีความแม่นยามากขึ้น เทียบเท่ากับประเทศใหญ่ ๆ ในโลกที่มี ศักยภาพในดา้ นนส้ี งู มาก เพือ่ เป็นประโยชน์ต่อการจัดทาฝนหลวง ในพน้ื ที่ประสบ ภยั แล้ง 2.3 การก่อสร้างฝายต้นน้า การเจาะบ่อบาดาลในพ้ืนที่ประสบภัยแล้ง การ พฒั นา แก้มลิง หรือบ่อน้าชุมชนกระจายไปทุกชุมชนในประเทศ เพอ่ื รองรับน้าใน ปีที่มีน้าเกิน เม่ือถึงช่วงแล้ง ก็จะกลายเป็นแหล่งเก็บน้าในพ้ืนท่ีท่ีสามารถนามาใช้ ประโยชน์เพ่ือการอุปโภคบริโภคและ เพื่อการเกษตร การฟื้นฟูอนุรักษ์แหล่งน้า ธรรมชาติซ่อมแซม ปรับปรุงบ่อน้าต้ืน และระบบประปาหมู่บ้าน และปรับปรุง แหล่งน้าเพ่ือป้องกันและบรรเทาภัย การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการ พยากรณ์และแจ้งเตือนภัยจัดทาข้อมูลพื้นท่ีเสี่ยงภัย การเฝ้าระวังและแจ้งเตือน ภัยพื้นที่ท่ีประสบภัยแล้งซ้าซากเป็นพิเศษ การเตรียมความพร้อมของหน่วยงาน การประชาสัมพันธ์และให้คาแนะนาทางวิชาการ การสร้างสระเก็บน้าต้านภัยแล้ง โดยใช้เทคนิคทางวิศวกรรมในการสรา้ งใหม่ประสิทธิภาพ ในการกักเก็บน้า อกี ทั้ง ยังสามารถปรบั สระเก็บน้าใช้ได้ทั้งสระขนาดเล็กในครวั เรือนจนถึงสระขนาดใหญ่ หลายหมนื่ ลูกบาศกเ์ มตรระดบั ชุมชนได้

การเตรยี มความพรอ้ มรบั มือภัยแล้ง ระยะก่อนเกิดภัย 2. ประชาชนมหี นา้ ทีด่ ังต่อไปน้ี (ตอ่ ) 2.4 การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนโดยให้ประชาชนตระหนักในปัญหา ภัยแล้งพร้อมทั้งรณรงค์เรื่องการประหยัดน้าการบาบัดน้าเสียให้กลับมาใช้ใหม่ได้ การปลูกพืชเศรษฐกิจที่ใช้น้าน้อย การกาจัดวัชพืชเพื่อลดการระเหยของน้าละ ร่วมกันลดการก่อมลพิษทางน้าการจัดอบรมและเตรยี มความพร้อมให้กัผู้ประกอบ อาชีพเล้ียงปลา รวมทั้งให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสถานการณ์น้าในพื้นท่ีและ รว่ มกนั ตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพน้าในแม่นา้ สายหลกั และลาน้าสาขา 2.5 เพิ่มอนิ ทรีย์วัตถใุ นดินเพอื่ เป็นการเพิ่มช่องวา่ งในดินทาให้ดินสามารถ เก็บกักน้าไว้ไดแ้ ละเพมิ่ ความอดุ มสมบูรณใ์ ห้กับดนิ โดยใชส้ ารเร่งการยอ่ ยสลาย อนิ ทรยี ์สารต่าง ๆ 2.6 การขดุ ลอกลานา้ ใหล้ กึ กวา่ ปกติเพอ่ื กักเก็บนา้ 2.7 การสรา้ งระบบสบู นา้ และระบบส่งนา้ ทางท่อ 11

การเตรยี มความพรอ้ มรบั มือภัยแล้ง ขณะเกิดภัยแล้ง 1. เจ้าหน้าทห่ี นว่ ยต่าง ๆ มีหนา้ ทีด่ งั ต่อไปน้ี 1.1 ตรวจสอบระบบประปา ท้ังด้านโครงสร้าง และกระบวนการผลิต เช่น ระบบปั๊มน้า ระบบไฟฟ้า ระบบการเติมคลอรีน เป็นต้น ให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ สามารถรองรบั การเพมิ่ อัตราการผลิตได้ และควรเตรยี มความพร้อม วัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมีสารองท่ีใชใ้ นการผลิตน้าสะอาดใหเ้ พยี งพอ 1.2 ดูแลและอนุรักษ์แหล่งน้าดิบ เช่น ขุดลอก เก็บเศษขยะ กาจัดวัชพืช ต่าง ๆ และวางแผนการหาแหล่งน้าสารอง หากแหล่งน้าดิบท่ีใช้ในการผลิต นา้ ประปาไมเ่ พยี งพอ 1.3 เตรียมความพร้อมในเรอื่ งการประสานหนว่ ยงานสนับสนุนเกี่ยวกับการ จดั น้าสะอาดหากไมส่ ามารถผลิต และใหบ้ รกิ ารนา้ แกป่ ระชาชนได้ 1.4 แจ้งแผนการผลิตและสั่งจ่ายน้ากรณีไม่สามารถบริการได้ตลอด 24 ช่ัวโมง เพือ่ จดั บรกิ ารประชาชนอยา่ งท่ัวถึง 1.5 การผลิตน้าประปาเพื่อให้บริการแก่ประชาชนต้องมีการตรวจสอบ คุณภาพน้า และเฝ้าระวังอย่างสม่าเสมอโดยการตรวจสอบคลอรีนอิสระคงเหลือ ในน้าที่ปลายเส้นท่อให้มีค่า อยู่ระหว่าง 0.2 - 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร กรณีเกิดโรค ระบาดให้ควบคุมปรมิ าณคลอรนี ไมน่ อ้ ยกว่า 1.0 มิลลิกรมั ตอ่ ลิตร 1.6 การจ่ายน้าให้ประชาชนโดยรถบรรทุกน้าต้องปรับปรุงคุณภาพน้าให้มี คลอรีนอิสระ คงเหลืออยู่ระหว่าง 0.2 - 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร และต้องระวังการ ปนเปือ้ นระหว่างการขนสง่ และ การจา่ ยนา้ ดว้ ย 12

การเตรยี มความพรอ้ มรบั มือภัยแล้ง ขณะเกิดภัยแล้ง 1. เจา้ หนา้ ท่หี นว่ ยต่าง ๆ มหี นา้ ทีด่ ังต่อไปน้ี (ตอ่ ) 1.7 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนในพ้ืนที่ประสบภัยแล้ง ให้สามารถดูแลรักษาสุขภาพตนเอง มีพฤติกรรมอนามัยที่ดี การดื่มน้าสะอาด มกี ารเกบ็ นา้ ในภาชนะท่ีสะอาด มีฝาปิดและมภี าชนะสาหรับตักน้าเฉพาะท่ีสะอาด วางในท่ีเหมาะสม ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร หลังการใช้ห้องน้า/ห้องส้วม และการใช้นา้ อย่างรู้คุณคา่ หรอื ประหยดั เปน็ ตน้ 1.8 เตรียมข้อมูลช่องทางการติดต่อหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น เบอร์โทรศัพท์แนวทางการดาเนินการ หากต้องประสานขอความช่วยเหลือกรณีมี ข้อขัดข้องเกี่ยวกับน้าบริโภค เช่น สานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สภากาชาดไทย การประปาส่วนภูมิภาค การประปานครหลวง สานักงาน สาธารณสุขจงั หวัด สานักงานสาธารณสุขอาเภอ ศูนย์อนามัยท่ี 1 - 12 สานักงาน ทรัพยากรน้า ภาคสานักงานทรพั ยากร นา้ บาดาล เป็นตน้ 2. ประชาชนมหี นา้ ท่ีดังต่อไปนี้ 2.1 การจัดการระบบน้าในอ่างเก็บน้าของเข่ือนต่าง ๆ จะต้องดูความสมดุล ระหว่างน้าท่วมกับน้าขาดแคลน เพ่ือให้การจัดการน้ามีประสิทธิภาพ พร้อมทั้ง สารวจปริมาณน้าเก็บกักในแหล่งน้า ณ ช่วงส้ินฤดูฝน และวางแผนการใช้น้าให้ ตลอดช่วงฤดูแล้ง โดยมีการเตือนภัยล่วงหน้าก่อน ท่ีจะมีการเพาะปลูกพืชเพื่อให้ เกษตรกร ได้มีการวางแผนให้สอดคล้องกับปริมาณน้าต้นทุนที่มีอยู่ เพ่ือกาหนดพ้ืนท่ีปลูกข้าวนาปรังให้เหมาะสมกับปริมาณน้า พร้อมท้ังจัดระบบ การทาการเกษตร ทเ่ี หมาะสมและมีการสรา้ งระบบสูบน้า และสง่ ทางทอ่ 2.2 การจัดการทั้งในด้านของทรพั ยากรน้า ป่าไม้ที่สอดคล้องกับภูมิศาสตร์ ในแต่ละพ้ืนที่ สภาพการอยู่อาศัยของประชากร รวมถึงการเช่ือมโยงข้อมูลและ การเข้าถงึ ข้อมูล ระหว่างหนว่ ยงานราชการเพอ่ื ทาให้เกิดการประสานงานและการ วางแผนร่วมกันของหน่วยงาน ที่เก่ียวข้องในพ้ืนที่โดยมีการลงทุนให้ระบบการ พยากรณ์อากาศมีความแม่นยามากขึ้น เทียบเท่ากับประเทศใหญ่ ๆ ในโลกท่ีมี ศักยภาพในดา้ นนี้สูงมาก เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการจัดทาฝนหลวง ในพนื้ ที่ประสบ ภัยแลง้ 13

การเตรยี มความพรอ้ มรบั มือภัยแล้ง ขณะเกิดภัยแล้ง 2. ประชาชนมีหน้าทด่ี งั ตอ่ ไปนี้ (ต่อ) 2.3 หากเลือกน้าบรรจุขวดเป็นน้าด่ืม ต้องพิจารณาเลือกท่ีมีเลขสาระบบ อาหาร หรือเครื่องหมายรับรองคุณภาพของสานักงานคณะกรรมการอาหารและ ยา (อย.) 2.4 หากนาน้าจากแหล่งนา้ ธรรมชาติ เชน่ แมน่ ้า ลาคลอง และอืน่ ๆ มาใช้ใน ครัวเรือน จะต้องปรับปรุงคุณภาพน้าให้สะอาดและฆ่าเช้ือโรคก่อน โดยการใช้ คลอรีนหยดทิพย์ (เป็นสารละลายคลอรีนชนิดเจือจาง 2 เปอร์เซ็นต์) ใช้จานวน 1 หยด ต่อน้า 1 ลิตร สาหรับน้าด่ืมน้าใช้ ควรมีคลอรีนอิสระคงเหลืออยู่ระหว่าง 0.2 - 0.5 มลิ ลกิ รมั ตอ่ ลติ ร 2.5 ใชส้ ารส้มชนดิ กอ้ นกวนในนา้ เมอ่ื ตะกอนในนา้ เริ่มจับตัวนาสารส้มออกใช้ มือเปล่ากวนน้าต่ออีก 1 - 2 นาที ตั้งท้ิงไว้จนตกตะกอน ใช้สายยางจุ่มไปที่ก้น ภาชนะบริเวณท่ีเกิดตะกอนดูดตะกอนออกจนหมดเหลือแต่น้าใส และเติมคลอรนี ตามปริมาณท่ีกาหนด 2.6 ในกรณีใช้น้าดื่มบรรจุขวด จะต้องดูตราเคร่ืองหมาย อย. (ก่อนดื่มให้ สังเกต ความสะอาดน้าภายในขวดว่ามีส่ิงปลอมปนหรือไม่) ควรทาลายขวดหรือ ภาชนะบรรจุ โดยวิธีการทุบบีบให้เล็กลงก่อนนาไปท้ิงในถุงดา หรือเลือก ทิ้งในถุงใส เพือ่ มองเหน็ งา่ ยลดการรือ้ ค้น และสะดวกตอ่ การนาไปกาจัด 14

การเตรยี มความพรอ้ มรบั มือภัยแล้ง ขณะเกิดภัยแล้ง 3. ข้อปฏบิ ตั ติ นของประชาชนเม่ือเกิดภยั แล้งหรอื อากาศร้อนจัด 3.1 เตรียมกักเก็บน้าสะอาดเพื่อการบริโภคให้เพียงพอ โดยเร่ิมดาเนินการ กอ่ นชว่ งเกิดภัยแลง้ 3.2 ดูแลแหล่งเกบ็ น้าในชมุ ชนให้มีศกั ยภาพเพ่อื เพิ่มปริมาณกักเกบ็ นา้ 3.3 วางแผนใช้น้าอย่างประหยัด เพ่ือให้มีน้าใช้ตลอดช่วงภัยแล้ง เช่น ใช้น้าจากฝักบัวเพ่ือชาระร่างกายจะประหยัดน้ามากกว่าการตักอาบ นาน้าท่ีใช้ ชาระร่างกายหรอื นา้ จากการซกั ผ้าไปใชต้ ่อทางการเกษตร 3.4 การใช้น้าเพ่ือการเกษตร ควรใช้ในช่วงเช้าและเย็น เพื่อลดอัตราการ ระเหยนา้ 3.5 การป้องกันผิวหนังไหม้หรือเห่ียวย่นเนื่องจากแสงแดดในกรณีจะต้องอยู่ กลางแจ้งนาน ๆ ควรใส่เสื้อผ้าที่หนาและมีสีเข้มหรอื สวมหมวก ปีกกว้างเพือ่ ไม่ให้ ผวิ ถูกแสงแดดโดยตรง 3.6 เลือกรับประทานอาหารที่ช่วยป้องกันโรค รายงานการวิจัยของประเทศ สหรัฐอเมริกา พบว่า ผู้ที่แพ้แดดง่าย ผิวขาวหรือผู้ที่ต้องอยู่กลางแจ้งเป็นประจา ควรบริโภคแต่อาหารที่มีไขมันต่าผักและผลไม้ที่มีธาตุเซเลเนียม (เช่น เห็ด ปลาทู นา่ และแป้งข้าวสาลี) เบตาแคโรทีน (เช่น หัวผักกาดแดง พวกกะหล่า และผักขม) และวิตามินซี (ส้มและมะนาว) เพราะจะช่วยป้องกันโรคมะเร็งผิวหนังได้มาก ถงึ รอ้ ยละ 96 3.7 ประชาชนควรตระหนักถึงปัญหาโลกร้อน อันเป็นสาเหตุสาคัญในการ ก่อให้เกิดภาวะภัยแล้ง ดังน้ัน จึงจาเป็นท่ีทุกคนจะต้องร่วมมือกันในการแก้ไข ปัญหา เช่น การร่วมมือกันปลูกต้นไม้ ลดการตัดไม้ทาลาย ตลอดจนลดการเผา ขยะในทโี่ ล่ง 15

การเตรยี มความพรอ้ มรบั มอื ภัยแล้ง ระยะหลังเกิดภัย การฟ้ืนฟู (Recovery) มุ่งเน้นในการจัดการสถานการณ์ภายหลังการเกิด สาธารณภัยให้บุคคล ชุมชน หรือสังคมได้ฟ้ืนสภาพกลับมาเป็นปกติ ซึ่งมีทางเลือก 2 ทาง คือ การสร้างคืนใหม่ให้เหมือนเดิม หรือการสร้างใหม่ให้ดีกว่าเดิม (Build Back Better) โดยมาประกอบด้วยการฟ้ืนฟใู นเชิงโครงสรา้ งด้วยการบูรณะ ซ่อมแซม (Reconstruction) เช่น การซ่อมแซมอาคารบ้านเรือนโครงสร้างพื้นฐาน และสิ่งอานวยความสะดวกเบื้องต้น และการฟ้ืนฟูสภาพจิตใจ การเยียวยา ผู้ประสบภัย (Rehabilitation) เช่น การดูแลสภาพแวดล้อมและสุขอนามัย การให้ คาปรึกษาทางจิตสังคม (psychosocial) และฟ้ืนฟูสภาพจิตใจ การเยียวยาทาง การเงิน ทัง้ น้เี พ่ือให้การฟืน้ ฟูเป็นไปอย่างแนวทางท่ียง่ั ยืน ภายหลังการเกิดสาธารณ ภัยจึงควรมีการประเมินความสูญเสียและความเสียหายท่ีเกิดขึ้น และวิเคราะห์เพื่อ จดั ทาแผนฟ้นื ฟแู ละบรู ณะขนึ้ อยา่ งเป็นระบบ 1. ผลกระทบตอ่ ประชาชน ใหศ้ นู ย์ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยเขตท้องท่ีเกิดภัยดาเนินการฟ้ืนฟบู ูรณะ ความเสยี หายด้านตา่ ง ๆ ให้มีสภาวะปกตโิ ดยเร็ว ดังนี้ 1.1 กรณีที่มีผู้ได้รับอนั ตรายต่อสุขภาพ ให้ดาเนินการรักษาพยาบาลตามความ เหมาะสมจนเป็นปกติ 1.2 กรณีเกิดความเสียหายด้านการขาดแคลนน้าอุปโภค-บริโภค ให้ช่วยเหลือ ฟน้ื ฟรู าษฎรตามระเบียบและหลกั เกณฑข์ องทางราชการ 1.3 บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้ง ความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่าง ๆ และร่วมกาหนดแนวทางต่าง ๆ เพ่ือแก้ปัญหา ระยะยาวอย่างเป็นรปู ธรรม 1.4 การจัดทาแผนฟ้ืนฟูผู้ประสบภัย ประชุมหน่วยงานต่างท่ีเก่ียวข้อง เพื่อ จัดทาแผนฟื้นฟูผู้ประสบภัยด้านต่าง ๆ เช่น น้าด่ืม ระบบสุขาภิบาล สุขภาพ และ จติ ใจของผปู้ ระสบภัย 16

การเตรยี มความพรอ้ มรบั มอื ภัยแล้ง ระยะหลังเกิดภัย 1. ผลกระทบต่อประชาชน (ต่อ) 1.5 การบรรเทาทุกข์ จัดตั้งหน่วยบรรเทาทุกข์ให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยท่ี ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ในระยะแรก และสนับสนุนเครื่องอุปโภค บริโภค น้าดืม่ อาหาร และสง่ิ จาเปน็ เบ้ืองตน้ แก่การดารงชพี 1.6 การให้ความช่วยเหลือและฟ้ืนฟู โดยจัดให้มีคณะดาเนินงานสารวจความ เสียหายและส่งเจา้ หนา้ ทเ่ี พือ่ สารวจความเสยี หายเบอ้ื งตน้ ในพืน้ ท่ี และแนวทางการ ฟื้นฟูไปยังกองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอาเภอและจังหวัด ดาเนินการสงเคราะห์ผู้ประสบภัยเบื้องต้นตามบัญชีที่สารวจและช่วยเหลือและ บรู ณะสาธารณูปโภคใหใ้ ช้การไดใ้ นเบื้องต้น 1.7 ดาเนินการช่วยเหลือฟน้ื ฟูตามระเบียบคปก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการและ เง่ือนไขการให้กู้ยืมเงินกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม เพื่อเกษตรกรและ สถาบันเกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ.2554 การขอลดหรืองดเว้นดอกเบี้ยเงินกู้ การผอ่ นผันการชาระเงินงวดการขยายเวลาการชาระเงินกู้ 2. ผลกระทบตอ่ การเกษตรกรรม 2.1 วิเคราะห์ความเสียหาย (Damages) และความสูญเสีย (Losses) ท่ีเกิด จากภัยในแตล่ ะดา้ น 2.2 จัดทาบัญชีรายละเอียดเก่ียวกับข้อมูลเกษตรกรที่ได้รับความเสียหายด้าน การเกษตร 2.3 สารวจความเสียหายสิ้นเชิง และช่วยเหลือตามระเบียบ (กระทรวง การคลงั ) 2.4 สนับสนนุ พันธุ์พชื อาหารสตั วส์ าหรับฟื้นฟูแปลงพืชอาหารสัตว์ 2.5 ออกสารวจภาวะโรคระบาดสัตว์ในพื้นท่ี บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคสัตว์ ให้กับเกษตรกร แนะนาให้เกษตรกรให้ทาวัคซีนสัตว์ท่ีเลี้ยง การเฝ้าระวังทางซีรั่ม โดยการเจาะเลือดเพอ่ื ตรวจ สภาวะโรคระบาด และการตรวจเย่ียมฟาร์มเกษตรกร เพอื่ ให้คาแนะนาในการเลยี้ งสัตว์ การดแู ลสุขภาพสัตว์ และการควบคมุ ปอ้ งกันโรค 2.6 การประเมินความเสียหายและการซ่อมสร้างระบบโครงสร้างพื้นฐานด้าน ชลประทาน 17

บรรณานุกรม กรมอุตุนยิ มวิทยา. (2564). หนงั สืออุตุนยิ มวทิ ยา. สบื คน้ เมื่อ 30 สิงหาคม 2564, จาก https://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=71 ระบบสารสนเทศพ้นื ท่เี สยี่ งภัยแลง้ . (2564). ภยั แล้ง. สืบคน้ เม่ือ 5 กันยายน 2564, จาก https://negistda.kku.ac.th/drought/ed_method.htm ศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพบิ ัตดิ า้ นการเกษตร สานกั งานเกษตรและสหกรณ์. (2562). แผนเตรียมความพร้อมเพือ่ ลดความเสีย่ งภยั พบิ ัต.ิ สบื คน้ วนั ท่ี 30 สงิ หาคม 2564. จาก https://www.opsmoac.go.th/chachoengsao- dwl-files-412991791850 ศูนย์สารสนเทศส่งิ แวดลอ้ ม กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพสิง่ แวดลอ้ มและสานกั งาน สิง่ แวดลอ้ มภาคกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม. (2551.) ภัยแล้ง. สบื คน้ วันท่ี 30 สิงหาคม 2564 จาก http://local.environnet.in.th/formal_data2.php?id=72 สานักงานเทศบาลตาบลปากนา้ อาเภอเมือง จงั หวัดระนอง. (2561). แผนการป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาภยั แลง้ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2561. สบื คน้ วนั ที่ 30 สิงหาคม 2564. จาก http://www.pakrng.go.th/124- PR61.pdf สานกั อนามัยสง่ิ แวดล้อม กรมอนามัย. (2559). คูม่ ือการจัดการด้านสขุ าภิบาล และ อนามัยสิ่งแวดลอม กรณีภยั แลง (พมิ พค์ รัง้ ท่ี 3). ศูนยส์ ่ือและส่งิ พมิ พแกว เจา้ จอมมหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ ันทา: สานกั อนามยั ส่ิงแวดลอม กรมอนามัย. 18

คณะผู้จดั ทาหนงั สือ ค่มู ือการจดั การสาธารณภัย : ภัยแล้ง อาจารยท์ ป่ี รกึ ษารายวิชาการจดั การสาธารณภัย 1. อาจารย์ ดร. ปิยะ ทองบาง ผูจ้ ดั ทา 1. นางสาวจริ าพัชร์ ไขส่ ี รหัสนักศึกษา 61207302005 2. นางสาวธันยพร วเิ ชยี รสาร รหสั นักศึกษา 61207302011 3. นางสาวนาฎนรี แยม้ จารสั รหสั นักศกึ ษา 61207302014 4. นางสาวเพ็ญประภา พฒุ แซม รหัสนกั ศกึ ษา 61207302023 5. นางสาวศภุ าพิชญ์ ซอ้ งก๋า รหัสนกั ศึกษา 61207302030 6. นางสาวสิรพิ ร พงษข์ าว รหัสนักศกึ ษา 61207302031 คมู่ ือเล่มนเี้ ป็นส่วนหนึง่ ของรายวชิ า 5222 422 การจดั การสาธารณภยั วทิ ยาลัยการสาธารณสขุ สริ ินธร จังหวดั สุพรรณบรุ ี ภาคการศกึ ษาตน้ ปีการศึกษา 2564 19

วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร จงั หวัดสุพรรณบรุ ี 19


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook