Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงาน

โครงงาน

Published by 20879, 2019-09-09 22:38:20

Description: โครงงาน

Search

Read the Text Version

1 นวตั กรรมการศึกษาและเทคโนโลยที างการศึกษา ท่มี า http://www.pantown.com/board.php?id=18191&area=3&name=board8&topic=11&action= view ความหมายของนวตั กรรม “นวตั กรรม” หมายถึงความคิด การปฏิบตั ิ หรือส่ิงประดิษฐใ์ หม่ ๆ ท่ียงั ไม่เคยมใี ชม้ าก่อน หรือเป็น การพฒั นาดดั แปลงมาจากของเดิมท่ีมีอยแู่ ลว้ ใหท้ นั สมยั และใชไ้ ดผ้ ลดียง่ิ ข้ึน เมอ่ื นา นวตั กรรมมา ใชจ้ ะช่วยใหก้ ารทางานน้นั ไดผ้ ลดีมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ท้งั ยงั ช่วย ประหยดั เวลาและแรงงานไดด้ ว้ ย “นวตั กรรม” (Innovation) มรี ากศพั ทม์ าจาก innovare ในภาษา ลาติน แปลวา่ ทาส่ิงใหมข่ ้ึนมา ความหมายของนวตั กรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์คือ การนา แนวความคิดใหม่หรือการใชป้ ระโยชนจ์ ากสิ่งท่ีมีอยแู่ ลว้ มาใชใ้ นรูปแบบใหม่ เพอื่ ทาใหเ้ กิด ประโยชนท์ างเศรษฐกิจ หรือก็คือ ”การทาในส่ิงที่แตกต่างจากคนอน่ื โดยอาศยั การเปล่ียนแปลงต่าง ๆ (Change) ท่ีเกิดข้นึ รอบตวั เราใหก้ ลายมาเป็นโอกาส (Opportunity) และถ่ายทอดไปสู่ แนวความคิดใหม่ที่ทาใหเ้ กิดประโยชน์ต่อตนเองและสงั คม” แนวความคิดน้ีไดถ้ ูกพฒั นาข้ึนมา ในช่วงตน้ ศตวรรษท่ี 20 โดยจะเห็นไดจ้ ากแนวคดิ ของนกั เศรษฐอตุ สาหกรรม เช่น ผลงานของ Joseph Schumpeter ใน The Theory of Economic Development,1934 โดยจะเนน้ ไปท่ีการ สร้างสรรค์ การวจิ ยั และพฒั นาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อนั จะนาไปสู่การไดม้ าซ่ึง นวตั กรรมทางเทคโนโลยี (Technological Innovation) เพอ่ื ประโยชนใ์ นเชิงพาณิชยเ์ ป็นหลกั นวตั กรรมยงั หมายถึงความสามารถในการเรียนรู้และนาไปปฎิบตั ิใหเ้ กิดผลไดจ้ ริงอกี ดว้ ย (พนั ธุอ์ าจ ชยั รัตน์ , Xaap.com) คาวา่ “นวตั กรรม” เป็นคาที่ค่อนขา้ งจะใหม่ในวงการศกึ ษาของไทย คาน้ี เป็น ศพั ทบ์ ญั ญตั ิของคณะกรรมการพจิ ารณาศพั ทว์ ชิ าการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ มาจาก ภาษาองั กฤษว่า Innovation มาจากคากริยาว่า innovate แปลว่า ทาใหม่ เปลีย่ นแปลงให้เกิดสิ่งใหม่ ในภาษาไทยเดิมใชค้ าว่า “นวกรรม” ต่อมาพบว่าคาน้ีมคี วามหมายคลาดเคลือ่ น จึงเปลีย่ นมาใชค้ าวา่ นวตั กรรม (อ่านวา่ นะ วดั ตะ กา) หมายถงึ การนาสิ่งใหมๆ่ เขา้ มาเปลยี่ นแปลงเพม่ิ เติมจากวธิ ีการท่ี ทาอยเู่ ดิม เพอื่ ใหใ้ ชไ้ ดผ้ ลดียงิ่ ข้ึน ดงั น้นั ไมว่ ่าวงการหรือกิจการใด ๆ กต็ าม เมอื่ มกี ารนาเอาความ เปลยี่ นแปลงใหมๆ่ เขา้ มาใชเ้ พอื่ ปรับปรุงงานใหด้ ีข้ึนกวา่ เดิมก็เรียกไดว้ า่ เป็นนวตั กรรม ของวงการ น้นั ๆ เช่นในวงการศกึ ษานาเอามาใช้ ก็เรียกวา่ “นวตั กรรมการศกึ ษา” (Educational Innovation) สาหรับผทู้ ี่กระทา หรือนาความเปลยี่ นแปลงใหม่ ๆ มาใชน้ ้ี เรียกวา่ เป็น “นวตั กร” (Innovator) (boonpan edt01.htm) ทอมสั ฮิวช์ (Thomas Hughes) ไดใ้ หค้ วามหมายของ “นวตั กรรม” วา่ เป็นการ นาวธิ ีการใหม่ ๆ มาปฏิบตั ิหลงั จากไดผ้ า่ นการทดลองหรือไดร้ ับการพฒั นามาเป็นข้นั ๆ แลว้ เริ่ม ต้งั แต่การคิดคน้ (Invention) การพฒั นา (Development) ซ่ึงอาจจะเป็นไปในรูปของ โครงการ ทดลองปฏบิ ตั ิก่อน (Pilot Project) แลว้ จึงนาไปปฏบิ ตั ิจริง ซ่ึงมีความแตกต่างไปจากการปฏบิ ตั ิเดิม

2 ที่เคยปฏิบตั ิมา (boonpan edt01.htm) มอร์ตนั (Morton,J.A.) ใหค้ วามหมาย “นวตั กรรม” ว่าเป็นการ ทาใหใ้ หม่ข้ึนอกี คร้ัง(Renewal) ซ่ึงหมายถึง การปรับปรุงสิ่งเก่าและพฒั นาศกั ยภาพของบคุ ลากร ตลอดจนหน่วยงาน หรือองคก์ ารน้นั ๆ นวตั กรรม ไมใ่ ช่การขจดั หรือลม้ ลา้ งส่ิงเก่าใหห้ มดไป แต่ เป็นการ ปรับปรุงเสริมแต่งและพฒั นา (boonpan edt01.htm) ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2521 : 14) ไดใ้ ห้ ความหมาย “นวตั กรรม” ไวว้ า่ หมายถึง วธิ ีการปฎิบตั ิใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิมโดยอาจจะไดม้ าจาก การคดิ คน้ พบวิธีการใหมๆ่ ข้ึนมาหรือมีการปรับปรุงของเก่าใหเ้ หมาะสมและส่ิงท้งั หลายเหล่าน้ี ไดร้ ับการทดลอง พฒั นาจนเป็นที่เชื่อถือไดแ้ ลว้ ว่าไดผ้ ลดีในทางปฎิบตั ิ ทาใหร้ ะบบกา้ วไปสู่ จุดหมายปลายทางไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพข้ึน จรูญ วงศส์ ายณั ห์ (2520 : 37) ไดก้ ลา่ วถงึ ความหมาย ของ “นวตั กรรม” ไวว้ า่ “แมใ้ นภาษาองั กฤษเอง ความหมายก็ต่างกนั เป็น 2 ระดบั โดยทว่ั ไป นวตั กรรม หมายถึง ความพยายามใด ๆ จะเป็นผลสาเร็จหรือไม่ มากนอ้ ยเพยี งใดก็ตามท่ีเป็นไปเพ่ือ จะนาสิ่งใหม่ ๆ เขา้ มาเปล่ยี นแปลงวธิ ีการท่ีทาอยเู่ ดิมแลว้ กบั อีกระดบั หน่ึงซ่ึงวงการวทิ ยาศาสตร์ แห่งพฤติกรรม ไดพ้ ยายามศกึ ษาถงึ ที่มา ลกั ษณะ กรรมวธิ ี และผลกระทบที่มีอยตู่ ่อกลมุ่ คนที่ เก่ียวขอ้ ง คาวา่ นวตั กรรม มกั จะหมายถงึ ส่ิงที่ไดน้ าความเปลยี่ นแปลงใหม่เขา้ มาใชไ้ ดผ้ ลสาเร็จ และแผก่ วา้ งออกไป จนกลายเป็นการปฏบิ ตั ิอยา่ งธรรมดาสามญั (บุญเก้ือ ควรหาเวช , 2543) นวตั กรรม แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 มีการประดิษฐค์ ิดคน้ (Innovation) หรือเป็นการปรุงแต่งของเก่าใหเ้ หมาะสมกบั กาลสมยั ระยะท่ี 2 พฒั นาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลองจดั ทาอยใู่ นลกั ษณะของโครงการ ทดลองปฏบิ ตั ิก่อน (Pilot Project) ระยะที่ 3 การนาเอาไปปฏบิ ตั ิในสถานการณ์ทวั่ ไป ซ่ึงจดั วา่ เป็นนวตั กรรมข้นั สมบูรณ์i ความหมาย ของนวตั กรรมการศกึ ษา \"นวตั กรรมการศกึ ษา (Educational Innovation )\" หมายถงึ นวตั กรรมที่จะ ช่วยใหก้ ารศกึ ษา และการเรียนการสอนมปี ระสิทธิภาพดียงิ่ ข้ึน ผเู้ รียนสามารถเกิดการเรียนรู้อยา่ ง รวดเร็วมปี ระสิทธิผลสูงกวา่ เดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนดว้ ยนวตั กรรมการศกึ ษา และ ประหยดั เวลาในการเรียนไดอ้ กี ดว้ ย ในปัจจุบนั มกี ารใชน้ วตั กรรมการศกึ ษามากมายหลายอยา่ ง ซ่ึง มีท้งั นวตั กรรมที่ใชก้ นั อยา่ งแพร่หลายแลว้ และประเภททีก่ าลงั เผยแพร่ เช่น การเรียนการสอนที่ใช้ คอมพวิ เตอร์ช่วยสอน (Computer Aids Instruction) การใชแ้ ผน่ วิดีทศั นเ์ ชิงโตต้ อบ (Interactive Video) สื่อหลายมิติ ( Hypermedia ) และอินเทอร์เน็ต [Internet> เหลา่ น้ี เป็นตน้ (วารสารออนไลน์ บรรณปัญญา.htm) “นวตั กรรมทางการศกึ ษา” (Educational Innovation) หมายถึง การนาเอาสิ่งใหม่ ซ่ึงอาจจะอยใู่ นรูปของความคิดหรือการกระทา รวมท้งั ส่ิงประดิษฐก์ ็ตามเขา้ มาใชใ้ นระบบ การศกึ ษา เพื่อมุง่ หวงั ท่ีจะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยเู่ ดิมใหร้ ะบบการจดั การศกึ ษามีประสิทธิภาพยง่ิ ข้ึน ทาใหผ้ เู้ รียนสามารถเกิดการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วเกิดแรงจูงใจในการเรียน และช่วยให้ ประหยดั เวลาในการเรียน เช่น การสอนโดยใชค้ อมพวิ เตอร์ช่วยสอน การใชว้ ดี ิทศั น์เชิงโตต้ อบ (Interactive Video) ส่ือหลายมิติ (Hypermedia) และอนิ เตอร์เน็ต เหล่าน้ีเป็นตน้

3 iความหมายของเทคโนโลยี ความเจริญในดา้ นต่างๆ ที่ปรากฏใหเ้ ห็นอยใู่ นปัจจุบนั เป็นผลมาจากการศึกษาคน้ ควา้ ทดลอง ประดิษฐค์ ิดคน้ สิ่งต่างๆ โดยอาศยั ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เมื่อศึกษาคน้ พบและทดลองใชไ้ ดผ้ ลแลว้ กน็ าออกเผยแพร่ใชใ้ นกิจการดา้ นต่างๆ ส่งผลใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงพฒั นาคุณภาพ และ ประสิทธิภาพในกิจการต่างๆ เหล่าน้นั และวชิ าการที่วา่ ดว้ ยการนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มาใชใ้ น กิจการดา้ นต่างๆ จึงเรียกกนั วา่ \"วทิ ยาศาสตร์ประยกุ ต\"์ หรือนิยมเรียกกนั ทว่ั ไปว่า \"เทคโนโลย\"ี (boonpan edt01.htm) เทคโนโลยีี หมายถงึ การใชเ้ ครื่องมือใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ในการ แกป้ ัญหา ผทู้ ี่นาเอาเทคโนโลยมี าใช้ เรียกว่านกั เทคโนโลยี (Technologist) (boonpan edt01.htm) เทคโนโลยที างการศกึ ษา (Educational Technology) ตามรูปศพั ท์ เทคโน (วิธีการ) + โลย(ี วทิ ยา) หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าดว้ ยวธิ ีการทางการศกึ ษา ครอบคลุมระบบการนาวธิ ีการ มาปรับปรุง ประสิทธิภาพของการศกึ ษาใหส้ ูงข้ึนเทคโนโลยที างการศกึ ษาครอบคลมุ องคป์ ระกอบ 3 ประการ คือ วสั ดุ อปุ กรณ์ และวิธีการ (boonpan edt01.htm) สภาเทคโนโลยที างการศึกษานานาชาติไดใ้ หค้ า จากดั ความของ เทคโนโลยที างการศกึ ษา ว่าเป็นการพฒั นาและประยกุ ตร์ ะบบเทคนิคและอุปกรณ์ ใหส้ ามารถนามาใชใ้ นสถานการณ์ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เพอื่ สร้างเสริมกระบวนการเรียนรูข้ องคนใหด้ ี ยงิ่ ข้ึน (boonpan edt01.htm) ดร.เปร่ือง กุมุท ไดก้ ลา่ วถึงความหมายของเทคโนโลยกี ารศกึ ษาว่า เป็น การขยายขอบข่ายของการใชส้ ื่อการสอน ใหก้ วา้ งขวางข้ึนท้งั ในดา้ นบุคคล วสั ดุเคร่ืองมอื สถานท่ี และกิจกรรมต่างๆในกระบวนการเรียนการสอน (boonpan edt01.htm) Edgar Dale กล่าววา่ เทคโนโลยที างการศึกษา ไม่ใช่เครื่องมอื แต่เป็นแผนการหรือวธิ ีการทางานอยา่ งเป็นระบบ ให้ บรรลผุ ลตามแผนการ (boonpan edt01.htm) นอกจากน้ีเทคโนโลยที างการศกึ ษา เป็นการขยาย แนวคิดเก่ียวกบั โสตทศั นศกึ ษา ใหก้ วา้ งขวางยง่ิ ข้ึน ท้งั น้ี เนื่องจากโสตทศั นศึกษาหมายถึง การศกึ ษาเกี่ยวกบั การใชต้ าดูหูฟัง ดงั น้นั อปุ กรณ์ในสมยั ก่อนมกั เนน้ การใชป้ ระสาทสมั ผสั ดา้ นการ ฟังและการดูเป็นหลกั จึงใชค้ าวา่ โสตทศั นอุปกรณ์ เทคโนโลยที างการศึกษา มคี วามหมายท่กี วา้ ง กว่า ซ่ึงอาจจะพจิ ารณาจาก ความคิดรวบยอดของเทคโนโลยไี ดเ้ ป็น 2 ประการ คือ 1. ความคดิ รวบยอดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ ตามความคิดรวบยอดน้ี เทคโนโลยที างการศึกษา หมายถึง การประยกุ ตว์ ิทยาศาสตร์กายภาพ ในรูปของส่ิงประดิษฐ์ เช่น เครื่องฉายภาพยนตร์ โทรทศั น์ ฯลฯ มาใชส้ าหรับการเรียนรู้ของนกั เรียนเป็นส่วนใหญ่ การใชเ้ คร่ืองมอื เหล่าน้ี มกั คานึงถึงเฉพาะการควบคุมใหเ้ ครื่องทางาน มกั ไม่คานึงถงึ จิตวิทยาการเรียนรู้ โดยเฉพาะเรื่องความ แตกต่างระหวา่ งบุคคล และการเลือกสื่อใหต้ รงกบั เน้ือหาวชิ า ความหมายของเทคโนโลยที างการศกึ ษา ตามความคิดรวบยอดน้ี ทาใหบ้ ทบาทของเทคโนโลยที าง การศึกษาแคบลงไป คือมเี พียงวสั ดุ และอปุ กรณ์เท่าน้นั ไมร่ วมวธิ ีการ หรือปฏกิ ิริยาสมั พนั ธอ์ ื่น ๆ เขา้ ไปดว้ ย ซ่ึงตามความหมายน้ีกค็ ือ \"โสตทศั นศกึ ษา\" นน่ั เอง

4 2. ความคดิ รวบยอดทางพฤติกรรมศาสตร์ เป็นการนาวิธีการทางจิตวิทยา มนุษยวิทยา กระบวนการ กลมุ่ ภาษา การส่ือความหมาย การบริหาร เคร่ืองยนตก์ ลไก การรับรู้มาใชค้ วบคู่กบั ผลิตกรรมทาง วทิ ยาศาสตร์และวศิ วกรรม เพื่อใหผ้ เู้ รียน เปล่ียนพฤติกรรมการเรียนรู้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพยง่ิ ข้นึ มใิ ช่เพียงการใชเ้ ครื่องมืออปุ กรณ์เท่าน้นั แต่รวมถึงวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์เขา้ ไปดว้ ย ม ิิใช่วสั ดุ หรืออปุ กรณ์ แต่เพียงอยา่ งเดียว (boonpan edt01.htm)iเป้าหมายของเทคโนโลยกี ารศกึ ษา 1. การ ขยายพสิ ยั ของทรัพยากรของการเรียนรู้ กล่าวคือ แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ มไิ ดห้ มายถงึ แต่เพยี ง ตารา ครู และอุปกรณ์การสอน ท่ีโรงเรียนมอี ยเู่ ท่าน้นั แนวคิดทางเทคโนโลยที างการศกึ ษา ตอ้ งการ ใหผ้ เู้ รียนมีโอกาสเรียนจากแหล่งความรู้ที่กวา้ งขวางออกไปอกี แหลง่ ทรัพยากรการเรียนรู้ ครอบคลุมถึงเร่ืองต่างๆ เช่น 1.1 คน คนเป็นแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ท่ีสาคญั ซ่ึงไดแ้ ก่ ครู และวทิ ยากรอ่ืน ซ่ึงอยนู่ อกโรงเรียน เช่น เกษตรกร ตารวจ บุรุษไปรษณีย์ เป็นตน้ 1.2 วสั ดุและเคร่ืองมือ ไดแ้ ก่ โสตทศั นวสั ดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ภาพยนตร์ วทิ ยุ โทรทศั น์ เคร่ือง วิดีโอเทป ของจริงของจาลองส่ิงพิมพ์ รวมไปถงึ การใชส้ ่ือมวลชนต่างๆ 1.3 เทคนิค-วิธีการ แต่เดิมน้นั การเรียนการสอนส่วนมาก ใชว้ ธิ ีใหค้ รูเป็นคนบอกเน้ือหา แก่ผเู้ รียน ปัจจุบนั น้นั เปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนไดศ้ กึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองไดม้ ากท่ีสุด ครูเป็นเพียง ผวู้ างแผนแนะ แนวทางเท่าน้นั 1.4 สถานที่ อนั ไดแ้ ก่ โรงเรียน หอ้ งปฏบิ ตั ิการทดลอง โรงฝึกงาน ไร่นา ฟาร์ม ที่ทาการรัฐบาล ภูเขา แม่น้า ทะเล หรือสถานที่ใด ๆ ที่ช่วยเพิ่มประสบการณ์ท่ีดีแก่ผเู้ รียนได้ 2. การเนน้ การเรียนรู้แบบเอกตั บุคคล ถึงแมน้ กั เรียนจะลน้ ช้นั และกระจดั กระจาย ยากแก่การจดั การศกึ ษาตามความแตกต่างระหวา่ งบุคคลได้ นกั การศกึ ษาและนกั จิตวิทยาไดพ้ ยายามคิด หาวธิ ี นาเอาระบบการเรียนแบบตวั ต่อตวั มาใช้ แต่แทนที่จะใชค้ รูสอนนกั เรียนทีละคน เขาก็คิด ‘แบบเรียนโปรแกรม’ ซ่ึงทาหนา้ ที่สอน ซ่ึงเหมือนกบั ครูมาสอน นกั เรียนจะเรียนดว้ ยตนเอง จาก แบบเรียนดว้ ยตนเองในรูปแบบเรียนเป็นเล่ม หรือเคร่ืองสอนหรือส่ือประสมหลายๆ อยา่ ง จะเรียน ชา้ หรือเร็วกท็ าไดต้ ามความสามารถของผเู้ รียนแต่ละคน 3. การใชว้ ิธีวเิ คราะห์ระบบในการศกึ ษา การใชว้ ธิ ีระบบ ในการปฏิบตั ิหรือแกป้ ัญหา เป็นวธิ ีการที่ เป็นวทิ ยาศาสตร์ ที่เช่ือถอื ไดว้ า่ จะสามารถแกป้ ัญหา หรือช่วยใหง้ านบรรลเุ ป้าหมายได้ เนื่องจาก กระบวนการของวิธีระบบ เป็นการวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบของงานหรือของระบบ อยา่ งมเี หตุผล หาทางใหส้ ่วนต่าง ๆ ของระบบทางาน ประสานสมั พนั ธก์ นั อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 4. พฒั นาเครื่องมอื -วสั ดุอุปกรณ์ทางการศกึ ษา วสั ดุและเคร่ืองมอื ต่าง ๆ ที่ใชใ้ นการศึกษา หรือการ เรียนการสอนปัจจุบนั จะตอ้ งมกี ารพฒั นา ใหม้ ศี กั ยภาพ หรือขีดความสามารถในการทางานใหส้ ูง ยง่ิ ข้ึนไปอีก iแนวคิดพ้ืนฐานของนวตั กรรมทางการศกึ ษา ปัจจยั สาคญั ที่มอี ทิ ธิพลอยา่ งมาก ต่อ วิธีการศกึ ษา ไดแ้ ก่แนวความคิดพน้ื ฐานทางการศกึ ษาที่เปลยี่ นแปลงไป อนั มีผลทาใหเ้ กิด

5 นวตั กรรมการศกึ ษาที่สาคญั ๆ พอจะสรุปได4้ ประการ คือ 1. ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล (Individual Different) การจดั การศึกษาของไทยไดใ้ หค้ วามสาคญั ในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลเอาไวอ้ ยา่ งชดั เจนซ่ึงจะเห็นไดจ้ ากแผนการศกึ ษาของชาติ ให้ ม่งุ จดั การศกึ ษาตามความถนดั ความสนใจ และความสามารถ ของแต่ละคนเป็นเกณฑ์ ตวั อยา่ งท่ีเห็น ไดช้ ดั เจนไดแ้ ก่ การจดั ระบบหอ้ งเรียนโดยใชอ้ ายเุ ป็นเกณฑบ์ า้ ง ใชค้ วามสามารถเป็นเกณฑบ์ า้ ง นวตั กรรมที่เกิดข้ึนเพือ่ สนองแนวความคิดพน้ื ฐานน้ี เช่น - การเรียนแบบไมแ่ บ่งช้นั (Non-Graded School) - แบบเรียนสาเร็จรูป (Programmed Text Book) - เคร่ืองสอน (Teaching Machine) - การสอนเป็นคณะ (TeamTeaching) - การจดั โรงเรียนในโรงเรียน (School within School) - เครื่องคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน (Computer Assisted Instruction) 2. ความพร้อม (Readiness) เดิม ทีเดียวเช่ือกนั วา่ เดก็ จะเริ่มเรียนไดก้ ต็ อ้ งมีความพร้อมซ่ึงเป็นพฒั นาการตามธรรมชาติ แต่ใน ปัจจุบนั การวจิ ยั ทางดา้ นจิตวิทยาการเรียนรู้ ช้ีใหเ้ ห็นวา่ ความพร้อมในการเรียนเป็นสิ่งที่สร้างข้ึนได้ ถา้ หากสามารถจดั บทเรียน ใหพ้ อเหมาะกบั ระดบั ความสามารถของเด็กแต่ละคน วิชาท่ีเคยเชื่อกนั ว่ายาก และไม่เหมาะสมสาหรับเดก็ เลก็ ก็สามารถนามาใหศ้ ึกษาได้ นวตั กรรมที่ตอบสนอง แนวความคิดพ้นื ฐานน้ีไดแ้ ก่ ศนู ยก์ ารเรียน การจดั โรงเรียนในโรงเรียน นวตั กรรมที่สนอง แนวความคิดพน้ื ฐานดา้ นน้ี เช่น - ศนู ยก์ ารเรียน (Learning Center) - การจดั โรงเรียนในโรงเรียน (School within School) - การปรับปรุงการสอนสามช้นั (Instructional Development in 3 Phases) 3. การใชเ้ วลาเพอ่ื การศกึ ษา แต่เดิมมาการจดั เวลาเพื่อการสอน หรือตารางสอนมกั จะจดั โดยอาศยั ความสะดวกเป็น เกณฑ์ เช่น ถือหน่วยเวลาเป็นชว่ั โมง เท่ากนั ทุกวชิ า ทุกวนั นอกจากน้นั กย็ งั จดั เวลาเรียนเอาไว้ แน่นอนเป็นภาคเรียน เป็นปี ในปัจจุบนั ไดม้ ีความคิดในการจดั เป็นหน่วยเวลาสอนใหส้ มั พนั ธก์ บั ลกั ษณะของแต่ละวชิ าซ่ึงจะใชเ้ วลาไม่เท่ากนั บางวชิ าอาจใชช้ ่วงส้นั ๆ แต่สอนบ่อยคร้ัง การเรียนก็ ไมจ่ ากดั อยแู่ ต่เฉพาะในโรงเรียนเท่าน้นั นวตั กรรมที่สนองแนวความคิดพน้ื ฐานดา้ นน้ี เช่น - การจดั ตารางสอนแบบยดื หยนุ่ (Flexible Scheduling) - มหาวิทยาลยั เปิ ด (Open University) - แบบเรียนสาเร็จรูป (Programmed Text Book) - การเรียนทางไปรษณีย์ 4. ประสิทธิภาพในการเรียน การขยายตวั ทางวชิ าการ และการเปลีย่ นแปลง ของสงั คม ทาใหม้ สี ่ิงต่างๆ ที่คนจะตอ้ งเรียนรู้เพิ่มข้ึนมาก แต่การจดั ระบบการศึกษาในปัจจุบนั ยงั ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอจึงจาเป็นตอ้ งแสวงหาวิธีการใหมท่ ี่มปี ระสิทธิภาพสูงข้ึน ท้งั ในดา้ น

6 ปัจจยั เก่ียวกบั ตวั ผเู้ รียน และปัจจยั ภายนอก นวตั กรรมในดา้ นน้ีท่ีเกิดข้ึน เช่น - มหาวทิ ยาลยั เปิ ด - การเรียนทางวทิ ยุ การเรียนทางโทรทศั น์ - การเรียนทางไปรษณีย์ แบบเรียนสาเร็จรูป - ชุดการเรียน iนวตั กรรมทางการศึกษาท่ีสาคญั ของไทยในปัจจุบนั (2546) นวตั กรรม เป็นความคดิ หรือการกระทาใหมๆ่ ซ่ึงนกั วิชาการหรือผเู้ ชี่ยวชาญในแต่ละวงการจะมีการคิดและทาส่ิงใหม่อยู่ เสมอ ดงั น้นั นวตั กรรมจึงเป็นส่ิงท่ีเกิดข้ึนใหม่ไดเ้ รื่อยๆ สิ่งใดท่ีคิดและทามานานแลว้ ก็ถือว่าหมด ความเป็นนวตั กรรมไป โดยจะมีสิ่งใหมม่ าแทน ในวงการศึกษาปัจจุบนั มสี ิ่งที่เรียกว่านวตั กรรม ทางการศกึ ษา หรือนวตั กรรมการเรียนการสอน อยเู่ ป็นจานวนมาก บางอยา่ งเกิดข้ึนใหม่ บางอยา่ งมี การใชม้ าหลายสิบปี แลว้ แต่กย็ งั คงถือวา่ เป็น นวตั กรรม เนื่องจากนวตั กรรมเหล่าน้นั ยงั ไม่ แพร่หลายเป็นท่ีรู้จกั ทวั่ ไป ในวงการศึกษา iนวตั กรรมทางการศึกษาต่างๆ ทกี่ ล่าวถงึ กนั มากใน ปัจจุบนั · E-learning ความหมาย e-Learning เป็นคาที่ใชเ้ รียกเทคโนโลยกี ารศกึ ษาแบบใหม่ ท่ียงั ไม่ มีชื่อภาษาไทยท่ีแน่ชดั และมีผนู้ ิยามความหมายไวห้ ลายประการ ผศ.ดร.ถนอมพร เลาหจรัสแสง ใหค้ านิยาม E-Learning หรือ Electronic Learning ว่า หมายถึง \"การเรียนผา่ นทางสื่ออิเลคทรอนิกส์ ซ่ึงใชก้ าร นาเสนอเน้ือหาทางคอมพวิ เตอร์ในรูปของสื่อมลั ติมเี ดียไดแ้ ก่ ขอ้ ความอิเลคทรอนิกส์ ภาพน่ิง ภาพกราฟิก วดิ ีโอ ภาพเคล่ือนไหว ภาพสามมติ ิฯลฯ\"เช่นเดียวกบั คุณธิดาทิตย์ จนั คนา ท่ีให้ ความ หมายของ e-learning ิ่าหมายถงึ การศกึ ษาที่เรียนรู้ผา่ นเครือข่ายอนิ เตอร์เนตโดยผเู้ รียนรู้จะ เรียนรู้ ดว้ ยตวั เอง ารเรียนรู้จะเป็นไปตามปัจจยั ภายใตท้ ฤษฎีแห่งการเรียนรู้สองประการคือ เรียน ตามความรู้ความสามารถของผเู้ รียนเอง และ การตอบสนองใน ความแตกต่างระหว่างบุคคล(เวลาที่ แต่ละบุคคลใชใ้ นการเรียนรู้)การเรียนจะกระทาผา่ นส่ือบนเครือข่ายอนิ เตอร์เนต โดยผสู้ อนจะ นาเสนอขอ้ มลู ความรู้ใหผ้ เู้ รียนไดท้ าการศกึ ษาผา่ นบริการ World Wide Web หรือเวปไซด์ โดยอาจ ใหม้ ปี ฏสิ มั พนั ธ์ (สนทนา โตต้ อบ ส่งข่าวสาร) ระหว่างกนั จะที่มกี าร เรียนรู้ ิู ิ้ในสามรูปแบบคือ ผสู้ อนกบั ผเู้ รียน ผเู้ รียนกบั ผเู้ รียนอีกคนหน่ึง หรือผเู้ รียนหน่ึงคนกบั กล่มุ ของผเู้ รียน ปฏสิ มั พนั ธน์ ้ี สามารถ กระทา ผา่ นเคร่ืองมือสองลกั ษณะคือ 1) แบบ Real-time ไดแ้ ก่การสนทนาในลกั ษณะของ การพิมพข์ อ้ ความแลกเปล่ียนข่าวสารกนั หรือ ส่งในลกั ษณะของเสียง จากบริการของ Chat room 2) แบบ Non real-time ไดแ้ ก่การส่งขอ้ ความถึงกนั ผา่ นทางบริการ อิเลคทรอนิคเมลล์ WebBoard News-group เป็นตน้ ความหมายของ e-Learning ที่มีปรากฏอยใู่ นส่วนคาถามที่ถูกถามบ่อย (Frequently Asked Question : FAQ) ในเวป http://www.elearningshowcase.com ใหน้ ิยามวา่ e- Learning มคี วามหมาย เดียวกบั Technology-based Learning น้นั คือการศึกษาที่อาศยั เทคโนโลยมี า เป็นส่วนประกอบท่ี สาคญั ความหมายของ e-Learning ครอบคลมุ กวา้ งรวมไปถึงระบบโปรแกรม และขบวนการท่ี ดาเนินการ ตลอดจนถงึ การศึกษาท่ีใช้ ิ้คอมพิวเตอร์เป็นหลกั การศกึ ษาท่ีอาศยั Webเป็นเครื่องมือหลกั การศกึ ษาจากหอ้ งเรียนเสมือนจริง และการศึกษาที่ใช้ การทางานร่วมกนั ของอปุ กรณ์อิเลค ทรอนิค ระบบดจิ ิตอล ความหมายเหล่าน้ีมาจากลกั ษณะของการส่งเน้ือหาของ

7 บทเรียนผา่ นทาง อปุ กรณ ิ์อิเลคทรอนิค ซ่ึงรวมท้งั จากในระบบอินเตอร์เนต ระบบเครือข่าย ภายใน (Intranets) การ ถ่ายทอดผา่ นสญั ญาณทีวี และการใชซ้ ีดีรอม อยา่ งไรก็ตาม e-Learning จะมี ความหมายในขอบเขต ที่แคบกวา่ การศึกษาแบบทางไกล (Long distance learning) ซ่ึงจะรวมการ เรียนโดยอาศยั การส่ง ขอ้ ความหรือเอกสารระหวา่ งกนั และช้นั เรียนจะเกิดข้ึนในขณะท่ีมีการเขียน ขอ้ ความส่งถึงกนั การนิยามความหมายแก่ e-learning Technology-based learning และ Web-based Learning ยงั มี ความแตกต่างกนั ตามแต่องคก์ ร บุคคลและกลุ่มบุคคลแต่ละแห่งจะให้ความหมาย และคาดกนั วา่ คา วา่ e-Learning ที่มกี ารใชม้ าต้งั แต่ปี คศ. 1998 ในที่สุดกจ็ ะเปลยี่ นไปเ ป็น e- Learning เหมอื นอยา่ ง กบั ท่ีมีเปลยี่ นแปลงคาเรียกของ e-Business เม่ือกล่าวถงึ การเรียนแบบ Online Learning หรือ Web-based Learning ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึง ของ Technology-based Learning nิิี ่มกี าร เรียนการสอนผา่ นระบบอินเตอร์เนต อินทราเนต และ เอซ็ ทราเนต (Extranet) พบว่าจะมรี ะดบั การ จดั การที่แตกต่างกนั ออกไป Online Learning ปกติจะ ประกอบดว้ ยบทเรียนท่ีมีขอ้ ความและรูปภาพ แบบฝึกหดั แบบทดสอบ และบนั ทึกการเรียน อาทิ คะแนนผลการทดสอบ(test score) และบนั ทึก ความกา้ วหนา้ ของการเรียน(bookmarks) แต่ถา้ เป็น Online Learning ที่สูงข้ึนอีกระดบั หน่ึง โปรแกรมของการเรียนจะประกอบดว้ ยภาพเคลือ่ นไหว แบบ จาลอง สื่อที่เป็นเสียง ภาพจากวดิ ีโอ กลุ่มสนทนาท้งั ในระดบั เดยี วกนั หรือในระดบั ผรู้ ู้ ผมู้ ปี ระสบการณ์ ที่ปรึกษาแบบออนไลน์ (Online Mentoring) จุดเชื่อมโยงไปยงั เอกสารอา้ งองิ ที่มีอยู่ ในบริการของเวป และการส่ือสารกบั ระบบที่ บนั ทึกผลการเรียน เป็นตน้ การเรียนรู้แบบออนไลนห์ รือ e-learning การศกึ ษาเรียนรู้ผา่ นเครือข่าย คอมพวิ เตอร์อินเทอร์เน็ต(Internet) หรืออนิ ทราเน็ต(Intranet) เป็นการเรียนรูด้ ว้ ยตวั เอง ผเู้ รียนจะได้ เรียนตาม ความสามารถและความสนใจของตน โดยเน้ือหาของบทเรียนซ่ึงประกอบดว้ ย ขอ้ ความ รูปภาพเสียง วดิ ีโอและมลั ติมเี ดียอ่นื ๆ จะถูกส่งไปยงั ผเู้ รียนผา่ น Web Browser โดยผเู้ รียน ผสู้ อน และ เพอื่ นร่วมช้นั เรียนทกุ คน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปล่ยี นความคิดเห็นระหวา่ งกนั ได้ เช่นเดียวกบั การเรียนในช้นั เรียนปกติ โดยอาศยั เครื่องมอื การติดต่อ สื่อสารที่ทนั สมยั (e-mail, web- board, chat) จึงเป็นการเรียนสาหรับทุกคน, เรียนไดท้ ุกเวลา และทุกสถานท่ี (Learn for all : anyone, anywhere and anytime) · หอ้ งเรียนเสมือนจริง ความหมาย การ เรียนการสอนท่ีจาลองแบบ เสมอื นจริง เป็นนวตั กรรมทางการศกึ ษาท่ีสถาบนั การศกึ ษา ต่างๆ ทวั่ โลกกาลงั ใหค้ วามสนใจและ จะขยายตวั มากข้ึนในศตวรรษที่ 21 การเรียนการสอนในระบบน้ีอาศยั ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ โทรคมนาคม และเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นหลกั ท่ีเรียกว่า Virtual Classroom หรือ Virtual Campus บา้ ง นบั วา่ เป็นการพฒั นาการ บริการทางการศกึ ษาทางไกลชนิดที่เรียกวา่ เคาะประตูบา้ น กนั จริงๆ เป็นรูปแบบใหม่ของสถาบนั การศกึ ษาในโลกยคุ ไร้พรมแดนมนี กั วิชาการหลายท่านไดใ้ ห้ ความหมายของคาว่า Virtual Classroom ไวด้ งั น้ี ศ. ดร. ครรชิต มาลยั วงศ์ ไดก้ ลา่ วถงึ ความหมาย ของหอ้ งเรียนเสมือน(Virtual Classroom) วา่ หมายถึง การเรียนการสอนที่ผา่ นระบบเครือข่าย คอมพวิ เตอร์ท่ีเชื่อมโยงคอมพวิ เตอร์ของผเู้ รียน เขา้ ไวก้ บั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ของผใู้ หบ้ ริการ

8 เครือข่าย (File Server) และเคร่ืองคอมพิวเตอร์ผใู้ ห ิ้ บริการเวบ็ (Web Server) อาจเป็นการ เช่ือมโยงระยะใกลห้ รือระยะไกล ผา่ นทางระบบการสื่อสารและอนิ เทอร์เน็ตดว้ ย กระบวนการสอน ผสู้ อนจะออกแบบระบบการเรียนการสอนไวโ้ ดยกาหนด กิจกรรมการเรียนการสอน ส่ือต่างๆ นาเสนอผา่ นเวบ็ ไซตป์ ระจาวิชา จดั สร้างเวบ็ เพจในแต่ละส่วนให้ สมบูรณ์ ผเู้ รียนจะเขา้ สู่เวบ็ ไซต์ ประจาวชิ าและดาเนินการเรียนไปตามระบบการเรียน ที่ผสู้ อนออกแบบไวใ้ นระบบเครือข่ายมีการ จาลองสภาพแวดลอ้ มต่างๆ ในลกั ษณะเป็นหอ้ งเรียนเสมือน (ครรชิต มาลยั วงศ,์ 2540) บุญเก้ือ ควร หาเวช ไดก้ ล่าวถึงหอ้ งเรียนเสมอื นวา่ (Virtual Classroom) หมายถึง การ จดั การเรียนการสอนท่ี ผเู้ รียนจะเรียนท่ีไหนก็ได้ เช่น ที่บา้ น ที่ทางาน โดยไม่ตอ้ งไปนง่ั เรียนในหอ้ ง เรียนจริงๆ ทาให้ ประหยดั เวลา ค่าเดินทาง และค่าใชจ้ ่ายอ่ืนๆ อีกมากมาย (บุญเก้ือ ควรหาเวช. 2543: 195) รุจโรจน์ แกว้ อุไร กลา่ วไวว้ า่ หอ้ งเรียนเสมอื น (Virtual Classroom) เป็นการจดั การเรียนการ สอนทางไกลเตม็ รูปแบบ โดยมอี งคป์ ระกอบครบ ไดแ้ ก่ ตวั ผเู้ รียน ผสู้ อน และเพื่อนร่วมช้นั เขา้ สู่ กระบวนการเรียนการสอนพร้อมๆ กนั มีสื่อการสอนท้งั ภาพและเสียง ผเู้ รียนสามารถร่วมกจิ กรรมกล่มุ หรือตอบโตแ้ ลกเปลี่ยนความคิดเห็นกบั ผสู้ อนหรือกบั เพ่ือนร่วม ช้นั ไดเ้ ต็มท่ี (คลา้ ยกบั chat room) ส่วนผสู้ อนสามารถต้งั โปรแกรมติดตามพฒั นาการ ประเมนิ ผล การเรียนรวมท้งั ประสิทธิภาพของหลกั สูตรได้ ท้งั น้ีไมจ่ ากดั เร่ืองสถานท่ี แต่ผเู้ รียนในช้นั และ ผสู้ อนจะตอ้ งนดั เวลาเรียนอยา่ งพร้อมเพรียง มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ กล่าววา่ หอ้ งเรียนเสมือน (Virtual Classroom) เป็นการเรียน การสอนที่จะตอ้ งมีการนดั เวลา นดั สถานท่ี นดั ผเู้ รียนและผสู้ อน เพอ่ื ใหเ้ กิดการเรียนการสอนมกี ารกาหนดตารางเวลาหรือตารางสอนผเู้ รียนไม่ตอ้ งเดินทางแต่เรียก ผา่ นเครือข่ายตามกาหนดเวลาเพื่อเขา้ หอ้ งเรียนและเรียน ไดแ้ มจ้ ะอยทู่ ่ีใดในโลก โดยสรุป กลา่ วได้ ว่าไดว้ า่ หอ้ งเรียนเสมือน (Virtual Classroom) หมายถึง การเรียนการสอนที่กระทาผา่ นระบบ เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ท่ีเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ของผเู้ รียนเขา้ ไวก้ บั เครื่อง คอมพวิ เตอร์ของผู้ ใหบ้ ริการเครือข่าย (File Server) และคอมพวิ เตอร์ผใู้ หบ้ ริการเวบ็ (Web sever) เป็นการเรียนการ สอนท่ีจะมีการนดั เวลาหรือไม่นดั เวลากไ็ ด้ และนดั สถานท่ี นดั ตวั บุคคล เพอ่ื ใหเ้ กิด การเรียนการ สอน มกี ารกาหนดตารางเวลาหรือตารางสอน เขา้ สู่กระบวนการเรียนการสอนพร้อมๆ กนั หรือไม่ พร้อมกนั มีการใชส้ ื่อการสอนท้งั ภาพและเสียง ผเู้ รียนสามารถร่วมกิจกรรมกลุ่มหรือตอบ โต้ แลกเปลีย่ นความคิดเห็นกบั ผสู้ อนหรือกบั เพอื่ นร่วมช้นั ไดเ้ ตม็ ที่ (คลา้ ย chat room) ส่วนผสู้ อน สามารถต้งั โปรแกรมตดิ ตามพฒั นาการประเมินผลการเรียนรวมท้งั ประสิทธิภาพของหลกั สูตรได้ ท้งั น้ี ไมจ่ ากดั เรื่องสถานท่ี เวลา (Any Where & Any Time) ของผเู้ รียนในช้นั และผสู้ อนประเภท ของหอ้ งเรียนเสมือนจริง รศ.ดร.อทุ ยั ภิรมยร์ ื่น (อุทยั ภิรมยร์ ื่น, 2540) ไดจ้ าแนกประเภทการเรียน ในหอ้ งเรียนแบบ เสมอื นจริงได้ 2 ลกั ษณะ คือ 1. จดั การเรียนการสอนในหอ้ งเรียนธรรมดา แต่มี การถา่ ยทอดสดภาพและเสียงเกี่ยวกบั บท เรียน โดยอาศยั ระบบโทรคมนาคมและเครือข่าย คอมพิวเตอร์ไปยงั ผเู้ รียนที่อยนู่ อกหอ้ งเรียนนกั ศกึ ษาก็สามารถรับฟังและติดตามการสอนของ

9 ผสู้ อนไดจ้ ากเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ของตนเองอกี ท้งั ยงั สามารถโตต้ อบกบั อาจารยผ์ สู้ อน หรือเพอื่ นกั ศกึ ษาในช้นั เรียนได้ หอ้ งเรียนแบบน้ียงั อาศยั ส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพท่ีเป็นจริง ซ่ึงเรียกวา่ Physical Education Environment 2. การจดั หอ้ งเรียนจากโปรแกรมคอมพวิ เตอร์สร้างภาพเสมอื น จริง เรียกว่า Virtual Reality โดยใชส้ ่ือท่ีเป็นตงั หนงั สือ (Text-Based) หรือภาพกราฟิ ก (Graphical- Based) ส่งบทเรียนไปยงั ผเู้ รียนโดยผา่ นระบบโทรคมนาคมและเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ หอ้ งเรียน ลกั ษณะน้ีเรียกว่า Virtual Education Environment ซ่ึงเป็น Virtual Classroom ท่ีแทจ้ ริง การจดั การ เรียนการสอนทางไกล ท้งั สองลกั ษณะน้ี ในบางมหาวทิ ยาลยั ก็ใชร้ ่วมกนั คือมีท้งั แบบที่เป็นหอ้ งเรียนจริง และหอ้ งเรียน เสมอื นจริง การเรียนการสอนกผ็ า่ นทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เช่ือมโยงกนั อยทู่ ว่ั โลก เช่น Internet, http://www. ขณะน้ีไดม้ ผี พู้ ยายามจดั ต้งั มหาวิทยาลยั เสมือนจริงข้ึนแลว้ โดยเช่ือมโยง Site ต่างๆ ท่ี ใหบ้ ริการ ดา้ นการเรียนการสอนทางไกล แบบ Virtual Classroom ต่างๆ เขา้ ดว้ ยกนั และจดั บริเวณ อาคาร สถานที่ หอ้ งเรียน หอ้ งสมุด ภาควิชาต่างๆ ศนู ยบ์ ริการต่างๆ ตลอดจนคณาจารย์ นกั ศกึ ษา กิจกรรม ทกุ อยา่ งเสมือนเป็นชุมชนวิชาการจริงๆ แต่ขอ้ มลู เหล่าน้ีจะอยทู่ ่ีศนู ยค์ อมพิวเตอร์ของแต่ ละแห่ง ผปู้ ระสงคจ์ ะเขา้ ร่วมในการเปิ ดบริการกจ็ ะตอ้ งจองเน้ือท่ีและเขียนโปรแกรมใส่ขอ้ มลู เขา้ ไว้ เม่ือนกั ศึกษาติดต่อเขา้ มา โปรแกรมคอมพิวเตอร์ก็จะแสดงภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และสามารถ โตต้ อบไดเ้ สมอื นหน่ึงเป็นมหาวทิ ยาลยั จริง ๆ การตดิ ต่อกบั มหาวิทยาลยั เสมอื นจริงทาไดด้ งั น้ี 1. บทเรียนและแบบฝึกหดั ต่าง ๆ อาจจะส่งใหผ้ เู้ รียนในรูปวีดที ศั น์ หรือวีดิทศั น์ผสมกบั Virtual Classroom หรือ CD-ROM ที่มีสื่อประสมท้งั ภาพ เสียง การเคลอ่ื นไหว โดยผา่ นระบบสญั ญาณ เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ดาวเทียม โทรทศั น์ โทรสาร หรือทางเมล์ ตามความตอ้ งการของ ผเู้ รียน 2. ผเู้ รียนจะตดิ ต่อสื่อสารกบั อาจารยผ์ สู้ อนไดโ้ ดยตรง ในขณะสอนก็ไดห้ ากเป็นการเรียนที่ Online ซ่ึง จะเป็นแบบของการสื่อสารสองทาง (Two-way Communication) ท่ีโตต้ อบโดยทนั ทีทนั ใดระหวา่ ง ผเู้ รียนและผสู้ อนหรือระหว่างผเู้ รียนดว้ ยกนั (Synchronous Interaction) เช่น การ Chat หรืออาจใช้ การโตต้ อบแบบไมท่ นั ทีทนั ใด (Asynchoronous Interaction) เช่น การใช้ E-mail, การใช้ Web- board เป็นตน้ 3. การทดสอบ ทาไดห้ ลายวิธี เช่น ทดสอบแบบ Online หรือทดสอบโดยผา่ นทาง โทรสาร ทาง E-mail และทางไปรษณียธ์ รรมดา บางแห่งจะมผี จู้ ดั สอบโดยผา่ นตวั แทนของ มหาวิทยาลยั ในทอ้ งถิน่ ที่นกั ศกึ ษาอาศยั อยู่ การเรียนทางไกลโดยผา่ นเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ เป็นการ เปิ ดโอกาสให้ ผเู้ รียนเลือกเรียนวชิ าท่ีตนสนใจไดต้ ลอดเวลา ในทุกแห่งท่ีมกี ารเปิ ดสอน ไมต่ อ้ งเขา้ ช้นั เรียนก็ได้ ในการศึกษาหาความรู้ จึงมคี วามยดื หยนุ่ ดา้ นเวลาและประหยดั ค่าใชจ้ ่ายลงไปมาก นอกจากน้ีผเู้ รียนยงั สามารถติดต่อกบั อาจารยผ์ สู้ อนไดโ้ ดยตรง สามารถแลกเปลย่ี นความคิดเห็นกบั ผเู้ รียนคนอืน่ ซ่ึง อยหู่ ่างไกลกนั ได้ เป็นการเรียนแบบช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ทางานร่วมกนั (Collaborative Learning) อยา่ งไรก็ตามการเรียน ทางไกลลกั ษณะน้ีอาจจะขาดความสมั พนั ธแ์ บบ face-to-face คือ การเห็นหนา้ เห็นตวั กนั ไดแ้ ต่ปัจจุบนั น้ีกม็ กี ลอ้ งวีดิทศั น์ ที่เชื่อมต่อกบั เครื่อง

10 คอมพิวเตอร์ในระบบ เครือข่าย ก็สามารถทาใหเ้ ห็นหนา้ กนั ได้ ดงั น้นั ปัญหาเร่ือง face-to-face ก็ หมดไป ความสาเร็จและ คุณภาพของการเรียนในระบบน้ีข้นึ อยกู่ บั ตวั ผเู้ รียนค่อนขา้ งมาก เพราะ จะตอ้ งมีความรับผดิ ชอบ ตอ้ งบริหาร เวลาเพื่อติดตามบทเรียน การทากิจกรรมและการทดสอบ ต่างๆใหท้ นั ตามกาหนดเวลา จึงจะทาใหก้ ารเรียนประสบผล สาเร็จไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพมากที่สุด ลกั ษณะการจดั การเรียนการสอนแบบหอ้ งเรียนเสมือน การจดั การเรียนการสอนแบบหอ้ งเรียน เสมือน เป็นการจดั การศกึ ษาในลกั ษณะการสอนทาง ไกลผา่ นเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจ ระบบการจดั การเรียนการสอนแบบหอ้ งเรียนเสมอื นมาก ยงิ่ ข้ึนขอกลา่ วถงึ 1. การจดั การศึกษา ทางไกล และ 2. การจดั การศกึ ษาผา่ นเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ดงั น้ี<การศึกษาทางไกล (Distance Learning) การศกึ ษาทางไกลเป็นการเปิดโอกาสทางการศกึ ษาใหแ้ ก่ผใู้ ฝ่ รู้และใฝ่ เรียนท่ีไม่สามารถสละเวลา ไปรับการศกึ ษาจากระบบการศกึ ษาปกติไดเ้ นื่องจากภาระทางหนา้ ท่ีการงานหรือทางครอบครวั และเป็นการเปิ ดโอกาสใหผ้ ทู้ ี่ตอ้ งการเพ่ิมพนู หรือปรับปรุงความรู้ที่มีอยใู่ หท้ นั สมยั เพือ่ ประโยชน์ ใน การทางาน ความหมายของการศกึ ษาทางไกล (Distance Education) การศกึ ษาทางไกล (Distance Education) หมายถึง ระบบการศึกษาที่ผเู้ รียนและผสู้ อนอยู่ ไกลกนั แต่สามารถทาใหเ้ กิดการเรียนรู้ไดโ้ ดยอาศยั สื่อการสอนในลกั ษณะของสื่อประสม กล่าวคือ การใช้ สื่อต่างๆ ร่วมกนั เช่น ตาราเรียน เทปเสียง แผนภูมิ คอมพิวเตอร์ หรือโดยการใชอ้ ุปกรณ์ทาง โทรคมนาคม และสื่อมวลชนประเภทวทิ ยแุ ละโทรทศั นเ์ ขา้ มาช่วยในการแพร่กระจาย การศกึ ษาไป ยงั ผทู้ ี่ปรารถนาจะเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวางทว่ั ทุกทอ้ งถนิ่ การศกึ ษาน้ีมีท้งั ในระดบั ตน้ จนถึง ระดบั สูงข้นั ปริญญา การศกึ ษาทางไกลเป็นการศกึ ษาวิธีหน่ึงในการศึกษาท้งั ในระบบและนอกระบบโรงเรียน ท่ี อาศยั สื่อสิ่งพมิ พ์ ส่ืออเิ ลคทรอนิกส์ และส่ือบุคคล รวมท้งั ระบบโทรคมนาคมในรูปแบบต่างๆ เป็น หลกั การเรียนการสอน เพ่ือใหผ้ เู้ รียนเรียนรู้ไดด้ ว้ ยตนเองจากส่ือเหลา่ น้นั และอาจมกี ารสอนเสริม ควบคู่ไปดว้ ย เพื่อใหผ้ เู้ รียนซกั ถามปัญหาจากผสู้ อนหรือผสู้ อนเสริม โดยการศกึ ษาน้ีอาจจะอยใู่ น รูปแบบของการศกึ ษาอสิ ระ การศกึ ษารายบุคคล หรือรูปแบบของมหาวิทยาลยั เปิ ดกไ็ ด้ ตวั อยา่ งการ ศกึ ษาทางไกลในประเทศไทย ไดแ้ ก่ มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช ซ่ึงในการจดั การเรียนการ สอนของมหาวิทยาลยั แห่งน้ีใช้ ส่ือสิ่งพมิ พ์ เป็นหลกั โดยมี สื่อเสริม คือรายการวิทยกุ ระจายเสียง และรายการโทรทศั นบ์ างวชิ าอาจ มีเทปคาสเซท็ วีดโิ อเทป หรือสื่อพเิ ศษอยา่ งอืน่ ร่วมดว้ ย นกั ศกึ ษา จะเรียนดว้ ยตนเอง โดยอาศยั ส่ือ เหลา่ น้ีเป็นหลกั แต่มหาวิทยาลยั กจ็ ดั การสอนเสริมเป็นคร้ังคราว ซ่ึงเปิ ดโอกาสใหผ้ สู้ อนและผเู้ รียนไดพ้ บกนั เพอ่ื ซกั ถามขอ้ สงสยั หรือขอคาอธิบายเพิ่มเติม < การ จดั การเรียนการสอนผา่ นเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เทคโนโลยใี หม่ล่าสุดในวงการคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบนั ที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลงชีวติ ประจา วนั ของชาวโลกคือ เทคโนโลยอี นิ เทอร์เน็ต ซ่ึงเกิด จากการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ต่างๆ ใน โลกเขา้ ดว้ ยกนั ภายใตก้ ฎเกณฑก์ ารต่อเช่ือม

11 (Protocol) อยา่ งเดียวกนั ที่เรียกว่า TCP/IP อินเทอร์ เน็ตเป็นปรากฏการณ์ของคาวา่ \"โลกาภิวฒั น์\" (Globalization) ท่ีเป็นรูปธรรม โลกท้งั โลกสามารถ ติดต่อส่ือสารกนั ได้ ไม่วา่ จะเพอ่ื วตั ถุประสงค์ ใด ในทางการศกึ ษา อินเทอร์เน็ตเป็นการเปิ ดกวา้ งของ การใหโ้ อกาสในการศึกษาหาความรู้อยา่ ง ไม่เคยมีมาก่อน และเป็นการเปิ ดโอกาสที่ใหเ้ กิดความเท่า เทียมสาหรับทุกคน ท่ีสามารถจะเขา้ ถึง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ ลองนึกถงึ ความจริงท่ีว่าเด็กไทยท่ี อยบู่ นดอยในจงั หวดั แมฮ่ ่องสอน ก็ สามารถหาความรู้จากอนิ เทอร์เน็ตไดเ้ ท่าเทียมกนั กบั เด็กอเมริกนั ทน่ี ิวยอร์ค และเท่ากบั เด็กญี่ป่ ุนท่ี โตเกียว อนิ เทอร์เน็ตเป็น แหล่งสะสมความรู้หรือที่บางคนเรียกวา่ \"ขุมทรัพยค์ วามรู้\"เพราะใน บรรดาคอมพวิ เตอร์ท่ีต่อ เชื่อมอยกู่ บั อนิ เทอร์เน็ตน้นั ต่างกม็ ีขอ้ มูลสะสมไวม้ ากมาย และวิธี ใหบ้ ริการบนอนิ เทอร์เน็ตกท็ าใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถเขา้ ถึงขอ้ มูลเหลา่ น้นั ไดอ้ ยา่ งง่ายดาย ถา้ เจา้ ของขอ้ มลู ยอมเปิ ดใหเ้ ป็นขอ้ มลู สาธารณะ แต่สิ่งท่ีตอ้ งระวงั คือ ขอ้ มลู บนอินเทอร์เน็ตจานวนมากเป็นขอ้ มูลท่ี ไมม่ ีการกลนั่ กรอง ไมม่ กี าร รับรองความถกู ตอ้ ง ผทู้ ่ีตอ้ งการใชข้ อ้ มูลจะตอ้ งใชว้ ิจารณญาณในการ เลอื กแหลง่ ขอ้ มลู ท่ีเชื่อถือไดแ้ ละนามาใชเ้ ฉพาะขอ้ มูลท่ีเป็ นประโยชนเ์ ท่าน้นั อาจกล่าวไดว้ ่า การศกึ ษาในยคุ อินเทอร์เน็ตน้นั คือ การเรียนรู้ที่จะแยกแยะและกลนั่ กรองขอ้ มูลเพ่ือนาขอ้ มูลมา เรียบเรียงและจดั ระบบข้นึ เป็นความรู้ ขณะน้ีมงี านวจิ ยั ซ่ึงพยายามสร้างกระบวนการอตั โนมตั ิ (โดย ใชค้ อมพวิ เตอร์) ของการคน้ หาขอ้ มลู (จากเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต) และนามาเรียบเรียงข้ึนเป็นความรู้ ตามกฎเกณฑท์ ี่ผใู้ ชส้ ามารถระบุได้ ศาสตร์ใหมแ่ ขนงน้ีมีช่ือเรียกวา่ วศิ วกรรมความรู้ (Knowledge Engineering) ซ่ึงมกี ารบริการ World Wide Web (WWW.) เป็นวธิ ีการใหบ้ ริการขอ้ มูลแบบหน่ึงบน เครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต เป็นวิธี การท่ีพฒั นาข้ึนมาเพือ่ ความสะดวกต่อผใู้ ช้ โดยอาศยั สมรรถนะที่ สูงข้ึนมากของคอมพวิ เตอร์ในยคุ น้ี http://www.. ใชก้ ฎเกณฑก์ ารรับส่งขอ้ มูลแบบ Hypertext Transfer Protocol (http) ซ่ึงมจี ุดเด่นที่ สาคญั อยู่ 2 ประการคือ 1. สามารถทาการเชื่อมโยงและเรียก ขอ้ มลู ที่เกี่ยวขอ้ งใหเ้ ขา้ มาปรากฏได้ โดยวิธีการที่เรีย กว่า Hyperlink 2. สามารถจดั การขอ้ มลู ไดห้ ลายรูปแบบไมว่ า่ จะเป็น ขอ้ ความ ภาพน่ิง ภาพเคลอ่ื นไหวเสียง และวีดิ ทีศน์ เป็นตน้ <การศกึ ษาทางไกล (Distance Learning) ความหมาย ไดม้ ผี ใู้ หค้ านิยามของการเรียน ทางไกล (Distance learning) หรือการศึกษาทางไกล (distance education) ไวห้ ลายท่านดว้ ยกนั ดงั น้ี เบิร์ก และฟรีวนิ (E.R.Burge and CC Frewin ,1985 : 4515) ไดใ้ หค้ วามหมายของการ เรียนการสอน ทางไกลว่า หมายถึงกิจกรรมการเรียนท่ีสถาบนั การศกึ ษาไดจ้ ดั ทาเพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนซ่ึงไม่ไดเ้ ลอื กเขา้ เรียนหรือไม่สามารถจะเขา้ เรียนในช้นั เรียนท่ีมกี ารสอนตามปกติไดก้ ิจกรรมการเรียนที่จดั ใหม้ นี ้ีจะ มีการผสมผสานวิธีการที่สมั พนั ธก์ บั ทรัพยากร การกาหนดใหม้ ีระบบการจดั ส่งส่ือการสอน และมี การวางแผนการดาเนินการ รูปแบบของทรัพยากรประกอบดว้ ย เอกสาร ส่ิงพมิ พ์ โสตทศั นูปกรณ์ สื่อคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงผเู้ รียนอาจเลอื กใชส้ ื่อเฉพาะตนหรือเฉพาะกลมุ่ ได้ ส่วนระบบการจดั ส่งสื่อน้นั ก็มกี ารใชเ้ ทคโนโลยนี านาชนิด สาหรับระบบบริหารกม็ กี ารจดั ต้งั สถาบนั การศึกษาทางไกล ข้ึน เพอ่ื รับผดิ ชอบจดั กิจกรรมการเรียนการสอน โฮลม์ เบิร์ก (Borje Holmber, 1989: 127 อา้ งถงึ ใน

12 ทิพยเ์ กสร บุญอาไพ. 2540 : 38) ได้ ใหค้ วามหมายของการศึกษาทางไกล ว่าหมายถึงการศึกษาท่ี ผเู้ รียนและผสู้ อนไม่ไดม้ าเรียนหรือ สอนกนั ซ่ึง ๆ หนา้ แต่เป็นการจดั โดยใชร้ ะบบการส่ือสารแบบ สองทาง ถึงแมว้ ่าผเู้ รียนและผสู้ อนจะไมอ่ ยใู่ นหอ้ งเดียวกนั กต็ าม การเรียนการสอนทางไกลเป็น วธิ ีการสอนอนั เน่ืองมาจากการแยกอยหู่ ่างกนั ของผเู้ รียนและผสู้ อน การปฏสิ มั พนั ธด์ าเนินการผา่ น ส่ือส่ิงพิมพ์ คอมพิวเตอร์ และเครื่องมอื อเิ ลก็ ทรอนิกสต์ ่าง ๆ ไกรมส์ (Grimes) ไดใ้ หน้ ิยามการศกึ ษาทางไกลว่า คือ \"แนวทางทกุ ๆ แนวทางของการเรียนรู้จากหลกั สูตรการเรียนการสอนปกติท่ีเกิดข้ึน แต่ในกระบวนการเรียนรู้น้ี ครูผสู้ อนและนกั เรียนอยคู่ นละสถานที่กนั \" นอกจากน้ี ไกรมส์ ยงั ไดอ้ ธิบายถึงเรื่อง การใช้ เทคโนโลยใี นการเรียนการสอน ผา่ นส่ือทางไกล โดยเขาไดใ้ หน้ ิยามท่ีกระชยั เขา้ ใจง่ายสาหรับ การศกึ ษาทางไกลสมยั ใหม่ไวว้ า่ คือ \"การนาบทเรียนไปสู่นกั เรียนโดยใชเ้ ทคโนโลยมี ากกว่าท่ีจะใช้ เทคโนโลยนี านกั เรียนเขา้ สู่บทเรียน\" และไกรมสย์ งั ไดถ้ อดความของคีแกน (Keehan) ซ่ีงไดก้ าหนด ลกั ษณะเฉพาะของการเรียนการสอนทางไกลไว้ ดงั น้ีคือ 1. เป็นกระบวนการเรียนการสอนที่ครูและ นกั เรียนอยตู่ ่างถานท่ีกนั 2. สถาบนั การศึกษาเป็นผกู้ าหนดขอบเขตและวธิ ีการในการบริหารจดั การ (รวมท้งั การประเมนิ ผล การเรียนของนกั เรียน) 3. ใชก้ ระบวนการทางสื่อในการนาเสนอเน้ือหาหลกั สูตร และเป็นตวั ประสานระหว่างครูกบั นกั เรียน 4. สามารถติดต่อกนั ไดท้ ้งั ระหวา่ งครูกบั นกั เรียนและหรือสถาบนั การศกึ ษากบั นกั เรียน วิจิตร ศรี สอา้ น (2529 : 5 - 7) ไดใ้ หค้ วามหมายของการเรียนการสอนทางไกลว่าหมายถึง ระบบการเรียนการ สอนที่ไม่มีช้นั เรียน แต่อาศยั สื่อประสมอนั ไดแ้ ก่ สื่อทางไปรษณีย์ วิทยกุ ระจาย เสียง วทิ ยโุ ทรทศั น์ และการสอนเสริม รวมท้งั ศูนยบ์ ริการทางการศกึ ษา โดยมงุ่ ใหผ้ เู้ รียนเรียนได้ ดว้ ยตนเองอยกู่ บั บา้ น ไม่ตอ้ งมาเขา้ ช้นั เรียนตามปกติ การเรียนการสอนทางไกลเป็นการสอนท่ีผู้ เรียนและผสู้ อนจะอยู่ ไกลกนั แต่สามารถมีกิจกรรมการเรียนการสอนร่วมกนั ได้ โดยอาศยั สื่อประสม เป็นส่ือการสอน โดยผเู้ รียนผสู้ อนมีโอกาสพบหนา้ กนั อยบู่ า้ ง ณ ศนู ยบ์ ริการ การศกึ ษาเท่าที่จาเป็น การเรียนรู้ส่วน ใหญ่เกิดข้ึนจากส่ือประสมท่ีผเู้ รียนใชเ้ รียนดว้ ยตนเองในเวลาและสถานที่สะดวก สนอง ฉินนา นนท์ (2537 : 17 อา้ งถงึ ใน ทิพยเ์ กสร บุญอาไพ. 2540 : 7) ไดใ้ หค้ วามหมาย ของการศกึ ษาทางไกล วา่ เป็นกิจกรรมการเรียนสาหรับผทู้ ่ีไม่สามารถเขา้ เรียนในช้นั เรียนตามปกติได้ ซ่ึงอาจจะเป็นเพราะ เหตุผลทางภูมศิ าสตร์ หรือเหตุผลทางเศรษฐกิจก็ตาม การเรียนการสอนลกั ษณะ น้ีผสู้ อนกบั ผเู้ รียน แยกห่างกนั แต่ก็มคี วามสมั พนั ธโ์ ดยผา่ นส่ือการเรียนการสอน การเรียนโดยใชส้ ื่อการเรียนทางไกล น้นั ใชส้ ่ือในลกั ษณะส่ือประสม (Multimedia) ไดแ้ ก่ ส่ือเอกสาร สื่อโสตทศั น์ และ ส่ือ อิเลก็ ทรอนิกส์ เช่นรายการวิทยุ โทรทศั น์ เทปเสียง วดี ิทศั น์ และคอมพิวเตอร์ วิชยั วงศใ์ หญ่ ( 2527 อา้ งถงึ ในสารานุกรมศึกษาศาสตร์. 2539: 658 ) การสนทางไกล (distance teaching) หมายถึง ระบบ

13 ของการจดั การศกึ ษาวิธีหน่ึง ซ่ึงผสู้ อนและผเู้ รียนไมต่ อ้ งมาทา กิจกรรมในหอ้ งเรียน กระบวนการ เรียนการสอนจะยดื หยนุ่ ในเร่ืองเวลา สถานที่ โดยคานึงถงึ ความ สะดวกและความพร้อมของผเู้ รียน เป็นหลกั รูปแบบของการเรียนจะใชส้ ื่อการเรียนประเภทต่าง ๆ เช่น สิ่งพมิ พ์ ส่ือท่ีติดต่อทาง ไปรษณีย์ สื่อทางวทิ ยุ สื่อทางโทรทศั น์และสื่อโสตทศั นอ์ ปุ กรณ์ประเภทอ่นื รวมท้งั การพบกล่มุ โดยมีวทิ ยากรเป็นผใู้ หค้ วามรู้หรือการสินเสริม เป็นตน้ โดยสรุป แลว้ การศกึ ษาทางไกล หมายถึง กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีจดั ข้ึนโดยท่ีผเู้ รียนไม่ จาเป็นตอ้ งเขา้ ช้นั เรียนปกติ เป็นการเรียนการ สอนแบบไมม่ ีช้นั เรียน แต่อาศยั สื่อต่าง ๆ ที่เรียกว่าส่ือ ประสม ไดแ้ ก่ เอกสาร สื่อโสตทศั น์ และสื่อ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ รวมไปถงึ ส่ือบุคคลช่วยในการจดั การ เรียนการสอนหลกั สาคญั ของการศกึ ษา ทางไกล จากความหมายและปรัชญาของการเรียนการสอนทางไกลดงั ไดก้ ลา่ วมาแลว้ น้นั จะเห็นได้ วา่ มีลกั ษณะเฉพาะสาคญั ที่แตกต่างไปจากการศกึ ษาในระบบอน่ื หลายประการ ดงั ท่ี วจิ ิตร ศรีสอา้ น (วจิ ิตร ศรีสอา้ น และคณะ 2534 : 7 - 8) ไดจ้ าแนกลกั ษณะสาคญั ของการศกึ ษาทางไกลไวด้ งั น้ี 1. ผเู้ รียนและผสู้ อนอยหู่ ่างจากกนั การเรียนการสอนทางไกล เป็นรูปแบบการสอนท่ีผสู้ อน และ ผเู้ รียนอยหู่ ่างไกลกนั มีโอกาสพบปะหรือไดร้ ับความรูจ้ ากผสู้ อนโดยตรงต่อหนา้ นอ้ ยกวา่ การ ศึกษาตามปกติ การติดต่อระหวา่ งผเู้ รียนและผสู้ อนนอกจากจะกระทาโดยผา่ นสื่อต่าง ๆ แลว้ การ ติดต่อส่ือสารโดยตรงจะเป็นไปในรูปของการเขียนจดหมายโตต้ อบกนั มากกวา่ การพบกนั เฉพาะ หนา้ 2. เนน้ ผเู้ รียนเป็นศนู ยก์ ลางการเรียน ในระบบการเรียนการสอนทางไกลผเู้ รียนจะมอี ิสระใน การเลอื กเรียนวชิ าและเลือกเวลาเรียนตามที่ตนเห็นสมควร สามารถกาหนดสถานท่ีเรียนของตนเอง พร้อมท้งั กาหนดวิชาการเรียนและควบคุมการเรียนดว้ ยตนเอง วธิ ีการเรียนรูก้ ็จะเป็นการเรียนรู้ดว้ ย ตน เอง จากสื่อที่สถาบนั การศกึ ษาจดั บริการรวมท้งั สื่อเสริมในลกั ษณะอื่น ๆ ที่ผเู้ รียนจะหาไดเ้ อง 3. ใชส้ ื่อและเทคโนโลยเี ป็นเคร่ืองมือในการบริหารและบริการ ส่ือทางเทคโนโลยกี ารศกึ ษา ท่ีใช้ ส่วนใหญ่จะใชส้ ่ือสิ่งพิมพเ์ ป็นส่ือหลกั โดยจดั ส่งใหผ้ เู้ รียนทางไปรษณีย์ ส่ือเสริมจดั ไวใ้ นหลาย รูปแบบมีท้งั รายการวทิ ยกุ ระจายเสียง รายการวทิ ยโุ ทรทศั น์ เทปเสียงประกอบชุดวิชา และวดิ ีทศั น์ ประกอบชุดวชิ า ส่ิงใดท่ีมิไดจ้ ดั ส่งแกผ้ เู้ รียนโดยตรง สถาบนั การศกึ ษาจะจดั ไวต้ ามศนู ยก์ ารศกึ ษา ต่าง ๆ เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนไดม้ ีโอกาสรับฟัง หรือรับชม โดยอาจใหบ้ ริการยมื ได้ นอกจากส่ือดงั กล่าวแลว้ สถาบนั การศกึ ษาท่ีเปิ ดสอนทางไกลยงั มีสื่อเสริมท่ีสาคญั อีก เช่น ส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ สื่อ คอมพิวเตอร์ และส่ือการสอนทางโทรทศั นฯ์ เป็นตน้ 4. ดาเนินงานและควบคุมคุณภาพในรูป องคก์ รคณะบคุ คล การศกึ ษาทางไกลไดร้ ับการยอม รับวา่ เป็นส่วนหน่ึงของระบบและวิธีการจดั การศึกษาในประเทศต่าง ๆ มากยงิ่ ข้ึน เพราะสามารถ จดั การเรียนการสอน ตลอดจนบริการ การศึกษาใหแ้ ก่ผเู้ รียนไดม้ ากกวา่ และประหยดั กวา่ ท้งั น้ีเพราะ ไม่มขี อ้ จากดั ในเรื่องสดั ส่วนครูต่อ นกั เรียนอาคารสถานที่ ในส่วนคุณภาพน้นั ผรู้ ับผดิ ชอบจดั การศกึ ษาทุกคนต่างมุง่ หวงั ใหก้ ารศกึ ษาท่ี ตนจดั บรรละจุดมุ่งหมาย และมาตรฐานท่ีรัฐต้งั ไว้ การศกึ ษาทางไกลไดม้ กี ารสร้างระบบและ องคก์ รข้นึ รับผดิ ชอบในการพฒั นาหลกั สูตตและผลิตเอกสารการ สอน ตลอดจนสื่อการสอน

14 ประเภทต่าง ๆ รวมท้งั การออกขอ้ สอบ ลกั ษณะเช่นน้ี อาจกลา่ วไดว้ ่าการศกึ ษาทางไกลมีระบบการ ควบคุมคุณภาพของการศึกษาอยา่ งเขม้ งวดและเคร่งครัด ความรับผดิ ชอบในการจดั การศกึ ษามไิ ด้ อยภู่ ายใตบ้ ุคคลใดบุคคลหน่ึง หรือองคก์ รใดองคก์ รหน่ึงโดยเฉพาะแต่เนน้ การจดั การศกึ ษาท่ีมกี าร ดาเนินงานในรุปองคก์ รคณะบุคคล ที่สามารถตรวจสอบไดท้ ุกข้นั ตอน 5. มีการจดั การศกึ ษาอยา่ งมี ระบบ กระบวนการเรียนการสอนทางไกลไดร้ ับการออกแบบข้ึน อยา่ งเป็นระบบ เร่ิมจากการพฒั นา หลกั สูตรและผลิตเอกสาร ตลอดจนส่ือการสอนจากผเู้ ช่ียวชาญ ท้งั ในดา้ นเน้ือหา ดา้ นสื่อ และดา้ น การวดั และประเมนิ ผล มีการดาเนินงานและผลิตผลงานที่เป็น ระบบ มีการควบคุมมาตรฐานและ คุณค่าอยา่ งแน่นอนชดั เจน จากน้นั จะส่งต่อไปใหผ้ เู้ รียน ส่วนการ ติดต่อท่ีมาจากผเู้ รียนน้นั ผเู้ รียน จะจดั ส่งกิจกรรมมายงั สถานศกึ ษา ซ่ึงหน่วยงานในสถานศกึ ษาจะ จดั ส่งกิจกรรมของผเู้ รียนไปตาม ระบบถึงผสู้ อน เพือ่ ใหผ้ สู้ อนตรวจตามมาตรฐานและคุณภาพการ ศกึ ษาท่ีไดก้ าหนดไว้ 6. มีการใช้ สื่อประเภทต่าง ๆ หลากหลาย แทนสื่อบุคคล สื่อท่ีใชแ้ ตกต่างกนั ไปตามเน้ือหา การสอนและการ จดั การสอนเป็นการจดั บริการใหแ้ ก่ผเู้ รียนจานวนมากในเวลาเดียวกนั ดงั น้นั การดาเนินงานในดา้ น การเตรียมและจดั ส่งส่ือการศึกษาจึงตอ้ งจดั ทาในรูปของกจิ กรรมทางอตุ สาหกรรม คือมกี ารผลติ เป็นจานวนมาก มกี ารนาเอาเทคนิคและวิธีการผลิตที่จดั เป็นระบบ และมกี ารดาเนินงานเป็นข้นั ตอน ตามระบบอุตสาหกรรม 7. เนน้ ดา้ นการผลิตและจดั ส่งส่ือการสอนมากกวา่ การทาการสอนโดยตรง บทบาทของ สถาบนั การสอนในระบบทางไกลจะแตกต่างจากสถาบนั ท่ีสอนในระบบเปิ ดโดยจะ เปลี่ยนจากการสอนเป็นรายบุคคลมากเป็นการสอนคนจานวนมาก สถาบนั จะรับผดิ ชอบดา้ นการ ผลิตและจดั ส่ง เอกสารและสื่อการศึกษา การประเมนิ ผลการเรียนของผเู้ รียน และการจดั สอนเสริม ในศนู ยภ์ ูมิภาค 8. มีการจดั ต้งั หน่วยงานและโครงสร้างข้ึนเพอ่ื สนบั สนุนการสอนและการบริการ ผเู้ รียน แมผ้ เู้ รียนและผสุ้ อนจะอยแู่ ยกห่างจากกนั กต็ าม แต่ผเู้ รียนก็จะไดร้ ับการสนบั สนุนจาก ผสู้ อนในลกั ษณะ ต่าง ๆ มกี ารจดั ต้งั ศูนยก์ ารศกึ ษาประจาทอ้ งถิน่ หรือประจาภาคข้ึนเพ่ือสนบั สนุน ใหบ้ ริการการศกึ ษา 9. ใชก้ ารสื่อสารติดต่อแบบสองทางในการจดั การศึกษาทางไกล แมก้ ารจดั การ สอนจะเป็น ไปโดยใชส้ ื่อการสอนประเภทต่าง ๆ แทนการสอนดว้ ยครูโดยตรง แต่การติดต่อ ระหว่างผสู้ อนกบั ผเู้ รียนกเ็ ป็นไปในรูปการตดิ ต่อสองทาง ซ่ึงสถาบนั การศึกษาและผสู้ อนจะติดต่อ กบั ผเู้ รียนโดย จดหมายและโทรศพั ท์ ส่วนผเู้ รียนกอ็ าจจะติดต่อกบั ผสู้ อนและสถาบนั การศึกษาดว้ ย วธิ ีการเดียวกนั นอกจากน้ีทางสถาบนั กาารศกึ ษายงั จดั ใหม้ กี ารติดต่อกบั ผเู้ รียนดว้ ยการจดั สอน เสริม ซ่ึงส่งผสู้ อนไปสอนนกั ศึกษาตามศูนยบ์ ริการการศกึ ษาประจาจงั หวดั ตามช่วงเวลาและวิชาท่ี สถาบนั กาหนดสื่อและวิธีการศึกษาทางไกล ส่ือนบั ว่าเป็นหวั ใจของการจดั การเรียนการสอนใน การศกึ ษาทางไกล เพราะการถา่ ยทอด ความรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ จากผสู้ อนไปยงั ผเู้ รียนน้นั จะ อาศยั ส่ือประเภทต่าง ๆ ผเู้ รียนหรือนกั ศกึ ษาจะเรียนดว้ ยตนเองอยทู่ ่ีบา้ นโดยอาศยั ส่ือการสอน ประเภทต่าง ๆ การเลือกหรือจดั ส่ือเพื่อใชใ้ นการศึกษาทางไกลไมว่ า่ จะเป็นส่ือชนิดใดกต็ าม จะตอ้ งคานึง ถงึ หลกั

15 จิตวิทยาทีว่ า่ ถา้ ผเู้ รียนจะตอ้ งมีปฏสิ มั พนั ธอ์ ยกู่ บั ส่ือชนิดเดียวนาน ๆ อาจเกิดความเบื่อหน่วย ได้ และอาจทาใหผ้ เู้ รียนทอ้ ถอยหมดกาลงั ใจในการเรียนรู้ ดงั น้นั ส่ือท่ีใชค้ วรเป็นสื่อท่ีหลากหลาย และ เป็นสื่อท่ีมกี ารเสริมแรงใหก้ าลงั ใจผเู้ รียน ซ่ึงการใชส้ ่ือแบบน้ีเรียกวา่ ส่ือประสม คือมีส่ือหน่ึงเป็น ส่ือหลกั และมสี ื่อชนิดอืน่ เป็นส่ือเสริม ท้งั น้ีเน่ืองจากส่ือแต่ละตวั มีท้งั ขอ้ ดีและขอ้ จากดั การศกึ ษา จากสื่อเพยี งตวั เดียวจะทาใหผ้ เู้ รียนไดร้ ับความรู้ไม่สมบูรณ์จึงควรอาศยั สื่อชนิดอ่ืนประกอบเพ่อื เสริมความรู้ส่ือที่ใชใ้ นการศึกษาทางไกลน้ีแยกไดเ้ ป็น 1. ส่ือหลกั คือสื่อท่ีผเู้ รียนสามารถใชศ้ กึ ษา ไดด้ ว้ ยตนเองตลอดเวลาและทุกสถานที่ สื่อหลกั ส่วนมากจะเป็นสื่อสิ่งพมิ พ์ เช่น ตารา เอกสารคา สอน หรือคู่มอื เรียน โดยผเู้ รียนสามารถใชส้ ื่อเหลา่ น้ีเป็นหลกั ในการเรียนวชิ าน้นั ๆ และมีโอกาส พลาดจากการเรียนไดน้ อ้ ยมาก เพราะผเู้ รียนมสี ื่อหลกั น้ีอยกู่ บั ตวั แลว้ 2. สื่อเสริม คือ ส่ือท่ีจะช่วย เก็บตก ต่อเติมความรู้ใหแ้ ก่ผเู้ รียนใหม้ คี วามรูก้ ระจ่างสมบูรณ์ข้ึน หรือหากในกรณีที่ผเู้ รียนศกึ ษา จากส่ือหลกั แลว้ ยงั ไม่จุใจพอ หรือยงั ไมเ่ ขา้ ใจไดช้ ดั เจนมปี ัญหาอยกู่ ็สามารถศกึ ษาเพมิ่ เติมจากส่ือ เสริมได้ สื่อประเภทน้ีจะอยใู่ นรูปแบบของเทปสรุปบทเรียน วิทยุ เอกสารเสริม การสอนเสริมหรือ การพบกลุ่ม เป็นตน้ ในส่วนของวิธีการเรียนการสอนทางไกลน้นั นอก จากผเู้ รียนจะเรียนดว้ ย ตนเองจากส่ือประเภทต่าง ๆ ท้งั สื่อหลกั และสื่อเสริมแลว้ สถาบนั การศกึ ษา ทางไกลในปัจจุบนั จานวนมากไดใ้ ชส้ ื่อวธิ ีการต่าง ๆ เป็นสื่อเสริมอีกดว้ ย เช่น กระบวนการกลมุ่ การ สาธิต การทดลอง สถานการณ์จาลอง การศกึ ษารายกรณี ฯลฯ โดยผสู้ อนอาจกาหนดใหน้ กั สึกษา ทากิจกรรมต่อเน่ือง หลงั จากที่ศกึ ษาเน้ือหาจากสื่หลกั แลว้ อาจใหไ้ ปสมั ภาษณผ์ เู้ ก่ียวขอ้ งเพม่ิ เติม ใหไ้ ปฝึกปฏิบตั ิงาน ในหน่วยงานต่าง ๆ โดยใหน้ กั ศกึ ษารับผดิ ชอบไปทากิจกรรมเหลา่ น้นั เองแลว้ ส่ง ผลการทา กิจกรรมมาใหอ้ าจารยผ์ สู้ อนตรวจ หรือจดั ใหม้ ีการประชุมปฏิบตั ิการระยะส้นั มีการอภิปรายกลุ่ม โดยการนดั หมาย ณ ศูนยว์ ทิ ยบริการในทอ้ งถ่นิ ดว้ ย iมิติใหมแ่ ห่งการศกึ ษาไร้พรมแดน Asynchronous Learning คือ รูปแบบการเรียนการสอนที่ผสู้ อน และผเู้ รียนไมจ่ าเป็นตอ้ งพบกนั ตาม เวลาในตาราง ที่กาหนดไว้ (Synchronous Learning) แต่ผสู้ อนและผเู้ รียนสามารถติดต่อกนั ได้ ตลอดเวลา โดยใชเ้ คร่ืองมือส่ือ สารต่าง ๆ ซ่ึงเป็นการเรียนรู้ท่ีไม่มีขอ้ จากดั ในเร่ืองของเวลา และ สถานท่ี ผเู้ รียนสามารถเรียนที่ไหน เวลาใดก็ได้ (Anywhere Anytime) เป็นการเรียนท่ีอาศยั วธิ ีการ หรือเครื่องมือต่าง ๆ ท่ีทาใหผ้ เู้ รียน สามารถเรียนรู้ในลกั ษณะท่ีปฏิสมั พนั ธ์ และมีส่วนร่วม ช่วยเหลอื กนั ระหว่าง ผเู้ รียน โดยใชแ้ หล่ง ขอ้ มูลความรู้ต่าง ๆ ท้งั ใกลแ้ ละไกล ผเู้ รียนสามารถศกึ ษา คน้ ควา้ หรือเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ความรู้เหลา่ น้นั จากท่ีไหน และเวลาใดก็ได้ ตามความตอ้ งการและความ สะดวกของผเู้ รียนเอง ซ่ึง Asynchronous Learning เป็นการใชก้ ารสื่อสารระยะไกล (Telecommunication) เพื่อช่วยใหก้ ารเรียนรู้มลี กั ษณะใกลเ้ คียงกบั การเรียนในระบบหอ้ งเรียนหรือ การเรียนการสอนที่ผสู้ อนกบั ผเู้ รียนไดพ้ บหนา้ กนั (Face - to - Face Instruction) แนวคิดเกี่ยวกบั Asynchronous Learning คือการนาความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยี การส่ือ สาร และความสามารถ ของอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกสต์ ่าง ๆ ไดแ้ ก่ ระบบโทรทศั น์ ระบบเครือข่าย คอมพวิ เตอร์ รวมท้งั

16 โปรแกรมสาเร็จรูป (Software) ต่าง ๆ มาใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์ เพ่อื การศกึ ษา ทา ใหส้ ามารถขจดั ขอ้ จากดั ของการเรียนการสอนในลกั ษณะที่ผสู้ อนและผเู้ รียนตอ้ งมีเวลาตรงกนั ใน ลกั ษณะ ตารางสอน (Synchronous Learning) มีสถานที่ตรงกนั อาจจะเป็นหอ้ งเรียน หรือสถานที่ ใดที่หน่ึง จึงจะมกี ิจกรรมการเรียนการสอน ท่ีทาใหผ้ เู้ รียนมปี ฏิสมั พนั ธก์ บั ผสู้ อนในลกั ษณะ Face - to - Face แต่ถา้ หากใชเ้ ทคโนโลยแี ละเคร่ืองมอื ส่ือสารต่าง ๆ จะช่วยสนบั สนุนการเรียนรู้ การเรียนรู้ใน ลกั ษณะดงั กลา่ ว สามารถเกิดข้นึ ไดเ้ ช่นเดียวกนั โดยที่ ผเู้ รียนและผสู้ อนไม่จาเป็นตอ้ ง มีเวลาและ สถานที่ตรงกนั นน่ั คือ ผเู้ รียนสามารถเรียนจากท่ไี หนและเวลาใดกไ็ ด้ ตามความตอ้ งการ ของผเู้ รียน บนระบบเครือข่าย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook