Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือเมล็ดพันธุ์ข้าวศาลา(ใหม่)

คู่มือเมล็ดพันธุ์ข้าวศาลา(ใหม่)

Published by Bhumipat Nawajindakarn, 2021-07-01 05:11:41

Description: คู่มือเมล็ดพันธุ์ข้าวศาลา(ใหม่)

Search

Read the Text Version

1 การผลิตเมลด็ พันธุ์ขา้ ว ความสาคัญของพันธ์ุข้าว พันธุ์ข้าวเป็นปัจจัยหน่ึงท่ีมีความสาคัญอันดับแรกในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว ของชาวนาไทย โดยไม่จาเป็นต้องเพิ่มต้นทุนการผลิต หรือใช้ปุ๋ยมากนกั ถ้าชาวนามีพันธ์ุข้าวท่ีมคี ุณภาพ ก็ทาให้ผลผลิตเพิ่มมากขึ้น ช่วยต้านทานต่อโรคแมลง จึงถือว่าเมล็ดพันธ์ุข้าวท่ีดีและมีคุณภาพ จะทาให้ การบารุงแลรักษาได้เป็นอย่างดี และเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการผลิตข้าวหรือเป็นการลดต้นทุน การผลติ ขา้ วไดเ้ ป็นอยา่ งดี ภาพที่ 1 รวงข้าว ทีม่ า : https://www.shutterstock.com (เขา้ ถึง ณ วนั ท่ี 22 พฤษภาคม 2564) ประโยชนข์ องเมล็ดพันธ์ขุ ้าวคุณภาพดี 1. ตรงตามพันธุ์ 2. ความงอกและความแขง็ แรงสูง 3. เจริญเตบิ โตเร็วและสม่าเสมอ 4. ทนทานต่อสภาพแวดล้อมดกี วา่ เมลด็ พันธุ์ท่ัวไป 5. สามารถให้ผลผลิตสูงกว่าเมล็ดพนั ธ์ุทวั่ ไป 10 - 20% 6. ประหยัดต้นทุนค่าเมล็ดพนั ธุ์ตอ่ ไร่ เพราะใชอ้ ัตราตา่ กว่าเมล็ดพันธ์ุทวั่ ไป 7. ปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของวัชพชื ข้าว

2 พันธ์ุขา้ ว จากอดีต ถึงปัจจุบัน สานักวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว ได้ดาเนินงานปรบั ปรุงพันธุ์ข้าวมา อย่างต่อเนื่องจนได้ข้าวพนั ธุ์รับรอง พันธุ์แนะนา และพันธุ์ทั่วไป ให้เกษตรกรปลูกในระบบนิเวศน์ตา่ ง ๆ ซง่ึ มที ้ังพันธุข์ า้ วนาสวน ขา้ วไร่ ข้าวข้ึนนา้ ขา้ วนา้ ลึก ขา้ วญป่ี ่นุ และธัญพืชเมอื งหนาว จานวน 118 พันธุ์ ดงั น้ตี ารางท่ี 1 (องค์ความรู้เร่อื งข้าว , สืบค้นวนั ท่ี 10 ตุลาคม 2557 จาก http://www.brrd.in.th/rkb) ตารางท่ี 1 จานวนพนั ธข์ุ ้าว ลาดับท่ี พนั ธ์ขุ ้าว จานวน หนว่ ยนับ 1 พันธุ์ขา้ วนาสวนไวต่อช่วงแสง 44 พันธ์ุ 2 พันธุ์ข้าวนาสวนไม่ไวตอ่ ชว่ งแสง 38 พันธุ์ 3 พันธุ์ขา้ วไรไ่ วต่อช่วงแสง 9 พันธุ์ 4 พนั ธุ์ข้าวขน้ึ น้าไวต่อช่วงแสง 6 พันธุ์ 5 พันธ์ุข้าวน้าลกึ ไวตอ่ ชว่ งแสง 6 พันธุ์ 6 พันธ์ุขา้ วสาลี 4 พนั ธุ์ 7 พนั ธุ์ข้าวแดงไวต่อช่วงแสง 2 พนั ธ์ุ 8 พนั ธ์ุขา้ วญป่ี ุ่น 2 พันธุ์ 9 พนั ธ์ุขา้ วบารเ์ ลย์ 2 พันธ์ุ 10 พันธ์ุขา้ วลกู ผสม 2 พันธุ์ 11 พันธุ์ขา้ วน้าลกึ ไม่ไวตอ่ ชว่ งแสง 1 พันธ์ุ 12 พนั ธุ์ขา้ วไรไ่ ม่ไวต่อชว่ งแสง 1 พันธ์ุ 13 พนั ธ์ุขา้ วแดงไมไ่ วต่อช่วงแสง 1 พนั ธุ์ พันธุ์ข้าวเหล่านม้ี ีท้ังชนิดขา้ วเจ้าและข้าวเหนยี ว มีทั้งพันธ์ุท่ีปลูกเฉพาะนาปีและปลูกได้ตลอดปี และมีบางพนั ธ์ุเป็นข้าวหอม พันธุ์ข้าวส่วนใหญเ่ ป็นพนั ธท์ุ ่ีให้ผลผลิตสูง มีความต้านทานต่อโรคและแมลง ท่ีสาคัญ มีคุณภาพการหุงต้มตามความต้องการของผู้บริโภค ตลอดจนทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่เป็น ปัญหาสาคัญ อย่างไรก็ตามงานปรับปรุงพันธุ์ข้าวยังคงต้องดาเนินการต่อไปอย่างต่อเน่ืองเพราะพันธ์ุที่ ออกแนะนาแล้วปัจจุบันบางพันธ์ุเกษตรกรอาจจะยังคงนิยมปลูกอยู่ แต่บางพันธุ์เกษตรกรอาจเลิกปลูก เนื่องจากมีข้อด้อยบางประการ การนาเอาพันธ์ุข้าวเหล่านั้นไปใช้ของเกษตรกรจึงเป็นไปในลักษณะของ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในระยะท่ีออกพันธุ์ข้าวน้นั เท่านั้น รวมท้ังบางพันธุ์เมื่อแนะนาให้ปลูกไปในช่วง ระยะเวลาหน่ึงแล้วอาจไม่มคี วามเหมาะสมในระยะเวลาต่อมา เนือ่ งจากสภาพแวดล้อมเปล่ยี นแปลง หรือ โรคแมลงศัตรูข้าวมีการเปลี่ยนแปลง รวมท้ังต้องหาพันธุ์ท่ีมีคุณภาพดีตามความต้องการของตลาดโลก และมศี ักยภาพในการแข่งขันกับตลาดโลกได้ จึงตอ้ งดาเนนิ งานปรบั ปรงุ พันธโ์ุ ดยไมม่ ที ส่ี ิน้ สดุ

3 ประเภทของเมลด็ พนั ธขุ์ ้าว ประเภทของเมล็ดพันธ์ุข้าว ถูกจัดออกเป็น 4 ประเภทหลัก ๆ ได้แก่ เมล็ดพันธุ์คัด เมลด็ พันธหุ์ ลัก เมล็ดพันธุข์ ยาย และเมลด็ พันธจุ์ าหนา่ ย ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. เมล็ดพันธุ์คัด คุณภาพช้ันสูงสุด ผลิตโดยศูนย์วิจัยข้าว เพ่ือนาไปขยายพันธุ์ต่อเป็น เมลด็ พนั ธ์หุ ลกั ไม่มจี าหน่าย 2. เมล็ดพันธ์ุหลัก เป็นเมล็ดพันธ์ุที่ขยายพันธ์ุจากเมล็ดพันธ์ุคัด ผลิตโดยศูนย์วิจัยข้าวแล้ว สง่ มอบให้ศนู ยเ์ มลด็ พันธ์ุข้าว และสหกรณ์การเกษตร เพื่อนาไปขยายพันธุต์ อ่ เปน็ เมล็ดพนั ธ์ขุ ยาย หรือใช้ ภายใต้โครงการพิเศษ คุณภาพรองจากพันธคุ์ ดั 3. เมล็ดพันธุ์ขยาย เป็นเมล็ดพันธุ์ข้าว เพ่ือนาไปขยายพันธ์ุต่อเพื่อการจาหน่าย ได้แก่ เมล็ดพนั ธุ์จาหนา่ ย 4. เมล็ดพันธ์ุจาหนา่ ย เป็นเมล็ดพันธ์ุที่ขยายพนั ธจ์ุ ากเมล็ดพันธ์ุขยาย ผลิตโดยศูนย์เมล็ดพนั ธ์ุ ข้าว สหกรณ์การเกษตร เอกชน และศูนย์ข้าวชุมชน รวมทั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเมล็ดพันธขุ์ ้าวบ้านศาลา แลว้ จาหนา่ ยใหเ้ กษตรกรทว่ั ไป คุณภาพรองจากพันธ์ุขยาย ภาพที่ 2 เมล็ดพนั ธุข้าว ท่มี า : https://www.shutterstock.com (เขาถึง ณ วนั ท่ี 22 พฤษภาคม 2564)

4 การผลติ เมลด็ พนั ธขุ์ า้ วคณุ ภาพดี การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี ต้องมีกรรมวิธีการผลิตหลายข้ันตอน เพ่ือให้ได้เมล็ดพันธ์ุข้าว ท่ีมีคุณภาพ เริ่มต้ังแต่ การควบคุมคุณภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ การตรวจสอบเมล็ดพันธุ์ การปรับปรุง สภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว การลดความช้ืนเมล็ดพันธุ์ข้าว การทาความสะอาดและคัดขนาดเมล็ดพันธ์ุข้าว การเกบ็ รักษาเมลด็ พันธ์ขุ า้ ว และการวเิ คราะห์คุณภาพเมลด็ พนั ธ์ขุ ้าว การควบคมุ คุณภาพการผลติ เมล็ดพนั ธ์ุ การผลิตเมล็ดพันธ์ุก็เช่นเดียวกับการผลิตสินค้าหรือผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ท่ีต้องมีการควบคุม คุณภาพในกระบวนการผลิตทุกขั้นตอน รวมถึงมีการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธ์ุ เน่ืองจากปัจจุบัน การผลติ และการจาหน่ายเมลด็ พนั ธุม์ ีการแขง่ ขนั กนั มากข้นึ ทาใหค้ ุณภาพเมลด็ พนั ธ์มุ คี วามสาคัญมากข้ึน ตามไปด้วย ดังน้ันจึงต้องมีการควบคุมคุณภาพและดาเนินการอย่างเป็นระบบมากข้ึน การควบคุม คุณภาพเมล็ดพันธุ์คือ ความคานึงถึงคุณภาพและความใส่ใจต่ อการปฏิบัติต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง ในกระบวนการผลิตและธุรกิจเมล็ดพันธ์ุ การดาเนินการควบคุมคุณภาพเมลด็ พนั ธมุ์ ี 3 ระดับ ดงั น้ี 1. การควบคมุ คุณภาพภายใน (Internal Quality Control) ในกระบวนการผลิตและจาหนา่ ยเมล็ดพนั ธ์นุ ั้นมคี วามจาเปน็ ต้องมีการควบคุมคุณภาพภายใน ซ่งึ เปน็ การควบคมุ คณุ ภาพโดยผู้ผลิตเอง เพื่อป้องกนั หรอื ลดความเสียหายของคุณภาพโดยตรง ลดตน้ ทุน การผลิตในระยะยาว รักษาความนา่ เช่ือถือของลูกค้าป้องกนั การร้องเรียนหรอื ฟ้องร้อง นอกจากนี้ยังทา ให้สามารถวิเคราะห์ปัญหาและกาหนดมาตรการแก้ไขอย่างเป็นระบบ การควบคุมคุณภาพภายใน มีขนั้ ตอนการดาเนนิ การดงั น้ี 1.1 กาหนดมาตรการข้นั ต่าสาหรับเมล็ดพันธขุ์ ้าวทอ่ี งคก์ รหรอื บริษัทนน้ั ๆ ผลติ ขึ้น 1.2 กาหนดขั้นตอนและวิธกี ารปฏบิ ัติท่ไี ด้มาซึ่งเมล็ดพนั ธท์ุ มี่ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานท่ีกาหนด 1.3 ดาเนนิ การตามขน้ั ตอนและวธิ กี ารปฏบิ ตั ทิ กี่ าหนดไวอ้ ยา่ งจริงจงั และท่ัวถึง 1.4 คน้ หาสาเหตขุ องปัญหาทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับคุณภาพเมล็ดพันธ์ุ หาแนวทางและวิธีการแก้ไข การควบคุมคุณภาพภายในโดยผู้ผลิตเองน้ันเริ่มตั้งแต่การตรว จสอบเมล็ดพันธุ์ท่ีจะใช้ปลู ก การตรวจประเมินแปลงผลิตเมล็ดพันธ์ุ ตลอดจนถึงการระมัดระวังในการจัดจาหน่าย และอาจรวมถึง การติดตามผลหลงั การจาหนา่ ยด้วย เพ่ือให้ไดเ้ มล็ดพนั ธท์ุ ผ่ี ลิตออกมามีคุณภาพดี เมล็ดพันธ์ุทีม่ ีคุณภาพดี ตอ้ งมอี งคป์ ระกอบท่สี าคญั ดงั นี้ 1) มลี ักษณะตรงตามพนั ธ์ุ (true to type) หรือความบรสิ ุทธใ์ิ นสายพนั ธ์ุ (genetic purity) สูง เมอ่ื นาไปปลกู มีลักษณะตรงตามพนั ธุ์ไม่กลายพนั ธุ์ และไมม่ เี มลด็ พนั ธอุ์ ื่นปะปน

5 2) มีความบริสุทธ์ิทางกายภาพ (physical purity) สูง คือ มีเมล็ดพืชอ่ืน ๆ เมล็ดวัชพืช และ สง่ิ เจือปน เชน่ หิน ดิน ทราย เศษพืช เศษวัสดุ ฯลฯ ปนอยนู่ อ้ ย 3) ปราศจากโรคและแมลงทาลาย 4) มีชีวติ และความแข็งแรงสูง คือ เม่อื นาไปปลกู ในแปลงจะมีเปอร์เซน็ ต์ความงอกสงู งอกเรว็ ตน้ กลา้ แข็งแรงสม่าเสมอ และเจรญิ เติบโตเรว็ 2. การควบคมุ โดยระบบการรบั รองคุณภาพ (Seed Certification) การผลติ เมล็ดพนั ธ์ใุ ห้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานทีก่ าหนดจะตอ้ งมกี ารดาเนนิ การควบคุมคุณภาพ ที่เป็นระบบ ตั้งแต่ขั้นตอนการทาแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ การปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ การเก็บรักษาและ การจาหน่ายเมล็ดพันธุ์ ซ่ึงเป็นกระบวนการผลิตที่มีการปฏิบัติต่อเน่อื งเชื่อมโยงกนั หากข้ันตอนใดไดร้ ับ ปัจจัยนาเข้าที่ด้อยทั้งคุณภาพและการจัดการย่อมส่งผลให้ขั้นตอนต่อไปมีคุณภาพด้อยลงไปด้วย ดังนนั้ การควบคุมคณุ ภาพอย่างเป็นระบบจึงเป็นสง่ิ สาคัญ ในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์มีการตรวจประเมินแปลงผลิตเมล็ดพันธ์ุ การตรวจประเมินความสะอาดเคร่ืองจักร อุปกรณ์ท่ีใช้ปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธ์ุ โรงเก็บและภาชนะ ท่ีใช้บรรจเุ มล็ดพนั ธ์ุ รวมถึงการตรวจสอบคณุ ภาพเมลด็ พนั ธ์ุ 2.1. การควบคุมคุณภาพในแปลงผลิตเมล็ดพนั ธุ์ เพือ่ ใหแ้ ปลงปลกู มคี ณุ ภาพ ตอ้ งมกี ารตรวจประเมินคุณภาพแปลงผลิตเมลด็ พันธโุ์ ดยตรวจตาม กิจกรรมและระยะเวลาการเจริญเติบโตของต้นข้าว เมื่อส้ินฤดูกาลผลิตนาข้อมูลที่ได้จากแปลงผลิต เมล็ดพันธุ์ไปวิเคราะห์และประเมินผล ท้ังด้านคุณภาพและปริมาณของเมล็ดพันธุ์ท่ีได้จากแปลงผลิต เมล็ดพนั ธ์ุโดยผตู้ รวจประเมิน ตารางที่ 2 การตรวจประเมินคณุ ภาพแปลงผลิตเมลด็ พันธุ์ วิธกี ารตรวจประเมนิ - ตรวจพนิ จิ หัวขอ้ ส่ิงท่ีควรตรวจประเมิน / ตรวจสอบ สภาพแวดล้อมสภาพ 1. พน้ื ท่ีปลูก - พ้ืนทีต่ ิดต่อกันเป็นผนื ใหญห่ รอื อย่ใู กล้เคียงกันสามารถควบคมุ ระดบั นา้ ได้ แปลง - สัมภาษณ์/ตรวจบนั ทกึ - มีเสน้ ทางคมนาคม (ถ้าม)ี ประวตั ิแปลง - ไม่เป็นพ้ืนที่ทีเ่ สีย่ งต่อการสูญเสยี คุณภาพเมล็ดพนั ธ์ุ - ตรวจเอกสารทีม่ าของ - ไมเ่ ปน็ แปลงทปี่ ลกู ขา้ วพนั ธอ์ุ ื่นมากอ่ น หากใช่ตอ้ งมกี ารเตรียมดนิ และการ เมลด็ พันธุห์ รือสุม่ จดั ข้าวรวมท้งั วัชพชื เป็นอย่างดี ตวั อยา่ งเมล็ดพันธุ์ไป 2. การเตรยี ม - เลอื กพันธ์ุท่ีเหมาะสมกบั สภาพพื้นที่ ตรวจสอบ เมลด็ พนั ธ์ุ - ใช้เมล็ดพนั ธุ์ตรงตามพันธ์ุ เมลด็ พนั ธทุ์ ่ีมีคุณภาพความงอกไม่ต่ากวา่ 80% มเี มลด็ อืน่ ปนได้ไมเ่ กิน 20 เมล็ดใน 500 กรัม - ใช้เมลด็ พันธจุ์ ากแหลง่ ทเ่ี ช่อื ถอื ได้ หรอื ผา่ นการรบั รองการผลติ เมล็ดพันธุ์ - ใช้เมล็ดพนั ธุ์ตามอตั ราท่ีแนะนา

6 ตารางที่ 2 การตรวจประเมินคุณภาพแปลงผลติ เมล็ดพนั ธ์ุ (ตอ่ ) หัวข้อ สิ่งทค่ี วรตรวจประเมิน / ตรวจสอบ วธิ กี ารตรวจประเมิน - ตรวจพินิจสภาพ 3. การเตรียมดิน - วชั พชื ข้าวเร้ือและขา้ วพันธอุ์ ื่นปน แปลง/ต้นขา้ ว - ตรวจบนั ทกึ ข้อมลู การ การปลกู และ - ปลูกในช่วงเวลาท่เี หมาะสม ปลกู และการดูแล การดแู ลรักษา - มีการกาจดั วชั พืชทด่ี ี ไมม่ ีวชั พชื ขึ้นมาก หรอื มใี นปริมาณท่ีไม่มีผลตอ่ - มี ก า ร ต ร ว จ บั น ทึ ก ข้อมูลการปลูก การ คณุ ภาพเมลด็ พนั ธ์ุ คือวัชพืชร้ายแรงนอ้ ยกว่า 5% และวัชพืชท่ัวไปนอ้ ย ตรวจตดั ถอนพันธ์ปุ น กวา่ 20% ของพืน้ ท่ี - การกาจัดข้าวแดง/ข้าว วชั พืช - มกี ารใส่ปยุ๋ เคมีอย่างถูกต้องท้งั อัตราและเวลาที่ใสห่ รือมีการปรบั ปรงุ ดิน - ตรวจแปลงและสมุ่ ตรวจจานวนข้าว โดยใชป้ ๋ยุ อนิ ทรยี ์หรือปยุ๋ ชวี ภาพ - ตรวจพินิจอุปกรณ์ทีใ่ ช้ ในการเกบ็ เกีย่ ว - มีการจัดการน้าอย่างเหมาะสมในช่วงสร้างร่วงออ่ นและออกดอก ภาชนะบรรจุ - สัมภาษณ์/ตรวจสอบ - การหักลม้ ของต้นข้าวท่ีมีผลกระทบต่อคณุ ภาพและผลผลิตของเมลด็ พันธุ บนั ทึกการเก็บเก่ียว และการปฏบิ ตั หิ ลัง 4. การปลอดจาก - ไมท่ าการปลกู ซ่อมโดยใช้เมล็ดพันธ์จุ ากแหลง่ อนื่ การเก็บเกยี่ ว - ตรวจพนิ ิจสถานที่เกบ็ พันธุ์ปน - มีการตรวจตัดถอนพนั ธปุ์ นไม่น้อยกว่า 3 คร้ัง ในระยะทส่ี าคญั คือ ระยะ เมลด็ พันธ์กุ ารจดั วาง เมล็ดพันธุ์ อปุ กรณ์ กลา้ ระยะแตกกอ ระยะออกดอก ระยะโนม้ รวง และระยะเมลด็ สุกแก่ และยานพาหนะท่ีใช้ ในการขนย้าย - กาจัดวชั พืชขา้ วเม่ือพบ - ตรวจบันทกึ ข้อมูลการ - มขี า้ วพนั ธ์อุ ่ืน/ขา้ วแดง/ข้าววชั พชื ปนไม่เกนิ ทีม่ าตรฐานกาหนด ปฏบิ ัตขิ องเกษตรกร 5. การเก็บเก่ยี ว - เก็บเก่ียวในระยะที่เหมาะสม (หรอื หลังวนั ออกดอก 28-30 วัน) และการปฏบิ ตั ิ - ลดความชื้นหลงั นวด ใหเ้ มลด็ พันธมุ์ คี วามช้นื 12-13% กรณใี ช้เครอ่ื งเกย่ี ว หลงั การเกบ็ นวดใหล้ ดความชนื้ ภายใน 24 ชั่วโมงหลงั เกบ็ เกีย่ ว เก่ียว 6. การเกบ็ รกั ษา - สถานท่ีเกบ็ รักษาต้องสะอาดและถูกสุขลกั ษณะมิดชิด มกี ารระบายอากาศ และการขน ดี ป้องกนั ฝน/น้าค้าง ปอ้ งกนั การเข้าทาลายของโรค แมลงและศตั รพู ืช ย้ายภายใน แปลง - จดั เก็บ/การวางกองเมลด็ พันธ์ุข้าวให้เป็นสดั สว่ นปอ้ งกันการปนข้าวอ่ืน ๆ - อปุ กรณแ์ ละพาหนะในการขนยา้ ยต้องสะอาดปราศจากการปนเปอ้ื นสง่ิ ท่ี 7. การบนั ทึก ข้อมูล (ถา้ ม)ี ไม่ต้องการ - ระหว่างการขนยา้ ยหรอื เก็บรกั ษาต้องมกี ารตดิ ปา้ ยระบพุ ันธุ์ ปรมิ าณ วนั ท/ี่ แปลงท่เี กบ็ เกี่ยว ท่ีกระสอบแคร่ หรอื กองเมลด็ พันธุ์ - ควรมกี ารบนั ทกึ ขอ้ มูลเกีย่ วกบั ประวตั ิแปลง การเตรยี มดิน การปลกู และ การดูแลรักษา การตัดถอนพันธ์ุปน ข้าวแดง ข้าววชั พืช การกาจัดวัชพืช การป้องกันกาจัดศัตรู การเกบ็ เกี่ยว และการปฏบิ ตั หิ ลังการเกบ็ เกีย่ ว

7 คณุ สมบัติผูต้ รวจประเมนิ แปลงผลติ เมลด็ พันธ์ุ 1. ไม่เปน็ ผู้ท่มี ีส่วนไดส้ ่วนเสียในแปลงผลิตเมล็ดพันธุท์ ต่ี รวจ เพอื่ ป้องกนั ความไม่เปน็ ธรรม หรอื การเรยี กร้องสิง่ ตอบแทนจากเจา้ ของแปลงเพ่อื ให้ผ่านมาตรฐาน 2. มมี นุษยสัมพนั ธ์ดี มีความเทยี่ งธรรม มกี ารตัดสินใจทีด่ ี 3. มีสขุ ภาพดี ไมม่ โี รคประจาตัวท่ีเป็นอปุ สรรคต่อการตรวจแปลง 4. รู้ระเบียบ ขอ้ บงั คับ มาตรฐานเมล็ดพนั ธ์ุ หรอื ขอ้ ตกลงต่าง ๆ ระหวา่ งผู้รบั ซอื้ กบั เกษตรกร เจ้าของแปลง 5. มคี วามรู้และทักษะในเร่อื งการผลติ เมล็ดพนั ธ์ุ และการตรวจแปลงอย่างดี ตารางท่ี 3 มาตรฐานแปลงขยายพันธขุ์ ้าวของสานกั เมล็ดพันธข์ุ า้ ว พ.ศ.2553 ส่ิงท่ตี อ้ งการ จานวนท่ียอมใหม้ ไี ด้ แปลงพันธชุ์ ้นั พนั ธ์ขุ ยาย แปลงพนั ธช์ุ ้นั พนั ธ์จุ าหนา่ ย 1. พนั ธอ์ุ ่นื (สงู สุด) 1:20,000 ต้น หรอื 0.005% 1:10,000 ต้น หรือ 0.01% 2. ขา้ วแดง (สูงสุด) 0 1:100,000 ต้น หรือ 0.001% 3. ขา้ ววัชพืช (สูงสดุ ) 1:200,000 ตน้ หรอื 0.0005% 1:100,000 ตน้ หรือ 0.001% 2.2. การควบคมุ คุณภาพในการปรับปรงุ สภาพเมล็ดพันธ์ุ เพื่อรักษาระดับคุณภาพเมล็ดพันธุ์ให้ได้ตามมาตรฐาน เพราะหลังการเก็บเก่ียวเมล็ดพันธุ์ยังมี ความช้ืนสูง และมีสิ่งเจือปนมากอยู่ จึงต้องทาการลดความชื้น ทาความสะอาดและคัดแยกส่ิงเจือปน คัดขนาดเมล็ดพันธ์ุ คลุกสารเคมีและบรรจุถุงเพื่อเก็บรักษารอการจาหน่าย และเมล็ดพันธ์ุท่ีผ่าน กระบวนการปรับปรงุ สภาพแลว้ จะต้องมคี ุณภาพทง้ั ความบริสุทธิ์ ความช้ืน ความงอกไม่ตา่ กว่ามาตรฐาน ท่ีกาหนด ดังน้ันแต่ละขั้นตอนการปรบั ปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์จะต้องมีการตรวจสอบและควบคุมให้ปฏบิ ัติ อยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม เพ่อื รกั ษาคณุ ภาพเมลด็ พนั ธ์แุ ละลดการสญู เสียให้น้อยที่สุด ดงั น้ี - ตรวจประเมินความสะอาดเคร่ืองจักรและอุปกรณ์ท่ีใช้ในการปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์และ บริเวณรอบ ๆ ก่อนทาการปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธ์ุหรือเมื่อมีการเปล่ียนพันธ์ุข้าวท่ีจะปรับปรุงสภาพ เพ่อื ปอ้ งกันการปะปนพนั ธุ์ และเป็นการเตรียมความพร้อมของเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ที่จะใช้ นอกจากนี้ ต้องตรวจดูภาชนะบรรจุท่ีใช้บรรจุเมล็ดพันธข์ุ ้าว จะต้องสะอาด ไม่ฉีกขาด ไม่มีเมล็ดพันธ์อุ ่ืนหรอื สง่ิ ท่ีไม่ ตอ้ งการตกคา้ งอยู่ - ตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธ์ขุ ้าวท่ีเก็บรกั ษาชั่วคราวกอ่ นนาไปปรับปรงุ สภาพ หรือเมล็ดพันธุ์ ที่รับเข้ามาจากแปลงเมล็ดพันธ์ุจะต้องมีการจัดล็อต (Lot) เพ่ือสามารถสืบค้นประวัติของเมล็ดพันธุ์ได้ ท่ีสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ข้าวมาทดสอบความช้ืน วิเคราะห์ความบริสุทธิ์ ทดสอบความงอก และทดสอบ ขนาดของตะแกรงที่เหมาะสม เพื่อเป็นข้อมูลสาหรับการปรับปรุงสภาพ กรณียังไม่สามารถนาเข้า

8 ปรับปรุงสภาพได้ทันทีต้องเก็บรักษารอการปรับปรงุ สภาพ จาเป็นต้องรมสารเคมีเพื่อป้องกันกาจัดแมลง ทีต่ ดิ มากับเมลด็ พันธุ์ - ตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธ์ุข้าวขณะลดความช้ืน โดยสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขณะลดความช้ืน เพื่อทดสอบความชื้นเป็นระยะ ๆ จนเมล็ดพันธข์ุ ้าวมีความชื้นตามท่ีกาหนด นอกจากนีต้ ้องตรวจติดตาม และบันทึกอณุ หภมู ิท่ีใช้ในการลดความชื้น ความช้ืนสัมพัทธ์ เพราะการลดความช้ืนต้องคานึงถงึ อุณหภูมิ แรงลม ความชื้นสัมพทั ธ์ และเวลาในการลดความช้นื ท่ีเหมาะสมกับสภาพของเมล็ดพันธ์ุ หากกระทาโดย ไม่เหมาะสมจะเกิดความเสียหายแก่เมล็ดพันธ์ุ อาจทาให้เมล็ดพันธ์ุมีความงอกลดลง ต้นกล้าผิดปกติ เพ่ิมขึ้น เมล็ดพันธ์ุข้าวที่มีความชื้นสูงต้องลดความชื้นทันที ไม่ควรปล่อยทิ้งไว้นานเกิน 24 ชั่วโมง เพราะจะมผี ลต่อคณุ ภาพเมลด็ พันธุ์ - ตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธ์ุข้าวหลังการทาความสะอาดและคัดขนาดเมล็ดพันธุ์ ข้ันตอนน้ี เป็นการคัดส่ิงท่ีไม่ต้องการออกจากเมล็ดพันธ์ุดี จึงต้องมีการตรวจสอบผลการคัดแยกเพ่ือเป็นข้อมูล สาหรับการปรับการใช้ และควบคุมเครื่องจักรให้ปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม โดยการสุ่มตัวอย่าง เมล็ดพันธุ์ดีท่ีผ่านการทาความสะอาดและคัดขนาดเมล็ดพันธ์ุ ตรวจวิเคราะห์สิ่งเจือปน น้าหนักต่อ ปริมาตร และท่ีสุ่มเมล็ดที่ถูกคัดออกเพื่อวิเคราะห์เมล็ดดีที่ถูกคัดออกไปกับสิ่งท่ีคัดออกมาก จะต้อง ทาการปรับเครือ่ งจกั รใหมเ่ พอื่ ให้ได้เมลด็ พนั ธ์ุที่มีคณุ ภาพตามมาตรฐานและลดการสญู เสยี - ตรวจสอบความถูกต้องของการคลุกสารเคมี การคลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารเคมีเป็นการป้องกัน กาจัดแมลงศัตรูพืชที่ติดมากับเมล็ดพันธ์ุหรือเช้ือราบางชนิดท่ีเป็นสาเหตุของโรคท่ีติดมากับเมล็ดพันธุ์ หรือป้องกันเชื้อโรคท่ีมีอยู่ในดินไม่ให้มีผลต่อการงอกของต้นอ่อน แต่การคลุกสารเคมีนั้นอาจทาให้ เมล็ดพนั ธเุ์ ส่ือมสภาพได้ถ้าปฏิบัตไิ ม่ถูกต้อง ดังน้ันตอ้ งคานงึ ถึงชนิด อัตราการคลกุ การผสมสารเคมีและ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของการคลกุ สารเคมีด้วย - ตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวหลังการบรรจุภาชนะ เมล็ดพันธุ์ผ่านการปรับปรงุ สภาพแล้ว จะถูกบรรจุในถุงพลาสติกสานหรือกระสอบ เพื่อป้องกันการปะปน ความเสียหาย การสูญเสียของ เมล็ดพันธุ์ และสารเคมีที่คลุกเมล็ดพันธ์ุ อีกท้ังยังสะดวกต่อการเก็บรักษา การเคล่ือนย้ายและการ จาหนา่ ยเมล็ดพันธอุ์ กี ด้วย การตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพนั ธใุ์ นข้ันตอนนี้ตอ้ งทาการสมุ่ ตวั อย่างเมล็ดพันธ์ุ ข้าวขณะบรรจุภาชนะในแต่ละล็อต เพื่อทาการทดสอบความชื้น วิเคราะห์ความบริสุทธ์ิ ทดสอบ ความงอก และความแข็งแรง เพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู ประวัตลิ อ็ ตเมล็ดพันธ์ุแตล่ ะล็อต นอกจากนตี้ ้องส่มุ ชั่งนา้ หนัก เมล็ดพันธ์ุข้าวแต่ละถุง เพื่อทวนสอบน้าหนักเมล็ดพันธ์ุที่บรรจุตรงตามที่ระบุไว้ท่ีภาชนะนั้นหรือไม่ รวมถึงตรวจดูถุงที่บรรจุเมล็ดพันธ์ุจะต้องมีฉลากระบุช่ือพันธ์ุที่บรรจุ คุณภาพเมล็ดพันธุ์ด้านความงอก ความชืน้ ความบริสุทธ์ิ วันทที่ าการตรวจสอบ หมายเลขลอ็ ต

9 2.3. การควบคุมคุณภาพในการเกบ็ รกั ษาและจาหนา่ ย การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์เป็นข้ันตอนที่สาคัญอย่างหนึ่งท่ีมีผลต่อคุณภาพ การที่จะเก็บรักษา เมล็ดพนั ธไุ์ ด้อย่างถูกต้อง จาเปน็ ตอ้ งเขา้ ใจถึงปจั จัยที่ควบคุมคณุ ภาพของเมลด็ พันธ์ุระหว่างการเก็บรกั ษา ซ่ึงมีปัจจัยภายในตัวเมล็ดพันธุ์เอง เช่น พันธุกรรม โครงสร้างองค์ประกอบทางเคมี ความชื้น ความงอก ความแข็งแรง และปัจจัยภายนอก เช่น อุณหภูมิ ความช้ืนสัมพัทธ์ของอากาศโรคและแมลงศัตรู โรงเกบ็ เป็นต้น โรงเก็บเมล็ดพันธุ์ต้องทาให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมเอ้ืออานวยในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ ให้มีอายุยืนนานเท่าที่จะทาได้ ทง้ั นีค้ วรมกี ารปอ้ งกันสภาพปัจจยั ที่เปน็ สาเหตุทาให้เมล็ดพนั ธุ์เสื่อมสภาพ ดังนี้ - ปอ้ งกนั น้า ฝน ความชนื้ ในดินหรอื นา้ คา้ ง - ป้องกนั การปะปนจากเมลด็ พนั ธุ์อ่ืน - ป้องกนั การทาลายจากแมลง - ปอ้ งกนั กาจดั เชื้อรา ในการเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุมีการดาเนินการท้ังกับเมล็ดพันธุ์ข้าวจากแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ (เมล็ดพันธุ์ดิบ) และเมล็ดพันธุ์ท่ีผ่านการปรับปรุงสภาพและบรรจุถุงเรยี บร้อยหรือท่ีเรยี กว่าเมล็ดพันธ์ดุ ี อาจมีการเก็บรักษาไว้ในโรงเก็บเมล็ดพันธ์ุชั่วคราวหรือเป็นระยะเวลาหนึ่ง เพื่อรอการปรับปรุงสภาพ หรอื รอจาหนา่ ย ดงั นน้ั จงึ จาเปน็ ต้องมกี ารตรวจประเมินโรงเกบ็ และตรวจสอบคณุ ภาพเมลด็ พนั ธุ์ดงั น้ี - ตรวจประเมินความสะอาด และสภาพโรงเก็บเมล็ดพันธ์ุ การจัดวางเมล็ดพันธ์ุ เพื่อป้องกัน ความเสยี หายจากการเข้าทาลายเมลด็ พันธุ์ของศตั รูในโรงเก็บ ความผิดพลาดจากการวางกองและจัดเก็บ เมล็ดพนั ธ์ุ การชารุดของโรงเกบ็ รวมถงึ ตรวจประเมินความสะอาดของแคร่ท่ีใช้รองเมล็ดพนั ธุ์ และพร้อม ท่ีจะใช้งาน ตลอดจนตรวจดูข้อมูลอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศในโรงเก็บเพ่ือช่วย ในการบริหารจัดการให้สามารถรักษาระดับคณุ ภาพเมลด็ พนั ธุไ์ ว้ไดน้ าน - ตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธ์ุระหว่างการเก็บรักษา โดยสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธ์ุข้าวท่ีเก็บ รกั ษาทุกเดอื น เพ่ือทดสอบความงอก ตรวจสอบการทาลายของแมลง และตรวจความแขง็ แรงในบางคร้ัง เพ่ือให้ทราบสถานะภาพของเมล็ดพันธ์ุ และดาเนินการป้องกันเพ่ือชะลอให้เมล็ดพันธมุ์ ีคุณภาพยาวนาน ท่สี ุด อีกทงั้ ยังเป็นข้อมลู ประกอบการวางแผนการจาหนา่ ยเมลด็ พันธุด์ ว้ ย 3. การควบคมุ คุณภาพโดยใชก้ ฎหมาย (Seed Low Enforcement) การควบคุมคุณภาพเมลด็ พนั ธต์ุ าม พ.ร.บ.พนั ธพ์ุ ืช การควบคุมคุณภาพโดยใช้กฎหมาย มีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือคุ้มครองผู้ใช้เมล็ดพันธุ์เป็นสาคัญ ขณะเดียวกันเป็นการพิทักษ์ประโยชน์ของผู้ผลิตและจาหน่ายเมล็ดพันธุ์ท่ีได้มาตรฐานเพราะจะช่วย ขัดขวางไม่ให้ผู้ผลิตหรือจาหน่ายที่ผิดหลักเกณฑ์เข้ามาดาเนินการแข่งขันอันไม่ชอบธรรม ปัจจุบัน ประเทศไทยมีกฎหมายควบคุมเมล็ดพันธ์ุพืช 37 ชนิด ตามพระราชบัญญัติพันธ์ุพืช พ.ศ.2518 แก้ไข

10 เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติพันธุ์พืช (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535 และพระราชบัญญัติพันธ์ุพืช (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2550 โดยมีเจตนารมณ์ 4 ประการ ไดแ้ ก่ 1. คุ้มครองให้เกษตรกรไดใ้ ช้เมลด็ พันธุ์ทมี่ คี ุณภาพ 2. สงวนพนั ธพุ์ ชื ดไี วเ้ พาะปลูกภายในประเทศ 3. ส่งเสรมิ ให้มกี ารคดิ ค้นพนั ธุ์พชื ใหม่ และ 4. อนุรกั ษ์พืชป่าใกล้หรอื กาลังจะสญู พนั ธ์ุ ท้ังน้ีได้มีการออกประกาศกฎกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อกาหนดชนิดของเมล็ดพันธ์ุ กาหนดมาตรฐานคุณภาพและวิธีเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุ โดยต้องมีการขออนญุ าตดาเนนิ การผลิตและ/หรือ จาหน่ายจากกรมวิชาการเกษตร ซึ่งคาแนะนาสาหรับผู้ขอรับใบอนญุ าตรวบรวม/ขายเมล็ดพันธคุ์ วบคุม เพื่อการค้า ตาม พ.ร.บ.พันธพ์ุ ืช พ.ศ.2518 และฉบบั แก้ไขเพิ่มเตมิ มีดงั ตอ่ ไปนี้ 1. คณุ สมบัติของผ้ขู อใบอนุญาต - บรรลุนิติภาวะ - มถี ่นิ ทอ่ี ยู่หรอื สานกั งานในประเทศไทย - ไมเ่ ป็นบคุ คลวิกลจริต - มสี ถานท่ีทีเ่ หมาะสมในการรวบรวม / ขาย / นาเข้า / สง่ ออก - ใช้ช่ือในการประกอบกิจพาณชิ กิจไม่ซ้าหรอื คล้ายคลึงผู้อนื่ - ไม่เป็นผถู้ ูกเพกิ ถอนใบอนญุ าตหรอื ถูกสั่งพักใบอนุญาต - มคี ุณสมบัตหิ รือไม่มีลกั ษณะต้องหา้ มอ่นื ทร่ี ฐั มนตรีกาหนด 2. ประเภทของใบอนุญาต - ใบอนญุ าตรวบรวมเมลด็ พันธ์ุควบคุมเพือ่ การค้า หมดอายุวนั สน้ิ ปี ค่าธรรมเนียม 400 บาท - ใบอนญุ าตขายเมลด็ พันธุค์ วบคุมเพอ่ื การคา้ หมดอายุวันสน้ิ ปี คา่ ธรรมเนียม 100 บาท - ใบอนญุ าตนาเข้าเมล็ดพนั ธุค์ วบคมุ เพื่อการค้า หมดอายุหน่งึ ปี ค่าธรรมเนยี ม 400 บาท - ใบอนุญาตสง่ ออกเมล็ดพนั ธุค์ วบคมุ เพอื่ การค้า หมดอายหุ น่ึงปี ค่าธรรมเนียม 400 บาท - ใบอนุญาตนาผ่านเมลด็ พันธค์ุ วบคุมเพ่ือการค้า หมดอายหุ นึ่งปี คา่ ธรรมเนยี ม 200 บาท 3. การย่ืนคาขอใบอนญุ าต ผู้ขอใบอนุญาตรวบรวมเมล็ดพันธุ์ควบคุมย่ืนคาขอรับใบอนุญาต (พ.พ.1) ณ ฝ่ายพันธุ์พืช สานกั ควบคมุ พืชและวสั ดกุ ารเกษตร กรมวิชาการเกษตร หรือส่งไปรษณียพ์ ร้อมหลักฐานต่าง ๆ คอื - สาเนาบตั รประชาชนของผู้ประกอบการ - สาเนาทะเบยี นพาณิชย์ หรือทะเบียนภาษีมูลคา่ เพ่มิ - สาเนาหนงั สือรับรองการจดทะเบยี นเปน็ นติ ิบคุ คล (กรณีเป็นนติ ิบุคคล) - หนังสอื แสดงวา่ เปน็ ผู้ดาเนนิ กิจการ (กรณีเป็นนติ ิบคุ คล) - หนงั สอื มอบอานาจ ติดอากรแสตมป์

11 - แผนผังสถานทตี่ งั้ ของสถานทร่ี วบรวมเมล็ดพันธุ์ควบคุมเพื่อการคา้ - เอกสารอื่น ๆ (ถา้ มี) เชน่ รปู ภาพอปุ กรณ์ เอกสารยนิ ยอมให้ใช้สถานที่ ผู้รวบรวมเมล็ดพันธ์ุควบคุมทุกรายต้องได้รับใบอนุญาต หากฝ่าฝืน ต้องโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี หรอื ปรบั ไม่เกนิ 4,000 บาท หรอื ทงั้ จาทัง้ ปรบั 4. หนา้ ที่ทั่วไปของผู้รบั ใบอนุญาต - แสดงใบอนุญาตในท่ีเปิดเผย เห็นได้ง่ายภายในอาคาร หากฝ่าฝืน ต้องโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท - อย่าปล่อยให้ใบอนุญาตสิ้นอายุ ให้ยื่นขอต่ออายุก่อนส้ินอายุไม่นอ้ ยกว่า 15 วัน หากฝ่าฝืน ต้องโทษปรบั วันละไม่เกิน 100 บาท - จัดให้มีป้ายไว้ในท่ีเปิดเผย มองเห็นได้ง่ายจากภายนอกอาคาร ขนาดป้าย 20 × 70 ซม. ตวั อักษรขนาดไมน่ ้อยกวา่ 3 ซม. หากฝ่าฝืนตอ้ งโทษจาคกุ ไมเ่ กนิ 1 ปี ปรับไมเ่ กนิ 2,000 บาท หรอื ท้ังจา ทงั้ ปรับ - ใบอนุญาตหายหรือถูกทาลายสาระสาคัญ ต้องขอใบแทน (พ.พ.11) ภายใน 15 วัน หากฝ่าฝืนต้องโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท - หา้ มย้ายสถานทร่ี วบรวม / ขาย / เก็บรักษาเมล็ดพนั ธุ์ นอกจากไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ หน้าท่ี (พ.พ.12) หากฝา่ ฝนื ต้องโทษปรับไมเ่ กนิ 3,000 บาท - เมลด็ พนั ธุ์ควบคมุ ตอ้ งมีฉลากภาษาไทยท่ภี าชนะบรรจุ ระบขุ อ้ ความตามทกี่ ฎหมายกาหนด หากฝ่าฝนื ตอ้ งโทษจาคกุ ไมเ่ กิน 1 ปี ปรบั ไม่เกิน 2,000 บาท หรอื ท้งั จาทั้งปรับ - ห้ามรวบรวม / ขายซึ่งเมล็ดพันธ์ุเสื่อมคุณภาพ หากฝ่าฝืนต้องโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี ปรบั ไม่เกนิ 2,000 บาท หรือท้งั จาทงั้ ปรบั - ห้ามรวบรวม/ขายซ่ึงเมล็ดพันธป์ุ ลอมปน หากฝ่าฝืนต้องโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกนิ 10,000 บาท หรอื ท้งั จาทัง้ ปรบั - ห้ามโฆษณาคุณภาพเมล็ดพันธ์ุเป็นเท็จหรือเกินเป็นจริง หากฝ่าฝืนต้องโทษจาคุกไม่เกิน 1 เดอื น ปรับไมเ่ กนิ 1,000 บาท หรอื ทงั้ จาทงั้ ปรับ 5. หน้าทีเ่ พม่ิ เตมิ สาหรบั ผรู้ ับใบอนญุ าตรวบรวมเมล็ดพันธ์คุ วบคุม - ห้ามบรรจุนอกสถานท่ี หรือขายเมล็ดพันธ์ุควบคุมไม่ตรงฉลาก หากฝ่าฝืนต้องโทษ ปรบั ไมเ่ กนิ 3,000 บาท - ตอ้ งทาบญั ชรี วบรวมเมลด็ พันธ์คุ วบคุม แสดงชือ่ เมลด็ พันธุ์ ผปู้ ลกู แหลง่ ปลกู วนั เดอื นปี ท่ี ปลูกและปรมิ าณ วนั เดือนปีทท่ี ดสอบ - ต้องจัดเก็บตัวอย่างเมล็ดพันธ์ุควบคุมแต่ละชนิดในปริมาณพอสมควร เก็บรักษาไว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ปี เพือ่ การทดสอบหรือตรวจสอบ

12 การปรับปรงุ สภาพเมล็ดพันธข์ุ า้ ว การปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ (seed conditioning) หมายถึง ขบวนการที่มีการปฏิบัติการ ต่อเนื่องหลังจากการเก็บเกี่ยวเมล็ดพนั ธ์ุจากแปลงผลิตเมล็ดพนั ธุ์ เพือ่ ยกระดับคุณภาพด้านกายภาพของ เมลด็ พนั ธ์ุโดยการขจัดหรือลดส่งิ หรอื สภาพทไี่ มพ่ ึงประสงค์ต่าง ๆ ออกไป ไดแ้ ก่การลดความชื้นสว่ นเกิน การคัดแยกหนิ ดนิ ทราย เศษต้นพชื เมลด็ พชื อ่นื เมลด็ พันธทุ์ ่ไี ม่ได้ขนาดและสิง่ เจือปนอ่ืน ๆ ออกให้อยู่ ในมาตรฐานท่กี าหนด เพื่อใหไ้ ด้เมล็ดพันธข์ุ า้ วคุณภาพดสี าหรบั กระจายสูช่ าวนาเพาะปลกู ตอ่ ไป ความสาคัญของการปรับปรงุ สภาพเมลด็ พันธข์ุ า้ ว ในปจั จุบันเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการเก็บเกี่ยว เช่น การใชเ้ ครื่องเก่ียวนวดขา้ วทาให้เมล็ดพันธ์ุข้าว ที่เก็บเก่ียวจากแปลงผลิตมีส่ิงเจือปนปะปนมากับเมล็ดพันธุ์ข้าวในปริมาณมากข้ึน ได้แก่ เศษต้นพืช เมลด็ วชั พชื เมลด็ พชื อน่ื หนิ ดิน ทราย และสงิ่ เจือปนต่าง ๆ นอกจากนน้ั สงิ่ สาคัญซึ่งได้แก่ ความชนื้ ของ เมล็ดพันธุท์ ่ีเกบ็ เกีย่ วด้วยเคร่อื งเก่ียวนวดจะสงู กว่าการเก็บเกี่ยวแบบภมู ิปญั ญาแบบเดิม คือการเก่ียวด้วย มือเพราะการเกบ็ เก่ียวเมล็ดพันธุข์ ้าวด้วยเครือ่ งเก่ียวนวด จาเป็นต้องดาเนินการในขณะท่ีต้นข้าวยังคงมี ความชื้นสูง (ประมาณ 20 - 25%) เพ่ือไม่ใหเ้ มล็ดพันธ์ขุ ้าวร่วงหล่นระหว่างเก็บเกีย่ ว ซ่ึงมีผลต่อคุณภาพ เมล็ดพันธ์ุ หากไม่เร่งรัดการให้อยู่ในระดับความชื้นที่ปลอดภัยต่อการเก็บรักษา ดังนั้นจะทาให้ การปรับปรุงเมล็ดพันธุ์ข้าวจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่ง เพื่อจัดการเมล็ดพันธุ์ข้าวท่ีเก็บเกย่ี วให้อยใู่ นสภาพ ทเ่ี หมาะสมต่อการเก็บรกั ษาและมคี ุณภาพมาตรฐานท่ที างราชการกาหนด ภาพท่ี 3 สิง่ เจอื ปนในเมล็ดพันธุขว ทม่ี า : http://kls-rsc.ricethailand.go.th (เขาถึง ณ วันท่ี 22 พฤษภาคม 2564)

13 การเตรยี มการกอ่ นการปรบั ปรุงสภาพเมลด็ พันธุ์ เป็นการเตรียมความพร้อมของบุคลากร สถานท่ีและเคร่ืองจักรอุปกรณ์คัดทาความสะอาด เมลด็ พันธุ์ มีการดาเนินงานตามขนั้ ตอนตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1. การป้องกันการปะปนพันธุ์ - ทาความสะอาดลานตาก และรองพน้ื ดว้ ยผา้ พลาสติกก่อนนาเมล็ดพนั ธม์ุ ากอง และไม่เกลี่ย ใหห้ นาเกนิ ไปเพ่ือลดความชน้ื กรณมี ถี งั ลดความชื้น ต้องทาความสะอาดถังไม่ให้มเี มลด็ พนั ธ์ตุ กค้าง - ทาความสะอาดเคร่ืองจักรและอุปกรณ์การคัดทาความสะอาดเมล็ดพันธ์ุก่อนทาการ ปรับปรงุ ทุกพนั ธพุ์ ชื - ตรวจสอบภาชนะบรรจุและแคร่รองรบั เมลด็ พนั ธ์ุกอ่ นใชท้ ุกคร้ัง - ทาความสะอาดบริเวณท่ีปฏิบัติงาน ทั้งก่อนปฏิบัติงานและขณะปฏิบัติงานทุกวัน ทั้งนี้ หากมีเมล็ดพันธ์ุหลายชนิด การจัดลาดับชนิดเมล็ดพันธ์ุท่ีจะดาเนินการ ควรจัดให้มีการปรับปรุงสภาพ ชนดิ พันธุ์เดยี วกนั ใหเ้ สรจ็ ส้นิ ทีละพนั ธ์ุ 2. การตรวจสอบความพรอ้ มเครอ่ื งจักรอุปกรณ์คัดทาความสะอาดเมล็ดพันธุ์ - ตรวจสอบระบบไฟฟา้ ควบคมุ การทางานของเคร่ืองจกั รอปุ กรณ์คัดทาความสะอาดทั้งระบบ - ตรวจสอบการทางานของระบบลาเลียงเมล็ดพันธ์ุ - ตรวจสอบการทางานของระบบลดความชื้น (กรณีมีถังลดความชื้น) ได้แก่ เคร่ืองกาเนิด ความร้อน (Heater) และพัดลม (Blower) - ตรวจการทางานของเครือ่ งคดั ทาความสะอาดเมล็ดพนั ธุ์ - ตรวจสอบการทางานของเครื่องช่งั บรรจแุ ละเยบ็ ถุง 3. การเตรยี มวัสดกุ ารผลติ ตรวจสอบวัสดุปริมาณการผลิตแต่ละชนิด ตั้งแต่ปริมาณน้ามัน ป้ายแสดงคุณภาพ (Tag) กระสอบบรรจเุ มลด็ พนั ธุ์ และด้าย ให้สอดคลอ้ งกับปรมิ าณเมล็ดพนั ธท์ุ ่จี ะนาไปใช้ปรับปรุง การลดความชืน้ เมลด็ พันธุ์ ความช้ืนของเมล็ดพันธุ์ คือ ปรมิ าณนา้ ท่ีมีอยู่ในเมลด็ พนั ธ์ุ โดยมีหนว่ ยวดั เปน็ อตั ราสว่ นร้อยละ ของน้าหนักนา้ ท่ีอยู่ในเมล็ดพันธุ์ต่อน้าหนักมวลรวมของเมล็ดพนั ธุ์ (น้าหนักฐานเปียก) และปริมาณน้านี้ เมื่ออยู่ในเมล็ดพันธมุ์ ีมูลค่าเท่ากบั ราคาซ้ือขายเมล็ดพันธุน์ ้ัน การกาหนดและควบคุมระดับความช้ืนของ เมล็ดพนั ธ์ุจงึ มีผลตอ่ ค่าใช้จ่ายและต้นทุนในการผลิต นอกจากน้ีความชนื้ ยงั มีผลกระทบต่อความต้านทาน ในการแตกร้าวของเมล็ดพันธ์ใุ นระหว่างการเคล่ือนย้าย หรือถูกปฏิบัติด้วยแรงหรือเครื่องจักรกลตา่ ง ๆ ซ่ึงในระดับความชื้นท่ีพอเหมาะ เมล็ดพนั ธจุ์ ะต้านทานต่อการแตกรา้ วได้มากกวา่ ความชื้นท่ีต่ากว่า หาก ความชื้นสูงเกินไปแม้จะต้านทานการแตกร้าวได้ดีแต่จะบอบช้าได้ง่าย บทบาทของความช้ืนเมล็ดพันธ์ุ ที่เป็นปัญหาสาคัญคือ ผลกระทบต่อสุขภาพของเมล็ดพันธ์ุ ทั้งที่เกิดจากการเปล่ียนแปลงทางสรีรวิทยา

14 ของเมล็ดพันธุ์เอง และการรุกรานของจุลินทรียท์ ี่อยูก่ ับเมล็ดพันธ์ุนั้น กล่าวคือ ระดับความชื้นเปน็ ตวั เรง่ อัตราการเส่ือมความมีชีวิตของเมล็ดพันธ์ุในระหว่างการเก็บรักษา การแพร่ระบาดของแมลงศัตรู ในโรงเก็บ และสาเหตจุ ากเมล็ดพันธ์มุ คี ณุ สมบัติเปน็ ไฮโกรสโคปิก (hygroscopic) ท่สี ามารถเปลยี่ นแปลง ระดับความช้ืนตามสภาพบรรยากาศรอบข้างได้ ซึ่งเรียกระดับความชื้นของเมล็ดพันธุ์ตามเง่ือนไขน้ีว่า ความชน้ื สมดลุ ของเมล็ดพนั ธ์ุ (seed equilibrium moisture content) การลดความชื้นเมล็ดพันธ์ุ คือ การนาน้าออกจากเมล็ดพันธุ์ด้วยวิธีการท่ีปลอดภัยต่อตัวของ เมล็ดพันธุ์เอง ด้วยการสร้างบรรยากาศและควบคุมใหเ้ กดิ การระเหยขึ้นกับเมล็ดพนั ธ์ุให้ได้ตามที่กาหนด โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในเรื่องความช้ืนกับบรรยากาศและเมล็ดพันธุ์ เพื่อสร้างและกาหนดขอบเขต ของการลดความชืน้ ใหไ้ ด้อย่างเหมาะสมถกู ต้องตามต้องการ ซ่ึงสรุปส่วนที่เป็นสาระสาคัญได้ ดงั น้ี 1. การระเหยน้าจากเมล็ดพันธุ์จะเกิดขึ้น เมื่อความดันไอของน้าในเมล็ดพันธุ์สูงกว่าใน บรรยากาศ โดยความชนื้ สมดุลของเมล็ดพันธ์ุจะแปรผันตามชนิดของเมลด็ พันธ์ุและคุณสมบัตขิ องอากาศ ที่รายรอบอยู่ 2. ความช้ืนสัมพัทธ์ของอากาศจะแปรผันโดยตรงกับระดับความดันไอ นั่นคือ หากความช้ืน สัมพัทธ์ของอากาศสูง ความดันไอก็สูงด้วย ทั้งนี้หากเพิ่มอุณหภูมิอากาศปกติให้สูงขน้ึ จะทาให้ความชืน้ สัมพทั ธข์ องอากาศลดตา่ ลง ความดันไอของอากาศจะตา่ ตามลงไปด้วย 3. ขบวนการลดความชื้นเมล็ดพนั ธุ์ท่ีมปี ระสิทธิภาพต้องสรา้ งสภาพใหเ้ กดิ การระเหยน้า และ นาพาน้าที่ระเหยออกจากมวลเมล็ดพันธุใ์ นขณะเดยี วกัน โดยทกี่ ารระเหยนา้ จากเมลด็ พนั ธจ์ุ ะเกดิ ขึ้นรอบ บริเวณผวิ เมลด็ พนั ธุ์ ในขณะที่ภายในเมล็ดพนั ธุจ์ ะเกดิ ขบวนการเคลือ่ นยา้ ยความชน้ื จากเซลล์สเู่ ซลล์หรือ จากโมเลกลุ สโู่ มเลกลุ เพ่อื รักษาระดบั สมดลุ ตามธรรมชาติ การลดความชน้ื เมล็ดพนั ธ์ุข้าวแบ่งออกตามวธิ ปี ฏิบตั ิได้ 2 วิธี คอื 1) วิธีธรรมชาติ ด้วยการตากแดดหรือผ่ึงลม เพื่อลดความชื้นหรือนาน้าออกไปจาก เมล็ดพันธุ์ เป็นวิธีที่ง่าย ประหยัด เกษตรกรนิยมทากันอย่างแพรห่ ลาย แต่มีข้อจากัดคือ ต้องใช้แรงงาน มาก ไม่สามารถควบคุมการลดความช้ืนให้เป็นไปตามต้องการได้ การตากเมล็ดพันธุ์ควรมวี ัสดุท่ีสะอาด และแห้งรองพ้ืน ไม่ควรตากบนพ้ืนหรือดินโดยตรง เพราะจะทาให้เมล็ดพันธ์ุแตกร้าวภายใน ทาให้ ความงอกลดลง ความหนาของข้าวที่ตากไม่ควรเกิน 5-10 เซนตเิ มตร ระหว่างตากควรกลับกองข้าวทุก ๆ 2 ชว่ั โมง หรอื วันละ 4 คร้งั และควรมวี ัสดุคลุมกองเมล็ดพนั ธ์ุในเวลากลางคืน ตากให้เมล็ดพนั ธุม์ ีความชื้น 12-14% จะปลอดภัยต่อการเก็บรักษาเมลด็ พันธุ์ 2) วิธีปรุงแต่งสภาพอากาศ (Artificial Drying) การใช้เครื่องลดความชื้นเมล็ดพันธุ์ ข้อดี คือ ใช้ได้กับทุกสภาพอากาศ ประหยัดแรงงาน ใช้เวลาน้อย สามารถควบคุมการลดความช้ืนให้อยู่ ในระดับที่ต้องการได้ และป้องกนั การสูญเสียคุณภาพได้ดี แต่มีค่าใช้จ่ายสูง เป็นวิธีการลดความช้ืนเมลด็ พันธ์ุท่ีมีประสิทธิภาพมาก สามารถควบคุมเงอ่ื นไขไดต้ ามกาหนด เป็นวิธกี ารในระบบอตุ สาหกรรมทัว่ ไป แบง่ ออกได้เปน็ 2 ชนิด คอื

15 2.1) เคร่ืองลดความช้ืนโดยลมร้อน (hot air) ลมร้อนจะทาให้อากาศรอบเมล็ดพันธ์ุมีความชื้น สัมพทั ธต์ า่ ประกอบด้วยอุปกรณ์สาคัญ 3 สว่ น ดังน้ี (1) ภาชนะบรรจุ เชน่ กระสอบ ถงั หรือกระบะ (2) ชุดกาเนิดลมร้อน ประกอบด้วยเครื่องกาเนิดความร้อน (heater) และพัดลม (blower) (3) ระบบส่งลมร้อนผ่านเมล็ดพันธุ์ มีทั้งแบบส่งผ่านจากด้านล่างขึ้นด้านบนหรือจาก ด้านขา้ งกลางถังออกสดู่ า้ นนอก รูปแบบตา่ ง ๆ ของเครื่องอบลดความชนื้ แบบใช้ลมร้อน - เคร่ืองลดความชื้นแบบเมล็ดพันธุ์บรรจุในกระสอบ ตัวเครื่องประกอบด้วยห้องลมร้อน ท่ีด้านบนเจาะช่องไว้สาหรับวางกระสอบเมล็ดพันธุ์ มีหลายช่องสามารถวางกระสอบได้ เปน็ จานวนมาก เป่าลมรอ้ นผา่ นช่องวา่ งระหวา่ งเมลด็ พนั ธุ์ในกระสอบ ใชอ้ ณุ หภูมิตา่ - เคร่ืองลดความชื้นแบบกล่องหรือกระบะ ประกอบด้วยกล่องหรือกระบะเมล็ดพันธุ์ที่บรรจุ บนตระแกรง ด้านล่างของตะแกรงจะเป็นห้องลม ลมร้อนจะถูกเป่าผ่านชั้นเมล็ดพืชท่ีอยู่นงิ่ กับที่จากดา้ นลา่ งขน้ึ สดู่ ้านบน - เครื่องลดความช้ืนแบบถังหมุนเวียน จะมีถังบรรจุเมล็ดพันธ์ุเป็นรูปสี่เหลี่ยมหรือ ทรงกระบอกแนวตั้ง กลางถังมีช่องส่งลมร้อนวางซ้อนกันอยู่ ลมร้อนจะถูกเป่าผ่านช้ัน เมล็ดพันธุ์ ณ จุดคงท่ี เมล็ดพันธุ์จะหมุนเวียนผ่านลมร้อน โดยจะถูกลาเลียงจากก้นถัง ดา้ นลา่ งกลับสดู่ ้านบน ไหลต่อเนอื่ งผ่านเป็นรอบ ๆ จนกวา่ จะแหง้ ตามตอ้ งการ - เครื่องลดความช้ืนแบบเมล็ดพันธ์ุไม่เคล่ือนที่ Bath type ภายนอกเป็นถังบรรจุชนิด ทรงกระบอกหรือสี่เหล่ียมแนวต้ัง ต่อเข้ากับท่อส่งลมร้อนด้านล่างหรือตามแกนของถัง เมล็ดพันธท์ุ ่ีบรรจจุ ะอยนู่ ่ิงเพือ่ ลดความช้นื อยู่กบั ท่ี - เคร่ืองลดความชื้นแบบเมล็ดไหลคลุกเคล้า หรือแบบ L.S.U. ลักษณะโดยท่ัวไปเหมือนกัน กับเคร่ืองลดความชื้นแบบ bath type เพียงแต่เมล็ดพชื จะไหลจากบนลงล่างโดยมอี ุปกรณ์ ควบคมุ การไหลภายในถงั ประกอบด้วยท่อลมจานวนมากเปน็ ชัน้ ๆ มีทอ่ ลมร้อนเข้าและออก สลับกัน ทาใหเ้ มลด็ ไหลคลกุ เคล้ากับลมร้อนไดอ้ ย่างต่อเน่ืองและรวดเรว็ - เคร่ืองลดความช้นื แบบฟลอู ดิ ไดซ์-เบส ใช้งานในลกั ษณะเมลด็ ไหลตอ่ เนื่อง สว่ นของลมร้อน เป็นห้องปิดมีตะแกรงอยู่ด้านล่างท่ีปลายท้ังสองด้านมีอุปกรณ์ป้อนเมล็ดเข้าและออก จากห้องอบ ใช้ความเร็วลมสูงทาให้ช้ันเมล็ดหนาไม่เกิน 10 เซนติเมตร จะลอยตัวคล้ายกบั ของเหลวอย่บู นตะแกรง ใช้อุณหภมู สิ งู มาก ไม่สามารถใชก้ บั เมล็ดพนั ธุไ์ ด้

16 2.2) เคร่อื งลดความช้นื แบบใช้ลมแหง้ (dry air) ลมร้อนท่เี ปา่ ผ่านเมล็ดพันธจุ์ ะถูกทาใหแ้ หง้ หรือ มีความช้ืนสัมพัทธ์ต่าเสียก่อน โดยเป่าลมท่ีผ่านการดูดความช้ืน (desiccant) โดยผ่านซิลิก้าเจล (silica gel) หรือลิเธียมคลอไรด์ (lithium chlo-ride) หรือสารดูดซับความช้ืนชนิดอื่น ๆ เพ่ือให้ดูดซับ ความช้ืนเอาไว้ให้กลายเป็นอากาศแห้งแล้วเป่าผ่านเมล็ดพันธ์ุ ในขณะเดียวกันสารดูดความชื้นเหล่าน้ัน จะถกู หมุนเวียนออกทาให้แหง้ และนากลบั เขา้ มาดูดซับความชื้นของอากาศอีกครง้ั หลักพิจารณาในการลดความช้ืนเมล็ดพันธุ์ การผลิตเมล็ดพันธ์ุข้าวเชิงพาณิชย์ในระดับอุตสาหกรรมเมล็ดพันธ์ุ ขอบเขตข้อพิจารณาในการ ลดความช้ืนเมล็ดพันธ์ุให้ได้ตามต้องการน้ัน จะต้องสร้างขบวนการระเหยโดยควบคุมการลดความชื้น ตามระดับความช้ืนสมดุลท่ีกาหนดและให้มีความสม่าเสมอของระดับความช้ืนท้ังกองเมล็ดพันธ์ุ โดยหลีกเลยี่ งผลกระทบท่รี ุนแรงตอ่ เมลด็ พนั ธ์ุ เปน็ การลดความชื้นเมล็ดพนั ธ์ุไมเ่ คลื่อนท่ี (batch type) กบวนการสร้างการระเหยให้เกิดขึ้นทาได้โดยการปรุงแต่งสภาพอากาศ เป็นการปฏิบัติในการ เปลีย่ นแปลงคุณสมบัติของอากาศธรรมชาติ ใหม้ ีคุณภาพเหมาะสมกับการลดความชื้นนน้ั ๆ ซ่งึ คณุ สมบัติ ของอากาศท่ีเป็นปจั จัยสาคญั ในการลดความชน้ื เมล็ดพนั ธท์ุ ี่สามารถควบคุมปรุงแต่งไดม้ ี 2 ประการ คือ 1. ความช้ืนสัมพัทธ์ของอากาศ (relative humidity) ควบคุมได้โดยการเพิ่มอุณหภูมิให้กับ อากาศด้วยเครื่องกาเนิดความร้อน (heater) มีผลทาให้ความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศในขณะน้ันลดต่าลง แรงดันไอของอากาศก็จะต่าลง ส่งผลให้เกิดการระเหยน้าออกจากมวลเมล็ดพันธ์ุได้ในปริมาณท่ีมากข้ึน อย่างไรก็ตาม การลดความชื้นเมล็ดพันธ์ุจะต้องคานึงถึงคุณภาพความมีชีวิตของเมล็ดพันธุ์ด้วย จงึ มขี ้อจากัดที่ไมค่ วรใช้ลมทมี่ รี ะดบั อุณหภูมิสงู เกนิ กว่า 43 ๐C โดยเฉพาะในเมลด็ พนั ธ์ุท่มี รี ะดับความชื้น สงู มาก ๆ 2. ปริมาณลม (air flow) โดยการบังคับให้มีปริมาณลมเคล่ือนไหวผ่านเข้าไปในชั้นเมล็ดพันธุ์ เพื่อปฏิบัติการระเหยน้าออกจากเมล็ดพันธ์ุ ทาได้โดยใช้พัดลม (fan) ท่ีถูกออกแบบและผลิตให้มี ขีดความสามารถในการให้กาเนิดปริมาณลม (fan performance) โดยขับเคลื่อนปริมาณลมท่ีมีคุณภาพ เหมาะสมตามการปรงุ แต่งใหไ้ หลผ่านเมลด็ พนั ธ์ุท่ีทาการลดความชนื้ อยู่น้นั ซ่งึ สถานะของลมเมือ่ ไหลผ่าน เมล็ดพนั ธ์ุจะทาหนา้ ท่ใี นการนาสภาพทีเ่ หมาะสมเข้าไปสมั ผัสเพ่อื ระเหยนา้ ออกจากเมล็ดพนั ธุ์ รบั และพา เอาไอน้าที่ระเหยออกมานั้นให้พ้นออกจากเมล็ดพันธ์ุในขณะเดียวกัน โดยคุณภาพของลมจะเร่ิมด้อยลง ตามลาดับ ตงั้ แตเ่ ร่มิ ผ่านจนพ้นชน้ั เมล็ดพนั ธุไ์ ป ดังนัน้ อตั ราลม (rate of air flow) ซงึ่ หมายถงึ ปรมิ าณ ลมที่ไหลผ่านต่อปริมาตรเมล็ดพันธ์ุจะต้องกาหนดให้เพียงพอและเหมาะสมด้วย อัตราลมนี้มีผลโดยตรง ต่อเวลาในการลดความช้ืน การใช้อัตราลมสูงกว่าทาให้เวลาในการลดความช้ืนสั้นกว่า ในขณะที่การใช้ อัตราลมต่าเกินไปจนไมเ่ พียงพอตอ่ การถ่ายเทความชื้นในระหว่างการระเหยนา้ ออกจากเมล็ดพันธ์ุ ทาให้ การลดความชื้นต้องใช้เวลานานเกินเหตุ อาจมีผลเสียหายต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ เน่ืองจากเมล็ดพันธุ์ บางส่วนต้องอย่ใู นสภาพ “ความชืน้ ผ่าน” เป็นเวลานาน

17 อตั ราลมทใ่ี ชเ้ ป็นคาแนะนาสาหรับประเทศไทยซ่ึงเป็นเขตร้อนช้นื ควรอยู่ระหว่าง 8-16 ลูกบาศก์ เมตรต่อนาทีต่อเมล็ดพันธ์ุ 1 ลูกบาศก์เมตร (G.M. Dougherty) โดยข้ึนกับชนิดและระดับความช้ืนของ เมล็ดพันธ์ุ ระดับความช้ืนสูงต้องใชอ้ ัตราลมสูงด้วย ท้ังน้ี การใช้อัตราลมสูงมาก ๆ ต้องระวังในการใช้กับ เมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นสูงมากแต่สภาพลมมีความชื้นสัมพทั ธ์ต่ามาก เนื่องจากอาจเกิดกรณีการระเหยน้า จากรอบบริเวณผิวเมล็ดพันธุ์กับการเคล่ือนย้ายปริมาณน้าภายในเมล็ดพันธ์ุที่ไม่สัมพันธ์กัน จนเกิด ความเครียดในชน้ั เนอ้ื เยอื่ ของเมลด็ พันธ์ุ ทาใหเ้ กิดอาการแตกรา้ ว (stress crack) ภายในเมล็ดพันธนุ์ น้ั ได้ ในขบวนการและขน้ั ตอนต่าง ๆ ของการผลิตเมล็ดพนั ธข์ุ ้าวภายหลังการเก็บเกย่ี วและนวดจนได้ เมล็ดแล้ว การลดความชื้นเมล็ดพนั ธุ์จึงเปน็ ขั้นตอนสาคัญยิ่งท่ีจะต้องกระทาอยา่ งรวดเร็วที่สุดเพ่ือรักษา ระดับคุณภาพของเมล็ดพันธ์ุเหล่าน้ันให้คงคุณภาพมากท่ีสุดเท่าท่ีจะทาได้ และเตรียมความพร้อมใน ขบวนการปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธ์ุในส่วนอ่ืน ๆ ต่อไป เพ่ือให้ได้เมล็ดพันธุ์ข้าวในปริมาณและคุณภาพ ตามทต่ี อ้ งการ ภาพที่ 4 การลดความช้ืนเมล็ดพนั ธุ์ ท่มี า : http://ricethailand.go.th/ (เข้าถงึ ณ วันที่ 22 พฤษภาคม 2564)

18 การคดั ทาความสะอาดเมล็ดพันธ์ุ การคัดทาความสะอาดเมล็ดพันธ์ุ คือ การคัดแยกส่ิงปะปนท่ีไม่พึงประสงค์ ให้ออกไปจากส่วน ของเมล็ดพันธ์ุท่ีสมบูรณ์ การทาความสะอาดจะเน้นในส่วนของสิ่งเจือปนต่าง ๆ เช่น ฝุ่น กรวด หิน ดิน ทราย เศษใบไม้ เศษพืช หรือสิ่งแปลกปลอมอ่ืน ๆ ที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ เป็นต้น แต่การคัดแยกจะเน้น ในเร่อื งการคดั ขนาดตา่ ง ๆ เพือ่ ยกระดับคุณภาพ ซึง่ มีเงื่อนไขความละเอยี ดและความเฉพาะในทางปฏบิ ัติ โดยอาจมเี ครือ่ งจกั รที่ใชใ้ นการปฏิบัติงานมากกว่า 1 ชนดิ เครื่องจักรพนื้ ฐานทส่ี าคญั ทีใ่ ช้ทาความสะอาดคัดแยกเมล็ดพันธุ์ ได้แก่ เครือ่ งคัดทาความสะอาด แบบตะแกรงลม (air screen cleaner) ซึ่งเป็นท่ียอมรับว่าเป็นเครื่องจักรพื้นฐานในการคัดทาความ สะอาดเมล็ดพันธ์ุ ก่อนทีเ่ มลด็ พันธ์ุจะผา่ นไปคัดขนาด เพ่อื ยกระดบั คุณภาพเมล็ดพนั ธ์ใุ นเคร่ืองจักรเฉพาะ อื่น ๆ โดยปกติจะต้องผ่านการทาความสะอาดและคัดแยกจากเคร่ืองจักรน้ีก่อนเสมอโดยปกติแล้วเมลด็ พนั ธ์ุหลังการเกบ็ เก่ยี วท่นี าเขา้ สู่กระบวนการคัดและทาความสะอาดนัน้ เปน็ การเก็บเกี่ยวดว้ ยแรงงานคน เป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบนั ได้มกี ารนาเครอ่ื งจกั รมาใช้ในการเก็บเกย่ี วเพ่ือแก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ซึ่ง ไม่ว่าจะเป็นการเก็บเกี่ยวด้วยวิธีใดก็ตาม ส่ิงแรกท่ีต้องจัดการกับเมล็ดพันธุ์หลังจากเก็บเก่ียวและลด ความชน้ื แลว้ คอื การคัดทาความสะอาดเบอื้ งตน้ การคดั ทาความสะอาดขั้นต้น เป็นการคัดทาความสะอาดเมล็ดพันธ์ุในเบ้ืองต้น เพื่อกาจัดสิ่งท่ีไม่พึงประสงค์ท่ีปะปนมา เช่น เศษดิน หิน ใบไม้ เศษพชื ขนาดเลก็ ใหญ่ หรือเมลด็ ลบี ทเ่ี บามาก ๆ เป็นการคดั ทาความสะอาดแบบหยาบ ดาเนินการได้ทั้งเมล็ดพันธุท์ ี่ถูกลดความช้ืนมาแล้ว จากการผึ่งแดดไว้ในไรน่ า ปัจจุบันนี้เคร่ืองจักรกลได้ ถูกนามาใช้ในการเก็บเกี่ยวมากขึ้น เมล็ดพันธ์ุที่เก็บเกี่ยวได้จะมีความช้ืนค่อนข้างสูง การคัดทาความ สะอาดขั้นต้นจะถูกดาเนินการก่อนท่ีจะนาเข้าลดความช้ืนกรณีท่ีต้องนาเข้าสู่ถังลดความชื้น การคัดทา ความสะอาดจะต้องใชเ้ ครือ่ งจกั รมาช่วยใหเ้ กิดความรวดเร็ว เพราะเมล็ดพนั ธ์ตุ อ้ งรบี นาเขา้ สกู่ ระบวนการ ลดความชนื้ โดยเรว็ ท่ีสุดเพือ่ รกั ษาความมีชีวิตของเมลด็ พันธุ์เอาไว้ การคัดทาความสะอาดอยา่ งละเอยี ด (fine cleaning) มลี ักษณะของการปฏบิ ัติคล้ายคลึงกันกับการคัดทาความสะอาดขน้ั ตน้ แต่มปี ระสิทธิภาพในการ คัดทาความสะอาดสูงกว่า ส่วนใหญ่นิยมใช้เคร่ืองคัดทาความสะอาดเมล็ดพันธุ์แบบตะแกรงลม (air-screen cleaner) ขนาดของรูเปิดของตะแกรงจะใกล้เคียงกับขนาดของเมล็ดพันธุ์ที่จะคัดทาความ สะอาด แต่หากวัสดุที่ไม่พึงประสงค์ท่ีต้องการคัดแยกออกมีขนาดและน้าหนักใกล้เคียงหรือเท่ากับ เมล็ดพันธุ์ การคัดทาความสะอาดจะไมส่ มบูรณ์ ในกรณีนี้ต้องนาไปผ่านเครอ่ื งคัดแยกเมล็ดและคัดเกรด ตอ่ ไป โดยเครอ่ื งคัดแยกทีจ่ ะใช้ตอ้ งมีประสิทธิภาพสูงกว่าเคร่อื งคดั ทาความสะอาดเมล็ดแบบตะแกรงลม

19 การคดั แยกและการคัดเกรดเมล็ดพนั ธุ์ ดงั ไดก้ ลา่ วแล้วว่า วสั ดุและสิ่งท่ีไม่พึงประสงคบ์ างชนดิ มีขนาดและน้าหนกั ใกล้เคยี งกับเมล็ดพันธุ์ ซึ่งไม่สามารถแยกออกไปจากกองเมล็ดพันธ์ุ โดยการใช้เครื่องคัดทาความสะอาดเมล็ดแบบตะแกรงลม ในกรณีน้ีจาเป็นต้องให้เมล็ดพันธผ์ุ ่านไปในเคร่ืองคัดแยกอื่น ๆท่ีมีประสิทธิภาพในการคัดแยกเมล็ดและ สิ่งเจือปนอื่น ๆ เคร่ืองเหล่านี้ได้แก่ เคร่ืองคัดขนาดโดยอาศัยความถ่วงจาเพาะ หรือเครื่องแกรวิตี้ (Gravity Separator) เคร่ืองแยกเมล็ดพันธุ์โดยอาศัยความแตกต่างด้านความยาวของเมล็ด (Length separator) และเคร่ืองแยกเมล็ดแบบกรวย (Spiral Separator) เป็นต้น การใช้เครื่องคัดแยก เหลา่ นมี้ หี ลกั สาคัญในการพิจารณาเลือกใช้คือ เมล็ดพนั ธ์แุ ละสิ่งเจอื ปนหรือวัสดุทไ่ี มพ่ งึ ประสงค์จะต้องมี ความแตกตา่ งทางกายภาพในลกั ษณะใดลกั ษณะหนึง่ การคดั แยกจึงจะไดผ้ ล อนึ่ง ในระหว่างขั้นตอนต่าง ๆ ของการคัดทาความสะอาดเมล็ดพันธุ์ สิ่งที่สาคัญที่สุดที่ต้อง กระทาควบคู่กันไปคือ การตรวจและวิเคราะห์คุณภาพของเมล็ดพันธุ์ เพื่อให้ผู้ผลิตสามารถควบคุม คณุ ภาพของเมลด็ พันธุท์ กุ ขนั้ ตอนท่ีผลติ ใหม้ ีคณุ ภาพดี ได้มาตรฐานท่กี าหนดไว้ คณุ สมบัติทางกายภาพของเมลด็ พันธทุ์ ่ใี ช้ในการคัดทาความสะอาดเมลด็ พนั ธุ์ 1. ขนาดของเมล็ดพันธ์ุ (Seed Size) 2. รูปรา่ งของเมลด็ พนั ธุ์ (Seed Shape) 3. น้าหนักของเมล็ดพนั ธ์ุ (Seed Weight) 4. ความหยาบละเอยี ดของผิวนอกเมล็ดพนั ธ์ุ (Surface Texture) 5. สีของเมล็ดพันธุ์ (Seed Color) 6. การรับหรือถา่ ยประจไุ ฟฟ้า (Conductivity) การคลกุ สารเคมีและการบรรจเุ มลด็ พันธ์ุ หลังจากเมล็ดพันธ์ุผ่านการปรับปรุงสภาพโดยการอบลดความชื้น และคัดทาความสะอาด เมล็ดพนั ธแ์ุ ล้ว เมล็ดพันธจ์ุ ะถูกนาไปคลุกสารเคมเี พือ่ ปอ้ งกันความเสียหายจากศัตรูต่าง ๆ ในระหวา่ งการ เก็บรักษา เช่น แมลง ไร หนู และนก รวมทั้งป้องกันโรคที่อาจติดมากับเมล็ด เช่น โรคถอดฝักดาบ การ คลกุ สารเคมใี ห้กับเมล็ดมกั ใช้สารเคมี 2 ชนิด ไดแ้ ก่ สารเคมปี อ้ งกนั กาจัดเชื้อราและสารเคมปี อ้ งกันกาจัด แมลง วธิ คี ลกุ สารอาจใช้เคร่ืองจักรแบบตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ 1. เครอื่ งจักรแบบฉีดพน่ เป็นละออง เปน็ การฉีดสารเคมีที่เป็นของเหลวใหก้ ระจายไปเคลือบผิว เมลด็ เป็นวธิ ที ีส่ ิ้นเปลอื งสารเคมนี ้อย 2. เคร่ืองจักรแบบคลุกด้วยสารเคมีท่ีเป็นของเหลว เป็นการใช้น้ายาเคมีลงไปคลุกในถัง มีกระพ้อตวงน้ายาเทผสมกับเมล็ดในถังคลุก สามารถปรับสัดส่วนปริมาณสารเคมีกับน้าหนักเมล็ดได้ ตามอัตราท่ีต้องการ เครอ่ื งจักรแบบนีเ้ ปน็ ทนี่ ยิ มใชท้ ่วั ไป 3. เคร่อื งจักรแบบคลุกดว้ ยสารเคมีที่เป็นผง เปน็ การคลุกสารเคมีแบบแห้ง

20 ข้อปฏบิ ตั ใิ นการคลุกสารเคมกี อ่ นบรรจุเมล็ดพันธ์ุ - เลือกใช้สารเคมีและอัตราที่เหมาะสมเพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายต่อเมล็ดพันธุ์ โดยอ่านและ ปฏิบัตติ ามคาเตือนการใช้สารเคมที ่รี ะบไุ ว้ - คลุกสารเคมีในขณะที่เมล็ดมีความช้ืนตา่ เมอื่ คลกุ เมลด็ เสรจ็ แลว้ ความช้นื ตอ้ งไม่เกนิ 14% - ไม่คลุกเมล็ดที่แตกหักเสียหาย - ระวงั ไม่ให้สารเคมสี ัมผัสผิวหนงั หรือหายใจเอาฝุ่นละอองหรือไอระเหยของสารเคมีเข้าไป - อย่านาเมลด็ พันธุท์ ีค่ ลุกสารเคมแี ล้วไปขายเป็นอาหารสัตว์ หรือไปปนกับเมล็ดทไี่ มค่ ลุกสารเคมี เพือ่ ขายเป็นอาหารสตั วห์ รอื ผลติ ภณั ฑ์อน่ื - ต้องแสดงเคร่ืองหมายบ่งบอกให้ผู้ใช้ทราบให้ชัดเจน เช่น ระบุไว้ที่ถุงบรรจุเมล็ดพันธุ์ ว่า เมลด็ พันธ์ุนมี้ กี ารคลุกสารเคมี ระเบยี บกรมการขา้ ว วา่ ดว้ ยมาตรฐานคุณภาพเมลด็ พันธุข์ า้ ว พ.ศ.2552 กรมการข้าว ได้ประกาศใช้ระเบียบกรมการข้าว ว่าด้วยมาตรฐานคุณภาพเมล็ดพันธ์ุข้าว และ พืชไร่ พ.ศ.2552 ซงึ่ ได้ประกาศใช้ เมอื่ วันท่ี 7 มกราคม พ.ศ.2552 โดยการปรับปรงุ ระเบียบกรมการข้าว วา่ ดว้ ยมาตรฐานคุณภาพเมล็ดพันธ์ุข้าว พ.ศ.2552 เพอ่ื ควบคุมคุณภาพเมล็ดพนั ธุ์ขา้ ว ช้นั พันธ์ุขยายและ ชัน้ พันธุ์จาหน่าย ทีด่ าเนินการผลติ โดยสานักเมล็ดพนั ธ์ุข้าว ให้มีคณุ ภาพสูงข้นึ กว่าเดมิ ตามกระบวนการ ผลิตและจาหน่ายเมล็ดพันธ์ุท่ีมีการควบคุมคุณภาพอย่างเป็นระบบทุกข้ันตอน เริ่มจากจัดหาเมล็ดพันธ์ุ หลักมาให้เกษตรกรที่ได้รับการคัดเลือกเพ่ือนาไปจัดทาแปลงขยายพันธ์ุภายใต้การควบคุม กากับจาก เจา้ หน้าทแ่ี ละจัดซือ้ คืนเมลด็ พนั ธุ์ทีไ่ ด้รับการตรวจสอบคุณภาพและได้มาตรฐานเพื่อนามาปรับปรงุ สภาพ ด้วยการทาความสะอาดเบื้องต้น อบลดความชื้น ทาความสะอาดคัดแยกส่ิงเจือปนคลุกสารเคมีป้องกัน โรคแมลง และบรรจุภาชนะที่เหมาะสม ดังน้ัน เพื่อให้เกษตรกรได้ใช้เมล็ดพนั ธ์ุที่มีคุณภาพสูงที่ผลิตตาม ขั้นตอนดังกลา่ ว กรมการขา้ วจึงกาหนดระเบยี บ ไวด้ งั น้ี ข้อ 1 ระเบยี บ “ระเบียบกรมการข้าว ว่าดว้ ยมาตรฐานคุณภาพเมล็ดพนั ธ์ขุ า้ ว พ.ศ.2552” ขอ้ 2 ระเบยี บนใี้ หใ้ ชบ้ งั คับตง้ั แต่วันถดั จากวนั ประกาศใชเ้ ป็นต้นไป ขอ้ 3 ใหย้ กเลกิ ระเบียบกรมการขา้ ววา่ ด้วยมาตรฐานเมล็ดพันธข์ุ า้ ว พ.ศ.2549 ขอ้ 4 ระเบียบน้ใี ห้ใช้บังคบั แก่ สานักเมล็ดพันธขุ์ า้ วและศูนย์เมล็ดพนั ธ์ขุ า้ วในสังกัดกรมการข้าว ข้อ 5 ระเบียบใดขัดแย้งกบั ระเบียบน้ี ให้ใช้ระเบยี บนแี้ ทน ข้อ 6 ใหอ้ ธบิ ดีกรมการข้าว รกั ษาการตามระเบยี บน้ี ขอ้ 7 ข้อกาหนดมาตรฐานคุณภาพเมลด็ พันธุ์ จะตอ้ งไดม้ าตรฐานตามตารางต่อไปน้ี

21 ตารางที่ 4 ขอ้ กาหนดมาตรฐานคณุ ภาพเมลด็ พนั ธุ์ มาตรฐานคณุ ภาพเมลด็ พันธ์ุ ชนั้ พันธุ์ ขยาย หลกั จาหน่าย 98 98 1. เมลด็ พนั ธุส์ ุทธไิ มน่ อ้ ยกว่า (%) 98 2 2 15 เมล็ดต่อเมล็ด 20 เมลด็ ต่อ 2. ส่ิงเจอื ปนสงู สดุ ไม่เกิน 2 (%) 2 500 กรมั เมลด็ 500 กรมั 5 เมลด็ ต่อ 10 เมล็ดต่อ 3. เมล็ดพันธ์อุ ่ืน(พนั ธุ์ปน) สงู สุดไม่เกนิ 5 เมลด็ ต่อ เมลด็ 500 กรัม เมลด็ 500 80 80 เมล็ด 500 กรัม 14 14 4. ข้าวแดง 0 เมลด็ ต่อ เมล็ด 500 กรมั 5. ความงอกไม่น้อยกว่า (%) 80 6. ความช้ืนไมเ่ กิน (%) 14 ข้อ 8 มาตรฐานคุณภาพเมล็ดพันธุ์ ประกอบด้วยประเด็นต่าง ๆ ท่ีกรมการข้าว ได้ให้นิยาม มาตรฐานตา่ ง ๆ ดังน้ี 8.1 เมลด็ พนั ธส์ุ ทุ ธิ (% โดยนา้ หนัก) หมายถึง ปรมิ าณเมล็ดพันธุ์พืช ตามทีร่ ะบคุ ดิ เป็น เปอร์เซ็นต์ของน้าหนักท้ังหมด เช่น มีเมล็ดพันธุ์ข้าว กข 6 จานวน 24.50 กิโลกรัม ปนอยู่กับส่ิงเจือปน เช่น ดิน กรวด ทราย และเมล็ดพชื อนื่ ๆ 0.50 กิโลกรมั แสดงวา่ มีเมลด็ พนั ธุ์สทุ ธิ98 % โดยนา้ หนัก 8.2 เมล็ดอ่ืน ๆ (% โดยน้าหนัก) หมายถึง เมล็ดวัชพืช เมล็ดพืชชนิดอ่ืน ๆ และเมล็ด พืชพันธ์ุลอ่ืนอันมิใช่พืชพันธ์ุที่ระบุ เช่น เมล็ดหญ้า เมล็ดข้าวขาวดอกมะลิ 105 ซึ่งปะปนอยู่ในตัวอยา่ ง เมล็ดพนั ธ์ุขา้ ว กข 6 เปน็ ต้น 8.3 สิ่งเจือปน (% โดยน้าหนัก) หมายถึง หมายถึง ดิน หิน กรวด ทราย และสิ่งอื่น ๆ เช่น เศษใบ เศษกิ่งกา้ น รวมทั้งเมลด็ แตกหกั ซึง่ มีขนาดเลก็ กว่าครึ่งหนึ่งของเมล็ดเดมิ และเมล็ดพชื ตระกลู ถัว่ ซ่งึ เปลือกหมุ้ เมลด็ หลุดออกไปหมดใบเลย้ี งหายไป 8.4 ความชน้ื หมายถงึ ความชื้นซ่ึงอย่ใู นเมล็ดและคานวณ ได้ดงั นี้ % ความชืน้ = ((นา้ หนกั สด – น้าหนักแห้ง) X 100) / น้าหนักสด 8.5 ความงอก หมายถึง เปอร์เซ็นต์ของเมล็ดเมื่อเพาะแล้วงอกเป็นต้นอ่อนท่ีมี ส่วนประกอบต่าง ๆ ครบสมบูรณ์ อันบ่งบอกว่าต้นอ่อนดังกล่าวจะสามารถเจริญเติบโตเป็นต้นพืช ที่ปกตไิ ด้ ภายใต้สภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสม 8.6 จานวนเมล็ดข้าวแดง หมายถึง จานวนเมล็ดข้าวแดงท่ีตรวจพบในการทดสอบ หาข้าวแดงเป็นการเฉพาะ โดยกาหนดน้าหนักตัวอย่างปฏิบัติการทดสอบเมล็ดพันธุ์ข้าวท่ีนามาตรวจ ในชน้ั พันธ์หุ ลกั ช้ันพนั ธุ์ขยายและชน้ั พันธจ์ุ าหนา่ ย ต้องไมต่ า่ กวา่ 500 กรัมต่อตัวอย่าง

22 แหลง่ ผลิตเมลด็ พนั ธขุ์ า้ วคุณภาพดี จังหวัดนครราชสีมา ตารางที่ 5 แหลง่ ผลติ เมลด็ พนั ธุ์ขา้ วคุณภาพดี จงั หวดั นครราชสีมา สถานที่จาหนา่ ยเมลด็ พนั ธุ์ สถานทีต่ ิดต่อ พนั ธ์ขุ า้ วที่ผลติ ขาวดอกมะลิ 105 ศูนย์วิจัยข้าวนครราชสีมา อ.พมิ าย จ.นครราชสมี า 30110 ขาวดอกมะลิ 105 สหกรณ์การเกษตรพิมาย จก. โทรศัพท์ : 0 4447 1583 สหกรณ์การเกษตรบวั ใหญ่ จก. โทรสาร : 0 4447 1155 กข6 ขาวดอกมะลิ 105 ศูนย์วิจยั ข้าวนครราชสีมา 67 ม.6 ถ.พิมาย - ตลาดแค ต.ในเมือง อ.พมิ าย จ.นครราชสีมา 30110 ขาวดอกมะลิ 105 โทรศพั ท์ : 0 4447 1775 โทรสาร : 0 4448 1766 48 ม.5 ถ.นิเวศรัตรน์ ต.ด่านช้าง อ.บัวใหญ่ จ.นครราชสีมา 30120 โทรศพั ท์ : 0 4446 1520 โทรสาร : 0 4429 2466 อ.พมิ าย จ.นครราชสมี า 30110 โทรศัพท์ : 0 4447 1583 โทรสาร : 0 4447 1155 ทมี่ า : http://ricethailand.go.th/ (เข้าถึง ณ วนั ท่ี 22 พฤษภาคม 2564)

23 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

24 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook