Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบมาตรฐานความปลอดภัยฯ สำหรับสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก

ระบบมาตรฐานความปลอดภัยฯ สำหรับสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก

Published by e-Book สสปท., 2020-07-01 00:30:00

Description: เกี่ยวข้องกับด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อมในการทำงาน Occupational Safety Health

Keywords: ปลอดภัย,safety,Occupational,Health

Search

Read the Text Version

ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน สาหรับสถานประกอบกจิ การ ขนาดกลางและขนาดเล็ก จัดพิมพ์โดย สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็ ISBN : 978-616-555-105-2 จัดทาโดย สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน) ถนนบรมราชชนนี เขตตล่งิ ชัน กรงุ เทพฯ 10170 โทร. 02 448 9111 โทรสาร. 02 4489098 www.tiosh.or.th จดั พมิ พ์โดย สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน) พิมพ์ครง้ั ท่ี 1 เมษายน พ.ศ.2557 จานวน 500 เล่ม พมิ พท์ ี่ บรษิ ทั รอยลั เปเปอร์ จากัด 37-39 ซอยพระยามนธาตุ แยก 19 แขวงบางบอน เขตบางบอน กรงุ เทพฯ โทร. 02-4152196 โทรสาร . 02-4152196

ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก คำแถลงกำรณ์ จำกสถำบนั สง่ เสรมิ ควำมปลอดภยั อำชวี อนำมัย และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำน ด้วย พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2554 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันที่ 17 มกราคม พ.ศ.2554 และมีผลบังคับใช้ ต้ังแต่วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา กาหนดให้จัดต้ังสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน ภายในหนึ่งปี นับแต่วันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และให้อยู่ภายใต้การ กากับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ซ่ึงพระราชบัญญัติความปลอดภัยฯ ดังกล่าว กาหนดให้ สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน มีอานาจหน้าท่ีในการ ส่งเสริมและแกไ้ ขปัญหาเกยี่ วกบั ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน จากข้อมูลสานักงานประกันสังคม ณ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 ประเทศไทยมีจานวนสถาน ประกอบกิจการท้ังสิ้น 411,454 แห่ง โดยส่วนใหญ่เป็นสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก (Small and Medium Enterprises (SMEs)) ที่มีจานวนผู้ปฏิบัติงานน้อยกว่า 200 คน และจากสถิติพบว่า สถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก ยังเป็นกลุ่มท่ีมีการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการ ทางานมากกว่าสถานประกอบกิจการขนาดใหญ่ กล่าวคือใน พ.ศ. 2555 สถิติการประสบอันตรายหรือ เจบ็ ปว่ ยเน่ืองจากการทางาน (รวมทกุ กรณ)ี ของสถานประกอบกิจการที่มีจานวนผู้ปฏิบัติงานน้อยกว่า 200 คน มีจานวนผู้ปฏิบัติงานประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทางานทั้งส้ิน 72,749 คน หรือคิดเป็น ร้อยละ 56.0 ของจานวนผู้ปฏิบัติงานที่ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการทางานทั้งหมด ท้ังน้ี อาจเป็น เพราะสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็กมีข้อจากัดในการลงทุน และยังขาดรูปแบบในการ บริหารจดั การองคก์ รที่เป็นระบบ เพอ่ื ปอ้ งกนั การเกดิ อุบัติเหตุและโรคจากการทางานของสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาด เล็ก ทางสถาบันฯ จึงได้จัดทาระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทางาน สาหรับสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็กขึ้น โดยพิจารณาถึงศักยภาพในการจัดทา ระบบมาตรฐานของสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก ซึ่งหากมีการนาระบบมาตรฐานไป ประยุกต์ใช้ภายในสถานประกอบกิจการก็จะสามารถลดอุบัติการณ์และการเจ็บป่วยจากการทางาน และ เปน็ การยกระดับการบริหารจดั การดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางานของ สถานประกอบกิจการต่อไป โดย สถาบันสง่ เสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) -1-

ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็ คณะกรรมกำร โครงการพฒั นาระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน สาหรบั สถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเลก็ ได้แก่ ประธำนกรรมกำร นางสาวปรียานันท์ ลขิ ติ ศานต์ นักวิชาการแรงงานชานาญการพิเศษ สานักความปลอดภัยแรงงาน กรรมกำร นางวราภรณ์ ชาญธวชั ชัย นกั วิชาการแรงงานชานาญการ สานกั ความปลอดภัยแรงงาน นายกตกจิ หวานมณี นักวชิ าการแรงงานชานาญการ สานักความปลอดภยั แรงงาน นางสาวสนุ ยี ์ ตันตวิ ุฒพิ งศ์ นกั วิชาการแรงงานชานาญการ สานักความปลอดภัยแรงงาน นางสาวกรรณิกา แทน่ คา นักวชิ าการแรงงานชานาญการ สานกั ความปลอดภัยแรงงาน นายวิชาญ สมบตั ิภญิ โญ นกั วิชาการแรงงานชานาญการ สานักความปลอดภยั แรงงาน นางสาวชนมช์ นก ปิน่ แกว้ นักวชิ าการแรงงานชานาญการ สานักพัฒนามาตรฐานแรงงาน โดย สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน) -2-

ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก ขอบข่ำย ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน สาหรับสถาน ประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก ได้จัดทาข้ึนเพื่อให้มีความเหมาะสมกับองค์กรท่ีมีกิจการขนาด กลาง ซ่ึงมจี านวนพนักงานระหวา่ ง 50-199 คน และองค์กรท่มี กี ิจการขนาดเล็ก ซึ่งมีพนักงานระหว่าง 1-49 คน ซ่ึงจะช่วยในการควบคุมความเส่ียงต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน และช่วยปรับปรุงสมรรถนะด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอ้ มในการทางานขององคก์ รด้วย กรอบแนวคิด ภาพกรอบแนวคิด ของระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็ ดังนี้ โดย สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน) -3-

ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็ บทนยิ ำม ความหมายของคาท่ีใชใ้ นระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน สาหรับสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก มีดงั ต่อไปนี้ 1. ระบบมำตรฐำนควำมปลอดภยั อำชวี อนำมยั และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน สำหรับสถำน ประกอบกิจกำรขนำดกลำงและขนำดเล็ก หมายถึง ระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ขององค์กร เพ่ือใช้ในการกาหนดและนาไปปฏิบัติ ให้เกิด กระบวนการควบคุมอนั ตรายและการจัดการความเสีย่ งขององค์กร 2. สถำนประกอบกิจกำรขนำดกลำงและขนำดเล็ก หมายถงึ องคก์ รใดๆ ที่มีจานวนการจ้างงานตั้งแต่ 1-199 คน 3. องค์กร หมำยถึง หน่วยงานซ่ึงมีกิจการและการบริหารเป็นของตนเอง เช่น บริษัท ห้างหุ้นส่วน หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ สถาบัน สมาคม เป็นต้น สาหรับองค์กรที่มีหน่วยปฏิบัติงานอยู่มากกว่า หนง่ึ แห่ง อาจกาหนดให้หนว่ ยปฏิบตั งิ านยอ่ ยแห่งน้นั เป็นหน่ึงองค์กรได้ 4. ผู้ปฏิบัติงำน หมำยถึง ผู้ซ่ึงตกลงทางานให้กับองค์กรโดยรับค่าจ้าง ไม่ว่าจะเรียกชื่ออย่างไร และให้ หมายรวมถึงผู้ซ่ึงได้รับความยินยอมให้ทางานหรือทาผลประโยชน์ให้แก่องค์กร ไม่ว่าจะเรียกช่ือ อยา่ งไรก็ตาม 5. ผู้รับเหมำ หมำยถึง บุคคลหรือนิติบุคคลที่ให้บริการแก่องค์กร ณ สถานท่ีทางานขององค์กรตาม ข้อกาหนดและเงื่อนไขทีต่ กลงกันไวก้ ับองค์กร 6. ควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน หมายถึง การกระทาหรือสภาพ การทางาน ซึ่งปลอดจากเหตุอันจะทาให้เกิดการประสบอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจหรือสุขภาพ อนามยั อนั เนอ่ื งจากการทางานหรือเกี่ยวกับการทางาน 7. ควำมเจ็บป่วยจำกกำรทำงำน หมายถึง ความเจ็บป่วยหรือโรคที่เกี่ยวเน่ืองจากการทางาน ทั้งทาง รา่ งกายและจิตใจที่มีสาเหตุจากกิจกรรมการทางานหรือสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 8. อันตรำย หมายถึง การกระทาหรือสภาพการทางาน ท่ีอาจก่อให้เกิดการประสบอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจหรือสุขภาพอนามัย ความเสียหายต่อทรัพย์สิน ความเสียหายต่อสภาพแวดล้อมในการ ทางานหรือตอ่ สาธารณชนหรือส่ิงตา่ งๆ เหลา่ นี้รวมกนั 9. กำรชี้บง่ อันตรำย หมายถึง กระบวนการในการคน้ หาอนั ตรายท่ีมีอยู่และการระบลุ กั ษณะอันตราย 10. กำรประเมินควำมเสี่ยง หมายถึง กระบวนการในการประมาณระดับความเส่ียง และสามารถตัดสิน ได้วา่ ความเสย่ี งนั้นอยู่ในระดับใด 11. อุบัติกำรณ์ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกี่ยวเนื่องจากการทางาน ซ่ึงทาให้เกิดหรืออาจเกิด การบาดเจ็บ หรือความเจบ็ ปว่ ยจากการทางาน หรอื เสยี ชีวิต หรือความเสียหายต่อทรพั ย์สนิ โดย สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน) -4-

ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก หมำยเหตุ 1 อุบัติเหตุ หมายถึง อุบัติการณ์ ที่มีผลทาให้เกิดการบาดเจ็บ หรือความเจ็บป่วยจากการ ทางาน หรือเสยี ชีวติ หรือความเสียหายต่อทรพั ยส์ นิ หมำยเหตุ 2 เหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุ หมายถึง เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ แต่เมื่อเกิดขึ้นแล้วมี แนวโนม้ ทจี่ ะก่อใหเ้ กิดอุบตั ิเหตุ 12. ข้ันตอนกำรดำเนินงำน หมายถึง กระบวนการทางานท่ีแสดงถึงขั้นตอนการทางานท่ีเกี่ยวข้อง เช่ือมโยง สัมพนั ธก์ นั กับหนว่ ยงานอ่นื ๆ 13. วิธีกำรปฏิบัติงำน หมายถึง ข้ันตอน วิธีการทางานท่ีแสดงรายละเอียดในการทางานของข้ันตอนใด ข้นั ตอนหน่ึง ซง่ึ ดาเนินการจนแล้วเสรจ็ โดยบุคคลใดบุคคลหนง่ึ หรอื หลายคนทท่ี างานเช่นเดียวกัน 14. วัตถุประสงค์ด้ำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน หมายถึง จุดมุ่งหมายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานที่ต้องการบรรลุ ซ่ึง กาหนดข้ึนโดยองค์กรในเชิงของผลการดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน 15. กำรตรวจประเมินภำยใน หมายถึง กระบวนการท่ีเป็นระบบ เป็นอิสระ และกาหนดไว้เป็นลาย ลักษณ์อักษรเพื่อดาเนินการให้ได้มาตรฐานการประเมิน และประเมินผลจากหลักฐานการตรวจ ประเมนิ เพ่อื พจิ ารณาวา่ ตรงตามเกณฑ์การตรวจประเมิน (Audit Criteria) หรือไม่ 16. เอกสำร หมายถึง ข้อมลู และส่ือสนบั สนุน หมำยเหตุ ส่ือสนับสนุนดังกล่าวน้ัน อาจเป็นกระดาษ ภาพถ่าย ตัวอย่างต้นแบบ แผ่นเก็บข้อมูลจาก คอมพวิ เตอร์ ขอ้ มูลอิเลก็ ทรอนกิ ส์ หรือส่งิ ตา่ งๆ ท่สี ามารถนามาแสดงเป็นหลักฐานใหเ้ หน็ ไดเ้ ดน่ ชัด 17. บันทกึ หมายถงึ เอกสารซ่งึ แสดงผลหรือเปน็ หลักฐานการดาเนนิ การของกิจกรรม โดย สถาบันสง่ เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน) -5-

ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก ข้อกำหนด (Requirement) ของระบบมำตรฐำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน สำหรับสถำนประกอบกจิ กำรขนำดกลำงและขนำดเล็ก 1. นโยบำยควำมปลอดภยั อำชีวอนำมยั และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำน (Occupational Safety , Health and Environmental Policy) 1.1 ผู้บริหารสูงสุดขององค์กร ต้องกาหนดนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน โดยจดั ทาเปน็ เอกสารพร้อมทง้ั ลงนาม ซงึ่ นโยบายดงั กล่าวต้อง 1) เหมาะสมกับขนาด ลกั ษณะกจิ กรรม และระดบั ความเสี่ยงขององคก์ ร 2) เป็นกรอบในการกาหนดและทบทวนวัตถุประสงค์ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน 3) แสดงความมุ่งม่ันในการป้องกัน การบาดเจ็บ การเจ็บป่วย โรคและอุบัติการณ์ที่เกิดข้ึน จากการทางาน 4) แสดงความมุ่งม่ันในการปฏิบัติตามกฎหมายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน 5) สื่อสารให้ทกุ คนทราบอย่างทั่วถึง 1.2 มีการทบทวนนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ตามระยะเวลาทเี่ หมาะสม เพอื่ ให้ม่ันใจวา่ นโยบายท่ีกาหนดขึน้ มีความเหมาะสมกับองค์กร 2. บทบำทผนู้ ำองค์กร (Management Leadership) 2.1 ผ้บู รหิ ารสูงสดุ ต้องแสดงความมุ่งมั่น เพ่ือให้มั่นใจว่ามีทรัพยากรที่เพียงพอในการจัดทาระบบ มาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ทั้งในด้านบุคลากร เทคโนโลยี รวมถึงดา้ นการเงินดว้ ย 2.2 ผู้บริหารสูงสุดต้องกาหนดโครงสร้างการบริหาร บทบาท อานาจหน้าท่ีและความรับผิดชอบ ของผู้ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ภายใน องคก์ ร เปน็ เอกสารและสื่อสารใหท้ ราบอย่างท่ัวถงึ 2.3 ผู้บริหารสูงสุดต้องแต่งต้ังบุคคลระดับผู้บริหารขององค์กร เพ่ือเป็นผู้แทนฝ่ายบริหารด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน โดยมีอานาจ หน้าท่ี และ ความรบั ผดิ ชอบ ดงั น้ี  โดย สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) -6-

ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก 1) ดแู ลให้ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานที่ ได้จดั ทาขึน้ มีการนาไปปฏบิ ัติ และรักษาไว้ให้เป็นไปตามข้อกาหนดในมาตรฐานนี้อย่าง ตอ่ เนื่อง 2) รายงานผลการปฏิบัติงานของระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอ้ มในการทางานตอ่ ผบู้ รหิ ารระดบั สูง 3) ให้ข้อเสนอแนะเพือ่ การปรับปรุงอย่างตอ่ เนื่อง 4) ส่งเสรมิ การมสี ่วนร่วมของผปู้ ฏบิ ัติงานทกุ คนในองค์กร 3. กำรวำงแผนและกำรนำระบบไปปฏบิ ัติ (Planning and Implementation) 3.1 กำรช้ีบ่งอันตรำยและกำรประเมินควำมเสยี่ ง (Hazard Identification and Risk Assessment) 1) องคก์ รตอ้ งจดั ทาข้นั ตอนการดาเนินงานการชีบ้ ่งอันตรายและการประเมนิ ความเสี่ยง 2) องค์กรต้องช้ีบ่งอันตรายและประเมินความเส่ียงของกิจกรรม และสภาพแวดล้อมในการ ทางานของผู้ปฏิบัติงานภายในองค์กร ให้ครอบคลุมทั้งกิจกรรมที่ทาเป็นประจาและไม่ เปน็ ประจา 3) องค์กรมีการชี้บ่งอันตรายท่ีเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมท่ีไม่ปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน ขีดความสามารถของร่างกาย 4) องค์กรมกี ารชบ้ี ่งอนั ตรายทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการออกแบบพ้ืนท่ี สถานีงาน เครื่องจักรอุปกรณ์ ในการทางาน และทา่ ทางในการทางานท่ไี ม่เหมาะสม 5) องค์กรมีการจัดทาการชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยงของกิจกรรมและ สภาพแวดลอ้ มในการทางานของผู้รบั เหมา บคุ คลภายนอก และผู้เยี่ยมชม 6) กรณีท่มี กี ารเปล่ียนแปลง องค์กรจะต้องช้บี ง่ อนั ตรายและประเมินความเสี่ยงก่อนท่ีจะทา การเปลี่ยนแปลง 7) องค์กรต้องทบทวนการช้ีบ่งอันตรายและประเมินความเส่ยี งตามชว่ งเวลาทกี่ าหนด 8) องคก์ รตอ้ งสื่อสารความเสย่ี งไปยังผทู้ เ่ี กีย่ วข้อง 9) องค์กรตอ้ งจดั ทาและเก็บบันทึกการชบี้ ง่ อันตรายและการประเมินความเสี่ยง โดย สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน) -7-

ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก 3.2 กฎหมำยควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน (Occupational Safety , Health and Environment Legal) 1) องค์กรต้องจัดทาข้ันตอนการดาเนินงาน ในการชี้บ่งและติดตามกฎหมายความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ท่ีเกีย่ วขอ้ งกับองค์กรให้เปน็ ปัจจุบนั อยเู่ สมอ 2) องคก์ รต้องกาหนดผรู้ บั ผิดชอบในการนากฎหมายไปปฏิบัตแิ ละรักษาไว้ในองค์กร 3) องค์กรมีการประเมินความสอดคล้องในการปฏิบัติตามกฎหมายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน 4) องค์กรตอ้ งจัดทาและเก็บบันทึกท่เี ก่ยี วข้อง 3.3 วัตถุประสงคแ์ ละแผนงำน (Objectives and Programme(s)) 1) องค์กรต้องจัดทาวัตถุประสงค์ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การทางาน โดยจดั ทาเป็นเอกสาร วตั ถุประสงคน์ ีจ้ ะต้อง 1.1) วัดผลได้ 1.2) สอดคล้องกับนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทางาน 1.3) สอดคล้องกับกฎหมายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การทางาน 1.4) มุ่งม่ันในการป้องกันอันตราย และความเจ็บป่วยจากการทางานโดยมีการ ปรับปรงุ อย่างต่อเน่ือง 2) องค์กรต้องจัดทาแผนงานเป็นเอกสารเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร โดยแผนงาน อย่างน้อยตอ้ งรวมถงึ 2.1) การกาหนดความรับผิดชอบและอานาจหน้าที่ในระดับและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ภายในองค์กร 2.2) วิธีการในการกาหนดมาตรการควบคุมความเสี่ยง ควรจะกาหนดลาดับ ความสาคัญ ดังนี้ ก. การกาจัด  ข. การเปล่ยี นหรอื ทดแทน ค. การควบคมุ ทางด้านวศิ วกรรม ง. การควบคุมดา้ นการบริหารจัดการ จ. การเตือนอนั ตราย โดย สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) -8-

ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก ฉ. การใช้อปุ กรณค์ ้มุ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล 2.3) กรอบเวลาดาเนนิ การ 3) ดาเนินการตรวจติดตามและวัดผลการปฏิบัติงานอย่างสม่าเสมอเพ่ือให้บรรลุตาม วัตถุประสงค์และแผนงาน พร้อมทัง้ ปรับเปล่ียนตามความเหมาะสม 4) องคก์ รต้องจดั ทาและเก็บบันทกึ ท่ีเกย่ี วข้อง 3.4 ควำมสำมำรถและกำรฝกึ อบรม (Competence and Training) 1) องค์กรต้องกาหนดความสามารถของผู้ปฏิบัติงานซึ่งมีความเส่ียงท่ีจะเกิดอันตรายจาก การปฏิบัติงาน โดยพิจารณาจากการศึกษา การฝึกอบรม ทักษะ และประสบการณ์ที่ เหมาะสม  2) องค์กรต้องช้ีบ่งความจาเป็นในการฝึกอบรมท่ีเก่ียวข้องกับความเส่ียง และระบบ มาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน โดยจัดให้มี การฝึกอบรมให้สอดคล้องกับความจาเป็นในการฝึกอบรมที่กาหนดไว้ ประเมิน ประสทิ ธิผลของการฝกึ อบรม และทบทวนเป็นระยะ 3) องค์กรตอ้ งจัดทาและเก็บบันทึกทเ่ี กีย่ วข้อง 3.5 กำรสือ่ สำร (Communication) 1) องค์กรต้องจัดทาขั้นตอนการดาเนินงานในการส่ือสารท่ีเก่ียวข้องกับอันตราย และระบบ มาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน ภายในองค์กร และภายนอกองค์กรท่ีเก่ียวข้องกับผู้รับเหมา บุคคลภายนอกที่มาใช้บริการ และผู้เย่ียม ชมในสถานที่ทางาน 2) มีการนาความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ข้อร้องเรียน ของผู้ปฏิบัติงาน ที่เกี่ยวข้องกับความ ปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน มาพจิ ารณาและดาเนินการ 3) มีการดาเนินการกับข้อร้องเรียนทางด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน จากภายนอกองคก์ ร 4) องค์กรต้องจัดทาและเกบ็ บนั ทึกทีเ่ กย่ี วข้อง โดย สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) -9-

ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็ 3.6 กำรจดั ทำเอกสำร (Documentation) 1) องค์กรจะต้องจัดทาขั้นตอนการดาเนินงาน ในการควบคุมเอกสาร ในระบบมาตรฐาน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน เพ่ือให้เอกสารมีความ ทนั สมยั และสามารถใช้ตามวตั ถปุ ระสงคท์ ่ตี ้องการ โดยต้องควบคุมดังนี้ 1.1) มกี ารอนมุ ตั ิเอกสารก่อนนาไปใชง้ าน 1.2) มกี ารปรับปรุงเอกสารตามความจาเปน็  1.3) กรณีมีการแกไ้ ขเอกสารจะต้องมีการระบุสถานะของการแก้ไข 1.4) เอกสารจะต้องเขยี นไวอ้ ยา่ งชัดเจนและผู้ใช้เอกสารสามารถเข้าใจได้ 1.5) มีการป้องกนั การนาเอกสารทล่ี ้าสมัยแล้วไปใชง้ าน 1.6) มกี ารชบ้ี ง่ การควบคมุ เอกสารทม่ี าจากภายนอกองค์กร 1.7) มีการจัดเก็บบันทึกทางด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การทางาน ตามระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ 3.7 กำรควบคมุ กำรปฏบิ ัตงิ ำน (Operational Control) 1) องค์กรต้องกาหนดข้ันตอนเพื่อจัดการความเสี่ยงจากการปฏิบัติงาน และกิจกรรมต่างๆ ซ่ึงได้มีการกาหนดไว้ว่าจะต้องมีการดาเนินการ โดยขั้นตอนเพ่ือจัดการความเส่ียง ต้อง ประกอบดว้ ย 1.1) ขน้ั ตอนการดาเนินงาน วธิ กี ารปฏบิ ัตงิ าน สาหรับกิจกรรมที่มคี วามเสี่ยง 1.2) การปฏบิ ตั ติ ามเกณฑก์ ารควบคุมการปฏิบัตงิ านท่ีได้กาหนดไว้ 1.3) การควบคุมทีเ่ กย่ี วข้องกับการจัดซ้ือจัดจ้าง 1.4) การควบคมุ เก่ียวข้องกับผรู้ บั เหมาและผเู้ ย่ียมชมในสถานที่ทางาน 1.5) การเตือนอันตราย 1.6) การจัดการความเปล่ยี นแปลง 1.7) องค์กรต้องจัดทาและเกบ็ บันทึกท่เี ก่ียวข้อง โดย สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) -10-

ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็ 3.8 กำรเตรียมควำมพรอ้ มและกำรตอบโต้ภำวะฉกุ เฉิน (Emergency Preparedness and Response) 1) องค์กรต้องจัดทาขั้นตอนการดาเนินงาน สาหรับการเตรียมความพร้อมและการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉนิ กรณเี กดิ เพลงิ ไหม้ 2) องคก์ รมกี ารช้ีบง่ สถานการณฉ์ กุ เฉินอ่นื ๆ ท่อี าจจะเกิดขนึ้ ได้ และการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ของสถานการณ์ดังกลา่ ว 3) ในการวางแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน องค์กรต้องพิจารณาถึงการประสานงานกับ หนว่ ยงานท่เี กีย่ วขอ้ ง ทั้งในการขอความชว่ ยเหลือและการแจง้ เหตุ 4) ทาการฝึกอบรมให้กับผู้ปฏิบัติงานทุกคนในองค์กร รวมทั้งทาการฝึกซ้อมแผนตอบโต้ ภาวะฉุกเฉนิ ตามชว่ งเวลาทกี่ าหนดไว้ 5) องคก์ รต้องมกี ารตรวจสอบอุปกรณท์ ี่ใช้ในภาวะฉุกเฉนิ เปน็ ระยะ 6) องคก์ รตอ้ งจดั ทาและเกบ็ บนั ทกึ ทีเ่ ก่ยี วข้อง 4. กำรประเมนิ ผล (Evaluation) 4.1 กำรเฝ้ำระวังและกำรวดั ผลกำรปฏบิ ัตงิ ำน (Monitoring and Measurement) 1) องค์กรตอ้ งจัดทาข้ันตอนการดาเนินงานในการเฝ้าระวงั และวัดผลการปฏิบัตงิ านอย่าง สมา่ เสมอ โดยขน้ั ตอนการดาเนนิ งานจะต้องครอบคลุมถึง 1.1) การตรวจวัดสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 1.2) การตรวจสุขภาพของผปู้ ฏบิ ตั งิ านตามปจั จยั เสี่ยง 1.3) การตรวจสอบความปลอดภัยทั่วไป 1.4) การสงั เกตการทางาน 1.5) การตรวจสอบเคร่ืองจักรอปุ กรณ์ 1.6) การบารงุ รกั ษาอปุ กรณ์เชงิ ปอ้ งกนั  1.7) การตรวจสอบอปุ กรณ์คุม้ ครองความปลอดภยั ส่วนบุคคล 1.8) องค์กรตอ้ งจดั ทาและเก็บบันทึกทีเ่ ก่ียวข้อง โดย สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) -11-

ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก 4.2 กำรสอบสวนอุบัตกิ ำรณ์ (Incident Investigation) 1) องค์กรต้องจัดทาขั้นตอนการดาเนินงานสาหรับการสอบสวนและวิเคราะห์อุบัตกิ ารณ์ โดย 1.1) การสอบสวนดังกล่าวจะต้องดาเนินการโดยผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับอุบัติการณ์ท่ีเกิดข้ึน และ ต้องทาในเวลาทเ่ี หมาะสม 1.2) มีการนามาตรการปฏิบัติการแก้ไข ที่ได้จากการสอบสวนไปดาเนินการ เพ่ือกาจัด สาเหตไุ ม่ให้เกิดซ้า 1.3) ผลของการสอบสวนจะต้องมีการสื่อสารให้ผู้ปฏบิ ัติงานในองคก์ รทราบ 1.4) องค์กรต้องมีการจัดทาและเกบ็ บันทึกท่ีเกยี่ วข้อง 4.3 กำรแกไ้ ข กำรปฏบิ ัติกำรแก้ไขและกำรปฏบิ ัติกำรป้องกนั (Correction , Corrective Action and Preventive Action) 1) องค์กรต้องจัดทาข้ันตอนการดาเนินงานสาหรับการแก้ไข ปฏิบัติการแก้ไขความไม่ สอดคล้องท่เี กดิ ขึน้ และการปฏบิ ัตกิ ารป้องกันแนวโน้มความไม่สอดคล้องท่ีอาจจะเกิดขึ้น โดยครอบคลมุ ถงึ  1.1) การแกไ้ ขความไม่สอดคล้องทพี่ บ 1.2) การชบ้ี ง่ และวเิ คราะหส์ าเหตุของความไม่สอดคล้องกับข้อกาหนด และดาเนินการ ปฏิบัตกิ ารแกไ้ ข เพอื่ หลีกเลย่ี งการเกดิ ซา้  1.3) การช้ีบ่งและวิเคราะห์สาเหตุของแนวโน้มท่ีจะทาให้เกิดความไม่สอดคล้องตาม ข้อกาหนดและดาเนินการปฏิบัติการป้องกัน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความไม่ สอดคล้องข้ึน 1.4) ทบทวนประสิทธผิ ลในการปฏบิ ัติการแกไ้ ขและการปฏบิ ัตกิ ารป้องกนั  1.5) สอื่ สารผลการปฏิบัติการแกไ้ ขและการปฏบิ ัตกิ ารป้องกนั  1.6) องค์กรต้องมีการจัดทาและเก็บบนั ทึกทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 4.4 กำรตรวจประเมินภำยใน (Internal Audit) 1) องคก์ รตอ้ งมกี ารตรวจประเมินภายในระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอ้ มในการทางาน เพอื่  1.1) ตรวจสอบว่ามีระบบและองค์ประกอบของระบบฯ มีความเพียงพอ มีการนาไป ปฏิบตั อิ ยา่ งเหมาะสมและสามารถรกั ษาระบบไว้ได้ โดย สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) -12-

ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก 1.2) พิจารณาว่าระบบมาตรฐานฯ มีประสิทธิผลเป็นไปตามนโยบายและวัตถุประสงค์ ขององคก์ ร 2) องค์กรต้องจัดทาขั้นตอนการดาเนินงานในการตรวจประเมินภายใน เพื่อกาหนด ความสามารถของผ้ตู รวจประเมนิ ขอบเขต ความถี่ วิธีการ และการรายงานผลการตรวจ ประเมนิ ภายใน 3) ผู้ตรวจประเมินภายในจะต้องมีความเป็นกลาง โดยเป็นอิสระจากกิจกรรมที่ตรวจ ประเมิน 4) องคก์ รตอ้ งจัดทาและเก็บบันทกึ ทีเ่ กย่ี วข้อง 5. กำรทบทวนกำรจดั กำร (Management Review) 1) ผู้บริหารระดับสูงขององค์กรต้องทบทวนระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ตามช่วงเวลาท่ีกาหนดไว้ ข้อมูลสาหรับการทบทวน การจดั การตอ้ งรวมถึง 1.1) นโยบายความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน 1.2) การบรรลุวัตถุประสงค์ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การทางาน 1.3) ข้อเสนอแนะ ข้อร้องเรียน ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางาน 1.4) สถานะการสอบสวนอุบัติการณ์ ความไม่สอดคล้อง การปฏิบัติการแก้ไขและการ ปฏิบตั ิการป้องกนั  1.5) ผลการตรวจประเมนิ  1.6) ผลการปฏิบัติตามกฎหมาย 1.7) การติดตามผลการประชมุ ครั้งท่ผี า่ นมา 1.8) การเปล่ียนแปลงทงั้ ภายในและภายนอก ท่ีมผี ลกระทบต่อการจัดทาระบบ 1.9) ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การปรับปรุง 2) ผลที่ได้จากการทบทวนการจัดการ ต้องมีการตัดสินใจเพื่อดาเนินการปรับปรุงระบบ มาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 3) มีการนาผลการทบทวนการจัดการไปสื่อสารให้กบั ผู้ปฏิบตั ิงานที่เกี่ยวขอ้ ง 4) องค์กรตอ้ งจดั ทาและเก็บบันทึกท่ีเกย่ี วข้อง โดย สถาบันสง่ เสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) -13-