Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มาตรฐานการยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์ (Ergonomics Standard On Manual Materials Handling)

มาตรฐานการยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์ (Ergonomics Standard On Manual Materials Handling)

Published by e-Book สสปท., 2020-07-03 03:40:52

Description: เกี่ยวข้องกับด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อมในการทำงาน Occupational Safety Health

Keywords: ปลอดภัย,safety,Occupational,Health

Search

Read the Text Version

มาตรฐานการยกและเคลอื่ นยา้ ยวสั ดดุ ว้ ยแรงกายตามหลกั การยศาสตร์ (มปอ. 302 : 2561) ชือ่ หนงั สือ : มาตรฐานการยกและเคลือ่ นย้ายวัสดุด้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์ (มปอ. 302 : 2561) Ergonomics Standard on Manual Materials Handling (SHS 302 : 2018) ชื่อผแู้ ต่ง : 1. นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี 2. นางสาวสดุ ธิดา กรงุ ไกรวงศ์ 3. นายวเิ ลิศ เจติยานุวตั ร 4. นางลดั ดา ตง้ั จนิ ตนา 5. นายสบื ศักดิ์ นันทวานิช 6. นายประมขุ โอศริ ิ 7. นางสาวจุฑาสิริ โรหิตรตั นะ 8. นางสาวจฑุ ามาศ ทรัพยป์ ระดษิ ฐ์ 9. นางสาวขนิษฐา แสงภกั ดี 10. นางสาวจิรนันทน์ อนิ ทรม์ ณี จัดทำโดย : สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน) เลขที่ 18 ถนนบรมราชชนนี แขวงฉิมพลี เขตตลงิ่ ชัน กรงุ เทพฯ 10170 โทรศพั ท์ 0 2448 9111 ปีท่ีพมิ พ์ : ปี 2562 ครงั้ ทพ่ี ิมพ์ : จัดพมิ พค์ ร้งั ท่ี 1 โรงพมิ พ์ : สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) เลขท่ี 18 ถนนบรมราชชนนี แขวงฉิมพลี เขตตล่งิ ชนั กรุงเทพฯ 10170 โทรศพั ท์ 0 2448 9111 ISBN (E-book) : 978-616-8026-07-6 สถำบนั สง่ เสรมิ ควำมปลอดภยั อำชีวอนำมัย และสภำพแวดลอ้ มนกำรทำงำน (องคก์ ำรมหำชน) หนำ้ ก

มาตรฐานการยกและเคลอื่ นยา้ ยวสั ดดุ ว้ ยแรงกายตามหลกั การยศาสตร์ (มปอ. 302 : 2561) คณะอนกุ รรมกำรจดั ทำมำตรฐำน กำรยกและเคลอื่ นย้ำยวัสดดุ ว้ ยแรงกำยตำมหลกั กำรยศำสตร์ นายวฑิ ูรย์ สมิ ะโชคดี ประธานคณะอนุกรรมการ นางสาวสุดธิดา กรงุ ไกรวงศ์ อนกุ รรมการ นายวิเลิศ เจตยิ านวุ ตั ร อนกุ รรมการ นางลัดดา ต้ังจนิ ตนา อนุกรรมการ นายสบื ศกั ด์ิ นนั ทวานชิ อนุกรรมการ นายประมขุ โอศิริ อนุกรรมการ นางสาวจุฑาสริ ิ โรหติ รัตนะ อนุกรรมการและเลขานุการ สถำบันสง่ เสริมควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดลอ้ มนกำรทำงำน (องค์กำรมหำชน) หนำ้ ข

มาตรฐานการยกและเคลอื่ นยา้ ยวสั ดดุ ว้ ยแรงกายตามหลกั การยศาสตร์ (มปอ. 302 : 2561) ประกำศสถำบนั สง่ เสรมิ ควำมปลอดภัย อำชวี อนำมยั และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำน (องค์กำรมหำชน) เรอ่ื ง มำตรฐำนกำรยกและเคลอ่ื นยำ้ ยวัสดุด้วยแรงกำยตำมหลกั กำรยศำสตร์ (มปอ. 302 : 2561) การคุ้มครองผู้ใช้แรงงานให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความมั่นคง และมีความปลอดภัยในการทางาน ตามบทบาท หน้าท่ีของกระทรวงแรงงาน จาเป็นต้องดาเนินการทางด้านการควบคุมกากับดูแลให้สถานประกอบกิจการปฏิบัติตาม กฎหมายความปลอดภัยฯ อย่างเคร่งครัด ควบคู่ไปกับการส่งเสริมพัฒนาเพ่ือสร้างความตระหนักรู้และยกระดับคณุ ภาพ ชวี ิตของผู้ใชแ้ รงงาน ใหม้ ่ันใจได้ว่าผ้ใู ช้แรงงานจะได้ทางานในสภาพแวดล้อมการทางานท่ีเหมาะสม ปลอดจากอุบัติเหตุ และโรคจากการทางาน สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน) เปน็ หน่วยงาน ภายใต้การกากับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน โดยอานาจหน้าท่ีหน่ึงของสถาบันส่งเสริมความปลอดภัยฯ คอื การพฒั นาและสนับสนนุ การจดั ทามาตรฐานเพือ่ สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ได้จัดทามาตรฐานการยกและเคล่ือนย้ายวัสดุด้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์ (มปอ. 302 : 2561) ข้ึน โดยมี องคป์ ระกอบของมาตรฐาน ประกอบด้วย 1. ข้อกาหนดท่ัวไป 2. วธิ กี ารยกและเคลื่อนยา้ ยวัสดุตามหลกั การยศาสตร์ ทั้งน้ี เพือ่ ใหเ้ ปน็ มาตรฐานสาหรบั แนะนาดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน และ สง่ เสรมิ ใหผ้ ้ปู ฏบิ ตั งิ านสามารถทางานไดอ้ ย่างปลอดภยั จากอบุ ัตเิ หตุ การเจบ็ ปว่ ยและโรคจากการทางาน ประกาศ ณ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 พลเอก (อภชิ าติ แสงรงุ่ เรือง) ประธานคณะกรรมการสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน สถำบันสง่ เสริมควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดลอ้ มนกำรทำงำน (องคก์ ำรมหำชน) หนำ้ ค

มาตรฐานการยกและเคลอ่ื นยา้ ยวสั ดดุ ว้ ยแรงกายตามหลกั การยศาสตร์ (มปอ. 302 : 2561) คำนำ สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน) ภายใต้ การกากับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน มีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน โดยกาหนดอานาจหน้าท่ีหน่ึงของสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน) คือ การพัฒนาและสนับสนุนการจัดทามาตรฐานเพื่อส่งเสริม ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน มาตรฐานการยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์ (มปอ. 2302 : 2561) เป็นมาตรฐาน ท่ีสถาบันส่งเสริมความปลอดภัยฯ จัดทาข้ึนเพื่อส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการมีแนวทางในการดาเนินการเกี่ยวกับ วัสดุท่ีจะต้องยกและเคลื่อนย้ายด้วยแรงกาย การออกแบบปรับปรุงสถานีงาน สภาพแวดล้อมของบริเวณที่ปฏิบัติงาน และการบริหารจัดการ รวมถึงการดูแลพฤติกรรมของลูกจ้างผู้ปฏิบัติงานยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกายให้ถูกต้อง ตามหลักการยศาสตร์ เพ่ือป้องกันการบาดเจ็บท่ีระบบกล้ามเนื้อและกระดูก อันเป็นปัญหาที่ทวีความรุนแรงและมี จานวนมากขึน้ ในสถานการณป์ ัจจุบนั มาตรฐานฉบับน้ีได้ผ่านกระบวนการจัดทามาตรฐานของสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน) ดาเนินการร่างและกล่ันกรองโดยคณะอนุกรรมการวิชาการ ผ่านการระดมความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้เสีย ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารสถาบันส่งเสริม ความปลอดภยั ฯ ในการประชมุ คร้ังที่ 8/2561 เม่ือวันท่ี 29 สิงหาคม 2561 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถทางาน ได้อยา่ งปลอดภยั จากอุบัติเหตุ การเจ็บป่วยและโรคจากการทางาน สถำบนั สง่ เสริมควำมปลอดภยั อำชวี อนำมยั และสภำพแวดลอ้ มนกำรทำงำน (องค์กำรมหำชน) หน้ำ ง

มาตรฐานการยกและเคลอื่ นยา้ ยวสั ดดุ ว้ ยแรงกายตามหลกั การยศาสตร์ (มปอ. 302 : 2561) สำรบัญ หนำ้ ก เอกสารลขิ สิทธ์ิ ข คณะอนุกรรมการจัดทามาตรฐาน ค ประกาศสถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) ง คานา จ สารบัญ 1 1. บทนา 1 2. ขอบขา่ ย 1 3. คานิยาม 2 4. ขอ้ กาหนด 2 3 4.1 วัสดทุ ่ีจะยกและเคลอื่ นย้าย 3 4.2 สถานงี าน 3 4.3 สภาพแวดล้อมของบรเิ วณทีป่ ฏิบตั งิ าน 4 4.4 การบริหารจดั การ 5 4.5 พฤติกรรมของลกู จา้ ง 8 5. วธิ ีการยกและเคลื่อนย้ายวัสดุตามหลกั การยศาสตร์ 6. เอการอา้ งอิง สถำบนั สง่ เสรมิ ควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดลอ้ มนกำรทำงำน (องค์กำรมหำชน) หนำ้ จ

มาตรฐานการยกและเคลอ่ื นยา้ ยวสั ดดุ ว้ ยแรงกายตามหลกั การยศาสตร์ (มปอ. 302 : 2561) 1. บทนำ งานยกและเคล่ือนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย เป็นงานท่ีพบในสถานประกอบกิจการเกือบทุกแห่ง ไม่ว่าจะในโรงงาน อุตสาหกรรมขนาดเล็ก ขนาดกลาง หรือขนาดใหญ่ ในสานักงาน ในศูนย์กระจายสินค้า หรือในสถานท่ีให้บริการต่าง ๆ แก่ลูกค้า เป็นงานซึ่งปฏิบัติเป็นประจาในโกดังสินค้า ส่วนการผลิต และส่วนอื่น ๆ ของสถานประกอบกิจการ ในหลาย ๆ กรณี วัสดุท่ีต้องยกและเคล่ือนย้ายอาจมีน้าหนักมาก มีขนาดใหญ่ หรือมีรูปร่างที่ไม่เป็นมาตรฐาน ซึ่งลูกจ้างต้องยกและ เคลื่อนย้ายวัสดุเป็นประจา หรือหลายช่ัวโมง ตลอดกะทางาน ดังนั้น ลูกจ้างที่ต้องยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย จึงมีความเสี่ยงสูงท่ีจะเกิดการบาดเจ็บท่ีระบบกล้ามเน้ือและกระดูก เช่น อาการปวดเม่ือยหลังส่วนล่าง อาการปวดเม่ือย ไหล่และแขน อาการปวดเมื่อยขาและหัวเข่า เป็นต้น โดยเริ่มแรกลูกจ้างจะมีอาการปวดเมื่อยร่างกาย ซ่ึงอาการเหล่าน้ี อาจสะสมและเพิ่มระดับอาการมากข้ึน มีผลกระทบต่อสมรรถภาพในการทางานของลูกจ้าง และเกิดการบาดเจ็บท่ีระบบ กล้ามเน้ือและกระดูก อาการบาดเจ็บน้ีอาจจะกลายเป็นการบาดเจ็บถาวรและมีผลทาให้ลูกจ้างไม่สามารถยกและ เคล่ือนย้าย หรอื ปฏิบัตงิ านทใี่ ช้แรงกายอ่ืน ๆ ได้ และมผี ลกระทบต่อคุณภาพของชีวิตลูกจ้าง สาเหตุหลักของการบาดเจ็บ ของระบบกลา้ มเน้ือและกระดูกเน่อื งจากการยกและเคล่ือนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย เช่น 1) ออกแบบสถานงี านไม่เหมาะสมกับลูกจา้ งหรอื งานทป่ี ฏิบัติ หรือไม่ถูกต้องตามหลักการยศาสตร์ 2) จดั บริเวณงานไมเ่ หมาะสม ทาให้มีพืน้ ท่ปี ฏิบัติงานน้อย ต้องปฏิบตั ิงานโดยมสี ง่ิ กดี ขวาง 3) วสั ดทุ ตี่ ้องยกและเคลือ่ นย้าย มปี รมิ าณมากเกนิ ไป 4) ปฏิบัติงานด้วยวิธีที่ไม่เหมาะสม เช่น การยกและเคล่ือนย้ายวัสดุปริมาณมากเกินไปในแต่ละคร้ังเพ่ือลด จานวนครงั้ ของการยก การไมห่ ยุดพักเมอ่ื มีอาการเมื่อยล้า เปน็ ตน้ 5) ยกและเคลื่อนย้ายวัสดุดว้ ยอิริยาบถทา่ ทางทไ่ี ม่ถูกต้องตามหลกั การยศาสตร์ 2. ขอบข่ำย มาตรฐานการยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์ ได้จัดทาข้ึนเพ่ือให้สถานประกอบกิจการ ท่ีมีงานยกและเคล่อื นย้ายวสั ดุด้วยแรงกาย ได้มีแนวทางในการดาเนินการเกี่ยวกับการยกและเคล่ือนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย การออกแบบปรบั ปรงุ สถานงี าน สภาพแวดลอ้ มของบริเวณที่ปฏิบัติงาน และการบริหารจัดการ รวมถึงการดูแลพฤติกรรม ของลกู จา้ งผู้ปฏบิ ตั งิ านใหถ้ ูกต้องตามหลกั การยศาสตร์ สถำบันส่งเสรมิ ควำมปลอดภัย อำชวี อนำมัย และสภำพแวดล้อมนกำรทำงำน (องค์กำรมหำชน) หน้ำ 1

มาตรฐานการยกและเคลอ่ื นยา้ ยวสั ดดุ ว้ ยแรงกายตามหลกั การยศาสตร์ (มปอ. 302 : 2561) 3. คำนยิ ำม ความหมายของคาทใี่ ช้ในมาตรฐานตามหลักการยศาสตร์ในการยกและเคลือ่ นย้ายวัสดดุ ว้ ยแรงกาย มดี งั ตอ่ ไปน้ี 3.1 กำรยศำสตร์ หมายถึง สหวิทยาการที่เก่ียวข้องกับการศึกษาข้อมูลของมนุษย์ (เช่น เพศ สัดส่วน ร่างกายความสามารถ ขีดจากัดเชิงกายภาพและจิตภาพ ความคาดหวัง เป็นต้น) และความสัมพันธ์ ระหว่างมนุษย์และองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบงานท่ีมนุษย์มีส่วนร่วมด้วยในขณะนั้น โดยจะนามา ประยุกต์ใช้ในการออกแบบและสร้างระบบงานให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงานของมนุษย์ให้มากท่ีสุด เพ่ือช่วยเพ่ิมความปลอดภัย ลดปัญหาสุขภาพ ลดการบาดเจ็บ เพิ่มความพึงพอใจ และเพ่ิมประสิทธิภาพ ในการปฏบิ ตั งิ านของมนษุ ย์ 3.2 กำรบำดเจ็บท่ีระบบกล้ำมเนื้อและกระดูก หมายถึง อาการบาดเจ็บที่เกิดข้ึนที่ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก ของสว่ นร่างกาย เช่น คอ หลังสว่ นล่าง ไหลแ่ ละแขน ขาและหัวเข่า เป็นตน้ 3.3 นำยจำ้ ง หมายถงึ นายจ้างตามพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2554 3.4 ลูกจ้ำง หมายถึง ลูกจ้างตามพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2554 3.5 สถำนีงำน หมายถึง สถานทท่ี ี่ลกู จ้างใช้เวลาส่วนใหญอ่ ยู่ประจาเพ่ือปฏิบัตงิ าน 4. ข้อกำหนด 4.1 วสั ดทุ ีจ่ ะตอ้ งยกและเคลื่อนยำ้ ย ควรมีการพิจารณาวสั ดทุ ่จี ะยกและเคล่อื นยา้ ยว่าจะไม่เป็นสาเหตุก่อให้เกิดการประสบอันตรายเนื่องจากการทางาน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การบาดเจ็บทร่ี ะบบกล้ามเนื้อและกระดกู ดังน้ี 1) น้าหนักของวัสดุ ถ้าเป็นไปได้ ควรมีน้าหนักไม่เกิน 23 กิโลกรัม เพื่อลดความเส่ียงต่อการบาดเจ็บท่ีระบบ กลา้ มเนอื้ และกระดกู 2) รูปร่างและขนาดของวัสดุ ควรมีรูปร่างและขนาดมาตรฐาน เช่น เป็นกล่องส่ีเหลี่ยมซึ่งลูกจ้างสามารถน่ังย่อขา ใกลช้ ิดกล่องเม่อื จะยกขึ้นหรือวางลง มีความกวา้ งไมเ่ กินกวา่ ความกวา้ งของไหลข่ องลกู จ้าง เปน็ ต้น 3) ความยาก – ง่ายในการยกและเคล่ือนย้าย ควรพิจารณาในประเดน็ ต่อไปนี้ ก. จัดใหม้ ีช่องเจาะหรือที่จับเพือ่ สะดวกในการยกและเคลื่อนยา้ ย ข. วสั ดตุ อ้ งไมม่ กี ารยา้ ยจดุ ศนู ยถ์ ว่ งในระหวา่ งการยกและเคลอื่ นยา้ ย ในกรณที ตี่ อ้ งยกและเคลอ่ื นยา้ ยวสั ดุท่ีมีรูปร่าง กลมหรือของเหลวที่บรรจุไม่เต็มภาชนะ อาจทาให้มีการเคล่ือนที่หรือเคลื่อนไหลของวัสดุหรือของเหลว ภายในภาชนะน้ัน ทาให้จุดศูนย์ถ่วงเปล่ียนตาแหน่ง ดังนั้น หากจาเป็นต้องยกและเคล่ือนย้ายต้องทาด้วย ความระมัดระวัง สถำบนั ส่งเสริมควำมปลอดภยั อำชวี อนำมยั และสภำพแวดลอ้ มนกำรทำงำน (องค์กำรมหำชน) หน้ำ 2

มาตรฐานการยกและเคลอ่ื นยา้ ยวสั ดดุ ว้ ยแรงกายตามหลกั การยศาสตร์ (มปอ. 302 : 2561) ค. มีความเป็นสมมาตรทั้งรูปร่างและน้าหนัก หากทาได้ ควรให้วัสดุมีจุดศูนย์ถ่วงอยู่ท่ีจุดกลางของ วัสดุท่ีจะยกและเคลื่อนย้าย ในกรณีภาชนะท่ีปิดทึบทาให้คาดเดาตาแหน่งจุดศูนย์ถ่วงของวัสดุได้ ยากหากจุดศูนย์ถ่วงขณะยกอยู่ห่างจากร่างกายมากเกินไป อาจทาให้มีความเสี่ยงต่อการได้รับ บาดเจ็บเพ่มิ มากขนึ้ 4) ความปลอดภัยและสุขภาพอนามัย ควรมีคาเตือนระบุถึงอันตรายไว้บนวัสดุที่ยกและเคลื่อนย้าย เช่น เปน็ สารเคมีอนั ตราย มีอณุ หภมู ริ อ้ นหรือเย็นจัด มีขอบแหลมคม เปน็ ตน้ 4.2 สถำนงี ำน ควรออกแบบสถานีงาน เพ่ือลดท่าทางท่ีมีความเส่ียงต่อการบาดเจ็บท่ีระบบกล้ามเน้ือและกระดูกจากการยกและ เคล่อื นย้ายวัสดุ ดงั นี้ 1) ควรให้ลูกจา้ ง ก. ยนื ใกลว้ สั ดุ ทงั้ ทจี่ ุดเริ่มต้นของการยกและจุดปลายทางของการยก ข. หนั หน้าเข้าหาวสั ดุ ทัง้ ที่จุดเริม่ ตน้ ของการยกและจดุ ปลายทางของการยก ค. ยกดว้ ยท่าทางท่ีปลอดภัย เชน่ ไม่ก้มหลงั เอ้อื ม บิดหรอื เอีย้ วตัว เปน็ ต้น 2) ควรให้ระดบั ของวสั ดทุ ่ีจะยก อยู่ระหวา่ งระดับหวั เข่าและสะโพกของลกู จา้ ง 3) ควรให้พ้ืนที่ปฏบิ ตั ิงาน ก. มีพื้นท่ีว่างเพียงพอสาหรับการยืนปฏิบัติงานขณะยกวัสดุ เช่น มีพ้ืนที่เพียงพอสาหรับกรณีที่ต้องยก วสั ดขุ ึน้ โดยทศ่ี ีรษะไม่ได้รับอนั ตราย ข. ไม่มีสงิ่ กดี ขวางต่อการปฏบิ ตั ิงานขณะเคล่ือนย้ายวสั ดุ ค. ควรจัดให้มพี ื้นที่ที่เพยี งพอในกรณใี ช้อุปกรณช์ ว่ ยยกและเคล่ือนย้าย 4) ควรหลกี เลยี่ งการยกและเคลอื่ นย้ายวัสดุขึ้น – ลงบันได 5) ถ้าเป็นไปได้ ควรลดระยะทางในการยกและเคล่อื นย้าย 4.3 สภำพแวดล้อมของบริเวณทป่ี ฏบิ ัตงิ ำน ควรออกแบบสภาพแวดล้อมของบริเวณท่ีปฏิบัติงาน เช่น แสงสว่าง อุณหภูมิ พ้ืนและเส้นทางการเคล่ือนย้าย เป็นต้น ใหเ้ หมาะสมต่อการยกและเคล่อื นย้ายวสั ดุดว้ ยแรงกาย ดังนี้ 1) ควรใหบ้ ริเวณที่ปฏิบัติงานมีแสงสว่างเพียงพอ เพื่อให้สามารถยกและเคลื่อนยา้ ยได้อยา่ งปลอดภัย 2) ควรใหบ้ ริเวณที่ปฏบิ ตั ิงาน มีอุณหภมู ิไมร่ ้อนหรือเย็นเกินไป 3) ควรให้พน้ื ไม่ล่ืนหรือเปียก เพื่อให้สามารถยืนและเดินได้อย่างมั่นคง 4) ควรใหพ้ น้ื เป็นทางเรยี บ ไม่ขรุขระ และเป็นระดบั เดียว ไม่ลาดเอยี งข้นึ / ลง ไม่เปน็ พื้นต่างระดบั 5) ควรให้เส้นทางท่ตี อ้ งเคลอ่ื นยา้ ยวัสดุ ไมม่ สี งิ่ ของวางเกะกะกีดขวางเสน้ ทางการเคลอ่ื นย้าย 4.4 กำรบรหิ ำรจดั กำร นายจ้างควรออกแบบและปรับปรงุ แก้ไขการปฏบิ ัติงานยกและเคล่ือนย้ายวัสดุในเชิงบริหารจัดการ ดังน้ี 1) ถ้าเป็นไปได้ ควรปรับปรุงงานยกและเคล่ือนย้ายวัสดุให้เป็นไปตามหลักการยศาสตร์ โดยเน้นการ ออกแบบทางวศิ วกรรมเป็นอนั ดับแรก 2) ควรใหล้ ูกจา้ งยกและเคลอื่ นย้ายวัสดุท่ีมีน้าหนักมากสลับกบั วัสดทุ มี่ ีน้าหนักนอ้ ย 3) ควรจัดตารางการทางาน ความถใี่ นการยก และวิธีปฏบิ ัติงานใหเ้ หมาะสม 4) ควรจัดให้ลกู จ้างมีเวลาหยดุ พกั ทเี่ พยี งพอ สถำบันส่งเสริมควำมปลอดภยั อำชีวอนำมัย และสภำพแวดล้อมนกำรทำงำน (องค์กำรมหำชน) หน้ำ 3

มาตรฐานการยกและเคลอ่ื นยา้ ยวสั ดดุ ว้ ยแรงกายตามหลกั การยศาสตร์ (มปอ. 302 : 2561) 5) ควรจัดใหล้ กู จา้ งสามารถยกวัสดุในระยะทีเ่ หมาะสม เช่น เหนอื หวั เขา่ ใตห้ ัวไหล่ และใกล้ลาตัว 6) ควรให้ลูกจ้างสับเปลี่ยนหมุนเวียนไปปฏิบัติงานประเภทที่ใช้กล้ามเน้ืออ่ืน ใน 1 วัน นอกเหนือจากการยกหรือ เคล่อื นยา้ ยวสั ดุ เพอ่ื ใหม้ คี วามหลากหลายและสลับกนั ไป 7) กรณตี ้องยกและเคลื่อนย้ายวัสดทุ ี่มนี ้าหนักมาก ควรจัดใหม้ ีและให้ลกู จ้างใช้เครื่องทุ่นแรงท่ีเหมาะสมและไม่เป็น อันตรายต่อสุขภาพและมคี วามปลอดภยั ตอ่ ลูกจ้าง 8) ถ้ามีการยกและเคล่ือนย้ายวัตถุอันตราย ควรวางแผนการยกและเคลื่อนย้ายเป็นพิเศษ พร้อมทั้งจัดเตรียม แผนฉกุ เฉินรองรับ 9) กรณีจาเป็น ต้องจัดให้มีการใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลตามปัจจัยเส่ียงของอันตราย ที่อาจเกิดข้ึนจากการยกและเคลื่อนย้าย เช่น รองเท้านิรภัย ถุงมือนิรภัย เป็นต้น และไม่เพ่ิมความเสี่ยง ตอ่ การบาดเจ็บในขณะยกและเคลอ่ื นย้าย 10) ควรจัดให้มีการฝึกอบรมให้แก่ลูกจ้างที่ปฏิบัติงานยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย เพื่อให้ทราบถึงการยก และเคลือ่ นย้ายได้อยา่ งปลอดภัย 11) ควรให้ลกู จ้างท่ีปฏิบัตงิ านยกและเคล่ือนยา้ ยวสั ดุดว้ ยแรงกาย มกี ารบรหิ ารร่างกายในช่วงหยดุ พัก 4.5 พฤติกรรมของลูกจ้ำง ลกู จา้ งผปู้ ฏิบตั หิ น้าที่ยกและเคล่อื นยา้ ย ควรปฏิบัติงานอย่างถกู วิธี ดงั นี้ 1) ควรยนื หันหน้าเข้าหาวสั ดทุ ่ีจดุ เร่มิ ต้นและจดุ ปลายทางของงานยก 2) ไมค่ วรยกวัสดขุ นึ้ อยา่ งรวดเรว็ หรอื ด้วยอาการกระชาก 3) ไม่ควรเหว่ยี งหรอื โยนวสั ดุ 4) ขณะยกวสั ดุขึน้ หรอื วางลง ควรงอเขา่ หลงั ตรงหรอื ก้มเล็กน้อย 5) ขณะยกวัสดุขึน้ หรือวางลง ควรใหว้ สั ดวุ างอยตู่ รงด้านหนา้ และใกลช้ ิดตวั มากท่สี ุด 6) ถ้าวสั ดมุ ีขนาดใหญ่ อาจยกในท่าท่ีนั่งคกุ เข่าขา้ งเดยี ว 7) ถ้าไม่สามารถยกและเคลื่อนย้ายวัสดุเพียงคนเดียวได้ ควรเรียกเพ่ือนมาช่วยยกและเคลื่อนย้าย หรือใช้อุปกรณ์ ช่วยยกและเคลื่อนยา้ ยวสั ดุ 8) กรณที จี่ าเปน็ ตอ้ งใช้อุปกรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั ส่วนบคุ คล จะตอ้ งใช้อปุ กรณ์ทน่ี ายจา้ งจัดหาให้ 9) ควรบริหารร่างกายในช่วงหยุดพัก เพื่อลดความเส่ียงของการบาดเจ็บท่ีระบบกล้ามเน้ือและกระดูกเนื่องจาก การยกและเคล่อื นยา้ ยวสั ดดุ ว้ ยแรงกาย สถำบนั สง่ เสรมิ ควำมปลอดภัย อำชวี อนำมัย และสภำพแวดล้อมนกำรทำงำน (องคก์ ำรมหำชน) หน้ำ 4

มาตรฐานการยกและเคลอื่ นยา้ ยวสั ดดุ ว้ ยแรงกายตามหลกั การยศาสตร์ (มปอ. 302 : 2561) 5. วิธีกำรยกและเคลอ่ื นย้ำยวสั ดดุ ้วยแรงกำยตำมหลักกำรยศำสตร์ 5.1 วำงแผนเตรยี มกำรก่อนกำรยกและเคล่อื นย้ำยวัสดดุ ้วยแรงกำย 1) ควรประเมินน้าหนักของวัสดุวา่ สามารถยกและเคล่ือนย้ายตามลาพงั เพียงคนเดียวได้หรือไม่ ถ้าไมส่ ามารถทาได้ ตอ้ งหาคนชว่ ย ไมค่ วรพยายามยกและเคลื่อนย้ายวัสดทุ ่หี นกั มากโดยลาพัง 2) ควรตรวจสภาพแวดล้อมของบริเวณท่ีปฏิบัติงาน เช่น มีเนื้อที่ว่างมากพอในการยกและเคลื่อนย้ายต้องไม่มี สงิ่ กดี ขวางทาง พืน้ จะต้องไมล่ ่ืน และมแี สงสวา่ งเพยี งพอ เปน็ ตน้ 3) ถา้ เป็นไปได้ ควรใชอ้ ุปกรณ์ชว่ ยยกและเคลอื่ นย้าย เพือ่ ลดการใช้แรงงานคน 4) ควรจัดวางวัสดุที่จะยกอยู่ระหว่างระดับหัวเข่าและสะโพกของลูกจ้าง และสิ่งท่ีสาคัญของการยกหรือวางวัสดุ จะตอ้ งอยใู่ นระดบั ไม่สงู เกินกวา่ หัวไหล่ 5) ถ้าเป็นไปได้ ควรให้มีการยกและเคล่ือนย้ายวัสดุท่ีหนักสลับกับวัสดุท่ีมีน้าหนักเบา เพ่ือพักและลดความตึงตัว ของระบบกล้ามเน้อื และกระดูก 6) ในบางกรณี อาจจาเป็นต้องจัดให้มีการใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลตามปัจจัยเส่ียง ของอันตรายท่ีอาจเกิดข้ึนจากการยกและเคลื่อนย้าย เช่น สวมใส่รองเท้าหัวโลหะเพ่ือป้องกันการบาดเจ็บ จากสิ่งของหรือวัสดุที่หนักหล่นทับหรือกระแทก ใส่ถุงมือเพ่ือป้องกันการถลอก ขูดขีด และการถูกบาดจาก ของมคี ม เปน็ ตน้ 5.2 กำรยกและเคลอ่ื นยำ้ ยวัสดุโดยลกู จำ้ ง 1 คน 1) ยืนชิดวัสดุที่จะยก วางเท้าให้ถูกต้อง และมีความม่ันคง ดังแสดงในภาพที่ 1 เพื่อป้องกันการเสียสมดุลของ ร่างกาย การวางเทา้ ให้ถกู ตาแหนง่ โดยเฉพาะเมอ่ื ยกและเคลื่อนย้ายวัสดุที่มีขนาดใหญ่ ให้วางเท้าข้างหนึ่งขนาน กับวสั ดุทจ่ี ะยก ส่วนอีกข้างให้อยดู่ า้ นหลงั อย่างมนั่ คงเพ่ือป้องกันการเสียสมดุลของร่างกาย พยายามเหยียดหลัง ให้ตั้งตรง ดังแสดงในภาพที่ 2 เพ่ือรักษาส่วนโค้งของกระดูกสันหลังให้เป็นไปตามธรรมชาติซ่ึงจะทาให้แรงกด บนหมอนรองกระดกู สันหลังมกี ารกระจายตัวเทา่ ๆ กนั ภาพท่ี 1 การวางเท้าในการยก ภาพที่ 2 เหยยี ดหลังตรงขณะยก สถำบันส่งเสริมควำมปลอดภยั อำชีวอนำมัย และสภำพแวดล้อมนกำรทำงำน (องค์กำรมหำชน) หนำ้ 5

มาตรฐานการยกและเคลอ่ื นยา้ ยวสั ดดุ ว้ ยแรงกายตามหลกั การยศาสตร์ (มปอ. 302 : 2561) 2) เม่ือตาแหน่งมือจับของวัสดุอยู่ต่ากว่าระยะกาปั้น (ขณะยืน) ให้ย่อเข่าโดยให้หลังอยู่ในแนวเส้นตรง เพื่อรักษาส่วนโค้งของกระดูกสันหลังให้เป็นไปตามธรรมชาติ จะทาให้แรงกดบนหมอนรองกระดูกสันหลัง มกี ารกระจายตวั เทา่ ๆ กนั ในขณะยกวสั ดุ 3) จับวัสดุให้มั่นคงโดยใช้อุ้งมือประคองจับเพ่ือป้องกันการลื่นหลุดจากมือ และหากเป็นไปได้ควรมีที่จับ เพอ่ื ให้จบั ได้ถนัดและงา่ ย 4) ควรให้แขนชิดลาตัว ไม่ควรกางแขนออก และให้วัสดุที่จะยกอยู่ชิดลาตัวให้มากท่ีสุด เพื่อให้มวลของ วสั ดผุ า่ นลงทต่ี ้นขาท้งั สองข้าง 5) ค่อย ๆ ยืดเข่า ยกตัวยืนขึ้นโดยใช้กาลังจากกล้ามเน้ือขา และขณะที่ยืนขึ้น หลังจะอยู่ในแนวตรง หรือ เป็นไปตามธรรมชาติ ดงั แสดงในภาพที่ 3 ภาพที่ 3 การยืนขึน้ โดยใช้กาลงั ระบบกล้ามเน้ือขา หลังยงั คงเหยยี ดตรง 6) ควรให้ตาแหน่งของศรี ษะอยใู่ นแนวตรงกบั กระดูกสนั หลัง ไม่ก้ม ดังแสดงในภาพที่ 4 โดยท่ใี นขณะยกวสั ดขุ ึน้ และเดนิ จะตอ้ งมองเห็นทางเดินไดอ้ ย่างชัดเจน ภาพที่ 4 การรักษาตาแหนง่ ของศรี ษะใหส้ มั พันธก์ บั ส่วนของแนวสนั หลงั ไม่ก้มศีรษะและยกไหล่ สถำบันส่งเสรมิ ควำมปลอดภัย อำชีวอนำมยั และสภำพแวดลอ้ มนกำรทำงำน (องค์กำรมหำชน) หน้ำ 6

มาตรฐานการยกและเคลอื่ นยา้ ยวสั ดดุ ว้ ยแรงกายตามหลกั การยศาสตร์ (มปอ. 302 : 2561) 5.3 กำรยกและเคลอ่ื นย้ำยวัสดโุ ดยลกู จำ้ ง 2 คน การยกและเคลือ่ นย้ายวสั ดุดว้ ยแรงกายโดยลกู จา้ ง 2 คน เป็นลักษณะที่ลูกจ้าง 2 คนช่วยกันยกวัสดุ 1 ชิ้น โดยยกท่ี ด้านหวั และด้านทา้ ยของวัสดุ ด้วยอิริยาบถท่าทางการยกรูปแบบเดียวกับการยกคนเดียว ในการยกและเคลื่อนย้าย ควรยกขนึ้ พร้อมกนั อาจใช้วธิ ีนบั หนง่ึ สอง สาม แล้วยก และควรใชค้ วามเร็วในการยกเท่ากันในกรณีที่วัสดุที่ยกด้าน หวั และด้านท้ายหนักไม่เท่ากนั และตอ้ งยกหลายคร้ัง ควรใหล้ กู จา้ งสลบั ดา้ นกันยก โดยมขี น้ั ตอนดงั นี้ 1) ยืนชดิ วัสดุ วางเท้าให้ถูกต้องและมคี วามมั่นคงเพ่ือปอ้ งกนั การเสียสมดุลของร่างกาย 2) ย่อเข่าให้หลงั อยู่ในแนวตรงเพอ่ื รักษาสว่ นโค้งของกระดูกสันหลังให้เป็นไปตามธรรมชาติ เพอ่ื ใหแ้ รงกดบนหมอน รองกระดูกสันหลงั มีการกระจายตัวเทา่ ๆ กนั 3) จบั วสั ดใุ หม้ นั่ คงโดยใชอ้ งุ้ มอื ประคองจบั เพอื่ ปอ้ งกนั การลนื่ หลดุ จากมอื และหากเปน็ ไปไดค้ วรมที จี่ บั เพอื่ ใหจ้ บั ไดถ้ นดั และงา่ ย - ควรให้แขนชิดลาตัว ไม่ควรกางแขนออก และให้วัสดุที่จะยกอยู่ชิดลาตัวให้มากท่ีสุด เพ่ือให้มวลของวัสดุ ผ่านลงทตี่ ้นขาท้งั สองขา้ ง - ค่อย ๆ ยืดเขา่ ยกตัวยืนขึ้นโดยใช้กาลังจากกล้ามเนื้อขา และขณะท่ียืนขึ้น หลังจะอยู่ในแนวตรง หรือเป็นไป ตามธรรมชาติ - ควรให้ตาแหน่งของศีรษะอยู่ในแนวตรงกับกระดูกสันหลัง ไม่ก้ม โดยที่ในขณะยกวัสดุขึ้นและเดิน จะตอ้ งมองเห็นทางเดินได้อย่างชดั เจน สถำบนั สง่ เสริมควำมปลอดภยั อำชวี อนำมยั และสภำพแวดลอ้ มนกำรทำงำน (องค์กำรมหำชน) หนำ้ 7

มาตรฐานการยกและเคลอ่ื นยา้ ยวสั ดดุ ว้ ยแรงกายตามหลกั การยศาสตร์ (มปอ. 302 : 2561) 6. เอกสำรอ้ำงอิง สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน). คู่มือกำรฝึกอบรม “กำรยกและเคล่อื นยำ้ ยวัสดุด้วยแรงกำยตำมหลักกำรยศำสตร์”,2558 สมาคมการยศาสตร์ไทย “ร่ำงมำตรฐำนกำรยศำสตร์ ข้อแนะนำในกำรเคลื่อนย้ำยวัสดุด้วยแรงกำย เล่มท่ี 1 กำรยกและกำรขนยำ้ ย” สถำบนั ส่งเสรมิ ควำมปลอดภัย อำชวี อนำมยั และสภำพแวดล้อมนกำรทำงำน (องค์กำรมหำชน) หน้ำ 14