Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการปรับปรุงการปฏิบัติงานยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์ (Ergonomics Manual For Lifting And Handling Operations Improvement)

คู่มือการปรับปรุงการปฏิบัติงานยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์ (Ergonomics Manual For Lifting And Handling Operations Improvement)

Published by e-Book สสปท., 2020-07-09 05:45:46

Description: เกี่ยวข้องกับด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อมในการทำงาน Occupational Safety Health

Keywords: ปลอดภัย,safety,Occupational,Health

Search

Read the Text Version

สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

ช่ือหนงั สือ : คู่มือการปรบั ปรุงการปฏิบตั งิ านยกและเคล่ือนยา้ ยวัสดุดว้ ยแรงกายตามหลักการยศาสตร์ Ergonomics Manual for Lifting and Handling Operations Improvement ชื่อผแู้ ตง่ : คณะทางานการจัดทาคมู่ ือการปรบั ปรงุ การปฏิบัตงิ านยกและเคลื่อนยา้ ยวสั ดุด้วยแรงกาย ตามหลักการยศาสตร์ ปีทพ่ี ิมพ์ : พ.ศ. 2562 ครงั้ ทพ่ี มิ พ์ : จัดพมิ พ์ครั้งที่ 1 โรงพิมพ์ : บรษิ ัท ชยากร พรนิ้ ตง้ิ จากัด 27 ถนนเพชรเกษม 81 แขวงหนองแขม เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร 10160 โทรศัพท์ 02-8120770 ISBN : 978-616-8026-14-4 สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หนา้ ก คณะอนุกรรมการวชิ าการ นางสาวสดุ ธิดา กรงุ ไกรวงศ์ ประธานคณะอนุกรรมการ นายวเิ ลศิ เจตยิ านุวัตร อนุกรรมการ นายเกยี รตศิ ักด์ิ บุญสนอง อนุกรรมการ นางลดั ดา ต้ังจินตนา อนุกรรมการ นายสบื ศกั ด์ิ นันทวานชิ อนกุ รรมการ นายประมุข โอศิริ อนุกรรมการ ผู้อานวยการสานักวจิ ยั และพัฒนา อนุกรรมการ ผอู้ านวยการสานักบริการวิชาการ อนุกรรมการ นายธนกฤต ธนวงศ์โภคิน อนกุ รรมการและเลขานกุ าร สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ ข คณะทางาน การจัดทาค่มู อื การปรบั ปรงุ การปฏิบัตงิ านยกและเคลอ่ื นย้ายวัสดดุ ้วยแรงกาย ตามหลกั การยศาสตร์ 1. นายสบื ศักดิ์ นันทวานิช ประธานคณะทางาน 2. นางสาวสุดธดิ า กรงุ ไกรวงศ์ คณะทางาน 3. นายพฤทธิพงศ์ สามสงั ข์ คณะทางาน สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)

หนา้ ค คำนำ สถาบันสง่ เสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน) ภายใต้ การกากับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน โดยกาหนดอานาจหน้าท่ีหนึ่งของสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย ฯ คือ การพัฒนาและสนับสนุนการจัดทามาตรฐานและคู่มือการปฏิบัติงาน เพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานในสถานประกอบกจิ การ สถาบนั ฯ ไดจ้ ัดทาและประกาศใช้มาตรฐานการปฏิบตั งิ านยกและเคล่ือนยา้ ยวัสดดุ ว้ ยแรงกายตามหลักการยศาสตร์ (มปอ.302 : 2561) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานและสถานประกอบกิจการดาเนินการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการ ทางานท่ีเก่ียวข้องกับการยกและเคล่ือนย้ายวัสดุด้วยแรงกายในสถานประกอบกิจการ เพื่อให้เกิดความเหมาะสมแก่ ลูกจา้ งตามหลกั การยศาสตร์ และเพ่อื ให้สถานประกอบกิจการมแี นวทางในการดาเนินการท่ีชัดเจน นาไปสู่การปฏิบัติท่ี มีประสิทธภิ าพ สอดคล้องกับมาตรฐานฯ และเพื่อส่งเสริมให้ผปู้ ฏิบัติงานสามารถทางานได้อยา่ งปลอดภยั จากอุบัตเิ หตุ การเจ็บป่วยและโรคจากการทางานบนที่สูงได้อย่างเป็นรูปธรรม สถาบันฯ จึงได้จัดทาคู่มือการปรับปรุงการปฏิบัติงาน ยกและเคลื่อนยา้ ยวัสดดุ ว้ ยแรงกายตามหลักการยศาสตรข์ ึ้น คู่มือการปรับปรุงการปฏิบัติงานยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์ฉบับนี้ ได้ผ่าน กระบวนการดาเนินงานร่างมาตรฐานและคู่มือของสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย ฯ คือ ผ่านการร่างและ กล่ันกรองโดยคณะอนุกรรมการวิชาการ ผ่านการระดมความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้เสียและผเู้ ชีย่ วชาญ และผ่าน ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย ฯ ในการประชุมคร้ังท่ี 10/2562 วันที่ 10 ตุลาคม 2562 เพื่อสามารถส่งเสริมให้ลกู จ้างของสถานประกอบกิจการ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภยั จากอบุ ัตเิ หตุ การเจบ็ ปว่ ย และโรคจากการทางาน สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

สำรบญั เร่ือง หน้า คณะอนุกรรมการวิชาการ ก คณะทางานคู่มือการปรับปรุงการปฏิบัติงานยกและเคล่ือนย้ายวัสดุด้วยแรงกายตามหลักการย ข ศาสตร์ คานา ค บทท่ี 1 บทนา 1 บทท่ี 2 การยศาสตร์ 2 2 2.1 การยศาสตรจ์ ลุ ภาค 3 2.2 การยศาสตรม์ หภาค 3 2.3 การประยกุ ต์ใช้การยศาสตร์ 7 บทท่ี 3 ปจั จัยการยศาสตรข์ องระบบงานยกและเคลือ่ นยา้ ยวสั ดุดว้ ยแรงกาย 7 3.1 ปัจจัยลกู จา้ ง 8 3.2 ปัจจัยอปุ กรณแ์ ละเครื่องมือ 8 8 3.3 ปัจจัยสภาพแวดล้อม 9 3.4 ปัจจัยงาน บทที่ 4 ผลกระทบของการปฏบิ ัติงานยกและเคลอื่ นย้ายวสั ดดุ ว้ ยแรงกายต่อระบบกล้ามเนื้อและ 9 กระดกู 10 4.1 ปญั หาการยศาสตรท์ ่มี ักจะพบและสาเหตุ 11 4.2 อาการปวดเมอ่ื ยไหลแ่ ละแขน 13 4.3 อาการปวดเมอื่ ยหลงั สว่ นลา่ ง 15 4.4 อาการปวดเม่อื ยขาและหวั เข่า 15 บทที่ 5 การปรับปรุงงานยกและเคลอื่ นย้ายวสั ดดุ ้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์ 15 5.1 การวางแผนเตรยี มงาน 17 5.2 การยกและเคลอ่ื นยา้ ยวสั ดุด้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์ 22 5.3 แนวทางการปรับปรงุ ระบบงานยกและเคลอ่ื นย้ายวสั ดุด้วยแรงกาย 22 ภาคผนวก 1 ตวั อย่างการปฏบิ ตั ิงานยกและเคลื่อนย้ายวัสดดุ ว้ ยแรงกายอย่างไมเ่ หมาะสม 23 ผ1.1 การก้มหลังขณะปฏบิ ัตงิ านยก 24 ผ1.2 การบิดเอีย้ วตวั /เอียงตวั ขณะปฏิบตั งิ านยก 25 ผ1.3 การยกวสั ดเุ หนือระดับหวั ไหล่ 26 ผ1.4 การยกโดยทวี่ ัสดอุ ยู่หา่ งไกลตัว ผ1.5 การยกโดยวางวสั ดบุ นหลัง สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

ผ1.6 การยกโดยวางวัสดุบนศีรษะ/บา่ 27 ผ1.7 การยกวสั ดุท่มี รี ูปร่างไม่มาตรฐาน 28 ภาคผนวก 2 ท่าบริหารรา่ งกายสาหรับผปู้ ฎิบตั ิงานยกและเคลอื่ นย้ายวัสดุดว้ ยแรงกาย 29 ผ2.1 ทา่ ท่ี 1 – ทา่ ยืดกลา้ มเน้ือคอกล่มุ ก้มและเงยคอ 29 ผ2.2 ท่าที่ 2 – ทา่ ยืดกล้ามเน้ือคอและบา่ 30 ผ2.3 ทา่ ท่ี 3 – ทา่ ยืดกล้ามเน้ือคอกลุ่มหมนุ ศรี ษะ 30 ผ2.4 ทา่ ที่ 4 – ทา่ ยดื กล้ามเนื้อสะบักดา้ นใน 31 ผ2.5 ท่าที่ 5 – ท่ายดื กล้ามเน้ือท้องแขน 31 ผ2.6 ทา่ ท่ี 6 – ท่ายดื กลา้ มเน้ือมอื 32 ผ2.7 ทา่ ที่ 7 – ท่ายืดกล้ามเนื้อหลัง 32 ผ2.8 ท่าท่ี 8 – ทา่ แอน่ หลงั 33 ผ2.9 ท่าที่ 9 – ทา่ ยดื กลา้ มเน้ือดา้ นข้างลาตวั 33 ผ2.10 ท่าท่ี 10 – ท่ายืดกลา้ มเนื้อหลังส่วนล่าง 34 ผ2.11 ท่าท่ี 11 – ท่ายืดกลา้ มเนื้อต้นขาด้านหลงั 34 ผ2.12 ทา่ ที่ 12 – ท่ายืดกลา้ มเนื้อน่อง 35 ผ2.13 ทา่ ที่ 13 – ทา่ ยืดกล้ามเนื้อต้นขาด้านหนา้ 35 ผ2.14 ทา่ ท่ี 14 – ทา่ ยดื กลา้ มเนื้อน่อง 36 ผ2.15 ทา่ ท่ี 15 – ท่าบริหารเพ่มิ ความแข็งแรงกล้ามเนื้อน่อง 36 บรรณานกุ รม 37 สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 1 บทที่ 1 บทนำ คู่มือการปรับปรุงการปฏบิ ัติงานยกและเคลอ่ื นย้ายวสั ดุดว้ ยแรงกายตามหลกั การยศาสตร์ ฉบับนี้มี เน้ือหาเป็นไปตามมาตรฐานการยกและเคลือ่ นย้ายวัสดดุ ้วยแรงกายหลักการยศาสตร์ (มปอ.302 : 2561) โดยเป็นการ เพิ่มเติมรายละเอียดของการดาเนินการตามข้อกาหนด และท่าทางในการปฏิบัติงานยกและเคล่ือนย้ายวัสดุด้วย แรงกายตามหลักการยศาสตร์ เพื่อให้มีความปลอดภัย และลดความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงาน ยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกายอย่างฉับพลันและเร้ือรังอย่างมีประสิทธิภาพ และเพ่ือส่งเสริมให้สถาน ประกอบกิจการและลูกจ้างมีแนวทางในการปฏิบัติงาน เพื่อช่วยลดความเส่ียงของการบาดเจ็บในระบบกระดูกและ กลา้ มเน้อื ทอ่ี าจจะเกดิ ข้ึนจากการปฏบิ ตั งิ านยกและเคลือ่ นยา้ ยวสั ดุดว้ ยแรงกายท่มี คี วามเส่ยี งทางด้านการยศาสตร์ คมู่ อื ฯ เลม่ นม้ี สี าระสาคัญท่ีกล่าวถงึ ความหมายของการยศาสตร์ องคป์ ระกอบของระบบงานการยศาสตร์ ปัจจัยการยศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย ผลกระทบของก าร ปฏิบัติงานยกและเคล่ือนย้ายวัสดุด้วยแรงกายต่อระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ แนวทางการปรับปรุงงานยกและ เคล่ือนย้ายวัสดุด้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์ ตัวอย่างการปฏิบัติงานยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย อยา่ งไมเ่ หมาะสม และทา่ บริหารรา่ งกายสาหรบั ลกู จ้างที่ปฏบิ ัตงิ านยกและเคลือ่ นยา้ ยวัสดุด้วยแรงกาย คณะผู้จัดทา หวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือการปรับปรุงการปฏิบัติงานยกและเคล่ือนย้ายวัสดุด้วย แรงกายตามหลักการยศาสตร์ จะสร้างประโยชน์แก่สถานประกอบกิจการและผู้เกี่ยวข้อง ให้สามารถสร้าง กระบวนการจัดการความปลอดภัยท่ีมีระเบียบแบบแผนอย่างเป็นระบบ เพื่อป้องกันและลดอันตรายที่อาจจะ เกดิ ข้ึนจากการปฏิงานยกและเคล่อื นย้ายวสั ดุดว้ ยแรงกายได้อยา่ งมีประสิทธิภาพและยั่งยืน สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า 2 กาบรยทศทาี่ ส2ตร์ กำรยศำสตร์ การยศาสตร์ (หรอื Ergonomics) เปน็ คาผสมของคาภาษากรกี 2 คา คือ Ergon (คอื งาน) และ Nomos (คอื กฎตามธรรมชาติ) ซ่งึ เมื่อนามารวมกนั เปน็ คาเดยี ว ก็หมายความว่า กฎของ (การปฏบิ ัติ) งาน สาหรบั ภาษาไทยนัน้ ราชบณั ฑติ ยสถานได้บัญญัติคาวา่ “การยศาสตร์” เพอ่ื ใช้แทนคาภาษาองั กฤษ การประยกุ ต์ใช้การยศาสตรเ์ พอ่ื การออกแบบ สร้าง และปรบั ปรงุ ระบบงาน สามารถกระทาไดใ้ น 2 ระดบั คอื การยศาสตร์จลุ ภาค (Micro-ergonomics) และการยศาสตรม์ หภาค (Macro-ergonomics) 2.1 การยศาสตรจ์ ุลภาค การยศาสตร์จุลภาค (หรือที่เรียกกันท่ัวไปว่า การยศาสตร์) หมายถึง สหวิทยาการท่ีเก่ียวข้องกับการ ปฏิบัติงานของมนุษย์ในระบบงานต่าง ๆ โดยมีองค์ประกอบร่วม คือ สภาพแวดล้อมในบริเวณงาน อุปกรณ์และ เคร่ืองมื่อในการปฏิบัติงาน และงานท่ีกาลังปฏิบัติ การประยุกต์ใช้การยศาสตร์อย่างถูกต้องจะช่วยให้การ ออกแบบ สร้าง และปรบั ปรุงระบบงานมคี วามเหมาะสมสาหรบั การปฏบิ ตั ิงานของมนษุ ย์มากท่ีสดุ การยศาสตร์ช่วยในการจัดสภาพงานเพ่ือให้ลูกจ้างสามารถปฏิบัติงานในสภาวะสบายและมีสวัสดิภาพ ทาให้ได้ผลงานดีตามเป้าหมายท่ีกาหนดไว้อย่างยุติธรรม ได้ระบบงานท่ีให้ผลลัพธ์ท่ีมีประสิทธิผล ซึ่งจะช่วยให้ สถานประกอบกิจการมีผลกาไรมากท่ีสุดหรือผลผลิตมากที่สุดในระยะยาว ซึ่งอาจไม่ได้หมายความว่า สถานประกอบกิจการนั้นทาเงินได้มากที่สุด แต่อาจหมายความว่าผลเสียหายที่เกิดขึ้นจากการประกอบกิจการ นั้นลดลง ซง่ึ กจ็ ะทาใหม้ ผี ลกาไรมากขนึ้ เชน่ กัน ผลท่ไี ด้จากการประยุกตใ์ ชก้ ารยศาสตรอ์ ยา่ งถูกต้อง คือ 1. ชว่ ยใหป้ ฏิบัตงิ านไดอ้ ยา่ งสะดวกสบาย 2. ชว่ ยลดปญั หาสุขภาพและการบาดเจ็บ 3. ชว่ ยเพิ่มประสิทธภิ าพในการทางาน รวมทง้ั ผลผลิตของระบบงาน 4. ช่วยลดต้นทุนดา้ นทรัพยากรมนุษย์ของสถานประกอบกิจการ การออกแบบ สร้าง และปรับปรุงแก้ไขระบบงาน อาจจะพิจารณาในแนวทางเชิงกายภาพ (Physical Ergonomics) หรอื เชิงจติ ภาพ (Cognitive Ergonomics) ขึ้นอยกู่ ับลกั ษณะของงานในระบบงานนนั้ ๆ สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 3 ระบบงานการยศาสตร์ประกอบด้วยองคป์ ระกอบสาคญั 4 องค์ประกอบ คอื 1. มนุษย์ (ลกู จ้าง) 2. อุปกรณ์และเครื่องมือท่ลี กู จ้างใช้เพื่อปฏิบัติงานท่ีได้รบั มอบหมาย 3. สภาพแวดล้อมในบริเวณงานทีล่ กู จ้างจะต้องอยู่ปฏิบัตงิ าน 4. งานทลี่ กู จ้างกาลังปฏิบตั ิ ในระบบงานการยศาสตร์ องค์ประกอบทัง้ สมี่ ีปฏสิ มั พนั ธก์ นั ตลอดเวลา ผลงานท่ีไดร้ ับจากระบบงาน จะเปน็ ผลจากทุกองคป์ ระกอบรว่ มกนั ไม่ใชผ่ ลจากองค์ประกอบใดโดยเฉพาะ 2.2 การยศาสตรม์ หภาค การยศาสตร์มหภาคจะพิจารณาสังคมในบริเวณงาน กลุ่มลูกจ้างอ่ืน ๆ หน่วยงานและสถานประกอบ กจิ การ ซึ่งระบบงานของลูกจา้ งน้นั เปน็ ส่วนหนง่ึ ถ้านักการยศาสตรไ์ ม่พิจารณาการยศาสตร์มหภาคประกอบด้วย คือ ประยุกต์ใช้การยศาสตร์ในระดับจุลภาคเท่านั้น ก็จะทาให้การออกแบบ สร้าง และปรับปรุงแก้ไขระบบงาน ไมไ่ ด้ผลสาเรจ็ เทา่ ท่ีควร ในการประยกุ ตใ์ ชก้ ารยศาสตร์มหภาค นกั การยศาสตรจ์ ะตอ้ งพจิ ารณาสิง่ ตอ่ ไปน้ี 1. นโยบายขององค์กรเกยี่ วกบั การยศาสตร์ 2. ผู้บริหารของสถานประกอบกิจการ 3. เทคโนโลยที เ่ี ก่ยี วกบั ข้องกับงานและการปฏบิ ตั ิงาน 4. วฒั นธรรมของสถานประกอบกจิ การ 5. การทางานร่วมกับลูกจ้างคนอื่น ๆ ในสถานประกอบกจิ การ 6. สิทธเิ สรีภาพในการปฏิบตั งิ านของลูกจ้าง 2.3 การประยุกตใ์ ชก้ ารยศาสตร์ ขอบเขตของการประยกุ ต์ใช้การยศาสตร์จลุ ภาคและการยศาสตร์มหภาค สามารถแสดงไดใ้ นภาพท่ี 2-1 ภาพท่ี 2-1 – ขอบเขตในการประยุต์ใชก้ ารยศาสตร์จลุ ภาคและการยศาสตร์มหภาค สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 4 ในระหว่างสงครามโลกครั้งท่ีสอง แนวทางการประยุกต์ใช้การยศาสตร์มักจะเน้นที่การฝึกสอนบุคลากร ให้สามารถปฏิบัติงานและใช้อุปกรณ์และเครื่องมือท่ีมีอยู่แล้วอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยที่บุคลากรเหล่าน้ัน คือทหาร และอุปกรณ์และเครื่องมือคืออาวุธและอุปกรณ์ทางทหาร หลังจากท่ีสงครามโลกคร้ังท่ีสองสิ้นสุดแล้ว ประเทศคู่สงครามต่าง ๆ ก็ต้องพัฒนาสร้างประเทศขึ้นใหม่ ภาคอุตสาหกรรมมีบทบาทสาคัญในการพัฒนา ประเทศ นักวิชาการด้านการยศาสตร์จึงได้นาการยศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในภาคอุตสาหกรรม และหวังว่าจะ ประสบความสาเร็จเช่นเดียวกับท่ีประสบในอดีต แต่ก็ได้พบว่าแนวทางการประยุกต์ใช้การยศาสตร์ดังที่ได้กล่าว ข้างต้น ไม่สามารถนาไปใช้กับระบบงานในภาคอุตสาหกรรมได้ หลังจากท่ีได้ศึกษาเปรียบเทียบ ก็พบว่าความ แตกต่างของกลุ่มบุคลากรในภาคทหารและภาคเอกชนเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้การฝึกสอนบุคลากรไม่ประสบ ความสาเร็จเท่าท่ีควร ผลจากการศึกษาวิจัยได้พบว่า การประยุกต์ใช้การยศาสตร์ในระบบงานท่ัวไป จาเป็น จะต้องยึดบุคลากรเป็นหลักหรือเป็นศูนย์กลาง แล้วจึงออกแบบ สร้าง และปรับปรุงระบบงานและองค์ประกอบอ่ืน ๆ ใหเ้ หมาะสมกับบุคลากร ภาพท่ี 2-2 แสดงแนวทางที่ถูกต้องและเหมาะสมสาหรับการประยุกตใ์ ช้การยศาสตร์ใน ระบบงาน ภาพที่ 2-2 – แนวทางการประยกุ ตใ์ ช้การยศาสตร์ในระบบงาน แนวทางการประยุกต์ใช้การยศาสตร์โดยการพิจารณาลูกจ้างเป็นหลักหรือศูนย์กลางน้ัน จะสอดคล้อง กับผลการวิเคราะห์ระบบงานการยศาสตร์ ซ่ึงระบุว่าองค์ประกอบลูกจ้างเป็นองค์ประกอบท่ีด้อยที่สุดใน ระบบงาน และการที่จะปรับปรุงและแก้ไของค์ประกอบลูกจ้างน้ันเป็นเร่ืองยากหรืออาจจะเป็นไปไม่ได้ ส่วนการออกแบบ ปรับปรุง และแก้ไของค์ประกอบอื่น ๆ ของระบบงาน จะมีความเป็นไปได้และกระทาได้ ง่ายดายกวา่ มาก สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 5 การประยุกตใ์ ชก้ ารยศาสตร์ที่ถกู ต้อง ควรปฏบิ ัติตามขน้ั ตอนดังน้ี 1. การประยุกต์ใชเ้ ชงิ วศิ วกรรม – เป็นการประยุกต์ใช้ที่ตน้ เหตขุ องปญั หาการยศาสตรโ์ ดยตรง 2. การประยุกต์ใชเ้ ชิงบริหารจัดการ – เป็นการป้องกันไม่ให้ลูกจ้างไปสัมผัสหรือลดระยะเวลาท่ลี ูกจ้าง จะสมั ผัสกบั ปญั หาการยศาสตร์ 3. การประยุกต์ใช้ท่ีลูกจ้าง – เป็นการป้องกันที่ลูกจ้าง โดยไม่ดาเนินการแก้ไขท่ีต้นเหตุของปัญหา การยศาสตร์และไม่ลดระยะเวลาทีล่ ูกจา้ งจะสมั ผัสกับปัญหาการยศาสตร์ การประยุกตใ์ ช้การยศาสตรท์ ล่ี ูกจา้ จะเนน้ การแกไ้ ขหรือปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมในการปฏิบัตงิ านท่ีไม่เหมาะสมของลกู จ้าง เน่ืองจากการยศาสตร์เป็นสหวิทยาการ นักการยศาสตร์ในอุดมคติจะต้องมีความรู้ความเช่ียวชาญ ในหลากหลายสาขา ซ่ึงในทางปฏิบัติน้ันจะไม่มีนักการยศาสตร์คนใดท่ีมีความรู้ความเช่ียวชาญครบในทุกสาขา ท่ีเกีย่ วขอ้ ง ดังน้นั การประยกุ ต์ใชก้ ารยศาสตรท์ ีถ่ ูกตอ้ ง ควรประกอบด้วยกลมุ่ บคุ ลากรดงั น้ี 1. กลุ่มบุคลากรด้านวิศวกรรมศาสตร์และการออกแบบ – บุคลากรกลุ่มน้ีมีความเช่ียวชาญในการ ออกแบบและสร้างระบบงานการยศาสตร์ โดยประกอบด้วยวิศวกรอุตสาหการ วิศวกรความปลอดภัย นักออกแบบ เป็นต้น 2. กลุ่มบุคลากรด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย – บุคลากรกลุ่มน้ีมีความเชี่ยวชาญในการ ตรวจวัดและประเมินความเสี่ยงของปัญหาการยศาสตร์ซ่ึงมีอยู่ในระบบงาน โดยประกอบด้วยเจ้าหน้าท่ี ความปลอดภัยในการทางาน นักอาชวี อนามยั นักสขุ ศาสตร์อตุ สาหกรรม เป็นต้น 3. กลุ่มบุคลากรด้านการแพทย์ – บุคลากรกลุ่มน้ีมีความเชี่ยวชาญในการตรวจอาการ รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ท่ีได้รับผลกระทบด้านสุขภาพจากปัญหาการยศาสตร์ โดยประกอบด้วย แพทยอ์ าชวี เวชศาสตร์ พยาบาล นกั กายภาพบาบดั เปน็ ตน้ บุคลากรทั้ง 3 กลุ่มนี้ต้องปฏิบัติงานร่วมกัน โดยท่ีบุคลากรกลุ่มท่ี 1 (วิศวกรและนักออกแบบ) จะเป็น ด่านแรกของการป้องกันปัญหาการยศาสตร์ ส่วนบุคลากรกลุ่มที่ 2 (เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางาน นักอาชีวอนามัย และนักสุขศาสตร์อุตสาหกรรม) จะเป็นด่านท่ี 2 ของการป้องกันปัญหาการยศาสตร์ และบุคลากรกลุ่มท่ี 3 (แพทย์ พยาบาล และนักกายภาพบาบัด) จะเป็นด่านสุดท้ายของการป้ องกันปัญหา การยศาสตร์ ดังแสดงในภาพท่ี 2-3 ภาพท่ี 2-3 – กลุม่ บุคลากรที่มสี ว่ นร่วมในการประยุกตใ์ ช้การยศาสตร์ สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า 6 สถานประกอบกิจการทนี่ าการยศาสตรไ์ ปประยกุ ต์ใช้ในระบบงาน จะไดร้ บั ผลประโยชน์ในหลาย ๆ ด้าน ดงั ต่อไปนี้ - เพิ่มความปลอดภยั และอาชีวอนามัยของลูกจา้ ง - เพ่มิ ความกระตอื รอื รน้ ของลูกจ้างในการปฏบิ ตั ิงาน - เพ่ิมคุณภาพของงานทปี่ ฏบิ ัติ - เพ่มิ ประสทิ ธิภาพและผลผลิตของระบบงาน - เพิ่มศกั ยภาพของสถานประกอบกิจการในการแข่งขนั เชิงการค้า - ลดอัตราการลาหยดุ งานและการลาออกของลกู จ้าง - ลดการบาดเจ็บและปญั หาสุขภาพเนอ่ื งจากการปฏบิ ตั งิ าน - ลดคา่ ใชจ้ า่ ยด้านบคุ ลากรของสถานประกอบกิจการ ปัจจัยสาคัญท่ีจะช่วยให้การประยุกต์ใช้การยศาสตร์ในสถานประกอบกิจการประสบความสาเร็จและ ยั่งยืนได้ คือ ผู้บริหารของสถานประกอบกิจการ ผู้รับผิดชอบในการประยกุ ต์ใชก้ ารยศาสตร์ และลูกจ้าง ซ่ึงกลุ่ม บคุ ลากรทั้ง 3 ระดบั นนั้ จะต้องมีคุณลกั ษณะดังน้ี ผบู้ รหิ าร : - ต้องกาหนดนโยบายการประยกุ ตใ์ ชก้ ารยศาสตรใ์ นสถานประกอบกจิ การ - ตอ้ งใหค้ วามสนับสนนุ โครงการปรับปรุงงานด้านการยศาสตร์ - ต้องจัดสรรงบประมาณสาหรบั การปรบั ปรุงระบบงานด้านการยศาสตร์ - ตอ้ งให้ความสนบั สนนุ การประยุกตใ์ ช้การยศาสตร์ใหเ้ ปน็ ไปอย่างตอ่ เนอ่ื ง - ต้องรว่ มเสริมสร้างวฒั นธรรมการยศาสตร์ในสถานประกอบกิจการ - ต้องเป็นตัวอย่างทดี่ ใี นการปฏิบตั ิตามหลักการยศาสตร์ ผ้รู บั ผิดชอบในการประยกุ ต์ใช้การยศาสตร์ : - ตอ้ งมีความรู้และความเชย่ี วชาญดา้ นการยศาสตร์ - ต้องดาเนินการปรับปรุงระบบงานตามขน้ั ตอนและวธิ กี ารท่ีถกู ต้อง - ต้องสามารถทางานเป็นคณะกับผรู้ ับผิดชอบคนอ่ืน ๆ ได้ - ต้องสามารถเปน็ ตวั เช่อื มและประสานกบั ผูบ้ รหิ าร หน่วยงานตา่ ง ๆ และลูกจ้างทุกคนได้ - ต้องเปน็ ตัวอยา่ งท่ดี ใี นการปฏบิ ตั ิตามหลกั การยศาสตร์ ลกู จา้ ง : - ต้องมคี วามรแู้ ละเข้าใจด้านการยศาสตร์ในระดับเบื้องตน้ - ตอ้ งได้รับแรงกระตนุ้ ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามหลกั การยศาสตร์ - ตอ้ งมสี ่วนรว่ มในการปรับปรงุ ระบบงาน - ต้องยินยอมแก้ไขหรอื ปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมในการปฏบิ ัติงาน - ต้องเป็นตัวอย่างที่ดีให้ลกู จา้ งคนอน่ื ๆ ในการปฏบิ ัตติ ามหลักการยศาสตร์ สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า 7 - บทท่ี 3 ปจั จัยการยศาสตร์ของระบบงานยกและเคล่อื นยา้ ยวสั ดดุ ว้ ยแรงกาย การปฏิบัติงานยกและคล่ือนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย เป็นกิจกรรมเชิงกายภาพท่ีพบในสถานประกอบ กิจการเกือบทุกแห่ง ไม่ว่าจะเป็นโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก กลาง หรือใหญ่ สานักงาน ศูนย์กระจายสินค้า หรือสถานท่ีให้บริการต่าง ๆ แก่ลูกค้า งานยกและเคล่ือนย้ายวัสดุด้วยแรงกายเป็นงานซึ่งปฏิบัติเป็นประจาใน โกดังสินค้า ส่วนการผลิต และส่วนอ่ืน ๆ ของสถานประกอบกิจการ วัสดุที่ต้องยกและเคล่ือนย้ายอาจจะมี น้าหนักมาก มีขนาดใหญ่ หรือมีรูปร่างที่ไม่เป็นมาตรฐาน และลูกจ้างจะต้องปฏิบัติงานนั้นเป็นประจาหรือหลาย ช่ัวโมงตลอดกะทางาน ดังน้ัน ลูกจ้างมีความเส่ียงสูงท่ีจะเกิดปัญหาอาการบาดเจบ็ ที่ระบบกระดูกและกล้ามเนือ้ (Musculoskeletal Disorders, MSDs) เช่น บริเวณหลังส่วนล่าง บริเวณคอและไหล่ บริเวณขาและหัวเข่า เป็นต้น โดยในระยะเริ่มต้น ลกู จ้างจะมีอาการปวดเมื่อยท่สี ่วนร่างกาย อาการเหล่าน้จี ะสะสมและเพิ่มระดับอาการขึน้ มี ผลกระทบตอ่ สมรรถภาพการทางานของลูกจา้ ง และเกดิ การบาดเจ็บได้ อาการบาดเจ็บน้อี าจจะเปน็ การบาดเจ็บ ถาวร ซึ่งจะมีผลให้ลูกจ้างไม่สามารถปฏิบัติงานยกและเคล่ือนย้ายหรืองานใช้แรงกายอ่ืน ๆ ได้ และมีผลต่อ คณุ ภาพชีวิตของลูกจ้าง ระบบงานยกและเคล่ือนย้ายวัสดุด้วยแรงกายประกอบด้วย ลูกจ้าง สถานีงาน อุปกรณ์ช่วยยกและ เคล่อื นยา้ ย (ถา้ มี) วัสดทุ ่ีจะตอ้ งยก สภาพแวดลอ้ มในบริเวณปฏบิ ัตงิ าน และงานทีล่ ูกจ้างต้องปฏิบัติ สาหรบั การ ออกแบบ สร้าง และปรับปรุงระบบงานยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์น้ัน นกั การยศาสตร์ต้องพิจารณาปัจจัยตา่ ง ๆ ของแต่ละองคป์ ระกอบของระบบงานอย่างละเอียดถ่ีถ้วน 3.1 ปัจจยั ลกู จ้าง ปจั จยั ลกู จ้าง หมายถึง ปัจจัยทเี่ ก่ยี วข้องกบั องค์ประกอบลูกจา้ งของระบบงานการยศาสตร์ ตวั อยา่ งของ ปจั จยั ลูกจ้าง คอื - อายุ - เพศ - ขดี ความสามารถเชงิ กายภาพ - สัดสว่ นรา่ งกาย - ประสบการณใ์ นการปฏิบัติงาน - ความรู้เกยี่ วกับการยศาสตร์ - ความกระตอื รอื รน้ ในการปฏบิ ัตงิ าน - สขุ ภาพและความสมบรู ณ์ของรา่ งกาย สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 8 3.2 ปจั จัยอุปกรณแ์ ละเครอ่ื งมือ ปัจจัยอุปกรณ์และเคร่ืองมือ หมายถึง ปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบสถานีงานและอุปกรณ์ช่วยยก และเคลื่อนยา้ ยของระบบงาน ตวั อยา่ งของปจั จยั อปุ กรณ์และเครอื่ งมือ คอื - ขนาดของอปุ กรณ์ - น้าหนกั ของอุปกรณ์ - ขนาดของด้ามจับ - ระดบั ของดา้ มจบั - ตาแหน่งอุปกรณค์ วบคุม - ระดับความเปน็ อัตโนมัติของอปุ กรณ์ 3.3 ปจั จยั สภาพแวดล้อม ปัจจยั สภาพแวดล้อม หมายถงึ ปจั จัยทเี่ กย่ี วขอ้ งขององคป์ ระกอบสภาพแวดล้อมในบริเวณงานที่ลูกจ้าง กาลังปฏบิ ัตงิ านยกและเคลือ่ นย้ายวัสดุ ตัวอย่างของปัจจยั สภาพแวดล้อมในระบบงาน คอื - อุณหภมู ิ - ความชื้น - เสียง - แสงสว่าง - ความสน่ั สะเทอื น - ทศิ ทางและความเรว็ ของกระแสลม 3.4 ปัจจยั งาน ปัจจัยงานหมายถึง ปัจจัยที่เกี่ยวข้องขององค์ประกอบงานยกและเคลื่อนย้ายวัสดุท่ีลูกจ้างกาลังปฏิบัติ ตวั อยา่ งของปัจจยั ในระบบงาน คอื - ประเภทของงาน - ปรมิ าณงาน - ขน้ั ตอนการปฏิบัติงาน - อตั ราการปฏิบตั งิ าน - ลกั ษณะทา่ ทางของร่างกาย - ชว่ งเวลาการปฏบิ ัตงิ าน - ความซา้ ซากของงานทป่ี ฏบิ ตั ิ - วงจรของการปฏบิ ัติงานและการหยดุ พกั สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 9 บบทททที่ี่ 34 ผลกระทบของการปฏิบัตงิ านยกและเคลือ่ นยา้ ยวสั ดดุ ้วยแรงกาย ต่อระบบกระดกู และกล้ามเนอื้ ปัญหาการยศาสตร์มักจะเป็นปัญหาที่เกิดข้ึนในระยะยาว (คือ เป็นปัญหาสะสม) และมีผลกระทบต่อ ระบบกระดูกและกล้ามเน้ือ เช่น คอ ไหล่ ข้อมือ หลังส่วนล่าง เข่า กล้ามเน้ือ เป็นต้น ปัญหาการยศาสตร์จะพบ ท่ัวไปในบริเวณทางานทั้งในสถานประกอบกิจการในอุตสาหกรรมภาคการผลิตและภาคการบริการ ตัวอย่างเช่น ลูกจ้างยกส่ิงของในโกดงั สินค้า อาจจะมอี าการปวดเมื่อยหรือบาดเจ็บท่บี ริเวณหลงั ส่วนล่าง ลูกจ้างสานักงานทีน่ ่ัง ปฏิบัตงิ านคอมพิวเตอร์ อาจจะมอี าการปวดเมอ่ื ยบริเวณ คอ ไหล่ และหลงั ส่วนล่าง เป็นต้น 4.1 ปัญหาการยศาสตร์ท่มี ักจะพบและสาเหตุ ผลกระทบของปัญหาการยศาสตร์ต่อสุขภาพของลูกจ้าง คือ ปัญหาที่ระบบกระดูกและกล้ามเน้ือ เช่น อาการไม่สบายร่างกายบริเวณคอ ไหล่ แขน ข้อมือ หลังส่วนล่าง ขา เป็นต้น ปัญหาหรืออาการบาดเจ็บที่ระบบ กระดกู และกลา้ มเน้ือ สามารถแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภท คือ 1. อาการบาดเจ็บเนอ่ื งจากการปฏบิ ัตงิ านหนกั เกนิ ไป อาการบาดเจ็บเนื่องจากการปฏิบัติงานหนกั เกินไป มักจะเกิดขึ้นที่บริเวณคอ ไหล่ หลังส่วนล่าง และขา โดยมีสาเหตุหลักมาจากการที่ลูกจ้างปฏิบัติงานหนักเกินไป ปฏิบัติงานนานต่อเน่ืองนานเกินไป หยุดพักไม่ เพียงพอ ออกแรงมากเกินไป และมีท่าทางในการปฏบิ ัติงานทีไ่ ม่เหมาะสม อาการบาดเจ็บดังกล่าวน้ีมักจะพบใน ลูกจ้างที่ต้องออกแรงในการยกและเคล่ือนย้ายวัสดุดว้ ยแรงกาย และลูกจ้างท่ีนั่งหรือยืนปฏบิ ัติงานอย่างตอ่ เน่อื ง ในทา่ ทางที่ไมเ่ หมาะสม 2. อาการบาดเจ็บเน่อื งจากการปฏิบัตงิ านซา้ ซาก อาการบาดเจ็บเนื่องจากการปฏิบัติงานซ้าซาก มักจะเกิดข้ึนท่ีน้ิวมือ ข้อมือ ข้อศอก และไหล่ เนื่องจาก ความเค้นท่ีเกิดจากการเคล่ือนไหวอย่างซ้าซาก โดยมีสาเหตุหลักมาจากที่ลูกจ้างปฏิบัติงานโดยใช้กล้ามเนื้อชุด เดียวกันตลอดเวลา หยุดพักไม่เพียงพอ และมีท่าทางในการปฏิบัติงานที่ไม่เหมาะสม ซ่ึงจะพบได้ทั้งในลูกจ้าง ฝ่ายผลิตและลกู จ้างสานกั งาน ตัวอย่างเช่น ลูกจา้ งในสายประกอบชน้ิ ส่วนของอตุ สาหกรรมอิเลคโทรนิกส์ ลกู จา้ ง สานกั งานทใี่ ชแ้ ปน้ พมิ พ์เปน็ ประจาและตอ่ เน่ือง เปน็ ต้น ลูกจ้างซึ่งปฏิบัติงานยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย ด้วยวิธีการและท่าทางท่ีไม่เหมาะสมตาม หลักการยศาสตร์เป็นประจาและอย่างต่อเนื่อง จะได้รับผลกระทบของปัญหาการยศาสตร์ที่บริเวณไหล่ แขน หลังส่วนล่าง หัวเข่า และขา โดยระดับอาการจะเร่ิมจากอาการปวดเม่ือยตามบริเวณดังกล่าวก่อน และถ้าไม่นา หลกั การยศาสตร์ไปประยกุ ตใ์ ช้เพ่ือปรับปรุงสภาพการปฏบิ ัติงานใหเ้ หมาะสม ผลกระทบนัน้ ก็อาจจะเพิ่มมากข้ึน จนกลายเป็นอาการบาดเจ็บ สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)

หนา้ 10 สาเหตหุ ลักของการเกดิ อาการไม่สบายรา่ งกายจากการปฏบิ ัตงิ านยกและเคลอ่ื นยา้ ยวัสดดุ ว้ ยแรงกาย คอื 1. ปฏบิ ัติงานทีส่ ถานงี านอุตสาหกรรมซึ่งออกแบบอย่างไมเ่ หมาะสมกบั ลูกจา้ งหรืองานทป่ี ฏบิ ัติ 2. จัดบรเิ วณงานไมเ่ หมาะสม ทาให้มพี น้ื ทป่ี ฏบิ ตั ิงานนอ้ ย ตอ้ งปฏบิ ัตงิ านโดยมสี ิง่ กดี ขวาง 3. งานทีต่ อ้ งปฏบิ ตั ิ (คือ วสั ดทุ ต่ี อ้ งยก) มีปริมาณมากเกินไป 4. ปฏิบตั ิงานดว้ ยวิธที ี่ไมเ่ หมาะสม เชน่ ยกวัสดุปริมาณมากเกินไปในแตล่ ะครงั้ (เพื่อลดจานวนคร้งั ของการยก) ไม่หยุดพักเม่อื มอี าการเมื่อยล้า 5. ปฏิบตั งิ านยกและเคลือ่ นยา้ ยวัสดุในทา่ ทางท่ีไมถ่ กู ตอ้ งตามหลักการยศาสตร์ 4.2 อาการปวดเมอื่ ยไหลแ่ ละแขน อาการปวดเมือ่ ยไหล่และแขน มสี าเหตุหลกั จากการใช้กล้ามเนอื้ ไหลแ่ ละแขนท่อนบน (ภาพท่ี 4-1) มาก เกินไป ซึ่งเป็นผลจากการรับน้าหนักของวัสดุท่ีจะยกหรือเคล่ือนย้าย โดยที่ตาแหน่งของวัสดุอาจจะอยู่ไกลตัว เกินไป หรือระดบั ของวสั ดอุ ย่สู ูงเกนิ ไป (เช่น สูงกวา่ ระดบั หัวไหลข่ องลกู จา้ ง) ภาพท่ี 4-1 กลา้ มเนอื้ ไหลแ่ ละแขนทอ่ นบนท่ีใช้งาน การยกวัสดใุ นท่ากางไหลห่ รือยนื่ แขนไปขา้ งหนา้ ก็จะเพมิ่ ความเส่ยี งในการเกิดอาการปวดเมื่อยไหล่และ แขน ซ่ึงมักจะพบในลูกจ้างท่ีต้องยกวัสดุมีขนาดใหญ่ หรือต้องยกวัสดุข้ึนจากหรือวางลงบนสถานีงาน โดยมีสิ่ง กดี ขวางกัน้ ระหวา่ งลูกจ้างและสถานงี าน ดงั แสดงในภาพที่ 4-2) ภาพท่ี 4-2 ท่าทางในการยกวัสดุซ่ึงมีความเสยี่ งของการปวดเมือ่ ยไหล่และแขน สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หนา้ 11 4.3 อาการปวดเมอ่ื ยหลงั สว่ นลา่ ง หลังส่วนล่าง หมายถึง ส่วนของหลังบริเวณบ้ันเอว (อยู่ตรงข้ามกับสะดือ) ซ่ึงเป็นส่วนท่ีใช้งานมากของ หลังในการก้ม-เงยลาตัว กระดูกสันหลังบริเวณหลังส่วนล่างประกอบด้วยกระดูกสันหลังบริเวณบั้นเอว (Lumbar Vertebrae) จานวน 5 ข้อ เชื่อมต่อกับกระดูกกระเบนเหน็บ (Sacrum) จานวน 5 ข้อ โดยท่ีอาการ ปวดเม่ือยหรือบาดเจ็บมักจะเกิดท่ีหมอนรองกระดูก (Intervertebral Disc) ระหว่างกระดูกบั้นเอวข้อที่ 4 และ 5 หรอื ระหวา่ งกระดูกบนั้ เอวข้อที่ 5 และกระดกู กระเบนเหน็บข้อท่ี 1 เนือ่ งจากหมอนรองกระดูกบรเิ วณที่กล่าวมา ต้องรับแรงกดมากทีส่ ุด ดงั แสดงในภาพท่ี 4-3 ภาพท่ี 4-3 กระดูกสันหลงั ของมนุษย์และบริเวณหลงั ส่วนล่างทม่ี ีอาการปวดหรือบาดเจบ็ กระดูกสันหลังของมนุษย์มีบทบาทสาคัญในการช่วยพยุงโครงสร้างร่างกาย รองรับน้าหนักของร่างกาย ท่อนบน และอานวยความสะดวกในการก้ม-เงยลาตัว หมอนรองกระดูกช่วยดูดซับแรงกดบนกระดูกสันหลังและ ชว่ ยให้หลังของมนุษย์มีความยดื หยุ่นในการก้ม-เงย หมอนรองกระดูกทีลักษณะเป็นวุ้นใส โดยท่ีรอบนอกมเี ส้นใย ช่วยดารงรูปร่างของหมอนรองกระดูก บริเวณตรงกลางของหมอนรองกระดูกเป็นวุ้นข้นที่เคล่ือนที่ไปมาตาม ทิศทางแรงกดบนหมอนรองกระดูก ถ้ากระดูกสันหลังอยู่ในลักษณะที่ถูกต้อง แรงกดบนหมอนรองกระดูกจะ เท่ากนั ทุกด้าน และหมอนรองกระดกู จะถกู กดลงตรง ๆ ดงั แสดงในภาพท่ี 4-4 ภาพท่ี 4-4 การยุบตัวอย่างสม่าเสมอของหมอนรองกระดูกขณะยกวัสดุในทา่ ทางท่ีถกู ต้อง สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หนา้ 12 แต่ถ้าแรงกดบนหมอนรองกระดูกไม่เท่าเทียมกัน เช่น แรงกดบนบริเวณด้านหน้าของหมอนรองกระดูก มากกว่าแรงกดบนบริเวณด้านหลัง วุ้นข้นในหมอนรองกระดูกจะถูกดันไปทางด้านหลัง ซ่ึงจะสร้างแรงดันออกท่ี บริเวณขอบด้านหลังของหมอนรองกระดูก ลักษณะการที่วุ้นข้นในหมอนรองกระดูกเคล่ือนตัวไปด้านหลังจะพบ เม่ือพนักงานก้มหรือโน้มตัวไปทางด้านหน้า โดยก้มบริเวณหลังส่วนล่าง เช่น เมื่อก้มตัวไปยกส่ิงของ เมื่อนั่งหลังค่อม เปน็ ต้น ดงั แสดงในภาพที่ 4-5 ภาพที่ 4-5 ทา่ ทางในการยกวัสดุทเี่ หมาะสมและไม่เหมาะสม อาการปวดหลังส่วนล่างอาจจะเกิดจากปัญหากล้ามเน้ือหลัง เอ็นกล้ามเนื้อ เอ็นกระดูก หรือหมอนรอง กระดูก (ภาพท่ี 4-6) โดยท่ัวไปแล้ว ลูกจ้างซ่ึงปฏิบัติงานยกและเคล่ือนย้ายวัสดุด้วยแรงกายในท่าทางท่ี ไม่เหมาะสม มักจะมีอาการปวดหลังส่วนล่างเน่ืองจากหมอนรองกระดูกเคล่ือนตัวไปด้านหลัง และกดทับราก ประสาทท่สี ั่งการหรือรบั ความรู้สึกของขาซ้ายและขวา (ภาพที่ 4-7) ซ่ึงนอกจากจะมีอาการปวดหลังแล้ว ลกู จ้าง จะมีอาการชาที่ขาจากการท่ีรากประสาทถูกกดทับอีกด้วย สาเหตุของการที่หมอนรองกระดูกเคล่ือนไปกดทับ รากประสาท กม็ าจากการที่ลูกจา้ งก้มหลงั หรือโนม้ ตัวไปด้านหน้ามากขณะยกวสั ดุ ภาพที่ 4-6 สาเหตุตา่ ง ๆ ของอาการปวดหลงั สว่ นล่าง สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า 13 ภาพท่ี 4-7 ทา่ ทางท่ีมคี วามเสี่ยงของการเกิดอาการปวดหลัง 4.4 อาการปวดเมื่อยขาและหัวเขา่ อาการปวดเมื่อยขาและหัวเขา่ เป็นผลจากการทล่ี กู จ้างยกวัสดโุ ดยการย่อตัวลงไปหาวสั ดุ คือใชท้ ่างอเขา่ และ ใช้กล้ามเน้ือขาท่อนบนเพื่อยกร่างกายและวัสดุขึ้น ซ่ึงเอ็นกระดูกท่ีด้านหน้าและด้านข้างของหัวเข่าจะถูกยืด มากกว่าปกติ (ภาพที่ 4-8) ท่าทางดังกล่าวเป็นท่าทางท่ีเหมาะสมสาหรับการปฏิบัติงานยกวัสดุ เพราะช่วยลด ความเสี่ยงของการเกดิ อาการปวดหลังสว่ นล่าง ภาพที่ 4-8 ทา่ ทางในการยกวัสดุซง่ึ มคี วามเส่ียงของการปวดเมอ่ื ยขาและหวั เข่า เป็นท่ีน่าสังเกตว่า ถึงแม้ว่าลูกจ้างจะยกวัสดุในท่าทางท่ีเหมาะสมตามหลักการยศาสตร์ (คือ ย่อเข่าและยืด หลังให้ตรง) ก็ยังจะมีความเสี่ยงของการเกิดอาการไม่สบายร่างกายได้ เพียงแต่ว่ากล้ามเนื้อขาท่อนบนเป็น กล้ามเน้ือมัดใหญ่และแข็งแรงกว่ากล้ามเน้ือหลัง ดังนั้น โอกาสท่ีจะเกิดอาการบาดเจ็บที่กล้ามเน้ือจะน้อยกว่า และหัวเขา่ มีความยืดหยุ่นในการงอ-เหยยี ดมากกวา่ หลงั สว่ นล่างด้วย สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หนา้ 14 บบทททท่ี่ี 45 การปรบั ปรุงงานยกและเคลอื่ นยา้ ยวสั ดดุ ้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์ ลูกจ้างซ่ึงต้องปฏิบัติงานยกและเคล่ือนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย จาเป็นต้องเตรียมพร้อมในการปฏิบัติงาน เพื่อหลีกเลี่ยงหรือลดความเสี่ยงของการเกิดปัญหาการยศาสตร์ และการปฏิบัติงานก็จะต้องเป็นไปตามวิธีการท่ี เหมาะสมตามหลกั การยศาสตร์ 5.1 การวางแผนเตรยี มการ ข้อแนะนาสาหรับการเตรียมพร้อมเพ่ือปฏิบัติงานยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย สามารถสรุปได้ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. สวมใส่เส้ือผา้ ใหร้ ดั กุม เพ่อื ความคลอ่ งตวั ในการยกวัสดแุ ละการเคล่ือนไหว 2. สวมใสร่ องเท้านริ ภัย เพ่ือป้องกนั การบาดเจบ็ ทเ่ี ท้าและน้วิ เทา้ ซง่ึ อาจจะเกิดจากการถูกวสั ดหุ ล่นทับ 3. สวมถุงมือท่ีเหมาะสมขณะปฏิบัติงานยกและเคล่ือนย้ายวัสดุ เพื่อป้องกันการบาดเจ็บท่ีมือและนิ้ว มอื ซ่ึงอาจจะเกิดจากถูกวสั ดุกดทับหรือหนบี หรือถูกขอบคมของวสั ดุบาด/เฉือน 4. ไม่ปฏิบตั ิงานยกและเคล่ือนย้าย ถ้าร่างกายไม่อยู่ในสภาพสมบูรณ์ 5. วางแผนการปฏิบัติงานยกและเคลื่อนย้ายอย่างรอบคอบ เพื่อช่วยลดเวลาปฏิบัติงานและลด พลังงานท่ีต้องใช้ โดยการพิจารณาปริมาณงาน ระยะเวลาที่มี เส้นทางเคลื่อนย้าย และอุปกรณ์ทุ่นแรงในการ เคล่ือนยา้ ย 6. แบ่งงานยกและเคลื่อนย้ายเป็นช่วง ๆ ไม่ปฏิบัติงานอย่างต่อเน่ือง เพื่อป้องกันการเหน็ดเหนื่อย เมอ่ื ยล้าจนเกนิ ไป 7. จัดเตรียมอุปกรณ์ช่วยยกและเคล่ือนย้าย (ถ้ามี) ให้พร้อม ตรวจสอบการใช้งานของอุปกรณ์ เหลา่ นั้นใหม้ น่ั ใจว่าสามารถใชง้ านไดต้ รงตามวัตถุประสงค์ 5.2 การยกและเคลื่อนย้ายวสั ดดุ ้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์ การยกและเคลอ่ื นยา้ ยวสั ดดุ ว้ ยแรงกายตามหลกั การยศาสตร์ ควรปฏบิ ัตดิ งั ต่อไปน้ี 1. หลีกเลี่ยงการใช้แรงกายในการยกและเคลื่อนย้ายวัสดุ ถ้าจาเป็นอาจจะใช้แรงกายในการยกข้ึน หรือวางลง แตก่ ารเคล่ือนยา้ ยวัสดุควรจะกระทาโดยอุปกรณช์ ว่ ยยกและเคล่ือนยา้ ย (ถ้าเปน็ ไปได)้ 2. ให้ย่อเข่าทั้ง 2 ข้าง หรือข้างเดียวถ้าวัสดุมีขนาดใหญ่ และลดตัวลงไปยกวัสดุ ยืดหลังให้ตรงมาก ท่สี ุดเทา่ ทจี่ ะกระทาได้ 3. เลือกใชอ้ ปุ กรณ์ชว่ ยยกและเคลอื่ นยา้ ยวสั ดทุ ี่เหมาะสมกบั งาน วัสดทุ ี่จะยก และรปู รา่ งของลกู จา้ ง 4. ลดขนาดและนา้ หนักของวัสดทุ จ่ี ะตอ้ งยก ถา้ ตอ้ งปฏิบตั งิ านเปน็ ระยะเวลานาน 5. หลีกเลยี่ งการปฏบิ ตั งิ านเป็นระยะเวลาตอ่ เน่ือง ใหห้ ยดุ พักบอ่ ย ๆ สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า 15 6. ถ้าเป็นไปได้ ควรปฏิบัติงานยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกายในช่วงเช้า เพราะร่างกายมี สมรรถภาพสงู สุดในชว่ งน้ัน 7. บริหารรา่ งกายให้แขง็ แรง เพือ่ ลดความเส่ยี งตอ่ การเกดิ ปญั หาการยศาสตร์ 8. ออกแบบวัสดุใหม้ ีท่ีจับยดึ ได้อยา่ งมัน่ คงและแขง็ แรง 9. ยกวสั ดโุ ดยให้วสั ดุอยู่ตรงหน้าและอย่ใู กลช้ ิดรา่ งกายมากท่สี ุด 10. ยกวสั ดุโดยไมก่ ้มหลัง หรือกม้ เพยี งเล็กน้อย 11. ลดการปฏิบตั งิ านซ้าซ้อน คอื หลกี เล่ยี งการยกวสั ดุข้ึนหรือลง ถา้ จะตอ้ งมีการยกวัสดุน้ันลงหรือข้ึน อีกคร้งั หนง่ึ ในระยะเวลาใกลก้ นั 12. ไม่ควรยกวัสดใุ นขณะที่รา่ งกายสว่ นบนอยู่ตา่ งระนาบกบั ร่างกายสว่ นล่าง ไม่บดิ ตัวขณะยกวัสดุ 13. ยกวสั ดดุ ้วยความเร็วทเี่ ป็นธรรมชาติ ไมเ่ รง่ รีบหรอื ออกแรงกระชากในการปฏิบตั ิงาน 14. ถ้าวัสดุมีปริมาณมาก มีน้าหนักมาก หรือมีขนาดใหญ่ ควรเพิ่มจานวนลูกจ้างผู้ปฏิบัติงานยก ดังแสดงในภาพที่ 5-1 – ภาพท่ี 5-3 ภาพท่ี 5-1 ตวั อย่างการยกวัสดุข้ึน/ลงจากทส่ี งู โดยใช้ลกู จ้างหลายคนช่วยกนั ภาพที่ 5-2 ตวั อย่างการปฏบิ ัตงิ านยกวัสดทุ ่ีมีขนาดใหญ่ โดยอาจจะมนี ้าหนกั มากหรือนา้ หนักเบา (ถ้าวสั ดมุ นี ้าหนักมาก ให้ใชอ้ ุปกรณ์ช่วยยก ถา้ วสั ดุมีนา้ หนักเบา กย็ กโดยใชแ้ รงกายได้) สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า 16 ภาพท่ี 5-3 ตัวอย่างการใชล้ กู จา้ ง 2 คนยกวสั ดุทีม่ รี ูปรา่ งไม่มาตรฐาน การสวมใส่ถุงมือที่เหมาะสมขณะปฏิบัติงานยกและเคล่ือนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย จะช่วยให้สามารถจับ/ ถือวสั ดไุ ด้อย่างมัน่ คง ชว่ ยปอ้ งกนั ไม่ใหว้ สั ดเุ ล่อื นหลุดจากมือขณะยกและเคล่ือนย้าย และชว่ ยปอ้ งกนั ไมใ่ หม้ ือและนิ้ว มอื ถกู กดทับด้วยกน้ กล่องขณะยกขึน้ หรอื วางลง 5.3 แนวทางการปรับปรุงระบบงานยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย โดยทั่วไปแล้ว การปรับปรุงระบบงานยกและเคล่ือนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย สามารถกระทาได้โดยใช้ วธิ ีการเชิงวศิ วกรรม วิธีการเชิงบริหารจัดการ และการใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คล 1. การปรบั ปรุงแก้ไขเชิงวศิ วกรรม - ออกแบบสถานงี าน วสั ดุทจ่ี ะตอ้ งยก สภาพแวดล้อม และวิธปี ฏิบตั ิงานตามหลักการยศาสตร์ - จัดหาอุปกรณช์ ว่ ยยกหรืออุปกรณช์ ว่ ยขนยา้ ยวสั ดุซง่ึ ไม่ต้องใชแ้ รงคน หรอื ทุน่ แรงคน 2. การปรบั ปรุงแก้ไขเชิงบรหิ ารจดั การ - ให้ลกู จา้ งยกวัสดทุ ม่ี นี ้าหนักนอ้ ยสลับกบั วสั ดทุ ่มี ีน้าหนักมาก - ให้ลกู จา้ งปฏิบตั งิ านอ่นื บ้างนอกเหนอื จากการยกหรือเคลือ่ นย้ายวสั ดุ - จัดตารางการทางาน อตั รา และวิธีปฏิบัตงิ านใหเ้ หมาะสม - จัดใหล้ กู จ้างมีเวลาหยดุ พักทเ่ี พยี งพอ - จดั ให้ลูกจา้ งสามารถยกวัสดใุ นระยะที่เหมาะสม เช่น เหนอื หวั เขา่ ใต้หวั ไหล่ และใกล้ลาตวั - หมุนเวียนลกู จ้างไปปฏบิ ัติงานประเภทอนื่ บ้างภายใน 1 วนั 3. การใชอ้ ุปกรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั ส่วนบคุ คล - สวมใส่รองเทา้ นริ ภยั - สวมใส่ถงุ มือ สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)

หนา้ 17 นอกจากนี้ การปรับปรุงระบบงานยกและเคล่ือนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย จะต้องพิจารณาและปรับปรุง องคป์ ระกอบของระบบงานให้เหมาะสมตามหลักการยศาสตร์ด้วย ดังน้ัน นกั การยศาสตร์จะตอ้ งคานงึ ถงึ 1. สถานงี าน 2. วัสดุทจ่ี ะต้องยก 3. สภาพแวดล้อม 4. พฤติกรรมของลูกจ้างทป่ี ฏิบตั ิงานยกและเคลือ่ นยา้ ยวสั ดุ 5. อปุ กรณผ์ ่อนแรงหรือชว่ ยยกและเคลอื่ นยา้ ยวสั ดุ 5.3.1 สถานงี าน ข้อแนะนาสาหรับการออกแบบสถานีงาน มดี งั นี้ - ลกู จา้ งสามารถยืนใกลว้ ัสดุ ทัง้ ทจี่ ุดเริม่ ต้นหรอื จุดปลายทางของการยก - ลกู จา้ งยืนหนั หนา้ เข้าหาวัสดุ ท้ังท่ีจดุ เริ่มต้นและจดุ ปลายทางของการยก - ระดบั ของวัสดุทจ่ี ะยก ควรอยู่ระหวา่ งหวั เข่าและสะโพกของลูกจ้าง - สถานงี านตอ้ งมีพ้ืนที่วา่ งพอเพียงสาหรับการยืนปฏิบัติงานยก - สถานีงานตอ้ งไมม่ ีช้นิ ส่วนซ่งึ กดี ขวางการยืนปฏิบตั งิ านยก 5.3.2 วสั ดทุ จ่ี ะตอ้ งยก ข้อแนะนาสาหรับวัสดุทจ่ี ะตอ้ งยก มดี งั น้ี - สาหรบั การยกตอ่ เน่ืองดว้ ยลกู จ้าง 1 คน วสั ดุไม่ควรมีน้าหนกั เกนิ 23 กิโลกรมั - วัสดุควรมีรูปร่างและขนาดมาตรฐาน คือ เป็นกล่องส่ีเหลี่ยม ซึ่งลูกจ้างสามารถน่ังย่อขาใกล้ชิด กลอ่ งเมอ่ื จะยกขนึ้ หรอื วางลง - วสั ดุทีจ่ ะยก ควรมชี ่องเจาะหรอื ทจี่ บั เพ่ือใหส้ ะดวกในการยก - วสั ดทุ ่ีจะยก ไมค่ วรมีการถ่ายเทน้าหนกั ในระหว่างการยก - วัสดุทจ่ี ะยก ควรมคี วามเปน็ สมมาตรท้งั รูปร่างและน้าหนกั 5.3.3 สภาพแวดล้อมของบริเวณงาน ขอ้ แนะนาสาหรบั การออกแบบสภาพแวดลอ้ มของบรเิ วณงาน มดี ังนี้ - แสงสวา่ งในบริเวณงานต้องเพยี งพอสาหรับการปฏิบตั ิงานยกและเคลอื่ นย้ายอยา่ งปลอดภยั - อุณหภมู ใิ นบรเิ วณงานไมค่ วรรอ้ นหรอื เย็นเกินไป ควรอย่รู ะหวา่ ง 23-27 องศาเซลเซียส - เส้นทางท่ตี ้องเคล่ือนย้ายวัสดุ ไม่ควรมีสิ่งของวางเกะกะ - พนื้ ไมค่ วรล่นื หรอื เปียก เพ่อื ใหส้ ามารถยนื และเดนิ ได้อยา่ งม่ันคง - พ้ืนควรเป็นทางราบ ไมข่ รุขระ และเปน็ ระดับเดยี ว ไม่ลาดเอยี งขน้ึ /ลง ไมเ่ ป็นพ้ืนตา่ งระดับ สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า 18 5.3.4 พฤติกรรมของลกู จา้ งท่ปี ฏบิ ตั ิงานยกและเคลอื่ นยา้ ยวัสดุ ขอ้ แนะนาสาหรบั พฤติกรรมทเ่ี หมาะสมของลูกจา้ ง มดี ังน้ี - ยนื หนั หนา้ เข้าหาวัสดทุ ี่จุดเร่มิ ตน้ และจุดปลายทางของการยก - ไมย่ กวสั ดุข้นึ อย่างรวดเรว็ หรือด้วยการออกแรงกระชาก - ไมเ่ หวีย่ ง/โยนวสั ดุ - ขณะยกวัสดุขึ้นหรือวางลง ควรปฏิบัติงานโดยการย่อขา ไม่ก้มหลัง หรือถ้าจาเป็น อาจก้มหลังเพียง เลก็ นอ้ ย - ขณะยกวสั ดุขน้ึ หรอื วางลง ควรให้สงิ่ ของวางอยตู่ รงหน้าและอยู่ใกลช้ ิดตวั มากทส่ี ดุ - ถ้าวัสดมุ ีขนาดใหญ่ อาจจะใชท้ า่ น่งั คกุ เขา่ ขา้ งเดียวในการยก 5.3.5 อปุ กรณผ์ ่อนแรงหรอื ช่วยยกและเคล่ือนยา้ ยวัสดุ ถา้ เป็นไปได้ ควรใช้อุปกรณผ์ อ่ นแรงหรือช่วยยกและเคลือ่ นย้ายวสั ดเุ พื่อชว่ ยปฏบิ ตั ิงาน - ใชภ้ าชนะมีทจ่ี ับ เพ่ือใหย้ กไดอ้ ยา่ งสะดวก ดงั แสดงในภาพท่ี 5-4 ภาพที่ 5-4 ตัวอย่างภาชนะมีที่จบั สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า 19 - ใชภ้ าชนะท่เี ปดิ ดา้ นขา้ งได้ เพ่ือใหห้ ยบิ ได้สะดวก ดังแสดงในภาพท่ี 5-5) ภาพท่ี 5-5 ตวั อย่างภาชนะท่ีเปดิ ด้านขา้ งได้ - ใช้อปุ กรณช์ ว่ ยปรับมุมวางของภาชนะเพ่ือใหห้ ยิบวัสดไุ ด้สะดวก ดังแสดงในภาพท่ี 5-6 ภาพท่ี 5-6 ตวั อย่างอุปกรณช์ ่วยปรบั มุมวางของภาชนะ - ใชอ้ ุปกรณช์ ว่ ยในการยกและเคลอื่ นย้ายวัสดุ ดังแสดงในภาพท่ี 5-7 ภาพท่ี 5-7 ตัวอยา่ งอุปกรณ์ชว่ ยยกและเคลื่อนย้ายวสั ดุ สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า 20 - ใช้รถเข็นชว่ ยในการเคล่ือนย้ายวัสดุ ดังแสดงในภาพที่ 5-8 ภาพที่ 5-8 ตวั อย่างรถเข็น - ใช้โตะ๊ หมนุ ช่วยในการปรับตาแหนง่ วัสดทุ ีจ่ ะยก ดังแสดงในภาพท่ี 5-9 ภาพที่ 5-9 ตวั อย่างโต๊ะหมุน สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า 21 - ใช้อปุ กรณช์ ่วยในการปรบั ระดับหรอื ตาแหนง่ ลูกจา้ ง ดงั แสดงในภาพท่ี 5-10 ภาพที่ 5-10 ตวั อย่างอปุ กรณ์ช่วยปรบั ระดับและตาแหน่ง สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หนา้ 22 ภาคผนวก 1 ตวั อย่างการปฏบิ ัติงานยกและเคลอื่ นย้ายวัสดดุ ้วยแรงกายอย่างไมเ่ หมาะสม การปฏบิ ัติงานยกและเคลอ่ื นยา้ ยวสั ดดุ ้วยแรงกายท่ีไม่เหมาะสม จะครอบคลุมการปฏิบัตงิ านในลักษณะ ดงั ตอ่ ไปน้ี ผ1.1 การกม้ หลังขณะปฏบิ ัติงานยก การก้ม-เงยหลังจะใช้กล้ามเนื้อท้องและกล้ามเนื้อหลังร่วมกันในการปฏิบัติกิจกรรม โดยกระดูกสันหลัง จะเกิดการงอที่บริเวณหลังส่วนล่าง ซ่ึงจะมีความเสี่ยงของการเกิดอาการปวดเมื่อยหรือบาดเจ็บท่ีบริเวณนั้น โดยสาเหตอุ าจจะมาจากปัญหาท่ีกลา้ มเนื้อ เส้นเอน็ กระดูก หรือหมอนรองกระดูก ลกู จ้างมกั จะยกวัสดใุ นท่าทาง ก้มหลัง (ภาพที่ ผ1-1) เพราะสามารถปฏบิ ตั ไิ ด้อย่างสะดวกและรวดเรว็ แต่กจ็ ะเพม่ิ ความเส่ียงต่ออาการบาดเจ็บ ทบ่ี รเิ วณหลังสว่ นลา่ งด้วย ภาพท่ี ผ1-1 ตัวอยา่ งการก้มหลังขณะปฏบิ ัติงานยก สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า 23 ผ1.2 การบดิ เอ้ียวตัว/เอยี งตวั ขณะปฏิบัติงานยก การบิดเอ้ียวตัว/เอียงตัวขณะปฏิบัติงานยก (ภาพที่ ผ1-2) จะสร้างแรงเฉือนบนหมอนรองกระดูก เม่ือ รวมกับแรงเฉือนที่เกิดจากน้าหนักของวัสดุท่ีกาลังยกแล้ว จะเพิ่มความเสี่ยงที่ส่วนวุ้นข้น (Nucleus Pulposus) ในหมอนรองกระดูกจะเคลื่อนไปทางด้านหลังและกดทับรากประสาทของเส้นประสาทส่วนหลัง ที่ควบคุมการ ทางานของกล้ามเนื้อและการรับความรู้สึกบริเวณขาท้ัง 2 ข้าง ลูกจ้างควรจะหมุนร่างกายท้ังตัว โดยรักษาให้ ลาตัวสว่ นบนและขาอยใู่ นระนาบเดียวกนั ไม่บดิ หลังส่วนล่างไปทางซ้ายหรือขวา ภาพท่ี ผ1-2 ตัวอยา่ งของการบดิ เอี้ยวตัว/เอยี งตวั ขณะปฏิบัติงานยก สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า 24 ผ1.3 การยกวสั ดุเหนอื ระดับหัวไหล่ การยกวัสดุเหนือระดับหัวไหล่ (ภาพที่ ผ1-3) เป็นการปฏิบัติงานในลักษณะที่ไม่เหมาะสม เน่ืองจากมี โอกาสเส่ียงที่จะเกิดการบาดเจ็บชองกล้ามเน้ือบริเวณรอบหัวไหล่ และหัวใจจะต้องสูบฉีดโลหิตไปเล้ียงส่วนของ ร่างกายที่อยู่ระดับสูงกว่าหัวใจ คือ แขนท่อนบน แขนท่อนล่าง และมือ ทาให้หัวใจทางานหนักกว่าปกติ ดังน้ัน นอกจากจะมีอาการปวดเมื่อยบริเวณหัวไหล่และแขนท่อนบนแลว้ ลกู จา้ งจะรูส้ กึ เหน็ดเหนื่อยร่างกายมากขนึ้ อีกด้วย ภาพท่ี ผ1-3 ตัวอย่างของการยกวัสดเุ หนอื ระดับหัวไหล่ สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 25 ผ1.4 การยกโดยท่วี สั ดอุ ยหู่ า่ งไกลตวั ลูกจ้างซ่ึงปฏิบัตงิ านยกโดยท่ีวสั ดุอยู่หา่ งไกลตัว จะมีความเส่ียงของการเกิดอาการปวดเมื่อยบริเวณไหล่ แขน และหลังสว่ นลา่ ง การย่นื แขนไปดา้ นหน้าเพื่อยกวสั ดุ (ภาพท่ี ผ1-4) จะสรา้ งภาระงานให้กล้ามเน้ือไหล่และ แขนท่อนบนมาก เน่ืองจากคานของกล้ามเนื้อยาวขึ้น นอกจากนี้ การท่ีวัสดุอยู่ห่างไกลตัว จะเพิ่มโมเมนต์ที่ หมอนรองกระดูกเนื่องจากแขนของแรงมีระยะยาวข้ึน ในการน้ี พนักงานจะรู้สึกว่ามีภาระงานมากขึ้น ทั้งที่ น้าหนักของวสั ดไุ มเ่ ปล่ยี นแปลง ภาพท่ี ผ1-4 ตวั อย่างของการยกโดยทว่ี ัสดุอย่หู ่างไกลตัว สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)

หนา้ 26 ผ1.5 การยกโดยวางวสั ดบุ นหลัง การยกโดยวางวัสดุบนหลัง เป็นการปฏิบัติงานที่มีความเส่ียงทั้งด้านการยศาสตร์และความปลอดภัย หลังของมนุษย์เป็นอวัยวะท่ีเปราะบางมาก การบาดเจ็บท่ีหลังอาจจะทาให้เป็นอัมพาตได้ ลูกจ้างไม่ควร ปฏิบัติงานยกโดยใชห้ ลงั เป็นสว่ นรับน้าหนัก (ภาพท่ี ผ1-5) ถึงแม้ว่ากล้ามเนื้อจะมีการทางานน้อยในการยกวัสดุ แต่จะทางานมากเพอ่ื พยุงโครงสร้างของรา่ งกาย ภาพที่ ผ1-5 ตัวอย่างของการยกโดยวางวสั ดุบนหลงั สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า 27 ผ1.6 การยกโดยวางวัสดุบนศรี ษะ/บ่า การยกโดยวางวัสดุบนศีรษะ (ภาพที่ ผ1-6) ก็เป็นการปฏิบัติงานที่มีความเสี่ยงมากท้ังด้านการยศาสตร์ และความปลอดภัย เพราะส่วนของร่างกายที่จะรับน้าหนักของวัสดุ คือ คอ ซ่ึงมีความเปราะบางไม่ต่างกับหลัง การบาดเจบ็ ทค่ี อ อาจทาใหล้ ูกจา้ งเปน็ อมั พาตท้ังร่างกายได้ ส่วนการยกโดยวางวัสดุบนบ่า (ภาพท่ี ผ1-7) จะบังคบั ให้ ลูกจ้างต้องเอียงศีรษะและลาตัวในขณะปฏิบัติงาน ซ่ึงจะเพิ่มความเส่ียงของการปวดเม่ือยบริเวณคอและหลัง ส่วนล่างอีกด้วย ภาพท่ี ผ1-6 ตวั อย่างของการยกโดยวางวสั ดบุ นศีรษะ ภาพที่ ผ1-7 ตวั อยา่ งของการยกโดยวางวสั ดุบนบา่ สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า 28 ผ1.7 การยกวสั ดทุ ีม่ รี ูปร่างไมม่ าตรฐาน สาหรับงานยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย วัสดุที่มีรูปร่างมาตรฐาน คือ วัสดุที่มีรูปร่างสี่เหลี่ยม จัตุรัส หรือส่ีเหล่ียมผืนผ้า ถ้าลูกจ้างต้องยกวัสดุที่มีรูปร่างไม่มาตรฐาน อาจจะส่งผลให้ท่าทางในการยกวัสดุ ไม่เหมาะสม และเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดปัญหาการยศาสตร์บริเวณต่าง ๆ ของร่างกาย ตัวอย่างของวัสดุที่มี รูปรา่ งไมม่ าตรฐาน เช่น กระปอ๋ ง ถงั ถงุ กระสอบ เปน็ ตน้ (ดงั แสดงในภาพที่ ผ1-8 ภาพท่ี ผ1-8 ตวั อยา่ งของการยกวัสดทุ ่มี ีรปู ร่างไม่มาตรฐาน สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 29 ภำคผนวก 2 ท่ำบริหำรรำ่ งกำยสำหรบั ผปู้ ฎิบตั ิงำนยกและเคล่ือนย้ำยวสั ดดุ ้วยแรงกำย การบรหิ ารรา่ งกายเพ่อื ยืดเหยียดกลา้ มเน้อื มีหลกั การดงั นี้ เคลื่อนไหวรา่ งกายส่วนทตี่ อ้ งการยดื ช้า ๆ เคลอ่ื นไหวไปจนรู้สึก “เริ่มตึง” ในกลา้ มเนอ้ื ทีต่ อ้ งการยดื ยืดค้างไว้ในตาแหน่งทรี่ สู้ กึ “เริม่ ตึง” เป็นเวลา 10-15 วินาที ทาซ้าแตล่ ะท่า 10-15 คร้งั เมือ่ ทาการยืดเหยยี ดกล้ามเน้ือที่ถูกต้อง หลงั การยืดเหยียดควรร้สู กึ ผ่อนคลายไม่มอี าการเจ็บตึง ผ2.1 ทา่ ยดื กลา้ มเนือ้ คอกลมุ่ กม้ และเงยคอ 1. ยนื ตวั ตรง มอื จบั สะโพกท้งั 2 ข้าง (ภาพที่ ผ2-1 ก) 2. ค่อย ๆ กม้ ศีรษะลงช้าๆ จนรู้สกึ “เรมิ่ ตงึ ” กล้ามเนอ้ื คอด้านหลงั (ภาพที่ ผ2-1 ข) 3. ค้างไว้ นบั 1-10 ทาซา้ 10 ครั้ง 4. จากน้ันสลับทาในท่าเงยหน้า (ภาพที่ ผ2-1 ค) (ก) (ข) (ค) ภาพที่ ผ2-1 ทา่ ยืดกล้ามเนอื้ คอกลุ่มกม้ และเงยคอ สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า 30 ผ2.2 ทา่ ยดื กล้ามเน้อื คอ และบา่ 1. ยนื ตัวตรง มอื จบั สะโพกท้งั สองข้าง 2. คอ่ ยๆ เอียงศรี ษะไปทางขวาช้า ๆ จนรสู้ กึ ตึงกลา้ มเน้ือคอดา้ นขา้ ง (ภาพที่ ผ2-2 ก) 3. ค้างไว้ นบั 1-10 ทาซ้า 10 ครง้ั 4. จากน้นั สลับไปทาดา้ นซา้ ย (ภาพท่ี ผ2-2 ข) (ก) (ข) ภาพท่ี ผ2-2 ท่ายดื กล้ามเน้ือคอ และบา่ ผ2.3 ท่ายืดกล้ามเนอ้ื คอกลุ่มหมุนศรี ษะ 1. ยืนตวั ตรง มือจับสะโพกท้ัง 2 ขา้ ง 2. คอ่ ย ๆ หันศรี ษะไปทางขวาช้า ๆ จนรสู้ ึกตึงกลา้ มเนื้อคอดา้ นซ้าย (ภาพที่ ผ2-3 ก) 3. ค้างไว้ นับ 1-10 ทาซา้ 10 คร้ัง 4. จากน้นั สลบั ไปทาดา้ นซา้ ย (ภาพท่ี ผ2-3 ข) (ก) (ข) ภาพท่ี ผ2-3 ทา่ ยืดกลา้ มเน้ือคอกลุ่มหมนุ ศีรษะ สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า 31 ผ2.4 ท่ายดื กลา้ มเนอ้ื สะบักด้านใน 1. ย่นื แขนขวามาขา้ งหน้า 2. ใชแ้ ขนซ้ายดัดแขนท่ียืน่ ออกไปให้เข้ามาชดิ ลาตวั จนรูส้ กึ ตงึ ทบ่ี รเิ วณไหล่ (ภาพท่ี ผ2-4 ก) 3. คา้ งไว้ นบั 1-10 ทาซ้า 10 คร้ัง 4. จากนน้ั สลบั ไปทาแขนซา้ ย (ภาพท่ี ผ2-4 ข) (ก) (ข) ภาพที่ ผ2-4 ทา่ ยดื กลา้ มเนอ้ื สะบกั ด้านใน ผ2.5 ท่ายดื กล้ามเนอ้ื ท้องแขน 1. ยกแขนข้นึ ทั้ง 2 ขา้ ง 2. ใช้มือซ้ายจับทข่ี ้อศอกของแขนขวา แล้วดงึ ข้อศอกให้รู้สึกตึง (ภาพท่ี ผ2-5 ก) 3. คา้ งไว้ นับ 1-10 ทาซ้า 10 ครง้ั 4. จากนน้ั สลับไปทาแขนซา้ ย (ภาพท่ี ผ2-5 ข) (ก) (ข) ภาพท่ี ผ2-5 ทา่ ยดื กลา้ มเนื้อทอ้ งแขน สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า 32 ผ2.6 ท่ายืดกล้ามเนื้อมอื 1. ใชม้ อื ขวาจบั บริเวณทฝ่ี ่ามอื ซ้าย เหยยี ดแขนท้งั 2 ข้างไปทางดา้ นหน้าจนข้อศอกซ้ายตรง 2. คว่าแขนซ้ายลง ต้ังน้ิวขึ้น ใช้มือขวาดึงน้ิวมือซ้ายเข้าหาตนเองจนรู้สึกตึงบริเวณศอกซ้ายด้านใน (ภาพที่ ผ2-6 ก) 3. ค้างไว้ นับ 1-10 4. หงายแขนซ้ายข้ึน งอน้ิวลง ใช้มอื ขวาดงึ นิว้ มอื ซา้ ยเขา้ หาตนเอง ทาซา้ 10 ครัง้ (ภาพท่ี ผ2-6 ข) 5. จากน้นั สลับทาแขนขวา (ก) (ข) ภาพท่ี ผ2-6 ทา่ ยดื กลา้ มเน้อื มือ ผ2.7 ท่ายืดกลา้ มเน้ือหลงั 1. ยนื ตรง ปลายเท้าขนานกับหัวไหล่ กม้ ตัวไปดา้ นหนา้ เขา่ ตึง (ภาพที่ ผ2-7 ก) 2. เหยียดแขนลงแตะปลายเท้า หากแตะปลายเท้าไม่ถึง ให้พยายามก้มให้ได้มากที่สุด แต่ห้ามงอเข่า (ภาพท่ี ผ2-7 ข) 3. ค้างไว้ นบั 1-10 ทาซา้ 10 ครั้ง (ก) (ข) ภาพท่ี ผ2-7 ท่ายืดกลา้ มเนือ้ หลัง สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า 33 ผ2.8 ทา่ แอน่ หลงั 1. ยนื ตรง ปลายเท้าขนานกบั หวั ไหล่ 2. วางมอื ทัง้ 2 ขา้ งท่บี รเิ วณหลงั สว่ นล่าง เหยียดปลายนว้ิ ลง 3. เอนตัวไปดา้ นหลังจนรูส้ กึ ตึงกลา้ มเนอื้ ลาตวั ด้านหน้า ระวังอย่าให้เขา่ งอ (ภาพท่ี ผ2-8) 4. ค้างไว้ นบั 1-10 ทาซ้า 10 ครัง้ ภาพท่ี ผ2-8 ทา่ แอน่ หลัง ผ2.9 ท่ายดื กล้ามเนอ้ื ดา้ นข้างลาตวั 1. ยนื ตรง ปลายเท้าขนานกบั หัวไหล่ 2. เอยี งตวั มาดา้ นขวาให้ไดม้ ากทส่ี ุด หน้ามองตรง อย่าใหล้ าตัวบิด (ภาพท่ี ผ2-9 ก) 3. คา้ งไว้ นับ 1-10 ทาซ้า 10 ครง้ั 4. จากนน้ั สลบั ทาอกี ขา้ ง (ภาพท่ี ผ2-9 ข) (ก) (ข) ภาพที่ ผ2-9 ท่ายดื กล้ามเนือ้ ดา้ นขา้ งลาตัว สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)

หนา้ 34 ผ2.10 ท่ายืดกลา้ มเนอ้ื หลงั ส่วนลา่ ง 1. ยนื ตรง ปลายเท้าขนานกับหัวไหล่ มอื ทา้ วเอว 2. หมนุ ตัวมาดา้ นขวาใหไ้ ดม้ ากทสี่ ุด หน้ามองตรง อย่าให้ลาตัวเอยี ง (ภาพท่ี ผ2-10 ก) 3. ค้างไว้ นับ 1-10 ทาซ้า 10 ครั้ง 4. ทาสลบั ดา้ นซา้ ย (ภาพที่ ผ2-10 ข) (ก) (ข) ภาพที่ ผ2-10 ท่ายืดกลา้ มเนื้อหลงั ส่วนลา่ ง ผ2.11 ทา่ ยดื กล้ามเน้อื ตน้ ขาดา้ นหลัง 1. ยืนตรง เหยยี ดขาซ้ายมาทางด้านหน้าประมาณ 1 กา้ ว 2. ยอ่ ขาขวาช้า ๆ ไปทางดา้ นหลัง ให้เขา่ ขวางอ เหยยี ดขาซ้ายตึง งอปลายเท้าซ้ายข้ึน (ภาพท่ี ผ2-11 ก และ ผ2-11 ข) 3. ค้างไว้ นับ 1-10 ทาซา้ 10 ครงั้ 4. จากนั้นสลับทาขาขวา (ภาพที่ ผ2-11 ค) (ก) (ข) (ค) ภาพท่ี ผ2-11 ท่ายดื กล้ามเนื้อตน้ ขาด้านหลัง สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า 35 ผ2.12 ท่ายืดกล้ามเนอื้ น่อง 1. ยืนแยกขา หา่ งกันประมาณ 2 ก้าว หมนุ เทา้ ซ้ายไปทางซา้ ย 90° 2. ย่อเข่าซ้ายช้า ๆ ให้หัวเข่าทามุม 90° ขาขวาตึง มือท้ังสองข้างกดบนต้นขาซ้าย แขนเหยียดตรง (ภาพที่ ผ2-12 ก) 3. ค้างไว้ นับ 1-10 ทาซา้ 10 คร้ัง 4. จากนัน้ สลบั ทาขาขวา (ภาพที่ ผ2-12 ข) (ก) (ข) ภาพท่ี ผ2-12 ท่ายืดกลา้ มเน้ือน่อง ผ2.13 ท่ายดื กล้ามเนอื้ ตน้ ขาดา้ นหนา้ 1. ยนื ตรง พับขาขวาไปทางดา้ นหลัง 2. ใชม้ อื ขวาดงึ ปลายเท้าขวาขึน้ ใหห้ นา้ ขาขวาตงึ (ภาพที่ ผ2-13) 3. ค้างไว้ นบั 1-10 ทาซ้า 10 คร้งั 4. จากน้ันสลบั ทาขาซา้ ย ภาพที่ ผ2-13 ท่ายดื กลา้ มเน้ือต้นขาด้านหน้า สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า 36 ผ2.14 ท่ายืดกล้ามเนือ้ นอ่ ง 1. ยนื ตรง มือท้าวเอว 2. ก้าวเท้าขวาออกมาด้านหน้า ขาขวาเหยยี ดตรง กระดกปลายเท้าขวาข้นึ (ภาพที่ ผ2-14 ก) 3. ค้างไว้ นบั 1-10 ทาซ้า 10 คร้ัง 4. สลับทาอกี ข้างหนึ่ง (ภาพท่ี ผ2-14 ข) ภาพที่ ผ2-14 ท่ายืดกลา้ มเนื้อน่อง ผ2.15 ทา่ บรหิ ารเพิ่มความแขง็ แรงกล้ามเนื้อน่อง 1. ยนื ตรง มอื ท้าวเอว 2. เขยง่ ปลายเทา้ ทั้ง 2 ข้างขนึ้ พร้อมกนั (ภาพท่ี ผ2-15) 3. ค้างไว้ นับ 1-10 ทาซ้า 10 ครั้ง ภาพที่ ผ2-15 ท่าบริหารเพิ่มความแข็งแรงกลา้ มเนือ้ น่อง สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 37 บรรณำนุกรม สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) มาตรฐานการ ยกและเคลื่อนย้ายวสั ดุดว้ ยแรงกายตามหลกั การยศาสตร์ พ.ศ. 2561 สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน) คู่มือการ ฝกึ อบรม“การยกและเคลอ่ื นยา้ ยวัสดดุ ้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์” พ.ศ. 2558 สมาคมการยศาสตร์ไทย “ร่างมาตรฐานการยศาสตร์ ข้อแนะนาในการเคล่ือนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย เล่มที่ 1 การยกและการขนยา้ ย” สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า 38 สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)