Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการดำเนินงานตามระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน (Occupational Safety And Health Management System Manual)

คู่มือการดำเนินงานตามระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน (Occupational Safety And Health Management System Manual)

Published by e-Book สสปท., 2020-07-09 05:42:41

Description: เกี่ยวข้องกับด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อมในการทำงาน Occupational Safety Health

Keywords: ปลอดภัย,safety,Occupational,Health

Search

Read the Text Version

หนา้ ก สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

ชื่อหนังสือ : คู่มือการดาเนินงานตามระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย แล ะ สภาพแวดลอ้ มในการทางาน Occupational Safety and Health Management System Manual : OSHMS (สสปท. 2-4-01-01-2562) ชอ่ื ผูแ้ ตง่ : คณะทางานจัดทาคมู่ ือการดาเนินงานตามระบบการจดั การด้านความปลอดภยั อาชวี อนามยั และ สภาพแวดลอ้ มในการทางาน จดั ทาโดย : สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) ปที ี่พิมพ์ : ปี พ.ศ. 2562 ครัง้ ทพ่ี มิ พ์ : จดั พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1 โรงพมิ พ์ : บรษิ ทั ชยากร พริ้นตง้ิ จากดั 27 ถนนเพชรเกษม 81 แขวงหนองแขม เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร 10160 โทรศพั ท์ 02 8120770 ISBN : 978-616-8026-11-3 สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า ก คณะอนกุ รรมการวิชาการ 1. นางสาวสดุ ธิดา กรุงไกรวงศ์ ประธานคณะอนุกรรมการ 2. นายวิเลิศ เจตยิ านวุ ัตร อนุกรรมการ 3. นายเกยี รตศิ กั ดิ์ บญุ สนอง อนกุ รรมการ 4. นางลัดดา ต้งั จินตนา อนุกรรมการ 5. นายสบื ศกั ดิ์ นนั ทวานชิ อนุกรรมการ 6. นายประมุข โอศิริ อนกุ รรมการ 7. ผอู้ านวยการสานกั วจิ ยั และพัฒนา อนกุ รรมการ 8. ผ้อู านวยการสานกั บริการวชิ าการ อนุกรรมการ 9. นายธนกฤต ธนวงศ์โภคิน อนกุ รรมการและเลขานกุ าร สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า ข คณะทางาน จัดทาคู่มือการดาเนนิ งานตามระบบการจัดการด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน 1. นางสาวสุดธดิ า กรุงไกรวงศ์ ประธานคณะทางาน 2. นายวเิ ลิศ เจตยิ านุวตั ร คณะทางาน 3. นางลดั ดา ตงั้ จนิ ตนา คณะทางาน 4. นายโสภณ พงษโ์ สภณ คณะทางาน 5. นางพรทิพย์ ทองเอ่ียม คณะทางาน 6. นายวชิ ติ เอือ้ สมานจิต คณะทางาน 7. นายเสรมิ ศักดิ์ อยู่เป็นสขุ คณะทางาน 8. นายธนกฤต ธนวงศโ์ ภคนิ คณะทางาน 9. นายพฤทธิพงศ์ สามสังข์ คณะทางาน 10. นางสาวจิรนนั ทน์ อนิ ทรม์ ณี คณะทางาน 11. นางสาวสภุ ารตั น์ คะตา คณะทางาน 12. นางสาวปานฤทัย ไชยสทิ ธิ์ คณะทางาน 13. นางสาวณัฐจิต อ้นเมฆ คณะทางาน 14. นางสาวองั คณา ใหม่จนี คณะทางาน 15. นางสาวอภิสรา พระสมิง คณะทางาน 16. นางสาวพัชพร ศรีสงวน คณะทางาน 17. นางสาวนันทชิ า อรชร คณะทางาน 18. นางสาวมาลนิ ี มสุ ิกะ คณะทางาน สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า ค คานา สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) ภายใต้ การกากับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน โดยกาหนดอานาจหน้าที่หน่ึงของสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน) คือ การพัฒนาและสนับสนุนการจัดทามาตรฐานและคู่มือแนว ปฏบิ ตั ิเพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน กระทรวงแรงงานได้ออกกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบรหิ ารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2553 ลงวันท่ี 24 มิถุนายน 2553 กาหนดให้ สถานประกอบกิจการท่ีมีลูกจ้างต้ังแต่ 50 คนข้ึนไป นายจ้างต้องจัดให้มีระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ซ่งึ อยา่ งน้อยต้องประกอบด้วย 1) นโยบายดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 2) โครงสร้างการบริหารดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 3) แผนงานด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน และการนาไปปฏบิ ัติ 4) การประเมนิ ผลและทบทวนการจัดการด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน 5) การดาเนนิ การปรับปรุงด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน เพื่อให้สถานประกอบกิจการมีแนวทางในการปฏิบัติให้สอดคลอ้ งกับกฎกระทรวงฯ ดังกล่าว สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภัยฯ จึงได้จัดทาคู่มือการดาเนินงานตามระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางานขึ้น อีกท้ังสถานประกอบกิจการหรือหน่วยงานหรือองค์กรก็สามารถนาคู่มือฉบับนี้ ไปดาเนินการในการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานขององค์กรให้เป็น ระบบอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือความปลอดภัยของคนทางานทุกคนและสามารถพัฒนาศักยภาพองค์กรสู่ มาตรฐานสากลได้ต่อไป สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)

สารบัญ เรื่อง หนา้ คณะอนุกรรมการวิชาการ ก คณะทางานจดั ทาคู่มือการดาเนินงานตามระบบการจัดการดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามยั และ ข สภาพแวดล้อมในการทางาน คานา ค บทที่ 1 บทนา 1 1 1.1 แนวคิดระบบการจดั การดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน 2 1.2 องค์ประกอบของระบบการจัดการด้านความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 4 บทท่ี 2 นโยบายดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน 4 2.1 นโยบายดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 7 บทที่ 3 โครงสรา้ งการบริหารดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน 7 3.1 โครงสรา้ งการบรหิ ารดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน 16 3.2 สมรรถนะและการฝกึ อบรม 23 3.3 การสอ่ื สาร 27 3.4 การควบคมุ เอกสาร 32 บทที่ 4 แผนงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานและการ นาไปปฏบิ ตั ิ 32 4.1 วตั ถปุ ระสงค์และแผนงาน 34 4.2 กฎหมายความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 36 4.3 การจัดการความเสยี่ ง 38 4.4 การควบคมุ การปฏิบตั ิงาน 40 4.5 การเตรยี มความพรอ้ มและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 45 บทท่ี 5 การประเมินผลและทบทวนการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอ้ มในการทางาน 45 5.1 การประเมินผล 47 5.2 การสอบสวนอุบัติการณแ์ ละเหตุการณ์เกือบเปน็ อุบตั เิ หตุ 52 5.3 การตรวจประเมิน 59 5.4 การทบทวนการจัดการ 62 บทที่ 6 การดาเนนิ การปรบั ปรุงดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน 62 6.1 การดาเนินการปรับปรุงด้านความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 66 บรรณานกุ รม สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 1 บทท่ี 1 บทนา 1.1 แนวคิดระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน คู่มือการดาเนินงานตามระบบระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางานฉบับนี้จัดทาข้ึนเพ่ือเป็นแนวทางให้สถานประกอบกิจการสามารถปฏิบัติได้ตามมาตรฐานระบบ การจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน เป็นไปตามกฎกระทรวงกาหนด มาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2553 ลงวันที่ 24มิถุนายน 2553 กาหนดให้สถานประกอบกิจการท่ีมีลูกจ้างตั้งแต่ 50 คนข้ึนไป ให้นายจ้างจัดให้มีระบบการจัดการด้านความปลอดภัยในการทางานของสถานประกอบกิจการ มีการดาเนินการ ในเร่ืองมาตรฐานระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานท่ีมี ประสิทธิภาพและสามารถนาไปต่อยอดสูร่ ะบบมาตรฐานสากลได้ รวมทั้งส่งเสริมภาพลกั ษณ์ ความรับผิดชอบ ท่ีมตี อ่ สถานประกอบกิจการ ซง่ึ จะทาใหเ้ กดิ ความมน่ั ใจในการประกอบกิจการ ค่มู ือการดาเนินงานตามระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน จะมเี น้ือหาสถานประกอบกิจการต้องนาไปปฏบิ ตั ิ ประกอบดว้ ย 1. นโยบายด้านความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 2. โครงสร้างการบรหิ ารดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 3. แผนงานความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางานและการนาไปปฏบิ ตั ิ 4. การประเมนิ ผลและทบทวนการจัดการดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน 5. การดาเนนิ การปรับปรุงด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน รูปท่ี 1-1 แนวคิดระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หนา้ 2 1.2 องค์ประกอบของระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทางาน ระบบการจดั การดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ประกอบด้วย 1. นโยบายด้านความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 2. โครงสรา้ งการบรหิ ารด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน 2.1 กาหนดหน้าที่และความรับผิดชอบด้านความปลอดภยั 2.2 สมรรถนะและการฝึกอบรม 2.3 การสอื่ สาร 2.4 การควบคมุ เอกสาร 3. แผนงานดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน และการนาไปปฏบิ ตั ิ 3.1 วัตถปุ ระสงคแ์ ละแผนงาน 3.2 กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน 3.3 การจดั การความเสย่ี ง 3.4 การควบคุมการปฏบิ ัตงิ าน 3.5 การเตรียมความพร้อมและการตอบโตภ้ าวะฉุกเฉนิ 4. การประเมินผลและทบทวนการจัดการด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน 4.1 การประเมินผล 4.2 การทบทวน 5. การดาเนินการปรับปรงุ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน 5.1 การแก้ไข การดาเนินการแก้ไขและการดาเนินการป้องกัน 5.2 การกาหนดระยะเวลาในการปรับปรุงและพัฒนาระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หนา้ 3 ขัน้ ตอนและวธิ ีการดาเนิน การจัดทาระบบการจดั การด้านความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน กาหนด และจัดทานโยบายความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน กาหนดโครงสรา้ ง บทบาท หนา้ ที่ ความรับผิดชอบ ต้ังแต่งผู้แทนนายจ้างระดับบริหารดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน และคณะทางานจัดทาระบบ วัตถปุ ระสงคแ์ ละแผนงาน กฎหมายความปลอดภยั อาชวี อนามยั และ สภาพแวดลอ้ มในการทางาน สมรรถนะและการฝกึ อบรม การจดั การความเส่ียง การสอื่ สาร การควบคมุ การปฏิบตั งิ าน การควบคุมเอกสาร การเตรยี มความพร้อมและ การประเมินผล การตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉนิ การสอบสวนอุบตั ิเหตุและ เหตกุ ารณเ์ กอื บเปน็ อุบตั เิ หตุ การตรวจประเมิน การปรับปรงุ และทบทวน สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า 4 บทที่ 2 นโยบายด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน 2.1 นโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน 2.1.1 ข้อกาหนด ทงั้ นีใ้ หด้ าเนนิ การตามมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภัย ฯ (สสปท. 1-4-01-00-2562) ขอ้ 4.2 4.2.1 นายจ้างต้องกาหนดนโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน โดยจัดทาเป็นเอกสารพร้อมทง้ั ลงนาม ซงึ่ นโยบายดงั กลา่ วต้อง 1) เหมาะสมกบั ขนาด ลักษณะกจิ กรรม และความเสย่ี งของสถานประกอบกจิ การ 2) เป็นกรอบในการกาหนดและทบทวนวัตถุประสงค์ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอ้ มในการทางาน 3) แสดงความม่งุ มั่นเพื่อปอ้ งกันมิให้เกิดความสูญเสยี 4) แสดงความมุ่งมั่นในการปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน และสนับสนุนการจัดสรรเวลาและทรัพยากรเพื่อนา นโยบายไปสกู่ ารปฏบิ ัติ 4.2.2 นายจ้างตอ้ งให้ลูกจา้ งมสี ่วนรว่ มในการกาหนดนโยบายดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามยั และ สภาพแวดล้อมในการทางาน 4.2.3 มีการทบทวนนโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ตามระยะเวลาท่ีเหมาะสม เพื่อให้ม่ันใจว่านโยบายท่ีกาหนดขึ้นมีความเหมาะสมกับสถาน ประกอบกิจการ 4.2.4 มีการสอื่ สารใหล้ ูกจ้างทราบอยา่ งท่วั ถึง สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า 5 2.1.2 แนวทางการปฏบิ ตั ิ เริ่ม/จบกระบวนการ กจิ กรรม เงื่อนไข / การตดั สินใจ ความสัมพนั ธ์และทิศทางของกระบวนการ ผู้รบั ผิดชอบ เอกสารทเ่ี ก่ียวข้อง ลาดบั การปฏิบตั ิ - คปอ. 1 - ผแู้ ทนฝา่ ยบรหิ าร จัดทาร่างนโยบายความปลอดภัยฯ นาเสนอผบู้ ริหารสูงสุดพิจารณา และผแู้ ทนฝา่ ย ปฏิบตั ิการ 1 (กรณไี มม่ ี คปอ.) 2 - ผบู้ รหิ ารสงู สดุ ไมใ่ ช่ พจิ ารณาเห็นชอบนโยบายฯ - ผู้แทนฝา่ ยบรหิ าร และลงนามเปน็ ลายลกั ษณ์ - ฝ่ายบุคคล อกั ษร ใช่ 3 ดาเนนิ การสื่อสารนโยบายความปลอดภยั ฯ โดยผ่านช่องทางต่าง ๆ ตาม ความเหมาะสม เชน่ การตดิ บอรด์ ประชาสมั พนั ธ์ และการประชุม เป็นตน้ 4 - คปอ. - ผแู้ ทนฝ่ายบรหิ าร นาเสนอวาระการทบทวนนโยบายความปลอดภัยฯ และผแู้ ทนฝา่ ย ในท่ีประชุมการทบทวนการจดั การ ตามระยะเวลาทกี่ าหนดไว้ ปฏิบตั กิ าร (กรณไี ม่มี คปอ.) 54 - ผู้บรหิ ารสูงสดุ ไม่ใช่ ดาเนนิ การทบทวนนโยบาย ความปลอดภยั ฯ ว่ายังมีความ เหมาะสมอยหู่ รือไม่ ใช่ 6 - คปอ. - ผแู้ ทนฝ่ายบรหิ าร พจิ ารณาเห็นชอบ และลงนามเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร และผแู้ ทนฝ่าย พรอ้ มทั้งดาเนนิ การส่อื สาร ปฏิบัตกิ าร (กรณีไมม่ ี คปอ.) สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หนา้ 6 2.1.3 ตวั อยา่ งนโยบายความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน บรษิ ทั ความปลอดภัยไทย จากดั บริษัท ความปลอดภัยไทย จากัด มพี ันธะสัญญาทจี่ ะจดั การให้เกิดความปลอดภัย สุขภาพอนามยั และมี สภาพแวดล้อมในการทางานท่ีดี โดยการนามาตรฐานระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอ้ มในการทางาน มาดาเนินการดว้ ยความมุ่งมั่น ดังนี้ 1. ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกาหนดด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 2. ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ อันตราย และความเจ็บป่วยจากการทางานของพนักงานจากการดาเนินกิจการ ของบริษทั 3. ลดการเกดิ อบุ ัติเหตุ อนั ตราย และความเจ็บปว่ ยจากการทางานของพนกั งาน 4. ปรบั ปรุงระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของบริษัท อย่างต่อเนอ่ื ง ท้งั น้ี เพ่ือใหบ้ รรลุเป้าหมายตามนโยบายความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ข้างต้น บริษัท ความปลอดภัยไทย จากัด ขอให้พนักงานทุกคน ทุกระดับ รับทราบและปฏิบัติตามนโยบาย ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน อย่างจริงจงั (นายส่งเสริม ปลอดภยั ) ผูจ้ ดั การใหญ่ วนั ท่ี 2 มิถนุ ายน 2561 สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)

หนา้ 7 บทที่ 3 โครงสรา้ งการบรหิ ารด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 3.1 โครงสรา้ งการบริหารด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน 3.1.1 ข้อกาหนด ท้ังน้ีให้ดาเนินการตามมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภัย ฯ (สสปท. 1-4-01-00-2562) ข้อ 4.3.1 4.3.1 โครงสร้างการบริหารด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน โดยนายจ้างต้องดาเนนิ การดังนี้ 1) ต้องกาหนดหน้าท่ีและความรับผิดชอบของบุคลากร คณะบุคคล และหน่วยงานดา้ น ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน โดยให้เป็นความ รับผิดชอบของสายงานบังคับบัญชาตามลาดับ จัดทาเป็นเอกสาร และสื่อสารให้ ทราบโดยทัว่ กนั 2) นายจ้างต้องแต่งต้ังผู้แทนนายจ้างระดับบริหาร โดยมีอานาจหน้าที่และความ รับผิดชอบ ดงั น้ี ก. ดูแลให้ระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การทางานที่ได้จัดทาข้ึน มีการนาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ให้เป็นไปตามข้อกาหนด ในมาตรฐานน้อี ย่างต่อเนอ่ื ง ข. รายงานผลการปฏิบัติงานของระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางานต่อนายจ้าง ค. ใหข้ ้อเสนอแนะต่อนายจา้ ง เพ่อื นาไปสกู่ ารปรบั ปรงุ อย่างตอ่ เนือ่ ง ง. ส่งเสริมให้ลกู จ้างทกุ คนในสถานประกอบกิจการมสี ่วนรว่ ม สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 8 3.1.2 แนวทางการปฏิบตั ิ เรมิ่ /จบกระบวนการ กจิ กรรม เงอ่ื นไข / การตดั สนิ ใจ ความสัมพันธ์และทิศทางของกระบวนการ ลาดับ ผรู้ บั ผิดชอบ เอกสารท่ีเกย่ี วขอ้ ง การปฏบิ ัติ ผูบ้ ริหารสูงสดุ 1 - จป.หลัก จัดหาทรัพยากรในการจดั ทาระบบการจัดการดา้ นความปลอดภยั - ฝา่ ยบคุ คล อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน กรณไี มม่ ีจป.หลัก 2 กาหนดโครงสรา้ งการบริหาร บทบาท หนา้ ที่และความรบั ผดิ ชอบ ดา้ นความปลอดภยั ฯ ของผปู้ ฏิบตั งิ าน นาเสนอผู้บริหารสงู สุดพจิ ารณา 3 ผู้บริหารสงู สุด 1 พจิ ารณาเห็นชอบ ไมใ่ ช่ โครงสรา้ งการบริหาร บทบาท หนา้ ที่และ ความรบั ผดิ ชอบ ใช่ ผบู้ ริหารสูงสุด 4 แต่งตั้งบุคลากรตามโครงสรา้ งการบรหิ ารจดั การฯ ผูด้ ูแลระบบฯ และคณะทางานจัดทาระบบฯ 5 - ผบู้ ริหารสูงสดุ สื่อสารใหท้ ุกคนรบั ทราบผ่านช่องทางต่าง ๆ ตามความเหมาะสม - ผู้แทนฝ่ายบรหิ าร หมายเหตุ จป.หลกั หมายถึง เจา้ หนา้ ทีค่ วามปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค เทคนิคข้นั สูง หรือ วชิ าชีพ สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หนา้ 9 3.1.3 ตวั อยา่ ง 3.1.3.1 ตวั อย่างการกาหนดบทบาทหนา้ ทแ่ี ละความรบั ผิดชอบของบุคลากรแตล่ ะระดับ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของบุคลากรแต่ละระดับในการจัดทาระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางานของสถานประกอบกิจการ มีดังน้ี (1) ผ้บู รหิ าร มหี น้าที่ดังน้ี 1) กากับ ดูแล เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานทุกระดับ ซ่ึงอยู่ในบังคับบัญชาของ เจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ในการทางานระดบั บรหิ าร 2) เสนอแผนงานโครงการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทางานในหนว่ ยงานทร่ี ับผิดชอบต่อนายจ้าง 3) ส่งเสริม สนับสนุน และติดตามการดาเนินงานเก่ียวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางานให้เป็นไปตามแผนงานโครงการ เพ่ือให้มีการจัดการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานที่เหมาะสมกับสถาน ประกอบกจิ การ 4) กากับ ดูแล และติดตามให้มีการแก้ไขข้อบกพร่องเพื่อความปลอดภัยของลูกจ้างตามที่ ได้รับรายงาน หรือตามข้อเสนอแนะของเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทา งาน คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน หรือ หนว่ ยงานความปลอดภัย (2) หวั หนา้ งาน มหี นา้ ท่ีดงั น้ี 1) กากับ ดูแลให้ลูกจ้างในหน่วยงานที่รับผิดชอบปฏิบัติตามข้อบังคับและคู่มือว่าด้วยความ ปลอดภยั ในการทางาน 2) วิเคราะห์งานในหน่วยงานที่รับผดิ ชอบเพื่อคน้ หาความเส่ียงหรืออันตรายเบ้ืองตน้ โดยอาจ รว่ มดาเนินการกบั เจา้ หน้าทคี่ วามปลอดภยั ในการทางานระดบั เทคนิค ระดบั เทคนิคข้ันสูง หรือระดับวชิ าชพี 3) สอนวิธีการปฏิบัติงานที่ถูกต้องแก่ลูกจ้างในหน่วยงานท่ีรับผิดชอบ เพ่ือให้เกิดความ ปลอดภยั ในการปฏิบตั งิ าน 4) ตรวจสอบสภาพการทางาน เคร่ืองจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัย ก่อนลงมือปฏิบัตงิ านประจาวัน 5) กากับ ดูแล การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลของลูกจ้างในหน่วยงานที่ รบั ผิดชอบ 6) รายงานการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกดิ เหตุเดือดร้อนราคาญ อันเนอ่ื งจาก การทางานของลูกจ้างต่อนายจ้าง และแจ้งต่อเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับ สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า 10 เทคนิค ระดับเทคนิคข้ันสูงหรือระดับวิชาชีพ สาหรับสถานประกอบกิจการท่ีมีหน่วยงาน ความปลอดภัย ให้แจ้งต่อหน่วยงานความปลอดภยั ทนั ทีทเี่ กิดเหตุ 7) ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนราคาญ อันเนื่องจากการทางานของลูกจ้างร่วมกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับ เทคนิคระดับเทคนิคข้ันสูง หรือระดับวิชาชีพ และรายงานผล รวมท้ังเสนอแนะแนว ทางแกไ้ ขปัญหาต่อนายจ้างโดยไม่ชกั ชา้ 8) สง่ เสริมและสนับสนนุ กิจกรรมความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน 9) ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานอ่ืนตามที่ เจา้ หนา้ ทีค่ วามปลอดภยั ในการทางานระดับบริหารมอบหมาย (3) ลูกจา้ ง มหี นา้ ทดี่ ังนี้ 1) ให้ความร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ในการจัดทาระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 2) มสี ว่ นร่วมในการกาหนดนโยบายความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน 3) ปฏิบัติตามนโยบาย กฎ ระเบียบ ขั้นตอนด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอ้ มในการทางานอยา่ งเคร่งครัด 4) รายงานสภาพปัญหา อุปสรรค ความไมป่ ลอดภยั ตา่ ง ๆ ต่อหัวหน้างานหรือผู้บรหิ ารทราบทนั ที (4) คณะกรรมการความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน มหี น้าท่ดี งั น้ี 1) พิจารณานโยบายและแผนงานด้านความปลอดภัยในการทางาน รวมท้ังความปลอดภัย นอกงาน เพ่ือป้องกันและลดการเกิดอุบัติเหตุ การประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการ เกิดเหตุเดือดร้อนราคาญอันเนื่องจากการทางาน หรือความไม่ปลอดภัยในการทางาน เสนอตอ่ นายจ้าง 2) รายงานและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องตามกฎหมายและ มาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานต่อนายจ้าง เพื่อ ความปลอดภยั ในการทางานของลกู จ้าง ผูร้ ับเหมา และบุคคลภายนอกทีเ่ ขา้ มาปฏิบัติงาน หรอื เข้ามาใชบ้ ริการในสถานประกอบกจิ การ 3) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ กิจกรรมด้านความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ของสถานประกอบกิจการ 4) พิจารณาข้อบังคับและคู่มือตามข้อ ๓ รวมทั้งมาตรฐานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกิจการเสนอตอ่ นายจ้าง 5) สารวจการปฏิบัติการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน และตรวจสอบสถิติการประสบอันตรายที่เกิดขึ้นในสถานประกอบกิจการนั้น อย่างน้อย เดอื นละหน่งึ คร้งั สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 11 6) พิจารณาโครงการหรือแผนการฝึกอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน รวมถึงโครงการหรือแผนการอบรมเก่ียวกับบทบาทหน้าท่ี ความรับผิดชอบในด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ของลกู จ้างหัวหน้างาน ผู้บริหาร นายจ้าง และบคุ ลากรทกุ ระดบั เพื่อเสนอความเห็นตอ่ นายจา้ ง 7) วางระบบการรายงานสภาพการทางานท่ีไม่ปลอดภัยให้เป็นหน้าที่ของลูกจ้างทุกคนทุก ระดบั ต้องปฏบิ ัติ 8) ตดิ ตามผลความคบื หน้าเรอ่ื งทเ่ี สนอนายจ้าง 9) รายงานผลการปฏิบัติงานประจาปี รวมทั้งระบุปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการ ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ของคณะกรรมการเม่อื ปฏิบตั ิหน้าท่ีครบหนงึ่ ปี เพอื่ เสนอตอ่ นายจ้าง 10) ประเมินผลการดาเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน ของสถานประกอบกจิ การ 11) ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานอ่ืนตามที่ นายจ้างมอบหมาย (5) หน่วยงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน มีหน้าท่ีดงั นี้ 1) วางแผนการดาเนนิ งานสาหรับการขจดั ความเสี่ยงของสถานประกอบกิจการและดูแลใหม้ ี การดาเนนิ การอยา่ งตอ่ เน่ือง 2) จดั ทาข้อเสนอแนะเก่ียวกับการป้องกันอันตรายจากอุบัติเหตุ อบุ ตั ภิ ัย และควบคุมความเสี่ยง ภายในสถานประกอบกิจการ 3) จัดทาคู่มือและมาตรฐานว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางานไวใ้ นสถานประกอบกิจการเพ่ือใหล้ กู จ้างหรือผู้ทเี่ ก่ียวขอ้ งไดใ้ ช้ประโยชน์ 4) กาหนดชนิดของอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่เหมาะสมกับลักษณะความเส่ียง ของงานเสนอต่อนายจา้ ง เพ่ือจัดใหล้ กู จา้ งหรือผู้ท่เี ก่ียวข้องสวมใส่ขณะปฏบิ ัตงิ าน 5) ส่งเสริม สนับสนุน ด้านวิชาการและการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่าง ๆ ในสถานประกอบ กิจการเพื่อให้ลูกจ้างปลอดจากเหตุอันจะทาให้เกิดการประสบอันตรายหรือการเจ็บป่วย อันเน่อื งจากการทางาน รวมทงั้ ด้านการควบคมุ ป้องกันอัคคภี ยั และอบุ ตั ิภยั ร้ายแรงด้วย 6) จัดอบรมเก่ียวกับความรู้พื้นฐานและข้อปฏิบัติเก่ียวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน แก่ลกู จา้ งที่เขา้ ทางานใหม่ก่อนใหป้ ฏบิ ัติงาน รวมท้ังลกู จา้ งซ่ึง ต้องทางานท่มี คี วามแตกต่างไปจากงานเดมิ ทเี่ คยปฏบิ ัติอย่แู ละอาจเกิดอนั ตรายด้วย 7) ประสานการดาเนินงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน กับหน่วยงานต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอกสถานประกอบกิจการ รวมท้ังหน่วยงาน ราชการที่เกย่ี วข้อง 8) ตรวจประเมินระบบความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ในภาพรวมของสถานประกอบกิจการ สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 12 9) รวบรวมผลการดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานทุกระดับ และ ติดตามผลการดาเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ให้เปน็ ไปตามนโยบายและแผนงานของสถานประกอบกจิ การ พร้อมทง้ั รายงานให้นายจ้าง และคณะกรรมการทราบทุกสามเดือน 10) ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานอื่นตามที่ นายจ้างมอบหมาย (6) จป.หลกั หมายถึง เจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภัยในการทางานระดับเทคนคิ เทคนคิ ขัน้ สงู หรอื วิชาชพี 1) เจา้ หน้าทคี่ วามปลอดภยั ในการทางานระดับเทคนคิ มหี น้าทด่ี งั น้ี ก. ตรวจสอบและเสนอแนะใหน้ ายจา้ งปฏบิ ัติตามกฎหมายเก่ยี วกบั ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ข. วิเคราะห์งานเพ่ือชี้บ่งอันตราย รวมท้ังกาหนดมาตรการป้องกันและขั้นตอนการทางาน อย่างปลอดภัยเสนอต่อนายจ้าง ค. แนะนาให้ลูกจ้างปฏิบัติตามข้อบังคับและคู่มือปฏิบัติงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ง. ตรวจสอบหาสาเหตกุ ารประสบอันตราย การเจบ็ ป่วย หรือการเกดิ เหตเุ ดือดร้อนราคาญ อันเนื่องจากการทางาน และรายงานผล รวมท้ังเสนอแนะต่อนายจ้างเพ่ือป้องกันการ เกิดเหตุโดยไมช่ ักชา้ จ. รวบรวมสถิติ จัดทารายงาน และขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกับการประสบอันตราย การเจ็บปว่ ย หรอื การเกิดเหตุเดือดรอ้ นราคาญอนั เน่อื งจากการทางานของลกู จ้าง ฉ. ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานอื่นตามท่ี นายจ้างมอบหมาย 2) เจ้าหนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ในการทางานระดับเทคนคิ ขน้ั สงู มีหน้าที่ดังนี้ ก. ตรวจสอบและเสนอแนะให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายเก่ียวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ข. วิเคราะห์งานเพื่อชี้บ่งอันตราย รวมท้ังกาหนดมาตรการป้องกันและข้ันตอนการทางาน อย่างปลอดภัยเสนอตอ่ นายจ้าง ค. วิเคราะห์แผนงานโครงการ รวมทั้งข้อเสนอแนะของหน่วยงานต่าง ๆ และเสนอแนะ มาตรการความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางานต่อนายจา้ ง ง. ตรวจประเมินการปฏิบัติงานของสถานประกอบกิจการให้เป็นไปตามแผนงานโครงการ หรอื มาตรการความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน จ. แนะนาให้ลูกจ้างปฏิบัติตามข้อบังคับและคู่มือปฏิบัติงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 13 ฉ. แนะนา ฝกึ สอน อบรมลกู จ้าง เพ่ือให้การปฏบิ ัติงานปลอดจากเหตุอันจะทาให้เกดิ ความ ไมป่ ลอดภยั ในการทางาน ช. ตรวจสอบหาสาเหตุและวิเคราะห์การประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุ เดือดร้อนราคาญอันเน่ืองจากการทางาน และรายงานผล รวมท้ังเสนอแนะต่อนายจ้าง เพ่ือป้องกนั การเกดิ เหตโุ ดยไม่ชกั ช้า ซ. รวบรวมสถิติ วิเคราะห์ข้อมูล จัดทารายงาน และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบ อันตราย การเจบ็ ป่วย หรือการเกิดเหตเุ ดือดรอ้ นราคาญอันเนื่องจากการทางานของ ลูกจ้าง ฌ. ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานอ่ืนตามท่ี นายจา้ งมอบหมาย 3) เจา้ หน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพ มหี นา้ ท่ีดังน้ี ก. ตรวจสอบและเสนอแนะให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน ข. วิเคราะห์งานเพ่ือชี้บ่งอันตราย รวมท้ังกาหนดมาตรการป้องกันหรือข้ันตอนการทางาน อย่างปลอดภัยเสนอต่อนายจ้าง ค. ประเมินความเสีย่ งด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ง. วิเคราะห์แผนงานโครงการ รวมท้ังข้อเสนอแนะของหน่วยงานต่าง ๆ และเสนอแนะ มาตรการความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานต่อนายจา้ ง จ. ตรวจประเมินการปฏิบัติงานของสถานประกอบกิจการให้เป็นไปตามแผนงานโครงการ หรือมาตรการความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ฉ. แนะนาใหล้ ูกจ้างปฏิบัติตามข้อบงั คบั และคู่มือปฏบิ ตั ิงานความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ช. แนะนา ฝึกสอน อบรมลูกจ้างเพื่อให้การปฏิบัติงานปลอดจากเหตุอันจะทาให้เกิด ความไม่ปลอดภยั ในการทางาน ซ. ตรวจวัดและประเมินสภาพแวดล้อมในการทางาน หรือดาเนินการร่วมกับบุคคลหรือ หน่วยงานที่ข้ึนทะเบียนกับกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเป็นผู้รับรองหรือ ตรวจสอบเอกสารหลักฐานรายงานในการตรวจสอบสภาพแวดล้อมในการทางานภายใน สถานประกอบกิจการ ฌ. เสนอแนะต่อนายจ้างเพ่ือให้มีการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางานที่เหมาะสมกับสถานประกอบกิจการ และพัฒนาให้มี ประสิทธิภาพอย่างตอ่ เนอ่ื ง ญ. ตรวจสอบหาสาเหตุ และวิเคราะห์การประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุ เดือดร้อนราคาญอันเน่ืองจากการทางาน และรายงานผล รวมทั้งเสนอแนะต่อนายจ้าง เพ่ือปอ้ งกันการเกดิ เหตโุ ดยไม่ชกั ชา้ สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)

หนา้ 14 ฎ. รวบรวมสถิติ วิเคราะห์ข้อมูล จัดทารายงาน และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบ อันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดอื ดร้อนราคาญอนั เน่อื งจากการทางานของลูกจ้าง ฏ. ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานอ่ืนตามที่ นายจา้ งมอบหมาย (7) คณะทางานจัดทาระบบการจดั การความปลอดภัยฯ คณะทางานจัดทาระบบการจัดการด้านความปลอดภัยฯ อย่างน้อยควรประกอบด้วย ผู้บริหาร หัวหนา้ งาน ช่างเทคนิค วิศวกร และเจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ในการทางาน คณะทางานจัดทาระบบการจัดการด้านความปลอดภัยฯ มีหน้าท่ี ดงั นี้ 1) ศึกษาระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน กฎหมายและข้อบังคับต่างๆ ทเี่ กยี่ วข้องกับความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อม ในการทางาน 2) จดั ทาแผนการดาเนินงาน 3) จัดทาคู่มือต่าง ๆ ที่จะต้องใช้ในการดาเนินงานตามระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 4) ดาเนนิ งานตามแผนงานและรายงานความคืบหน้าตอ่ ผู้บริหาร สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 15 3.1.3.1 ตวั อยา่ งการแตง่ ตง้ั ผ้แู ทนฝา่ ยบริหารดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางาน คาสั่งท่ี 1/2561 เรือ่ ง แต่งตั้งผู้แทนฝา่ ยบรหิ ารด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน บรษิ ทั ความปลอดภยั ไทย จากัด ------------------------------------ ตามที่บริษัท ความปลอดภัยไทย จากัด ได้นาระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน เข้าใช้งานในบรษิ ัท นนั้ เพ่ือให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ จึงขอแต่งต้ังให้ นายองอาจ หาญกล้า เป็นผูแ้ ทนฝา่ ยบริหารดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางาน โดยมีหน้าท่ีและความรบั ผดิ ชอบ ดงั นี้ 1) ดูแลให้ระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทางานท่ีได้จัดทาข้ึน มีการนาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ให้เป็นไปตามข้อกาหนดในระบบการจัดการ ดา้ นความปลอดภัยฯ อย่างตอ่ เนือ่ ง 2) รายงานผลการปฏิบัติงานของระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางานตอ่ นายจา้ ง 3) ให้ข้อเสนอแนะต่อนายจ้าง เพือ่ นาไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเน่อื ง 4) สง่ เสริมให้ลูกจา้ งทกุ คนในสถานประกอบกจิ การมีสว่ นร่วม ทั้งน้ี ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2561 เป็นต้นไป สั่ง ณ วันท่ี 25 มถิ นุ ายน 2561 (นายสง่ เสรมิ ปลอดภัย) ผจู้ ดั การใหญ่ สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า 16 3.2 สมรรถนะและการฝึกอบรม (Competence and Training) 3.2.1 ขอ้ กาหนด ทง้ั นใ้ี ห้ดาเนินการตามมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภยั ฯ (สสปท. 1-4-01-00-2562) ข้อ 4.3.2 4.3.2 สมรรถนะและการฝกึ อบรม 1) นายจ้างต้องกาหนดสมรรถนะของลูกจ้างที่ปฏิบัติงานอันตราย โดยพิจารณาจากระดับ การศกึ ษา ความรู้ ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ท่ีเหมาะสม 2) นายจ้างต้องกาหนดความจาเป็นในการฝึกอบรมที่เก่ียวข้องกับอันตราย และระบบการ จัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน โดยจัดให้ สอดคล้องกับความจาเป็นในการฝึกอบรมท่ีกาหนดไว้ ประเมินประสิทธิผลของการ ฝึกอบรมและทบทวนเป็นระยะ นายจ้างตอ้ งจัดทาและเกบ็ บันทกึ ท่ีเกย่ี วข้อง สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 17 3.2.2 แนวทางการปฏบิ ตั ิ เรม่ิ /จบกระบวนการ กิจกรรม เง่อื นไข / การตดั สนิ ใจ ความสมั พนั ธแ์ ละทิศทางของกระบวนการ ลาดับ การปฏิบัติ ผู้รับผิดชอบ เอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง - ผจู้ ดั การฝ่ายบคุ คล เอกสารกาหนด 1 กาหนดสมรรถนะของลูกจ้างทปี่ ฏบิ ัตงิ านอนั ตราย - ผูจ้ ดั การฝ่ายอบรม - จป.หลัก หน้าทแี่ ละสมรรถนะ 2 - ผูจ้ ัดการฝ่ายบุคคล กาหนดความจาเปน็ ในการฝกึ อบรม - ผู้จัดการฝา่ ยอบรม เอกสารระบุความ - จป.หลกั จาเป็นในการ 3 จดั ทาแผนการฝกึ อบรม - หัวหน้างาน ฝกึ อบรม - ผู้จัดการฝา่ ยบุคคล - ผจู้ ัดการฝา่ ยอบรม แผนการฝึกอบรม 4 จัดฝึกอบรมตามแผนงานทีก่ าหนดไว้ - ผูจ้ ัดการฝ่ายบคุ คล กาหนดการฝึกอบรม - ผู้จัดการฝา่ ยอบรม 5 ไปข้อ 3 ประเมินผลการ - หวั หนา้ งาน ไม่ผา่ น ฝกึ อบรม - ผจู้ ดั การฝ่ายบคุ คล - แบบประเมนิ ผล - ผ้จู ดั การฝ่ายอบรม การฝกึ อบรม - สรปุ ผลการ ประเมิน ผ่าน 6 - ผจู้ ดั การฝา่ ย/แผนก แผนการฝึกอบรม ฝกึ อบรมทบทวนตามช่วงเวลาทีก่ าหนด - หวั หน้างาน สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หนา้ 18 3.2.3 ตวั อย่าง 3.2.3.1 ตัวอยา่ งรายการกาหนดหนา้ ท่แี ละสมรรถนะ ตาแหนง่ งาน: ช่างเชือ่ ม วนั ทเ่ี รม่ิ ใช้: 8/11/61 จดั ทาโดย: หวั หนา้ งานเชือ่ ม แก้ไขครงั้ ท่ี: 0 อนุมัติโดย: ผู้จัดการแผนกบุคคล หน้า 1 / 1 . หนา้ ท่ีหลัก 1. เชอื่ มชน้ิ งานในกระบวนการผลิตโดยใชเ้ คร่อื งเชอ่ื มก๊าซ 2. ตรวจสอบชิน้ งานเช่อื ม คุณสมบัติ 1. จบการศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ประกาศนียบัตรวชิ าชพี หรอื ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ช้ันสูง สาขาช่างเชื่อม 2. มีประสบการณ์ในการเชื่อมงานไมน่ อ้ ยกว่า 1 ปี ทกั ษะและความสามารถอื่น 1. สามารถเชือ่ มไดท้ ุกชนดิ 2. สามารถสอ่ื สารภาษาองั กฤษได้ 3.2.3.2 ตวั อยา่ งการกาหนดความจาเป็นในการฝกึ อบรม นายจ้างจะต้องมีการระบุความจาเป็นในการฝึกอบรมสาหรับผู้ปฏิบัติงานในแต่ละตาแหน่ง เพ่ือให้ เกิดความม่ันใจว่า ผู้ปฏิบัติงานจะมีความรู้ความสามารถที่เพียงพอท่ีจะปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย ไม่เกิด อบุ ตั ิเหตุ และการเจบ็ ปว่ ยจากการทางาน โดยจะต้องมีการกาหนดความจาเปน็ ในการฝกึ อบรมให้กบั - ผบู้ รหิ าร - หัวหนา้ งาน - ลกู จา้ งเข้าทางานใหม่ - ลูกจา้ งเปล่ยี นงาน เปล่ยี นสถานท่ที างาน หรือเปลยี่ นแปลงเคร่ืองจักรหรอื อุปกรณ์ - ลูกจา้ งทัว่ ไป - ลกู จ้างของผูร้ บั เหมาหรือผูร้ ับเหมาชว่ ง สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า 19 ตวั อยา่ งหัวข้อการฝึกอบรมตามความจาเป็นของตาแหนง่ งาน (1) ตาแหน่งผูจ้ ัดการ - นโยบายความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน - แนวทางของระบบการจัดการดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน - กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน - ข้ันตอนการดาเนินงานท่เี กีย่ วข้อง - ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน เรอื่ งการเตรียมความพร้อมและการตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉิน - อืน่ ๆ (2) ตาแหนง่ หัวหน้างาน - นโยบายความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน - แนวทางของระบบการจดั การดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน - กฎหมายความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน - ข้ันตอนการดาเนินงานที่เกีย่ วขอ้ ง - ขัน้ ตอนการดาเนินงาน เรอ่ื งการเตรยี มความพรอ้ มและการตอบโตภ้ าวะฉุกเฉิน - วธิ ีการช้ีบ่งอันตรายและประเมนิ ความเสย่ี ง - อ่นื ๆ (3) ตาแหน่งปฏบิ ัตกิ าร - นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน - แนวทางของระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน - การปฏบิ ตั ติ ามขอ้ กาหนด กฎหมาย ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง - วธิ ีการช้ีบง่ อนั ตรายและประเมนิ ความเสี่ยง - บทบาทหน้าท่ีของตนเอง เมือ่ เกิดเหตกุ ารณ์ฉุกเฉนิ - ความเสีย่ งจากการปฏิบตั งิ านและการปฏิบัติเพอื่ ลดความเสยี่ งดงั กล่าว - อื่นๆ (4) ตาแหนง่ ซ่อมบารุง - นโยบายความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน - แนวทางของระบบการจดั การด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน - การปฏบิ ตั ติ ามขอ้ กาหนด กฎหมายท่ีเก่ียวขอ้ ง - วธิ ีการชี้บ่งอันตรายและการประเมนิ ความเสี่ยง - ความเส่ยี งจากการปฏบิ ตั ิงานและการปฏบิ ัติเพอื่ ลดความเส่ยี งดังกลา่ ว - การสอบเทยี บและวธิ ีการบารงุ รกั ษาเครอ่ื งมอื - บทบาทหนา้ ท่ขี องตนเอง เมอื่ เกดิ เหตกุ ารณ์ฉุกเฉิน - ขน้ั ตอนการดาเนนิ งานท่ีเกยี่ วขอ้ งโดยตรง - อ่นื ๆ สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า 20 (5) ตาแหนง่ จดั ซอื้ จัดหา - นโยบายความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน - แนวทางของระบบการจดั การดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน - การปฏิบตั ติ ามขอ้ กาหนด กฎหมายทเี่ กย่ี วข้อง - วิธกี ารเลือกบรกิ าร ผลติ ภณั ฑ์จากผู้ส่งมอบ ผู้ขาย ผูร้ บั เหมา ทีจ่ ะไม่ก่อใหเ้ กิดผลกระทบต่อความ ปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน - บทบาทหน้าที่ของตนเอง เมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉนิ - ขัน้ ตอนการดาเนนิ งานทเี่ กีย่ วขอ้ งโดยตรง - อื่นๆ (6) ผ้ตู รวจตดิ ตามภายในระบบการจัดการความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน - แนวทางของระบบการจัดการด้านความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน - กระบวนการและวิธีการตรวจตดิ ตามภายใน - การชี้บง่ อันตรายและการประเมินความเสีย่ ง - ข้ันตอนการดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน - กฎหมายความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน - ขัน้ ตอนการดาเนนิ งานเรือ่ ง การเตรยี มความพร้อมและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน - อ่ืนๆ สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า 21 3.2.3.3 ตวั อยา่ งหลกั สูตรและบุคลากรทจ่ี ะต้องนามาจดั ทาแผนการฝกึ อบรมประจาปี ช่อื หลักสตู ร ความถ่ี ผูเ้ ข้ารับ รูปแบบ การฝกึ อบรม การฝกึ อบรม ความปลอดภัยฯ สาหรบั ลกู จ้างใหม่ ก่อนเริ่มงาน พนกั งานใหม่ ภายใน ความปลอดภัยฯ สาหรบั ลูกจา้ งเปลยี่ นงาน กอ่ นเปลีย่ นงาน พนกั งานเปล่ียนงาน ภายใน ภายนอก เจา้ หน้าที่ความปลอดภยั ในการทางาน ระดับ เมือ่ เป็นหัวหนา้ งาน หัวหน้างาน ภายนอก หัวหนา้ งาน ภายนอก เจ้าหนา้ ท่คี วามปลอดภัยในการทางาน ระดบั เม่อื เป็นผู้บรหิ าร ผจู้ ดั การแผนก บริหาร เมือ่ เปน็ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ความปลอดภยั ฯ คณะกรรมการความปลอดภยั ฯ ความปลอดภยั ฯ 3.2.3.4 ตวั อยา่ งแบบการประเมินผลการฝึกอบรม รายงานการประเมินผลการฝึกอบรมความปลอดภัยฯ ประจาปี 2561 บริษัท: ความปลอดภัยไทย วันท่เี ริม่ ใช้: 20/1/61 จัดทาโดย: จป.เทคนิคข้นั สงู แกไ้ ขครงั้ ท่ี: 0 อนมุ ตั โิ ดย: ผแู้ ทนฝา่ ยบรหิ ารดา้ นความปลอดภยั ฯ หน้า 1 / 1 . ประเภทการประเมนิ ผล ช่ือหลักสตู ร โดยการสอบ โดยการสมั ภาษณ์ / โดยสงั เกต โดยวธิ อี ื่นๆ วัดความเข้าใจ การทางาน สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)

3.2.3.5 ตวั อยา่ งแบบการบนั ทึกประวัติการฝกึ อบรม หน้า 22 ช่ือ สกลุ : ชอ่ื หลักสูตร ตาแหน่ง: ผู้บนั ทกึ สังกดั : วนั ทฝี่ ึกอบรม ผลการฝกึ อบรม ลาดบั สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 23 3.3 การสอื่ สาร (Communication) 3.3.1 ขอ้ กาหนด ทั้งนี้ใหด้ าเนนิ การตามมาตรฐานระบบการจดั การความปลอดภยั ฯ (สสปท. 1-4-01-00-2562) ข้อ 4.3.3 4.3.3 การส่อื สาร 1) นายจ้างต้องจัดทาระเบียบปฏิบัติในการส่ือสารท่ีเกี่ยวข้องกับอันตราย และระบบการจัดการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ทั้งภายในและภายนอก สถานประกอบกิจการท่ีเกี่ยวข้องกับผ้รู ับเหมา บคุ คลภายนอกและผู้เยยี่ มชมในสถานที่ทางาน 2) มีการนาความคิดเห็น ข้อเสนอแนะด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางานของลกู จา้ ง และผ้ทู เ่ี ก่ยี วขอ้ งมาพิจารณาและดาเนนิ การ 3) มีการดาเนินการกับข้อร้องเรียนทางด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางานจากภายนอกสถานประกอบกิจการ นายจา้ งต้องจัดทาและเก็บบนั ทึกที่เกย่ี วข้อง สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 24 3.3.2 แนวทางการปฏิบตั ิ 3.3.2.1 การสือ่ สาร เร่ิม/จบกระบวนการ กิจกรรม เงือ่ นไข / การตดั สินใจ ความสัมพนั ธ์และทศิ ทางของกระบวนการ ลาดับ การปฏิบัติ ผรู้ บั ผิดชอบ เอกสารทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 1 กาหนดหวั ข้อในการสื่อสารที่เกย่ี วกับความปลอดภัย - จป.หลัก - ฝ่ายบคุ คล อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (กรณีไม่มี จป.หลกั ) มาตรฐานระบบการจดั การฯ 2 - ผูแ้ ทนฝา่ ยบรหิ ารฯ / ทาการส่ือสารท่ีเกย่ี วกับความปลอดภยั อาชีวอนามยั ฝา่ ยบคุ คล และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 3 ไมใ่ ช่ - ผู้แทนฝ่ายบรหิ ารฯ ประเมินผล การสือ่ สาร ใช่ 4 - ผ้แู ทนฝา่ ยบรหิ ารฯ / ดาเนนิ การส่อื สารอย่างต่อเนือ่ ง ฝ่ายบคุ คล สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 25 3.3.2.2 การรับข้อเสนอแนะ เริ่ม/จบกระบวนการ กิจกรรม เงือ่ นไข / การตดั สนิ ใจ ความสัมพันธ์และทศิ ทางของกระบวนการ ลาดบั การปฏบิ ัติ ผู้รับผิดชอบ เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1 รับขอ้ เสนอแนะเกีย่ วกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย - จป หลกั / ฝา่ ยบคุ คล และสภาพแวดล้อมในการทางาน 2 แจ้งและประสานไปยงั หน่วยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง - จป หลัก / ฝ่ายบคุ คล แบบรบั ขอ้ เสนอแนะ 3 แจ้งกลับผรู้ ้องเรยี น - ผูจ้ ัดการฝ่าย - หวั หน้างาน ไมใ่ ช่ ตรวจสอบ ข้อเท็จจรงิ ใช่ - ผู้จัดการฝ่าย - หวั หนา้ งาน 4 ทาการแก้ไขปัญหาขอ้ รอ้ งเรยี น - ผู้แทนฝา่ ยบรหิ ารฯ 5 - คณะทางานจดั ทามาตรฐาน - ผู้จัดการฝ่าย ทาการวเิ คราะหเ์ พอ่ื หาสาเหตุของปัญหา - หวั หน้างาน 6 - ผ้แู ทนฝา่ ยบรหิ ารฯ - คณะทางานจัดทามาตรฐาน กาหนดมาตรการแกไ้ ข - ผู้จัดการฝ่าย ในการป้องกนั การเกิดขอ้ ร้องเรยี นซ้า - หวั หน้างาน 7 แจ้งมาตรการแกไ้ ขปญั หาไปยงั ผูร้ อ้ งเรียน - เจา้ หน้าท่ีความปลอดภยั ฯ สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า 26 3.3.2.3 ตัวอย่างทะเบียนข้อมูลการสื่อสารด้านความปลอดภัย อาชีวอ นามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน หัวข้อการส่อื สาร ผ้รู บั การสอ่ื สาร ความถ่ี ช่องทางการ ผ้รู บั ผิดชอบ ส่อื สาร ผ้แู ทนฝา่ ยบรหิ าร นโยบายความปลอดภัย อาชวี อนามยั พนกั งานทุกคน เมอื่ ประกาศใช้ ฯ / ฝา่ ยบุคคล และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน และเมอื่ มี - ประกาศบริษัท - ประชมุ ชแี้ จง ผู้แทนฝา่ ยบริหาร กฎหมายความปลอดภัย อาชวี อนามยั พนักงานที่ การเปลยี่ นแปลง - ส่อื ฯ / ฝา่ ยบุคคล อิเลก็ ทรอนิกส์ และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน เกย่ี วขอ้ ง เมื่อประกาศใช้ - การประชุม ผแู้ ทนฝา่ ยบริหาร และเม่อื มี ชีแ้ จง ฯ / ฝา่ ยบคุ คล ข้อบงั คบั และกฎระเบียบดา้ น - พนกั งานที่ - ส่ือ การเปลย่ี นแปลง อเิ ล็กทรอนิกส์ ผแู้ ทนฝ่ายบริหาร ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และ เก่ียวขอ้ ง - ประกาศบริษทั ฯ เม่ือประกาศใช้ - ประชุมชี้แจง สภาพแวดล้อมในการทางาน - ผู้รับเหมา และเมอื่ มี - เอกสาร - จป หลกั - สอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ - ฝ่ายบุคคล - บคุ คลภายนอก การเปลยี่ นแปลง (กรณไี มม่ ี - กาหนดใน JD จป.หลกั ) หนา้ ท่แี ละความรับผิดชอบของ พนักงานทุกคน เมอื่ ประกาศใช้ - ประชมุ ช้ีแจง และเม่ือมี - ประกาศ พนักงานตามระบบการจดั การดา้ น การเปลย่ี นแปลง - ประชุมช้ีแจง ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และ - เอกสาร เมอื่ ทราบผลการ - ประกาศ สภาพแวดลอ้ มในการทางาน ตรวจวดั ผลการตรวจวัดเพอื่ เฝ้าระวังสง่ิ แวดลอ้ ม พนักงานที่ ในการทางาน เกี่ยวขอ้ ง สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า 27 3.4 การควบคุมเอกสาร (Documentation) 3.4.1 ขอ้ กาหนด ท้ังน้ีให้ดาเนนิ การตามมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภยั ฯ (สสปท. 1-4-01-00-2562) ขอ้ 4.3.4 4.3.4 การควบคมุ เอกสาร นายจ้ างจ ะต้ อ ง จั ด ท า ร ะ เ บี ย บ ปฏิ บั ติ ใน ก า ร คว บคุ ม เ อ ก ส าร ใ นร ะ บ บ ก า รจั ด ก า ร ด้ า น ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน เพื่อให้เอกสารมีความทันสมัย และสามารถใช้ตามวัตถปุ ระสงค์ทต่ี อ้ งการ โดยตอ้ งควบคมุ ดังน้ี 1) มีการอนมุ ัตเิ อกสารกอ่ นนาไปใช้งาน 2) มกี ารทบทวนเป็นระยะ กรณีมีการแกไ้ ขจะต้องมีการระบุสถานะของการแก้ไข 3) มีการระบสุ ถานะของการยกเลกิ กรณมี ีการยกเลกิ เอกสาร 4) มกี ารเขียนเอกสารไว้อยา่ งชดั เจนและผใู้ ชเ้ อกสารสามารถเข้าใจได้ 5) มกี ารป้องกันการนาเอกสารท่ลี ้าสมัยแล้วไปใช้งาน 6) มกี ารควบคมุ เอกสารที่มาจากภายนอกสถานประกอบกจิ การ 7) มีการจัดเก็บเอกสารด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ตามระยะเวลาทีก่ าหนดไว้ สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า 28 3.4.2 แนวทางการปฏบิ ัติ เริม่ /จบกระบวนการ กจิ กรรม เงอ่ื นไข / การตดั สินใจ ความสมั พนั ธ์และทศิ ทางของกระบวนการ ลาดบั การปฏิบัติ ผรู้ ับผดิ ชอบ เอกสารท่ีเกย่ี วขอ้ ง 1 ขออนมุ ัติใช้ แกไ้ ข หรอื ยกเลิกเอกสาร ผ้ขู ออนมุ ตั ิใช้ แบบขออนุมัติ ใช้/ แก้ไข/ แก้ไข หรอื ยกเลกิ ยกเลิก เอกสาร โดยแนบรา่ งเอกสาร เสนอผ้มู ีอานาจอนมุ ัติ 2 ผแู้ ทนนายจ้างระดับ บรหิ าร/ ผู้จดั การทัว่ ไป/ พจิ ารณา อนุมตั ิ ผู้จดั การโรงงาน/ ผูม้ ีอานาจอนมุ ตั ิ 3 ผู้ควบคุมเอกสาร แจ้งผลการพิจารณาใหผ้ ขู้ อทราบ 4 กรณีอนมุ ตั ิ จดั ทาต้นฉบับเอกสารและ ผู้ควบคุมเอกสาร แบบทะเบียนเอกสาร ผูค้ วบคมุ เอกสาร ควบคุม ทาการข้ึนทะเบียนเอกสาร แบบแจกจ่ายเอกสาร 5 ผู้ควบคุมเอกสาร สาเนาเอกสารแจกจา่ ยไปยังผถู้ อื ครองเอกสาร และเรียกเก็บเอกสารฉบับเก่า (ถ้ามี) 6 ดาเนินการกับเอกสารฉบับเก่าทีเ่ รยี กเก็บมา หมายเหตุ: สถานประกอบกิจการควรจะกาหนดระยะเวลาในการทบทวนเอกสาร สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า 29 3.4.3 ตวั อย่างแบบขออนมุ ัตใิ ช้/แก้ไข/ยกเลิก เอกสาร วตั ถุประสงค์  ขออนมุ ัติใช้เอกสาร  ขอแกไ้ ขเอกสาร  ขอยกเลกิ เอกสาร ลา ัดบที่ จานวน แ ้กไขคร้ัง ี่ท สาเนา ั้ตงแ ่ตหน้า ทีต่ ้องการ ึถงหน้า รหสั เอกสาร ชอ่ื เอกสาร หมายเหตุ ผขู้ ออนุมัติ ผอู้ นมุ ตั ิ ผคู้ วบคมุ เอกสาร ชอื่ ชอ่ื ช่ือ ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหนง่ วันที่ วนั ท่ี วนั ที่ สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

3.4.4 ตัวอยา่ งแบบทะเบียนเอกสารควบคุม ลาดบั รหัสเอกสาร ช่ือเอกสาร วันท่มี สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และ

หนา้ 30 มผี ลบงั คบั ใช้ จานวนสาเนา สถานทจ่ี ัดเก็บ แก้ไขครง้ั ท่ี ผรู้ บั ผดิ ชอบ ะสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

3.4.5 ตัวอยา่ งแบบแจกจ่ายเอกสาร รหสั เอกสาร ชื่อเอกสาร แก้ไขครั้งท่ี ผู้ทแี่ สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และ

หน้า 31 แจกจ่าย วันที่ ผรู้ บั วนั ที่ ผู้รับคนื เอกสาร ะสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)

หนา้ 32 บทท่ี 4 แผนงานดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน และการนาไปปฏิบตั ิ 4.1 วัตถปุ ระสงค์และแผนงาน 4.1.1 ขอ้ กาหนด ทัง้ นี้ให้ดาเนินการตามมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภยั ฯ (สสปท. 1-4-01-00-2562) ข้อ 4.4.1 4.4.1 วตั ถปุ ระสงค์และแผนงาน 1) นายจา้ งต้องจัดทาวัตถุประสงค์ดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน โดยจดั ทาเป็นเอกสาร วัตถปุ ระสงคน์ ีจ้ ะตอ้ ง ก. สอดคล้องกับนโยบายด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ข. สอดคล้องกบั กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน ค. มงุ่ มั่นในการป้องกนั การประสบอบุ ัติเหตุ การเจบ็ ปว่ ย และโรคจากการทางาน ง. มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและวดั ผลได้ 2) นายจ้างต้องจัดทาแผนงานเป็นเอกสารเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ของสถานประกอบกิจการ โดยแตล่ ะแผนงานอยา่ งนอ้ ยตอ้ งกาหนด ก. บุคคลและหน่วยงานทร่ี ับผดิ ชอบ ข. มาตรการควบคมุ การดาเนินการตามแผน ค. งบประมาณ และกรอบระยะเวลาดาเนนิ การ 3) นายจา้ งต้องกาหนดเกณฑ์วัดผลการปฏบิ ตั เิ พื่อใหบ้ รรลตุ ามวัตถุประสงค์และแผนงาน 4) นายจ้างต้องกาหนดให้มีการติดตามและประเมินผลการดาเนินการตามแผนงานอย่างสม่าเสมอ เพ่อื ให้บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์และแผนงาน พร้อมท้ังปรับเปล่ียนตามความเหมาะสม นายจา้ งต้องจดั ทาและเก็บบันทึกท่เี กย่ี วข้อง โดยสถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 33 4.1.2 แนวทางการปฏบิ ตั ิ เรม่ิ /จบกระบวนการ กจิ กรรม เงอ่ื นไข / การตดั สินใจ ความสมั พนั ธ์และทิศทางของกระบวนการ ลาดับ การปฏบิ ัติ ผรู้ ับผิดชอบ เอกสารท่เี กีย่ วขอ้ ง 1 จัดทาวัตถปุ ระสงคด์ า้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย - คณะทางานจัดทาระบบฯ และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน - ผ้แู ทนฝา่ ยบรหิ าร และ ผ้แู ทนฝา่ ยปฏบิ ัตกิ าร (กรณีไมม่ ี คปอ.) 2 จดั ทาแผนงานและกาหนดเกณฑว์ ดั ผล - คณะทางานจัดทาระบบฯ เพอื่ ให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคท์ ต่ี ้ังไว้ - ผูแ้ ทนฝ่ายบรหิ าร และ ผู้แทนฝา่ ยปฏิบตั กิ าร (กรณไี มม่ ี คปอ.) 3 พิจารณา - คปอ. - ผบู้ รหิ ารสงู สดุ ไม่ใช่ แผน ใช่ - จป. หลัก 4 - ผู้จดั การฝ่าย ดาเนนิ การตามแผนงานที่กาหนดไว้ - หวั หน้างาน 5 ตดิ ตามความกา้ วหนา้ ในการดาเนนิ การตามแผนงาน - คปอ. - จป. หลกั - ผจู้ ัดการฝา่ ย 6 ดาเนนิ การแกไ้ ข - คปอ - จป. หลกั หากพบว่าไม่เป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์ทีต่ ั้งไว้ - ผู้จดั การฝ่าย - หัวหน้างาน โดยสถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า 34 4.2 กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (OSH Laws) 4.2.1 ขอ้ กาหนด ท้ังนใ้ี ห้ดาเนนิ การตามมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภยั ฯ (สสปท. 1-4-01-00-2562) ขอ้ 4.4.2 4.4.2 กฎหมายความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน 1) นายจ้างต้องจัดทาระเบียบปฏิบัติในการชี้บ่งและติดตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั สถานประกอบกิจการให้เปน็ ปัจจุบันอยู่เสมอ 2) นายจ้างต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดของกฎหมาย และกาหนดผู้รับผิดชอบในการนากฎหมาย ไปปฏบิ ัติและรักษาไว้ในสถานประกอบกจิ การ นายจ้างตอ้ งจัดทาและเก็บบันทึกท่เี กยี่ วข้อง โดยสถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า 35 4.2.2 แนวทางการปฏิบตั ิ เร่ิม/จบกระบวนการ กิจกรรม เงอ่ื นไข / การตดั สนิ ใจ ความสัมพนั ธแ์ ละทิศทางของกระบวนการ ลาดบั การปฏบิ ตั ิ ผูร้ ับผิดชอบ เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 1 รวบรวมกฎหมายความปลอดภยั อาชวี อนามัย และ - จป.หลกั สภาพแวดลอ้ มในการทางาน - ฝ่ายบคุ คล (กรณีไม่มี จป.หลัก) 2 - จป.หลัก คัดเลือกกฎหมายทเี่ กย่ี วข้องกับสถานประกอบกิจการ - ฝา่ ยบคุ คล (กรณีไมม่ ี จป.หลัก) 3 จัดทาทะเบียนกฎหมาย - จป.หลกั - ฝ่ายบุคคล (กรณีไมม่ ี จป.หลัก) 4 นาขอ้ กาหนดของกฎหมายมาจัดทาเป็น - จป.หลกั แบบชบ้ี ่งตามกฎหมาย (Checklist) - ฝา่ ยบุคคล (กรณไี มม่ ี จป.หลกั ) 5 - จป.หลัก ดาเนินการใช้แบบชีบ้ ่งตามกฎหมาย (Checklist) - ฝา่ ยบคุ คล (กรณีไมม่ ี จป.หลัก) 6 นาเข้าท่ปี ระชุม คปอ. (ถ้ามี) - จป.หลัก 7 - จป.หลัก นาเสนอนายจา้ ง - ฝ่ายบุคคล (กรณไี มม่ ี จป.หลกั ) 8 - จป.หลัก ดาเนนิ การตามกฎหมายและ - ฝา่ ยบุคคล กาหนดผรู้ ับผดิ ชอบ (กรณไี ม่มี จป.หลัก) แหล่งข้อมลู : เพอ่ื ค้นหากฎหมายความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน เชน่ http://www.oshthai.org/ กองความปลอดภยั แรงงาน กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน http://www.diw.go.th/ กรมโรงงานอตุ สาหกรรม http://www.krisdka.go.th สานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา http://www.ratchakitcha.soc.go.th ราชกจิ จานเุ บกษา โดยสถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

หน้า 36 4.3 การจดั การความเสีย่ ง 4.3.1 ข้อกาหนด ท้ังนี้ใหด้ าเนินการตามมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภัย ฯ (สสปท. 1-4-01-00-2562) ข้อ 4.4.3 4.4.3 การจดั การความเสี่ยง 1) นายจ้างตอ้ งจดั ทาระเบียบปฏิบัตกิ ารชบ้ี ่งอนั ตราย การประเมนิ ความเสี่ยง และจัดทาแผน จดั การความเสี่ยง 2) นายจ้างต้องช้ีบ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง ด้วยวิธีที่เหมาะสมให้ครอบคลุมทุก กระบวนการของสถานประกอบกิจการ 3) นายจ้างต้องกาหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ท่ีต้องทาการชี้บ่งอันตราย การ ประเมินความเสี่ยง และจัดทาแผนจัดการความเสี่ยง รวมท้ังสื่อสารให้ทุกคนในสถาน ประกอบกิจการทราบ 4) วิธกี ารในการกาหนดการควบคมุ ความเส่ยี ง ควรพจิ ารณามาตรการเพือ่ ลดความเสย่ี งดังนี้ 1. การขจดั อนั ตราย 2. การทดแทน 3. การควบคมุ ทางวศิ วกรรม 4. การควบคุมเชงิ บรหิ ารจัดการ 5. อุปกรณ์คมุ้ ครองความปลอดภยั ส่วนบคุ คล 5) นายจา้ งตอ้ งทบทวนการช้ีบง่ อันตรายและการประเมินความเสี่ยงตามชว่ งเวลาทกี่ าหนด 6) นายจ้างต้องให้ผู้รับเหมามีส่วนร่วมในการช้ีบ่งอันตรายและการประเมินความเส่ียง พร้อม ทง้ั มีการสอ่ื สารไปยังลูกจ้าง ผูม้ ีสว่ นไดเ้ สีย และผ้ทู ี่เกี่ยวขอ้ ง นายจ้างตอ้ งจัดทาและเก็บบันทึกการจดั การความเสีย่ ง โดยสถาบันสง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า 37 4.3.2 แนวทางการปฏบิ ัติ เริ่ม/จบกระบวนการ กิจกรรม เงอ่ื นไข / การตดั สินใจ ความสัมพนั ธแ์ ละทศิ ทางของกระบวนการ ลาดับ การปฏิบตั ิ ผู้รับผดิ ชอบ เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 1 1) รวบรวม - จป.หลกั - ฝ่ายบคุ คล - กฎหมายและมาตรฐานทเี่ กย่ี วข้อง (กรณีไมม่ ี จป.หลกั ) - งานและกจิ กรรม - กระบวนการทอี่ าจเกดิ เหตกุ ารณร์ า้ ยแรง - กระบวนการทีม่ กี ารควบคมุ สั่งการเกย่ี วเนื่อง - กระบวนการที่มกี ารกาหนดค่าควบคุมต้นแบบ - สงิ่ /อุปกรณท์ ต่ี ้องวิเคราะหค์ วามลม้ เหลว - ทะเบยี นคาถาม 2 - จป.หลัก แบบฟอรม์ ชีบ้ ่งอนั ตราย - หัวหนา้ งาน แต่ละวธิ ี ชีบ้ ง่ อนั ตรายดว้ ยวิธีที่เหมาะสม - ชา่ ง/วิศวกร - ผู้ปฏิบตั งิ าน 3 ทาการประเมินความเสยี่ งโดยพจิ ารณาโอกาส - จป.หลัก - หัวหน้างาน และความรุนแรง - ช่าง/วศิ วกร - ผู้ปฏิบตั งิ าน 4 จัดทาแผนจดั การความเสี่ยง - จป.หลกั - หัวหนา้ งาน - ชา่ ง/วิศวกร - ผปู้ ฏบิ ัติงาน 5 ดาเนนิ การตามแผน และส่ือสาร - จป.หลกั - หวั หนา้ งาน - ช่าง/วิศวกร - ผูป้ ฏบิ ัติงาน 6 ทาการทบทวนความเสยี่ งตามช่วงเวลาท่กี าหนดไว้ - คณะทางานจัดทาระบบ หมายเหตุ: รายละเอียดเรื่องการชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเส่ยี ง ดูได้จาก คู่มือการช้ีบ่งอันตรายด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน และ คู่มือการประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน โดยสถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หนา้ 38 4.4 การควบคมุ การปฏิบัตงิ าน (Operational Control) 4.4.1 ข้อกาหนด ทงั้ น้ีใหด้ าเนินการตามมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภยั ฯ (สสปท. 1-4-01-00-2562) ข้อ 4.4.4 4.4.4 การควบคมุ การปฏิบัตงิ าน นายจ้างต้องกาหนดระเบียบปฏิบัติเพ่ือจัดการความเส่ียงจากการปฏิบัติงาน และกิจกรรมต่าง ๆ ซง่ึ ประกอบด้วย 1) ข้อบังคับหรือขั้นตอนและวิธีปฏิบัติงานท่ีปลอดภัย และกฎระเบียบด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน รวมทั้งมาตรการควบคุมทาง วศิ วกรรม 2) การควบคุมท่เี กย่ี วข้องกับการจดั ซ้อื จัดจ้าง 3) การควบคมุ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับผรู้ ับเหมาและผู้เยย่ี มชมในสถานทท่ี างาน 4) การเตือนอนั ตราย 5) การจดั การความเปลี่ยนแปลง นายจ้างตอ้ งจดั ทาและเก็บบันทึกท่ีเก่ยี วขอ้ ง โดยสถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า 39 4.4.2 แนวทางการปฏบิ ตั ิ เร่ิม/จบกระบวนการ กิจกรรม เงือ่ นไข / การตดั สินใจ ความสมั พันธแ์ ละทศิ ทางของกระบวนการ ลาดบั การปฏบิ ตั ิ ผรู้ ับผดิ ชอบ เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1 กาหนดระเบียบปฏิบัติเพื่อจดั การความเสยี่ ง - ผ้แู ทนฝา่ ยบรหิ าร - จป. หลัก จากการปฏิบตั งิ าน และกจิ กรรมตา่ งๆ 2 - ผู้แทนฝ่ายบรหิ าร จัดทาขอ้ บังคับและกฏระเบียบดา้ นความปลอดภัยฯ - จป. หลัก - หวั หนา้ งาน 3 ประกาศใชแ้ ละควบคมุ การปฏิบตั ติ ามข้อบังคับและ - ผแู้ ทนฝ่ายบรหิ าร - จป. หลัก กฏระเบียบด้านความปลอดภยั ฯ - ผู้จัดการ - หวั หน้างาน 4 - คปอ. - ผแู้ ทนฝา่ ยบรหิ าร (กรณี สารวจ ตดิ ตามการปฏิบตั ติ ามข้อบงั คับและ ไมม่ ี คปอ.) กฏระเบยี บดา้ นความปลอดภัยฯ โดยสถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า 40 4.5 การเตรยี มความพรอ้ มและการตอบโตภ้ าวะฉุกเฉนิ 4.5.1 ข้อกาหนด ท้ังนี้ใหด้ าเนินการตามมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภยั ฯ (สสปท. 1-4-01-00-2562) ข้อ 4.4.5 4.4.5 การเตรียมความพรอ้ มและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 1) นายจ้างตอ้ งมีการระบสุ ถานการณ์ฉุกเฉินท่ีอาจจะเกิดขึ้น 2) นายจา้ งตอ้ งจัดทาระเบียบปฏบิ ัติ สาหรบั การเตรียมความพร้อมและการตอบโตภ้ าวะฉุกเฉิน 3) ในการวางแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน นายจ้างต้องพิจารณาถึงการประสานงานกับหน่วยงาน ทเ่ี ก่ียวข้อง ทงั้ ในการขอความช่วยเหลือและการแจ้งเหตุ 4) นายจ้างต้องมีการฝึกอบรมและฝึกซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินให้กับลูกจ้างทุกคนในสถาน ประกอบกิจการ ตามช่วงเวลาที่กาหนด 5) นายจ้างต้องมกี ารทบทวนแผนและตรวจสอบอปุ กรณ์ท่ีใช้ในภาวะฉุกเฉนิ เปน็ ระยะ นายจา้ งต้องจดั ทาและเก็บบนั ทึกทเ่ี กีย่ วข้อง โดยสถาบันส่งเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

หน้า 41 4.5.2 แนวทางการปฏิบัติ เรมิ่ /จบกระบวนการ กิจกรรม เง่อื นไข / การตดั สินใจ ความสัมพนั ธ์และทศิ ทางของกระบวนการ ลาดับ การปฏบิ ตั ิ ผู้รบั ผดิ ชอบ เอกสารท่เี กีย่ วข้อง 1 ระบุสถานการณ์ฉกุ เฉนิ ทอี่ าจเกดิ ขน้ึ - จป.หลกั - คปอ. - ผแู้ ทนฝา่ ยบรหิ าร 2 - จป.หลกั จดั ทาแผนเตรยี มความพรอ้ มและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉนิ - คปอ. - ผู้แทนฝ่ายบรหิ าร 3 จดั เตรียมและตรวจสอบอุปกรณ์ทต่ี ้องใชใ้ นภาวะฉกุ เฉนิ - จป.หลัก - ผ้แู ทนฝ่ายบรหิ าร - ผจู้ ัดการฝ่าย - หัวหนา้ งาน 4 ดาเนินการสือ่ สารแผนเตรียมความพรอ้ มและ - จป.หลกั - ผู้แทนฝ่ายบรหิ าร ตอบโต้ภาวะฉกุ เฉินให้กบั ลกู จ้างทีเ่ ก่ียวข้อง - ผู้จดั การฝา่ ย - หัวหนา้ งาน 5 ดาเนนิ การฝกึ ซอ้ มตามแผนอบโตภ้ าวะฉุกเฉนิ - จป.หลัก ตามช่วงเวลาทก่ี าหนดไว้ 6 ประเมินผลการฝกึ ซอ้ ม - ผแู้ ทนฝา่ ยบรหิ าร - จป.หลกั - คปอ. 7 - ผแู้ ทนฝา่ ยบรหิ าร - จป.หลัก ทบทวนแผนเตรยี มความพรอ้ มและ - คปอ. ตอบโตภ้ าวะฉุกเฉินและปรับใหม้ คี วามเหมาะสม โดยสถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)

หนา้ 42 4.5.3 ตวั อยา่ งโครงสรา้ งหน่วยควบคมุ การเตรยี มความพรอ้ มและตอบโต้ภาวะฉกุ เฉิน ผูอ้ านวยการควบคมุ ภาวะฉุกเฉิน ผสู้ งั่ การ ทีมผจญเพลิง ทมี ปฐมพยาบาล ทมี ควบคุมจราจร ทีมส่ือสาร ทมี ประชาสมั พันธ์ ทีมบริการ 4.5.3.1 หน้าทีแ่ ละความรบั ผิดชอบเมื่อเกดิ ภาวะฉุกเฉนิ (1) ผู้อานวยการควบคมุ ภาวะฉกุ เฉนิ เมื่อได้รับแจ้งเหตุ ให้รีบไปยังสถานท่ีเกิดเหตุเพื่อประเมินสถานการณ์ ถ้าประเมินว่าสามารถ ควบคุมได้ในระยะเวลาอันสั้นโดยไม่มีอันตรายต่อลูกจ้างในสถานประกอบกิจการ ให้ส่ังการทาการควบคุมเหตุ แต่หากพบว่าเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนไม่สามารถควบคุมได้ในระยะเวลาอันส้ัน และอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อลูกจ้าง ในสถานประกอบกิจการได้ ให้ประกาศภาวะฉุกเฉินให้ลูกจ้างทุกคนทราบ และจัดต้ังศูนย์อานวยการควบคุม ภาวะฉุกเฉินโดย 1) ทาหนา้ ที่อานวยการควบคุมภาวะฉุกเฉินซง่ึ ได้รับทราบรายงานจากผู้ส่ังการ 2) ทาหน้าทบี่ ังคับบญั ชา สง่ั การ และใหก้ ารสนบั สนนุ การทางานของผูส้ งั่ การ 3) ทาหน้าทต่ี ัดสินใจเพ่ือร้องขอความชว่ ยเหลือจากหน่วยงานภายนอกเมื่อไดร้ ับแจ้งจากผูส้ ัง่ การ 4) ประสานกับหน่วยงานช่วยเหลือจากภายนอกที่เข้ามาปฏบิ ัตงิ านภายในสถานประกอบกิจการ 5) ประกาศยกเลกิ ภาวะฉกุ เฉินเมื่อไดร้ ับแจง้ จากผู้ส่งั การวา่ ควบคุมเหตกุ ารณ์ใหเ้ ขา้ สภู่ าวะปกติแล้ว 6) ทาหนา้ ที่แถลงข่าวและตอบคาถามส่ือมวลชน (2) ผสู้ ง่ั การ 1) เม่ือได้รับแจ้งเหตุ ให้ไปยังท่ีเกิดเหตุ เพ่ือประเมินสถานการณ์ร่วมกับผู้อานวยการภาวะ ฉกุ เฉิน 2) เม่ือมีประกาศภาวะฉุกเฉิน ให้ผู้สั่งการไปรายตัวเพ่ือรับคาสั่งกับผู้จัดการควบคุมภาวะ ฉกุ เฉิน 3) รบั การรายงานตวั จากหัวหนา้ ทีมตา่ ง ๆ 4) ควบคมุ สง่ั การ กาหนดใหท้ มี ท่ีอยใู่ ตบ้ งั คับบญั ชาปฏิบัตติ ามหน้าท่ที ่ีกาหนดไว้ 5) ประสานงานหนว่ ยดับเพลิง พยาบาล และตารวจทม่ี าให้การสนบั สนนุ 6) เมื่อเหตุการณ์สงบ ให้ทาหน้าท่ีประเมินสถานการณ์เพื่อขอยกเลิกภาวะฉุกเฉินจาก ผู้อานวยการควบคมุ ภาวะฉกุ เฉิน โดยสถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)