Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น

งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น

Published by ruttanachai_21, 2021-09-26 03:31:39

Description: งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น

Search

Read the Text Version

งานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกสเ์ บอ้ื งต้น (Basic Electrical and Electronic Work) รหสั วิชา 20100-1005 หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชพี กล่มุ สมรรถนะวชิ าชีพพืน้ ฐาน ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม หลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ พุทธศกั ราช 2562 สำ� นักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา (สอศ.) กระทรวงศึกษาธกิ าร เรยี บเรยี งโดย ไวพจน์ ศรีธัญ วรี ธรรม ไชยยงค์

งานไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ สเ์ บ้ืองต้น (Basic Electrical and Electronic Work) ISBN 978-616-495-030-6 จดั พมิ พแ์ ละจดั จำ�หนา่ ยโดย... บริษทั วังอกั ษร จำ�กัด 69/3 ถนนอรณุ อมรนิ ทร์ แขวงวดั อรณุ เขตบางกอกใหญ่ กรงุ เทพฯ 10600 Tel. 0-2472-3293-5 Fax 0-2891-0742 Mobile 08-8585-1521 e-Mail : [email protected] Facebook : สำ�นกั พิมพ์ วงั อักษร http://www.wangaksorn.com ID Line : @wangaksorn พมิ พ์ครัง้ ที่ 1 พ.ศ. 2562 จ�ำ นวนทพ่ี มิ พ์ 5,000 เล่ม สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบญั ญตั ลิ ิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยบรษิ ัทวังอกั ษร จ�ำกัด หา้ มน�ำส่วนใดส่วนหนึ่งของหนงั สือเลม่ นี้ไปทำ� ซำ้� ดดั แปลง หรือเผยแพรต่ ่อสาธารณชน ไมว่ า่ รปู แบบใด ๆ นอกจากไดร้ ับอนญุ าต เป็นลายลักษณอ์ ักษรลว่ งหนา้ จากทางบรษิ ัทฯ เท่านัน้ ชื่อและเครื่องหมายการค้าอน่ื ๆ ทอี่ า้ งอิงในหนงั สือฉบับนี้ เปน็ สิทธโิ ดยชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของแต่ละราย โดยบรษิ ัทวังอักษร จ�ำกดั มิได้อ้างองิ ความเปน็ เจ้าของแต่อย่างใด

งานไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ สเ์ บอ้ื งต้น (Basic Electrical and Electronic Work) รหสั วิชา 20100-1005 จุดประสงค์รายวิชา เพ่ือให้ 1. รู้ เข้าใจ และน�ำไปใช้งานเก่ียวกับหลักการท�ำงาน ระบบความปลอดภัยในงานไฟฟ้า และอเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ บอ้ื งตน้ 2. มที กั ษะเกยี่ วกบั การใชเ้ ครอื่ งมอื วดั ทดสอบวงจรไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การเตรยี มอปุ กรณ์ ประกอบ ทดสอบวงจรไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เลือกเครอ่ื งใช้ไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการคิดในการท�ำงานด้วยความละเอียดรอบคอบ ปลอดภัย เป็นระเบยี บ สะอาด ตรงต่อเวลา มคี วามซอ่ื สตั ย์ รับผดิ ชอบและรกั ษาสภาพแวดลอ้ ม สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงหลกั การวดั ทดสอบ ประกอบวงจรไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ บอื้ งตน้ และความปลอดภยั 2. ประกอบและตรวจสอบวงจรไฟฟา้ เบอ้ื งต้น 3. ตอ่ วงจรและอุปกรณ์ควบคมุ มอเตอร์ไฟฟา้ เบ้อื งต้น 4. ตอ่ วงจรและตรวจสอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสเ์ บ้อื งตน้ ค�ำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติงานเก่ียวกับหลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ แหล่งก�ำเนิดไฟฟ้า กฎของโอห์ม พลังงานไฟฟ้า วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง การควบคุม มอเตอรเ์ บอื้ งต้น อปุ กรณป์ ้องกันไฟฟา้ และการตอ่ สายดนิ อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ R L C หม้อแปลงไฟฟา้ รีเลย์ ไมโครโฟน ล�ำโพง อุปกรณ์สารก่ึงตัวน�ำ การบัดกรี การใช้มัลติมิเตอร์ เครื่องก�ำเนิดสัญญาณ ออสซลิ โลสโคป การประกอบวงจรไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกสเ์ บือ้ งต้น

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะรายวิชา วชิ างานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ บื้องตน้ รหัสวิชา 20100-1005 ท-ป-น 1-3-2 จำ� นวน 4 คาบ/สัปดาห์ รวม 72 คาบ สมรรถนะรายวิชา แสดงหลักการ ัวด ทดสอบ ประกอบวงจรไฟ ้ฟาและ ิอเ ็ลกทรอนิก ์สเบื้อง ้ตนและความปลอด ัภย หน่วยที่ ประกอบและตรวจสอบวงจรไฟ ้ฟาเบื้อง ้ตน ต่อวงจรและ ุอปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าเ ื้บอง ้ตน ่ตอวงจรและตรวจสอบ ุอปกร ์ณอิเ ็ลกทรอนิก ์สเบื้อง ้ตน 1. ความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ ✓ 2. แหล่งก�ำเนิดไฟฟา้ ชนดิ ของไฟฟา้ พลังงานไฟฟ้า ✓ และวงจรไฟฟ้าแสงสว่าง ✓✓ 3. ตัวต้านทานและกฎของโอหม์ ✓✓ 4. วงจรไฟฟา้ เบ้อื งตน้ ✓✓ 5. การควบคุมมอเตอร์เบอ้ื งตน้ ✓✓ 6. อปุ กรณป์ ้องกันไฟฟ้าและการตอ่ สายดิน ✓ ✓ 7. อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ ✓ 8. การท�ำแผ่นปรินต์และการบัดกรี ✓ ✓ 9. การใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ ✓ ✓ 10. การสร้างส่ิงประดิษฐ์อิเล็กทรอนิกส์

คำ�นำ� วิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น รหัสวิชา 20100 - 1005 จัดอยู่ในหมวดวิชา สมรรถนะวิชาชพี กลุม่ สมรรถนะวชิ าชพี พ้นื ฐาน ตามหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (สอศ.) กระทรวงศึกษาธิการ ผู้เขียนได้บริหารสาระการเรียนรู้ แบง่ เป็น 10 บทเรยี น ได้จดั แผนการจัดการเรยี นรู้/แผนการสอนทีเ่ นน้ ฐานสมรรถนะ (Competency Based) และการบูรณาการ (Integrated) ตรงตามจุดประสงคร์ ายวิชา สมรรถนะรายวิชา คำ�อธิบาย รายวิชา ในแต่ละบทเรียน มุ่งให้ความสำ�คัญส่วนที่เป็นความรู้ทฤษฎี หลักการ กระบวนการ ตัวอย่าง ใบงานเพอ่ื ฝกึ ปฎบิ ตั ิ และค�ำ ถามเพอ่ื การทบทวน เพื่อฝกึ ทักษะประสบการณ์ เรง่ พฒั นาบทบาทของผเู้ รยี น เป็นผจู้ ดั การแสวงหาความรู้ (Explorer) เปน็ ผู้สอนตนเองได้สรา้ งองค์ความรู้ใหม่ และบทบาทของผู้สอน เปลี่ยนจากผู้ให้ความรู้เป็นผู้ชี้แนะ (Teacher Role) จัดสิง่ แวดลอ้ มเอื้ออ�ำ นวยตอ่ ความสนใจเรียนรแู้ ละ เป็นผู้รว่ มเรียนรู้ (Co-investigator) จัดหอ้ งเรียนเป็นสถานท่ีท�ำ งานร่วมกนั (Learning Context) จัดกลมุ่ เรียนรู้ ให้รู้จกั ท�ำ งานร่วมกัน (Grouping) ฝกึ ความใจกว้าง มงุ่ สร้างสรรคค์ นรนุ่ ใหม่ สอนความสามารถที่ นำ�ไปใช้งานได้ (Competency) สอนความรัก ความเมตตา (Compassion) ความเช่อื ม่ัน ความซ่ือสตั ย์ (Trust) เปา้ หมายอาชพี อันยงั เปน็ ประโยชน์ (Productive Career) และชวี ิตท่มี ศี กั ดิศ์ รี (Noble Life) เหนอื ส่ิงอ่ืนใด เปน็ คนดที ัง้ กาย วาจา ใจ มคี ณุ ธรรม จรรยาบรรณทางธุรกิจและวชิ าชพี ส่งเสริมสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ (Vocational Qualification System) สอดคลอ้ งตามมาตรฐานอาชพี (Occupational Standard) สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั เพม่ิ ขดี ความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ กำ�ลังแรงงาน การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานระดับชาติ (National Benchmarking) และการวิเคราะห์หน้าที่การงาน (Functional Analysis) เพื่อให้เกิดผลสำ�เร็จในภาค ธรุ กิจ อุตสาหกรรม ทุกสาขาอาชีพ เพอื่ เตรยี มความพรอ้ มของผเู้ รียนเข้าสสู่ นามการแข่งขันในประชาคม อาเซียน ไวพจน์ ศรีธญั วีรธรรม ไชยยงค์

สารบัญ บทที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส ์ 1 บทน�ำ ปัจจัยท่กี อ่ ให้เกิดความรนุ แรงของการประสบอันตรายจากไฟฟ้า 2 ผลของกระแสไฟฟ้าทีม่ ตี อ่ ร่างกาย 3 การปอ้ งกนั อันตรายท่เี กิดจากงานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 6 การชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภัยจากกระแสไฟฟา้ 6 การปฐมพยาบาลผู้บาดเจบ็ จากกระแสไฟฟา้ 8 แบบฝึกหัดท้ายบทท่ี 1 8 11 บทท่ี 2 แหลง่ ก�ำเนดิ ไฟฟา้ ชนดิ ของไฟฟา้ พลงั งานไฟฟา้ และวงจรไฟฟา้ แสงสวา่ ง 49 แหล่งก�ำเนดิ ไฟฟา้ และชนดิ ของไฟฟา้ ชนดิ ของไฟฟ้า 15 การผลิตและการสง่ พลงั งานไฟฟา้ 20 ระบบจ�ำหนา่ ยไฟฟา้ แรงต�ำ่ ของประเทศไทย 21 ก�ำลังไฟฟา้ และพลังงานไฟฟ้า 23 วงจรไฟฟา้ แสงสวา่ ง 24 การต่อวงจรหลอดไฟฟา้ 31 แบบฝกึ หัดทา้ ยบทที่ 2 38 ใบงานการทดลองท่ี 2.1 วงจรไฟฟา้ แสงสวา่ ง 40 ใบงานการทดลองที่ 2.2 วงจรหลอดฟลูออเรสเซนต ์ 43 48 บทที่ 3 ตัวต้านทานและกฎของโอห์ม 52 บทน�ำ ชนิดของตัวตา้ นทาน 53 หนว่ ยของตัวตา้ นทาน 53 วิธกี ารอ่านค่าตัวตา้ นทาน 56 การตอ่ ตวั ต้านทาน 57 ทฤษฎกี ฎของโอห์ม 62 การใชก้ ฎของโอหม์ ในวงจรไฟฟา้ 67 แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3 35 ใบงานทดลองที่ 3.1 การต่อตัวต้านทาน 72 ใบงานทดลองท่ี 3.2 กฎของโอห์ม 75 79 บทท่ี 4 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น 84 ลักษณะวงจรไฟฟ้าเบอื้ งต้น วงจรไฟฟ้าแบบอนกุ รม 85 85

วงจรไฟฟ้าแบบขนาน 90 วงจรไฟฟา้ แบบผสม 95 แบบฝกึ หัดทา้ ยบทที่ 4 98 ใบงานทดลองที่ 4.1 วงจรไฟฟา้ แบบอนุกรมและขนาน 102 ใบงานทดลองที่ 4.2 วงจรไฟฟ้าแบบผสม 108 บทที่ 5 การควบคมุ มอเตอรเ์ บอื้ งต้น 113 บทน�ำ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับ 114 ชนิดของการควบคมุ มอเตอร์ 115 อุปกรณ์ทีใ่ ช้ส�ำหรับการควบคมุ มอเตอร์ 118 สญั ลกั ษณก์ ารเขยี นแบบควบคุมมอเตอร์ 118 วธิ ีการเรม่ิ หมุนโดยใช้แมกเนตกิ คอนแทคเตอร์ 124 วธิ ีการกลบั ทางหมนุ ของอนิ ดกั ชันมอเตอร์ 3 เฟส 126 วิธกี ารกลับทางหมนุ ของมอเตอร์ 1 เฟส 128 แบบฝกึ หัดทา้ ยบทท่ี 5 132 ใบงานทดลองที่ 5.1 การตรวจเช็คอุปกรณค์ วบคมุ การเริม่ หมุนของมอเตอร ์ 133 ใบงานทดลองที่ 5.2 การเริ่มหมนุ อนิ ดกั ชันมอเตอร์ 3 เฟส 137 ใบงานทดลองท่ี 5.3 การกลับทางหมนุ อนิ ดกั ชนั มอเตอร์ 3 เฟส 141 ใบงานทดลองท่ี 5.4 การกลบั ทางหมุนอนิ ดักชันมอเตอร์ 1 เฟส (มอเตอร์สปลิตเฟส) 145 149 บทท่ี 6 อุปกรณ์ป้องกันไฟฟา้ และการตอ่ สายดิน หลกั การและเหตผุ ลของการใชอ้ ุปกรณ์ป้องกนั ไฟฟา้ และการต่อสายดนิ 153 ฟวิ ส ์ เซอร์กิตเบรกเกอร์ 154 สวติ ชท์ ิชโิ น 155 โหลดเซ็นเตอร์ 160 เซฟต้สี วิตช ์ 162 การต่อสายดนิ 165 แบบฝกึ หัดท้ายบทที่ 6 166 ใบงานทดลองท่ี 6.1 การตรวจเชค็ อปุ กรณป์ ้องกันทางไฟฟา้ 167 169 บทท่ี 7 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส ์ 172 ตวั เหนย่ี วน�ำไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟา้ 178 ตวั เกบ็ ประจไุ ฟฟ้า ไดโอด 179 กราฟคณุ สมบตั ขิ องไดโอด 181 ซเี นอร์ไดโอด 184 ไดโอดเปล่งแสง 188 190 191 193

โฟโต้ไดโอด 194 การตรวจสอบไดโอด 194 รีเลย์ 195 ทรานซสิ เตอร์ 196 การใหไ้ บแอสทรานซิสเตอร์ 200 ไมโครโฟน 201 ล�ำโพง 204 วงจรรวม 208 แบบฝกึ หดั ท้ายบทที่ 7 210 ใบงานทดลองท่ี 7.1 คุณสมบตั ิของไดโอด ซเี นอร์ไดโอด และแอลอดี ี 213 ใบงานทดลองท่ี 7.2 คุณสมบตั ขิ องทรานซิสเตอร ์ 221 ใบงานทดลองที่ 7.3 หมอ้ แปลงไฟฟ้าและรเี ลย ์ 229 บทท่ี 8 การท�ำแผน่ ปรินต์และการบัดกร ี 235 การท�ำแผน่ ปรินต์ การบดั กร ี 236 แบบฝึกหดั ท้ายบทท่ี 8 238 ใบงานทดลองท่ี 8.1 การท�ำแผน่ ปรินต ์ 240 243 บทท่ี 9 การใช้เคร่ืองมืออิเล็กทรอนิกส ์ มลั ตมิ เิ ตอร ์ 248 ออสซิลโลสโคป การใชง้ านออสซิลโลสโคป 249 เคร่อื งก�ำเนดิ สัญญาณ 256 แบบฝึกหัดทา้ ยบทที่ 9 261 ใบงานทดลองท่ี 9.1 การใช้มลั ตมิ ิเตอร์ 263 ใบงานทดลองที่ 9.2 การใชอ้ อสซลิ โลสโคปและฟังก์ชนั เจนเนอเรเตอร ์ 265 268 บทที่ 10 การสร้างสิ่งประดษิ ฐ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 274 วงจรไฟกะพริบ วงจรสวติ ช์ ปิด - เปิด ด้วยแสง 279 วงจรเคร่ืองควบคมุ ความเร็วพัดลม แบบฝกึ หัดทา้ ยบทที่ 10 280 ใบงานทดลองท่ี 10.1 การสร้างเครอื่ งหรี่ไฟ 1,000 วัตต์ 283 285 สรุปค�ำศัพท ์ 287 ค�ำถามทบทวน 288 บรรณานุกรม 294 299 303

บทที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 1 บทที่ 1 ความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์ แนวคิด ไฟฟา้ มคี ณุ ประโยชนม์ ากมาย แตก่ ม็ อี นั ตรายไมน่ อ้ ยหากใชไ้ มถ่ กู ตอ้ ง ไมร่ ะวดั ระวงั อาจทำ� ใหก้ ลา้ มเนอื้ กระตุกหรือหดตัว ระบบประสาทชะงักงัน เกิดแผลไหม้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย หัวใจเกิดอาการเต้นเร็ว ถ่ีรัว หรอื เตน้ กระตกุ ไปจนถงึ หยดุ ทำ� งานไดท้ นั ที จงึ ตอ้ งรจู้ กั วธิ กี ารปอ้ งกนั อนั ตรายทเี่ กดิ จากงานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รวมท้ังการใช้อุปกรณ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้าท้ังหมด และต้องมีความรู้ในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากกระแสไฟฟ้า และการปฐมพยาบาลผบู้ าดเจบ็ จากกระแสไฟฟา้ อย่างถูกตอ้ ง เพ่ือความปลอดภัยของท้งั ผูไ้ ดร้ บั อนั ตรายและผทู้ ี่ เขา้ ไปชว่ ยเหลอื สาระการเรยี นรู้ 1. ปัจจัยทก่ี ่อใหเ้ กิดความรนุ แรงของการประสบอนั ตรายจากไฟฟ้า 2. ผลของกระแสไฟฟ้าท่ีมตี ่อร่างกาย 3. การปอ้ งกันอนั ตรายทเ่ี กดิ จากงานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ 4. การช่วยเหลอื ผูป้ ระสบภัยจากกระแสไฟฟ้า 5. การปฐมพยาบาลผู้บาดเจบ็ จากกระแสไฟฟา้ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงหลกั การวัด ทดสอบ ประกอบวงจรไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์เบอื้ งต้นและความปลอดภัย จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1. ระบปุ จั จัยทกี่ อ่ ใหเ้ กิดความรนุ แรงของการประสบอนั ตรายจากกระแสไฟฟ้าได้ 2. อธบิ ายเกย่ี วกบั ผลของกระแสไฟฟา้ ทม่ี ตี ่อรา่ งกายได้ 3. อธิบายการป้องกันอนั ตรายท่ีเกิดจากงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกสไ์ ด้ 4. อธิบายการปฐมพยาบาลและการช่วยเหลอื ผ้บู าดเจ็บจากกระแสไฟฟ้าได้ 5. อธบิ ายถงึ อันตรายจากกระแสไฟฟา้ ท่ีมตี อ่ ชวี ิตและรา่ งกายได้

2 บทที่ 1 ความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 1บทท่ี ความปลอดภัย ในงานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ บทน�ำ เปน็ ทย่ี อมรบั กนั โดยทวั่ ไปวา่ ไฟฟา้ เปน็ ปจั จยั พน้ื ฐานในการดำ� เนนิ ชวี ติ เนอื่ งจากในชวี ติ ประจำ� วนั ของมนุษย์ ต้องมีการเก่ียวข้องกับกระแสไฟฟ้าอยู่ตลอดเวลา และเป็นที่ทราบกันดีว่า ไฟฟ้ามีคุณอนันต์ แตก่ ม็ โี ทษมหนั ตเ์ ชน่ กนั อนั ตรายทเี่ กดิ ขน้ึ จากไฟฟา้ เกดิ ขนึ้ ไดต้ ลอดเวลาทง้ั จากการปฏบิ ตั งิ านกบั อปุ กรณ์ หรอื วงจรไฟฟา้ โดยตรง หรอื จากการใชอ้ ุปกรณ์ทีใ่ ช้พลงั งานไฟฟา้ อื่น ๆ ดังนน้ั การมีความร้คู วามเขา้ ใจถึง สาเหตุและผลของอันตรายท่ีเกิดขึ้นจะช่วยให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับกระแสไฟฟ้ามีความระมัดระวังมากข้ึน อบุ ัตภิ ยั ท่จี ะเกดิ จากกระแสไฟฟ้าก็จะลดลง ความเสียหายในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ก็จะลดลงเชน่ กนั อนั ตรายจากกระแสไฟฟ้าทม่ี ตี อ่ ชวี ิตและรา่ งกายมีดงั น้ี 1. ไฟฟ้าดูด (Electrical Shock) เป็นลักษณะของกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายลงสู่ดิน และ เปน็ อันตรายที่มนุษย์ได้รับจากไฟฟ้ามากท่ีสดุ ประมาณ 85% ของผปู้ ระสบอนั ตรายจากไฟฟ้าท้ังหมด 2. ร่างกายเป็นส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้า เป็นลักษณะท่ีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายแต่ไม่ผ่าน ลงดนิ ทำ� ใหเ้ กดิ อนั ตรายถึงชีวิตได้ 3. อันตรายจากแสงจา้ เสียงดงั หรือประกายไฟ จากการเกดิ ไฟฟ้าลดั วงจร (Short Circuit)

บทที่ 1 ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์ 3 ปจั จัยทก่ี อ่ ให้เกดิ ความรุนแรงของการประสบอันตรายจากไฟฟ้า เมือ่ มนุษยถ์ กู ไฟฟ้าดูด อันตรายหรืออาการบาดเจ็บทไี่ ด้รบั ขน้ึ อยกู่ บั ปัจจัยสำ� คัญ 6 ประการ ดังตอ่ ไปน้ี 1. ความต้านทานของร่างกายต่อกระแสไฟฟ้า ค่าความต้านทานภายในร่างกายมนุษย์ คิดเป็นร้อยละของค่าความต้านทานระหว่างมือถึงมือ กล่าวคือ ผิวหนังแห้งจะมีความต้านทานประมาณ 100,000 - 600,000 Ω แต่ถ้าผวิ หนงั เปยี ก ความต้านทานจะลดลงเหลอื เพยี ง 1,000 Ω ดังนั้น เม่อื ถกู กระแสไฟฟ้าดดู เน้ือเยอ่ื กระดกู และระบบประสาท ท้ังหมดจะเกดิ การนำ� ไฟฟ้า ทำ� ใหค้ วามตา้ นทานของ ผวิ หนงั ลดลง และกระแสไฟฟา้ จะไหลผา่ นรา่ งกายเพม่ิ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ ทำ� ใหเ้ กดิ การบาดเจบ็ อยา่ งรนุ แรง ถึงขนั้ เสยี ชีวติ ได้ 2. แรงดนั ไฟฟา้ อนั ตรายจากกระแสไฟฟา้ จะรนุ แรงขน้ึ เมอ่ื แรงดนั ไฟฟา้ เพมิ่ สงู ขน้ึ ดงั ตารางที่ 1.1 ตารางท่ี 1.1 อันตรายจากกระแสไฟฟ้า จากการเพมิ่ ขึน้ ของแรงดันไฟฟ้า แรงดนั ไฟฟ้า (V) อาการ 20 - 60 ชอ็ ค ไมส่ ามารถสะบดั มอื ใหห้ ลุดได้ 40 - 100 หยุดหายใจ 80 - 100 กล้ามเนื้อหัวใจกระตกุ หรอื เตน้ ถ่ีรัว > 240 ผวิ หนังฉกี ขาด > 600 ผวิ หนังไหม้ จากตารางที่ 1.1 แสดงมาตรฐานของประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ก�ำหนดให้แรงดนั ไฟฟ้าสมั ผสั ทีไ่ ม่ เป็นอนั ตรายไม่เกิน 50 V แตม่ าตรฐาน VDE 041 ก�ำหนดขนาดแรงดันไฟฟา้ สัมผสั ท่ียอมรบั ได้ ขึน้ อย่กู บั ระยะเวลาทส่ี มั ผสั ท่แี รงดันไฟฟ้าไม่เกนิ 65 V ร่างกายมนษุ ยจ์ ะสามารถตา้ นทานได้ชว่ั ขณะ ดงั กราฟ รูป ท่ี 1.1

4 บทที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ แรงดนั ไฟฟ้า (โวลต)์ 80 70 65 123 เวลา (วนิ าท)ี รูปที่ 1.1 กราฟแสดงแรงดันไฟฟ้าทย่ี อมรบั ได้ ซ่ึงขน้ึ อยกู่ ับระยะเวลา ที่กระแสไหลผ่านร่างกาย (มาตรฐาน VDE) 3. ปรมิ าณกระแสไฟฟา้ ท่ไี หลผ่านรา่ งกาย รายละเอยี ดดังตารางท่ี 1.2 ตารางที่ 1.2 แสดงอาการทีไ่ ดร้ บั จากปรมิ าณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผา่ นรา่ งกาย ปริมาณกระแสไฟฟ้า (mA) อาการ ตำ�่ กวา่ 0.5 ยังไมม่ ผี ลหรอื ยงั ไม่รู้สึก 0.5 - 2 รสู้ กึ วา่ ถูกไฟดูด 2 - 8 กระทบกระเทือนตอ่ ระบบประสาท กล้ามเนอ้ื หดตัว เกดิ อาการกระตุก 8 - 20 กระทบกระเทือนตอ่ ระบบประสาท กลา้ มเน้อื เกร็ง หดตวั อยา่ งรุนแรง บางคนไมส่ ามารถปล่อยมอื ให้หลดุ ได้ 20 - 25 กระทบกระเทอื นตอ่ ระบบประสาท กลา้ มเนอื้ หดตวั อยา่ งรนุ แรง ไมส่ ามารถ ปล่อยมือให้หลุดออกได้ ปอดท�ำงานผิดปกติ มีโอกาสเสียชีวิตในเวลา 2 - 3 นาที สงู กว่า 100 หวั ใจหยุดเตน้ ผิวหนงั ไหม้ กลา้ มเนื้อไม่ท�ำงาน 4. ระยะเวลาท่ีสัมผัสหรือระยะเวลาท่ีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน หากร่างกายสัมผัสกับวงจรไฟฟ้า เปน็ เวลานาน อนั ตรายทีไ่ ดร้ บั กจ็ ะมีมากขน้ึ และรนุ แรง ดงั ตารางที่ 1.3

บทท่ี 1 ความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 5 ตารางที่ 1.3 แสดงความสมั พนั ธร์ ะหว่างประมาณกระแสไฟฟา้ ระยะเวลา และอาการทีไ่ ดร้ บั ปรมิ าณกระแสไฟฟา้ (mA) ระยะเวลาทไ่ี หลผา่ น อาการ 100 นานกวา่ 3 วินาที เสียชวี ติ 500 นานกว่า 0.1 วินาที เสยี ชวี ติ 1,000 นานกว่า 0.03 วินาที เสียชีวติ 5. ความถี่ของระบบไฟฟ้า เม่ือความถ่ีเพิ่มข้ึน ความต้านทานของร่างกายจะลดลงโดย ความต้านทานของร่างกายจะมีค่าสูงสุดที่ความถี่ 50/60 Hz ทั้งน้ีระดับกระแสไฟฟ้าท่ีท�ำให้กล้ามเน้ือ ควบคมุ ไมไ่ ด้ จะแปรผนั ตรงกบั ความถไี่ ฟฟา้ เชน่ ทค่ี วามถ่ี 60 Hz กระแสไฟฟา้ ทม่ี ากกวา่ 10 mA จะทำ� ให้ กลา้ มเนอ้ื ควบคมุ ไมไ่ ด้ ดังกราฟ รปู ท่ี 1.2 กระแสไฟฟ้า [mA] 100 80 60 40 20 20 100 1000 10000 ความถ่ี (Hz) รูปท่ี 1.2 กราฟแสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งระดบั กระแสไฟฟา้ ท่ี ทำ� ให้กล้ามเนอ้ื ควบคมุ ไมไ่ ดก้ ับความถข่ี องระบบไฟฟา้ 6. สว่ นของรา่ งกายทก่ี ระแสไฟฟา้ ไหลผา่ น หากกระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นศรี ษะ หวั ใจและทรวงอก จะกอ่ ให้เกดิ อันตรายถึงชวี ติ ไดม้ ากกว่าไหลผ่านส่วนอนื่ ๆ ของร่างกาย

6 บทที่ 1 ความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์ ผลของกระแสไฟฟ้าทีม่ ีต่อร่างกาย   เมอื่ รา่ งกายมนุษย์ไดร้ บั กระแสไฟฟ้าจากระบบไฟฟ้า จะเกดิ ผลดงั น้ี 1. กล้ามเน้ือกระตุกหรือหดตัว (Muscular Freezing) ถ้ากระแสไฟฟ้าไหลผ่านมือและ ไหลออกลงสู่ดินทางมืออีกข้างหรือทางเท้า กล้ามเนื้อทรวงอกจะหดตัวมากที่สุด ปอดท�ำงานไม่ปกติ ทำ� ใหห้ ายใจตดิ ขดั และขาดอากาศในการหายใจ 2. ระบบประสาทชะงักงัน (Nerve Block) ถา้ กระแสไฟฟา้ ทไ่ี หลผา่ นรา่ งกาย มปี รมิ าณตงั้ แต่ 10 - 50 mA จะท�ำให้ระบบประสาทชะงักงนั ไปชวั่ ขณะ มกี ารกระตกุ อย่างแรง การท�ำงานของหวั ใจเปน็ อัมพาตชว่ั คราว 3. หวั ใจเกดิ อาการเตน้ เรว็ ถร่ี วั หรอื เตน้ กระตกุ (Veuticular Fibrillation) เกดิ จากกระแสไฟฟา้ ทไ่ี หลผา่ นรา่ งกายมปี รมิ าณมากกวา่ 50 mA ขน้ึ ไป การเตน้ ของหวั ใจผดิ ปกตกิ ารสบู ฉดี เลอื ดไปเลยี้ งสมอง ไม่เพยี งพอ ตอ่ มาหวั ใจก็จะหยุดเต้นและเสียชีวิต 4. หัวใจหยุดท�ำงานทันที (Cardiac Arrest) เกิดจากกระแสไฟฟ้าปริมาณมากไหลผ่านหัวใจ เชน่ กระแสไฟฟ้าปริมาณ 250 mA ท�ำใหก้ ลา้ มเนือ้ หัวใจหดตวั อยา่ งรุนแรง และหัวใจหยุดเตน้ ทนั ที 5. ท�ำให้เกดิ แผลไหมส้ ว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย กระแสไฟฟา้ ทีว่ ิง่ ผ่านเข้าไปในร่างกายท�ำให้เกิด แผลไหม้บริเวณกระแสไฟฟ้าเข้าและกระแสไฟฟ้าออก ถ้าเป็นไฟฟ้ากระแสตรงจะมีอันตรายน้อยกว่า ไฟฟ้ากระแสสลบั (Alternating Current) ถึง 3 เทา่ ท้งั ทคี่ วามเข้มของไฟฟา้ เท่ากนั 6. เนอ้ื เย่อื และเซลล์ต่าง ๆ ของรา่ งกายถกู ท�ำลาย เช่น เยือ่ บหุ ลอดเลอื ดถกู ทำ� ลาย กอ้ นเลือด จบั ตวั กัน เลนสต์ าข่นุ มวั ทำ� ให้เป็นต้อกระจก เป็นต้น การป้องกันอนั ตรายที่เกดิ จากงานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ การด�ำเนินชีวิตของคนเราจะต้องเกี่ยวข้องกับไฟฟ้าอยู่ตลอดเวลา ทั้งในอาคารและนอกอาคาร เพอ่ื ความปลอดภยั ตอ่ ตนเองและผอู้ น่ื จงึ ควรเอาใจใสด่ แู ลอปุ กรณเ์ ครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ และอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ใหอ้ ยใู่ นสภาพใชง้ านได้ดอี ยูเ่ สมอ สิ่งทคี่ วรดแู ลระมัดระวังมีดังนี้ 1. อย่าเข้าใกล้หรือแตะสายไฟฟ้าท่ีห้อยลงมาหรือตกอยู่กับพ้ืน เพราะอาจมีกระแสไฟฟ้าอยู่ ควรแจ้งการไฟฟ้าใกล้บา้ นโดยเรว็ 2. การก่อสร้างใกล้แนวสายไฟฟ้าควรติดต่อการไฟฟ้า เพ่ือด�ำเนินการน�ำฉนวนมาครอบ สายไฟฟ้าแรงสูงเพื่อปอ้ งกันอันตรายจากไฟฟา้ ดูด 3. เมอื่ พบกงิ่ ไมใ้ กลแ้ นวสายไฟฟา้ แรงสงู ไมค่ วรตดั เอง เพราะอาจถกู กระแสไฟฟา้ ดดู ได้ ควรแจง้ การไฟฟ้าใกลบ้ ้านท�ำการตดั ออก 4. ไมค่ วรยงิ นกทเี่ กาะสายไฟฟา้ หรอื ใชไ้ ฟฟา้ จบั ปลาในนำ้� เพราะอาจไดร้ บั อนั ตรายจากไฟฟา้ ดดู

บทท่ี 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ 7 5. ถ้าติดตั้งเสาอากาศโทรทัศน์ ต้องติดตั้งห่างสายไฟฟ้าไม่น้อยกว่า 3 เมตร หรือระยะเสาล้ม ต้องไมโ่ ดนสายไฟฟ้า 6. เมื่อไม่มีความรู้ทางไฟฟ้าอย่าแก้ไขอุปกรณ์ไฟฟ้าเอง หากเครื่องใช้ไฟฟ้าช�ำรุดหรือพบสิ่ง ผิดปกตเิ กย่ี วกบั ไฟฟา้ ใหแ้ จง้ ชา่ งมาแกไ้ ข 7. ควรติดตั้งเต้ารับในระดับสูงพอเหมาะ เพื่อป้องกันน้�ำท่วมถึงและเด็กเล็กอาจใช้นิ้วหรือ วัสดตุ ัวน�ำ (กุญแจ) แหย่เต้ารับเล่น ซงึ่ ทำ� ให้ถูกกระแสไฟฟ้าดูดได้ 8. เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าชำ� รดุ ควรติดป้ายห้ามใช้ เพอ่ื รอน�ำส่งช่างซอ่ มไฟฟา้ ตอ่ ไป 9. การถอดปลั๊กไฟฟ้าควรจับดึงที่ตัวปลั๊ก อย่าดึงสายปล๊ักเพราะอาจท�ำให้สายไฟฟ้าขาด และ เกิดอันตรายได้ 10. ไม่ควรนำ� อปุ กรณเ์ ครอื่ งใช้ไฟฟา้ หลายชนดิ มาใช้กบั เตา้ รับเพียงชนิ้ เดยี ว เพราะอาจท�ำให้เกิด ไฟลุกไหม้ได้ 11. การตรวจสอบกระแสไฟฟา้ หา้ มใชม้ อื สมั ผสั โดยตรง ควรกระทำ� โดยชา่ งผชู้ ำ� นาญและใชไ้ ขควง ทดสอบไฟฟ้าตรวจสอบระบบไฟฟา้ 12. สวา่ นไฟฟา้ กบไฟฟา้ เลอื่ ยไฟฟา้ ก่อนใชค้ วรตรวจสอบสภาพกอ่ นเสมอ เพราะเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ หากใช้งานมามากอาจมกี ารชำ� รดุ เกิดข้นึ ได้งา่ ย และถา้ เป็นสว่านชนดิ มสี ายดนิ ควรต่อสายดนิ ให้เรยี บรอ้ ย กอ่ นใชง้ าน 13. เครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ ประเภทใหค้ วามรอ้ น เชน่ กาตม้ นำ�้ เตารดี กระทะไฟฟา้ หมอ้ หงุ ขา้ ว เตาไฟฟา้ เมื่อใชเ้ สร็จควรถอดเต้าเสียบออกทันที เพอ่ื ปอ้ งกนั อัคคภี ัย 14. การปฏบิ ตั ิงานเกยี่ วกบั ไฟฟา้ ทุกครั้ง ต้องสวมถงุ มอื ยางหรือถุงมือหนงั เพ่อื ป้องกนั ไฟฟา้ ดดู 15. ตวั เก็บประจุชนดิ อเิ ล็กทรอไลตกิ ทมี่ คี ่าความจุสงู สามารถท�ำอนั ตรายแกผ่ ู้สมั ผสั ได้ ถงึ แม้ว่า เคร่อื งใช้ไฟฟา้ จะปดิ ใชง้ านไปแล้วกต็ าม ดังนน้ั ตัวเก็บประจจุ งึ ควรคายประจใุ ห้หมดด้วยการลัดวงจรด้วย ตัวน�ำท่ีห้มุ ฉนวนระหวา่ งข้ัวท้งั สองของตัวเกบ็ ประจจุ ะทำ� ใหป้ ระจุไฟฟา้ หมดไป 16. หลีกเลี่ยงการปฏิบัติงานในบริเวณที่มีความเข้มของคล่ืนไมโครเวฟ หรืออุปกรณ์ก�ำเนิด สัญญาณความถ่วี ิทยุ 17. หลอดไฟฟ้าท่ีเส่ือมสภาพหรือหมดอายุการใช้งาน ต้องน�ำไปทิ้งด้วยความระมัดระวังถ้าหาก หลอดแตกจะท�ำให้เกิดการระเบิด เน่ืองจากความกดอากาศภายในหลอดกับความกดอากาศภายนอก มคี ่าต่างกัน ผลจากการระเบดิ อาจท�ำให้ผูท้ ่อี ยูใ่ กลเ้ คยี งได้รบั อันตราย 18. ขณะบัดกรี ไม่ควรสะบัดปลายหัวแร้ง อาจท�ำให้ตะกั่วบัดกรีกระเด็นไปถูกผู้ร่วมงาน อาจ ก่อใหเ้ กิดอันตรายได้ 19. ไมค่ วรสมั ผัสนำ้� ยากดั พรินต์ (Print) โดยตรง เพ่ือปอ้ งกันอันตรายต่อผิวหนงั 20. ควรตัดกระแสไฟฟ้าออกทกุ ครั้ง ก่อนท่ีจะท�ำการตรวจซอ่ มเครื่องใช้ไฟฟา้

8 บทที่ 1 ความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์ การช่วยเหลือผปู้ ระสบภัยจากกระแสไฟฟ้า การชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั จากไฟฟา้ ดดู ตอ้ งปฏบิ ตั โิ ดยทนั ที เพอ่ื ใหผ้ บู้ าดเจบ็ หลดุ จากกระแสไฟฟา้ เรว็ ท่สี ดุ โดยปฏิบัตดิ งั น้ี 1. ปดิ สวิตช์ไฟฟา้ หรอื ตัดกระแสไฟฟ้า 2. ถา้ หาทางปดิ สวติ ชห์ รอื ตดั กระแสไฟฟา้ ไมไ่ ด้ ใหส้ วมถงุ มอื ยาง แลว้ ยนื บนพน้ื ทไี่ มเ่ ปน็ ตวั นำ� ไฟฟา้ จากนัน้ ให้ดึงผบู้ าดเจ็บออกมา 3. หากหาถงุ มอื ยางไมไ่ ด้ ใหใ้ ชไ้ มเ้ ขย่ี สายไฟออกหรอื ใชผ้ า้ หรอื เชอื กคลอ้ งตวั ผปู้ ว่ ยดงึ กระตกุ ออกมา รูปท่ี 1.3 ทำ�การตดั กระแสไฟฟ้า เพอื่ หาทางนำ�ตวั ผู้ปว่ ยออกมาปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ และนำ�สง่ โรงพยาบาล 4. ห้ามสัมผัสตวั ผู้บาดเจ็บโดยตรงอย่างเด็ดขาด เพราะจะทำ� ให้ผชู้ ่วยเหลือถูกไฟฟา้ ดูดด้วย 5. เมื่อน�ำผู้บาดเจ็บออกจากกระแสไฟฟ้าได้แล้ว ให้รีบท�ำการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น และน�ำส่ง โรงพยาบาลโดยเรว็ การปฐมพยาบาลผู้บาดเจบ็ จากกระแสไฟฟ้า เมื่อช่วยเหลือผู้บาดเจ็บออกจากกระแสไฟฟ้าได้แล้ว เพื่อช่วยชีวิตผู้บาดเจ็บ การปฐมพยาบาล กอ่ นนำ� สง่ โรงพยาบาลเป็นส่ิงสำ� คัญที่สุด ซึง่ การปฐมพยาบาลผบู้ าดเจบ็ จากกระแสไฟฟ้า มีข้อสงั เกตและ หลกั ปฏบิ ัตดิ งั น้ี กรณีผู้บาดเจ็บหมดสติ 1. พยายามหงายศรี ษะผบู้ าดเจบ็ ไปขา้ งหลงั เทา่ ทจี่ ะหงายได้ เพอื่ เปดิ ทางอากาศเขา้ สปู่ อดไดส้ ะดวก 2. ใชผ้ า้ หนา ๆ ม้วนแล้วสอดเข้าใต้ช่วงไหล่ เพอ่ื หนุนหงายศีรษะไว้ 3. ล้วงสิ่งท่ีอาจค้างอยู่ในปากซึ่งจะขัดขวางทางลม เช่น หมากฝร่ัง ของขบเคี้ยว ฟันปลอม โดยอาจใช้ผา้ พนั นว้ิ มือก่อน เพราะหากผู้ปว่ ยไมห่ มดสตเิ สยี ทีเดยี ว อาจงับน้วิ มือได้

บทที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ 9 กรณีผบู้ าดเจ็บไม่หายใจ หากพบว่าผู้บาดเจ็บไม่หายใจ ต้องช่วยหายใจหรือเรียกว่า การผายปอด เพ่ือให้ปอดได้รับ ออกซิเจนเพียงพอ และป้องกันไม่ให้เกิดความพิการแก่สมองและอวัยวะอื่น ๆ ซึ่งอาจใช้วิธีให้ลมหายใจ ทางปาก (Mouth to Mouth Breathing) ซง่ึ มขี นั้ ตอน ดงั น้ี 1. หงายศีรษะผบู้ าดเจ็บไปด้านหลงั เพือ่ เปดิ ทางอากาศเข้าสู่ปอด 2. สอดนว้ิ หวั แมม่ อื เข้าไปในปาก จบั ขากรรไกรล่างยกข้ึนจนปากอ้า 3. ใชน้ ิ้วควานล้วงสิง่ ท่อี าจค้างอย่ใู นปาก เช่น ของขบเคี้ยว ออกให้หมด 4. เร่ิมเป่าอากาศเขา้ สู่ปอดของผู้บาดเจ็บ ถา้ ผูบ้ าดเจ็บมลี มรวั่ ออกทางจมกู อาจใชม้ ือบีบจมกู ไว้ 5. ถอนปากออกจากผู้บาดเจบ็ สดู ลมหายใจเตม็ ที่ แล้วเร่มิ เปา่ อากาศเขา้ ทางปากผู้บาดเจ็บอกี ในอตั รา 12 - 15 ครงั้ ต่อนาที 6. สังเกตว่าผู้บาดเจ็บหายใจได้เองหรือยัง โดยคล�ำดูชีพจร หากผู้บาดเจ็บยังไม่หายใจได้เอง ตอ้ งเปา่ ตอ่ ไปอีก หากยังไม่พบชีพจรแสดงว่าผู้บาดเจ็บหัวใจหยุดเต้นต้องช่วยกระตุ้นหัวใจพร้อม ๆ กบั การช่วยหายใจ รูปที่ 1.4 การปฐมพยาบาลโดยการใหล้ มหายใจทางปาก หรือการฝายปอด กรณีผูบ้ าดเจบ็ หัวใจหยดุ เตน้ หากหัวใจของผู้บาดเจ็บหยุดเต้นเป็นครั้งคราว การนวดหัวใจโดยทันท่วงทีสามารถช่วยให้ฟื้น ขึ้นมาได้ โดยใช้น�้ำหนกั คนโถมกดเปน็ จงั หวะ ๆ ให้หน้าอกยุบลงไป ซ่ึงอาจท�ำใหเ้ ลอื ดไหลออกจากหัวใจ ไปเล้ียงรา่ งกาย

10 บทท่ี 1 ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ ขั้นตอนการนวดหวั ใจ มีดงั นี้ 1. นำ� ผบู้ าดเจ็บเขา้ ท่รี ม่ แลว้ นอนหงายบนพ้นื ราบแข็งพอสมควร 2. หงายศรี ษะผู้บาดเจบ็ ไปข้างหลงั เพอื่ เปิดทางอากาศเข้าสู่ปอด 3. ใชน้ วิ้ ล้วงสิ่งทีอ่ าจค้างอยูใ่ นปากหรือลำ� คอ ซงึ่ อาจขัดขวางทางอากาศเขา้ ส่ปู อด 4. คุกเข่าด้านขวาของผู้บาดเจ็บ วางฝ่ามือขวาบนทรวงอกบริเวณหัวใจ ใช้ฝ่ามือซ้ายวางซ้อน ฝา่ มือขวาหรอื ตามทถ่ี นดั โถมกดใหก้ ระดกู สันอกยุบเขา้ หาแนวสนั หลงั ประมาณ 3 - 4 ซม. อยา่ กดแรง เกินไป เพราะกระดูกซี่โครงอาจหักได้ 5. ท�ำการนวดหวั ใจเป็นจงั หวะซำ�้ ๆ กนั คร้งั ละ 1 วนิ าที ท�ำเนิบ ๆ ไมค่ วรเร่งรีบเกนิ ไป 6. การนวดหัวใจต้องกระท�ำจนกวา่ หัวใจจะเต้นหรือจนกว่าจะถงึ มือแพทย์ 7. หากพบว่าผู้บาดเจ็บหยุดหายใจ จะต้องช่วยให้ลมหายใจทางปากพร้อมกับการนวดหัวใจ ตลอดเวลา โดยเป่าปาก 1 ครัง้ นวดหัวใจ 3 - 4 ครั้ง หรือเปา่ ปาก 2 ครง้ั ตำ�แหนง่ กด กดให้ยบุ ลงไป ประมาณ 1.5-2 นวิ้ เปา่ ปาก 2 ครง้ั นวดหวั ใจ 30 ครง้ั จับชีพจร รปู ที่ 1.5 การปฐมพยาบาลโดยการนวดหวั ใจ รูปที่ 1.6 การปฐมพยาบาลโดยการนวดหัวใจ ควบคู่กบั การผายปอด

บทท่ี 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 11 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทกั ษะ 1ตอนที่ จงเลอื กค�ำตอบทถ่ี ูกทส่ี ดุ เพยี งข้อเดียว 1. การซ่อมถงุ มอื ยางและถงุ มือหนังทชี่ ำ� รุด ไมค่ วรใชว้ ัสดใุ ดเป็นตัวซ่อมแซม ก. เชอื กหนัง ข. เชือกเอ็น ค. เชอื กป่าน ง. เชอื กลวด 2. ขอ้ ใดเปน็ อันตรายจากการใช้อุปกรณไ์ ฟฟ้าท่ีมีสภาพช�ำรดุ ก. ไฟฟ้าลัดวงจร ข. ไฟฟา้ ชอ็ ต ค. ไฟตก ง. ไฟฟ้าดูด 3. การต่อสายดิน ควรตอ่ จากส่วนใดของอปุ กรณ์ไฟฟ้า ก. จากบรเิ วณท่ีเป็นพลาสติก ข. เปลอื กนอกของอปุ กรณ์ ค. ดา้ มจบั ถอื ง. จากบริเวณทีเ่ ปน็ โลหะ 4. อปุ กรณ์ใดทีส่ ามารถชว่ ยปอ้ งกันอันตรายจากไฟรัว่ จากอุปกรณไ์ ฟฟา้ ทไ่ี มม่ สี ายดิน ก. ใชถ้ งุ มอื ยาง ข. สวมหมวกนริ ภยั ค. ใช้เสือ้ คลมุ ปอ้ งกันไฟฟา้ ง. ใช้ปลอกแขนยาง 5. การป้องกนั อนั ตรายจากการใช้อปุ กรณ์ไฟฟ้าข้อใดสะดวกทส่ี ุด ก. ต่อสายดิน ข. สวมถงุ มือยาง ค. ตดิ ตงั้ เซอร์กิตเบรกเกอร์ ง. ใช้ไขควงทดสอบไฟฟา้ 6. อุปกรณท์ ใ่ี ชว้ ดั ความตา่ งศักยข์ องไฟฟ้าคอื ขอ้ ใด ก. วตั ตม์ เิ ตอร ์ ข. แอมมเิ ตอร์ ค. โวลต์มิเตอร ์ ง. กัลวานอมิเตอร์ 7. การใช้อุปกรณ์ไฟฟา้ ทมี่ สี ายดนิ ใหป้ ลอดภัย กอ่ นใชท้ กุ คร้งั ไมค่ วรปฏบิ ัติอย่างไร ก. ตรวจสภาพชำ� รดุ ของอุปกรณ์ ข. ตรวจการรัว่ และการเป็นฉนวน ค. ตรวจการตอ่ ของสายดิน ง. จ่ายกระแสไฟฟา้ ให้กับอุปกรณ์ไฟฟา้ 8. เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ใดหากไมต่ ่อสายดิน จะก่อให้เกดิ อนั ตรายจากไฟรวั่ นอ้ ยทสี่ ดุ ก. ตู้เยน็ ข. เครือ่ งซกั ผา้ ค. เตารีด ง. พดั ลม

12 บทที่ 1 ความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์ 9. คำ� วา่ “ไฟฟา้ ดดู ” หมายความวา่ อยา่ งไร ก. กระแสไฟฟ้าร่ัวไหลผ่านมนษุ ย์แลว้ ลงดนิ ข. กระแสไฟฟา้ ร่วั จากอปุ กรณ์ลงสดู่ ิน ค. ไฟฟา้ ลัดวงจร ง. ไฟฟา้ เกินขนาด (Over Load) 10. หากพบผบู้ าดเจบ็ จากกระแสไฟฟ้ามีอาการหมดสตคิ วรปฏิบตั ิอย่างไร ก. เขยา่ ให้รู้สกึ ตวั ข. หงายศีรษะและล้วงของขบเคย้ี วออกจากในปาก ค. นวดหวั ใจทนั ที ง. ผายปอดด้วยวธิ เี มาต์ทเู มาต์ทนั ที 11. กรณีผูบ้ าดเจ็บไมห่ ายใจและหวั ใจหยดุ เตน้ ด้วย อตั ราการเป่าปากและนวดหัวใจเปน็ เทา่ ใด ก. เปา่ ปากสลับนวดหวั ใจ (1 : 1) ข. เปา่ ปาก 1 ครั้ง นวดหวั ใจ 2 คร้ัง ค. เปา่ ปาก 2 ครั้ง นวดหวั ใจ 2 ครัง้ ง. เป่าปาก 2 คร้งั นวดหัวใจ 5 ครง้ั 12. การผายปอดแบบปากต่อปาก หากมลี มรวั่ ออกทางจมกู ควรท�ำอย่างไร ก. ใชม้ อื บบี จมกู ผบู้ าดเจ็บไว้ ข. ใชส้ ำ� ลีอุดจมกู ผู้บาดเจ็บไว้ ค. กดศีรษะผูบ้ าดเจ็บไวไ้ มใ่ หห้ งายไปข้างหลงั ง. จัดใหผ้ บู้ าดเจบ็ นอนตะแคงไปด้านใดดา้ นหน่งึ 13. การชว่ ยผบู้ าดเจ็บด้วยการผายปอดต้องระวงั อวัยวะส่วนใดมากท่ีสดุ ก. ระวงั ไมใ่ หแ้ หงนศีรษะมากเกนิ ไป ข. ระวงั กระดกู ซ่ีโครงหักหรือกระแทกปอด ค. ระวงั ลนิ้ ตกลงไปอุดหลอดลม ง. ระวังลกู กระเดอื กปดิ หลอดลม 14. การชว่ ยผู้บาดเจบ็ ด้วยการนวดหัวใจ ต้องระวงั อวัยวะสว่ นใดมากทส่ี ดุ ก. ระวังไมใ่ หแ้ หงนศรี ษะมากเกนิ ไป ข. ระวังกระดกู ซ่โี ครงหักหรือกระแทกปอด ค. ระวังลิ้นตกลงไปอดุ หลอดลม ง. ระวงั ลกู กระเดอื กปดิ หลอดลม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook