Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทำเนียบแหล่งเรียนรู้ด้านศาสนา

ทำเนียบแหล่งเรียนรู้ด้านศาสนา

Published by อัฒชา คำสีทา, 2019-12-20 01:44:29

Description: ทำเนียบแหล่งเรียนรู้ด้านศาสนา

Search

Read the Text Version

คำนำ ทำเนยี บแหลง่ เรยี นรู้ภมู ปิ ญั ญำท้องถิ่นเล่มน้ี ได้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นกำรประชำสมั พนั ธแ์ ละแนะนำให้กบั ผทู้ ส่ี นใจ ไดศ้ ึกษำหำควำมรหู้ รือเดินทำงไปแสวงหำควำมรู้ ในรูปแบบต่ำงๆ เชน่ กำรไปทศั นศกึ ษำ กำรไปรว่ ม ทำบญุ กำรไปกรำบไหวส้ กั กำระ เปน็ ต้น คณะผจู้ ัดทำหวงั เปน็ อยำ่ งยงิ่ ว่ำ เอกสำรเล่มนจี้ ะสำมำรถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ใหก้ ับผู้ทีส่ นใจ ไดด้ ี ในระดบั หนงึ่ ตอ่ ไป หำกมีขอ้ ผิดพลำดประกำรใด คณะผ้จู ัดทำขอน้อมรับ เพอื่ พฒั นำแกไ้ ขปรบั ปรุงตอ่ ไป กศน.อำเภอสุวรรณคูหำ คณะผู้จัดทำ ตุลำคม ๒๕๖๒

สำรบญั หน้ำ เร่ือง ก ๑-๓ คำนำ ๔-๖ บทนำ/ควำมหมำย / ควำมเปน็ มำ / ลักษณะทวั่ ไปของแหล่งเรียนรู้ ภูมิปญั ญำทอ้ งถนิ่ แหลง่ เรียนรู้ภูมิปญั ญำทอ้ งถ่นิ คณะผ้จู ัดทำ

บทนำ ทำเนยี บแหล่งเรียนรูภ้ มู ปิ ญั ญำท้องถิ่น ศนู ยก์ ำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยอำเภอสุวรรณคหู ำ สำนกั งำนส่งเสรมิ กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั จงั หวัดหนองบวั ลำภู ควำมหมำย / ควำมเป็นมำ / ลักษณะทัว่ ไปของแหล่งเรียนรู้ ภมู ปิ ัญญำทอ้ งถน่ิ แหลง่ เรียนรู้ หมำยถงึ แหล่งขอ้ มลู ข่ำวสำร สำรสนเทศ และประสบกำรณ์ ที่สนับสนนุ สง่ เสริมให้ ผเู้ รยี นใฝ่เรียน ใฝร่ ู้ แสวงหำควำมรู้และเรยี นรดู้ ้วยตนเองตำมอธั ยำศัย เพ่ือเสริมสร้ำงใหผ้ ู้เรียนเกิด กระบวนกำรเรียนรู้ “แหล่งเรยี นรู้” คอื ถิน่ ทีอ่ ยู่ บรเิ วณ บ่อเกดิ แห่ง ที่หรอื ศนู ยค์ วำมรทู้ ่ใี ห้เขำ้ ไปศึกษำหำควำมรู้ ควำมเข้ำใจ และควำมชำนำญ ซ่ึงแหลง่ เรียนร้จู งึ อำจเปน็ ไปไดท้ ั้งสิ่งท่เี ป็นธรรมชำติ หรือสิง่ ท่มี นุษย์สรำ้ งขน้ึ เป็นไดท้ ้งั บคุ คล สง่ิ มีชวี ิต และไม่มชี ีวติ และแหล่งเรียนรอู้ ำจจะอยู่ในหอ้ งเรียนในโรงเรียนหรอื นอกโรงเรียนก็ ไดแ้ หล่งเรียนรตู้ ำมมำตรำ 25 ในพระรำชบญั ญตั กิ ำรศกึ ษำแหง่ ชำติ พ.ศ. 2542 ไดแ้ ก่ ห้องสมดุ ประชำชน พิพธิ ภณั ฑ์ หอศิลป์ สวนสตั ว์ สวนสำธำรณะ สวนพฤกษศำสตร์ อุทยำนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ศนู ยก์ ำร กฬี ำและนนั ทนำกำร แหลง่ ขอ้ มลู และแหล่งกำรเรียนรู้อืน่ ประเภทของแหลง่ เรยี นรู้ สำมำรถจำแนกเปน็ ประเภทต่ำงๆ ได้ 4 ประเภท ดงั นี้ 1. แหล่งเรยี นรูป้ ระเภทบุคคล ไดแ้ ก่ บุคคลทว่ั ไปทอ่ี ยใู่ นชมุ ชนซง่ึ สำมำรถถำ่ นทอดองค์ควำมรู้ให้กับ ผ้เู รยี นได้ เชน่ ชำวนำ ชำวสวน ชำวไร่ ช่ำงฝมี อื พ่อคำ้ นักธรุ กจิ พนกั งำนบรษิ ัท ขำ้ รำชกำร ภกิ ษุ สงฆ์ ศลิ ปนิ นักกฬี ำ 2. แหลง่ กำรเรยี นร้ปู ระเภทสิง่ ท่มี นุษยส์ ร้ำงข้ึน เชน่ สถำนท่สี ำคญั ทำงด้ำนประวัตศิ ำสตร์ โบรำณสถำน สถำนท่ีรำชกำร สถำบันทำงศำสนำ พิพธิ ภัณฑ์ ตลอด รำ้ นค้ำ ห้ำงร้ำน บริษทั ธนำคำร โรงมโหรสพ โรงงำนอุตสำหกรรม หอ้ งสมดุ ถนน สะพำน เข่ือน ฝำยทดนำ้ สวนสำธำรณะ สนำมกฬี ำ สนำมบิน 3. แหลง่ กำรเรียนรปู้ ระเภททรพั ยำกรธรรมชำติ เชน่ ภูเขำ ปำ่ ไม้ พืช ดนิ หิน แร่ ทะเล เกำะ แม่น้ำ หว้ ย หนอง คลอง บึง น้ำตก ทุง่ นำ สัตวป์ ำ่ สตั ว์น้ำ 4. แหลง่ กำรเรียนรปู้ ระเภทกิจกรรมทำงสงั คม ประเพณี และควำมเชอ่ื ไดแ้ ก่ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณีพืน้ บำ้ น กำรละเลน่ พ้ืนบำ้ น กีฬำพนื้ บ้ำน วรรณกรรมท้องถนิ่ ศลิ ปะพนื้ บ้ำน ดนตรี พืน้ บ้ำน วิถีชวี ิตควำมเปน็ อยปู่ ระจำวัน แหล่งเรยี นรู้ หำกแบง่ ตำมสถำนท่ีต้ัง ยงั แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ แหล่งเรียนรใู้ นสถำนศึกษำและแหล่ง กำรเรียนรใู้ นชุมชน

ภูมิปญั ญำ (Wisdom) หมำยถงึ ควำมรู้ ควำมสำมำรถ ควำมเชอ่ื ควำมสำมำรถทำงพฤตกิ รรม และ ควำมสนใจในกำรแก้ปัญหำของมนุษย์ ควำมหมำยของภมู ิปัญญำไทย จำกกำรศกึ ษำควำมหมำยท่ีผู้เช่ียวชำญ นักวิชำกำรต่ำงๆ ซึ่งครอบคลุมคำวำ่ ภมู ิปัญญำพ้ืนบำ้ น ภูมิ ปญั ญำชำวบ้ำน ภูมิปัญญำทอ้ งถ่ิน ภมู ปิ ญั ญำไทย ได้ให้ควำมหมำยพอสรปุ ได้ ดังน้ี ภูมิปญั ญำพืน้ บ้ำนหรอื ภูมปิ ญั ญำชำวบ้ำน(Popular Wisdom) หมำยถึง องค์ควำมรู้ ควำมสำมำรถและ ประสบกำรณท์ ี่ส่ังสมและสืบทอดกนั มำ อนั เปน็ ควำมสำมำรถและศักยภำพในเชิงแก้ปัญหำ กำรปรับตัวเรียนรู้ และสบื ทอดไปสู่คนรุ่นใหม่ เพอื่ กำรดำรงอยู่รอดของเผ่ำพนั ธุ์จึงตกทอดเปน็ มรดก ทำงวฒั นธรรมของธรรมชำติ เผ่ำพันธ์ุ หรอื เปน็ วิธีของชำวบ้ำน ( ยิง่ ยง เทำประเสรฐิ ) ภมู ปิ ัญญำท้องถน่ิ หมำยถึง กระบวนทัศน์ของบคุ คลทีม่ ีตอ่ ตนเอง ตอ่ โลกและสง่ิ แวดลอ้ ม ซึ่ง กระบวนกำรดังกลำ่ ว จะมีรำกฐำนคำสอนทำงศำสนำ คติ จำรีต ประเพณี ทไี่ ดร้ บั กำรถ่ำยทอดสงั่ สอนและ ปฏิบตั ิสืบเนอื่ งกนั มำ ปรบั ปรุงเขำ้ กบั บรบิ ททำงสังคมทเี่ ปลยี่ นแปลงไปแต่ละสมยั ทั้งนี้โดยมเี ป้ำหมำยเพ่ือ ควำมสงบสขุ ในส่วนท่เี ป็นชมุ ชน และปจั เจกบุคคล ซึ่งกระบวนทศั น์ท่เี ปน็ ภูมปิ ัญญำท้องถิน่ จำแนกได้ 3 ลกั ษณะ คือ 1.ภมู ิปัญญำเกี่ยวกับกำรจดั กำรควำมสัมพันธร์ ะหวำ่ งมนุษย์กบั ธรรมชำติแวดลอ้ ม 2.ภมู ิปัญญำเกี่ยวกบั สงั คมหรอื กำรจัดควำมสัมพันธ์ระหวำ่ งมนษุ ย์กบั มนษุ ย์ 3.ภมู ปิ ัญญำเกีย่ วกับระบบกำรผลติ หรือประกอบอำชพี ท่ีมีลกั ษณะมงุ่ เนน้ ระบบกำรผลิตเพอ่ื ตนเอง ภูมปิ ญั ญำไทย หมำยถึง องคค์ วำมรู้ในด้ำนตำ่ งๆ ของกำรดำรงชีวติ ของคนไทยทเี่ กิดจำก กำรสะสม ประสบกำรณท์ ้ังทำงตรงและทำงออ้ ม ประกอบกับแนวควำมคดิ วิเครำะหใ์ นกำรแก้ปญั หำต่ำงๆ ของตนเอง จน เกิดหลอมตวั เป็นแนวคดิ ในกำรแกไ้ ขปญั หำท่ีเป็นลกั ษณะของตนเอง ทีส่ ำมำรถพฒั นำควำมรดู้ งั กล่ำวมำ ประยุกต์ใชใ้ ห้เหมำะสมกบั กำลสมัย ในกำรแก้ปญั หำของกำรดำรงชวี ติ ลกั ษณะของแหลง่ เรียนรู้ จดั ได้ 3 ประเภท คือ 1. แหลง่ เรยี นรู้ทีเ่ กิดข้ึนเองตำมธรรมชำติ เช่น อุทยำนแห่งชำติ สวนพฤกษชำติ ภูเขำ แมน่ ้ำ ทะเล นำ้ พรุ อน ปรำกฏกำรทำงธรรมชำติ เช่น ฝนตก แดดออก น้ำท่วม ควำมแหง้ แล้ง 2. แหล่งเรียนรู้ทีจ่ ัดขน้ึ หรอื สร้ำงข้นึ ซ่ึงมใี นสถำนศึกษำและนอกสถำนศึกษำ เพ่อื ใชเ้ ป็นแหลง่ ศึกษำ หำควำมร้ไู ด้สะดวกและรวดเรว็ 3. แหลง่ เรยี นรู้ทเี่ ป็นทรัพยำกรบุคคล ไดแ้ ก่ ครู ผู้ปกครอง พอ่ แม่ พระภิกษุสงฆ์ ตลอดจนผรู้ ู้ ผู้เชยี่ วชำญในอำชีพแขนงตำ่ งๆ ท่ีมอี ยใู่ นชุมชน รวมท้งั สถำนที่ประกอบกำร ร้ำนค้ำ หน่วยงำน หรอื องคก์ ร ต่ำงๆ ในทอ้ งถนิ่ ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของแหลง่ เรียนรู้ และภูมปิ ญั ญำท้องถน่ิ โลกปจั จุบันเปน็ โลกแห่งข้อมลู ข่ำวสำรที่แพรห่ ลำยทวั่ ถึงกนั ได้อยำ่ งรวดเรว็ ไรอ้ ำณำเขตขวำงกน้ั สภำพดงั กล่ำวมีส่วนกระทบถึงวิถชี วี ิตของผคู้ นพลเมอื งโดยทั่วไป เพรำะเปน็ สภำพทีเ่ ออ้ื อำนวยในกำรรบั และ ถ่ำยโยงเอำศำสตร์หรอื ภูมปิ ญั ญำตะวันตกเขำ้ มำในกำรพฒั นำประเทศและพฒั นำผลผลิต ตลอดจนกำรดำเนนิ ชีวติ อย่ำงมิได้มีกำรปรับปนกับภูมปิ ญั ญำไทยทีม่ ีควำมเหมำะสมกบั สภำพท้องถิน่ ท่ีเปน็ ทุนเดิมอยูแ่ ล้ว ทำให้ ชุมชนชนบทประสบปัญหำดงั ท่ีกลำ่ วว่ำชุมชนล่มสลำย อนั มผี ลรวมไปถึงควำมทรดุ โทรมของส่ิงแวดล้อมอย่ำง กว้ำงขวำง กำรพยำยำมใช้กลไกลทำงกำรศกึ ษำจำกเง่อื นไขท่ีเปดิ โอกำสใหม้ ีกำรพัฒนำหลกั สตู ร ตำมควำม ตอ้ งกำร ของทอ้ งถิ่น เปน็ ชอ่ งทำงในกำรประยุกตเ์ อำภมู ปิ ญั ญำชำวบ้ำนทมี่ ีจุดเด่น ที่สำมำรถพสิ จู น์ตวั เองใน

กำรยืนหยัดอยู่รอดได้ ทำ่ มกลำงกระแส กำรล่มสลำยของชมุ ชนและกำรทรุดโทรมของสิ่งแวดล้อม ดงั กลำ่ ว มำ สู่หลกั สูตรและกระบวนกำรเรียนรใู้ นแนวทำงของกำรคิดปฏิบตั ิจรงิ จำกกำรประยุกตป์ รับปน ภูมปิ ัญญำ ชำวบ้ำนหรือภูมิปญั ญำไทยกับปัญญำสำกล เพื่อใหผ้ เู้ รยี นคน้ พบคณุ คำ่ ภูมปิ ัญญำทีม่ ีในทอ้ งถนิ่ ทเี่ หมำะสมกับ วถิ ชี ีวิตของชุมชน และสำมำรถประยุกต์ใช้ได้อย่ำงไมม่ ีที่ส้นิ สดุ นำมำซง่ึ ดุลยภำพท่สี งบสนั ติสขุ ของบุคคล ชุมชนและชำติ ควำมสำคัญของแหล่งเรียนรู้ 1.เป็นแหล่งเสรมิ สรำ้ งจนิ ตนำกำรและควำมคิดรเิ ริม่ สรำ้ งสรรค์ 2.เปน็ แหล่งศกึ ษำตำมอธั ยำศัย 3.เป็นแหล่งเรยี นรู้ตลอดชวี ิต 4.เปน็ แหล่งสร้ำงควำมรู้ ควำมคดิ วิชำกำรและประสบกำรณ์ 5. เป็นแหล่งปลกู ฝังค่ำนยิ มรกั กำรอำ่ นและแหลง่ ศกึ ษำค้นควำ้ แสวงหำควำมรูด้ ว้ ยตนเอง 6.เปน็ แหล่งสรำ้ งควำมคิดเกดิ อำชพี ใหมส่ ู่ควำมเป็นสำกล 7.เป็นแหลง่ เสรมิ ประสบกำรณ์ตรง 8.เปน็ แหลง่ ส่งเสริมมติ รภำพควำมสัมพนั ธร์ ะหว่ำคนในชมุ ชนหรอื ผู้เป็นภูมปิ ัญญำท้องถน่ิ กำรจดั กระบวนกำรเรียนรู้กบั ภมู ปิ ญั ญำท้องถิน่ แหล่งเรียนรู้ กำรเรยี นกำรสอนเป็นกระบวนกำรสอื่ สำรควำมรู้ ประสบกำรณ์ ทักษะ ควำมคิดเหน็ ตลอดจนเจตคติ ซึ่งอำจทำได้หลำยวิธี และอำจใช้เครือ่ งมือประกอบกำรสอนต่ำงๆ อีกมำกมำย โดยมกี ำรจัดกำรเรยี นรทู้ เ่ี น้น ผู้เรียนเปน็ สำคัญ ใหผ้ ู้เรียนมีทง้ั ควำมรู้ คุณธรรมจริยธรรม คำ่ นิยมทีพ่ งึ ประสงคแ์ ละสำมำรถดำเนนิ ชวี ิตอยใู่ น สงั คม ไดโ้ ดยปกติสุข จงึ จำเปน็ ตอ้ งพฒั นำศักยภำพ ควำมสำมำรถของ ผู้เรยี นอยำ่ งเตม็ ท่ี เพือ่ ให้มีนิสัยใฝร่ ู้ ใฝ่ เรยี น แสวงหำควำมรู้ไดด้ ้วยตนเอง กำรนำแหล่งเรียนรใู้ น ชมุ ชน ท้องถนิ่ ตลอดจนวทิ ยำกรท้องถนิ่ ภมู ิปญั ญำ ท้องถน่ิ มำใช้ประโยชนใ์ นกำรจดั กระบวน กำรเรยี นกำรสอน จึงเป็นวิถีทำงหนง่ึ ที่จะช่วยใหก้ ำระบวนกำรเรียน กำรสอนบรรลุจุดม่งุ หมำยได้ตำมท่ีตอ้ งกำร กำรนำภมู ปิ ญั ญำชำวบ้ำน แหลง่ เรยี นรู้ มำใช้ในหลกั สตู รกำรเรียน เปน็ กจิ กรรมท่ตี ัง้ อยู่บนพื้นฐำนควำมเชอื่ ท่ีวำ่ ภูมิปญั ญำชำวบำ้ น ภูมปิ ัญญำท้องถ่ิน และแหลง่ เรียนรู้ เป็นชุด ควำมรู้ในชมุ ชนทมี่ ีกำรใช้เพ่ือกำรดำเนนิ วิถีชวี ิตทไี่ ดผ้ ลมำในอดตี สำมำรถดำรงควำมสนั ติสขุ แก่บุคคล ครอบครวั และชุมชน ตลอดจนควำมมดี ุลยภำพอย่รู ่วมกบั ธรรมชำติและสง่ิ แวดลอ้ มไดอ้ ยำ่ งผสมกลมกลืน เป็น กระบวนกำรพฒั นำหลักสตู รท่ีได้เนน้ กำรมสี ่วนรว่ มของ ชมุ ชน โดยเฉพำะปรำชญ์ชำวบ้ำนทีเ่ ปน็ ผ้เู ช่ือมโยงชดุ ควำมรู้ทเ่ี ป็นภมู ิปญั ญำท้องถิ่น ร่วมกับสถำนศกึ ษำเขำ้ สหู่ ลกั สูตร และกระบวนกำรเรียนกำรสอนของ สถำนศึกษำ ในแตล่ ะทอ้ งถ่ิน

ทำเนยี บแหล่งเรยี นรูภ้ มู ปิ ญั ญำท้องถนิ่ ดำ้ นศำสนำและวฒั นธรรม ๑.๑ ช่อื แหล่งเรียนรู้ วัดถำสุวรรณคูหำ ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ศลิ ปะโบรำณวตั ถุ องคค์ วำมรู้ของแหลง่ เรียนรู้ “วัดถำสวุ รรณคหู ำ” เป็นวดั ทมี่ ีโบรำณสถำน และโบรำณวัตถุ ที่กรมศลิ ปำกรได้ข้ึนทะเบยี นไว้เรียบร้อยแล้ว ในสมยั กอ่ นเปน็ วดั อรญั วำสี (ธรรมยตุ ) ปัจจุบันเปน็ วัดมหำนกิ ำย สรำ้ งในภูเขำหนิ ปนู โดยพระ เถระในสมัยนั้นได้ดัดแปลงถ้ำ ให้เปน็ ท่ีพักอำศยั จำวดั บำเพญ็ ภำวนำ ภเู ขำลกู ดงั กลำ่ วมถี ำ้ อยกู่ วำ่ ๔๐ ถ้ำ มถี ำ้ ใหญ่เรยี กว่ำถ้ำสุวรรณคูหำ ใชเ้ ปน็ สถำนท่ที ำ สังฆกรรม (ลงอโุ บสถ) ภำยในถำมพี ระประธำนปำงมุจลนิ ทร์ ศลิ ปะสมัยล้ำน ช้ำง มนี ำคปรก ๗ เศยี ร หนำ้ ตกั กว้ำง ๔ เมตร สงู ๕ เมตร สร้ำงด้วยปนู ทรำย มสี ่วนผสมเป็นปนู ขำว ๒ สว่ น ทรำย ๕ ส่วน น้ำมะขำม ๒ สว่ น กอ่ อฐิ เปน็ โครงสรำ้ งภำยใน มชี ่อื เรียกวำ่ “พระ ไชยเชษฐำ” สร้ำงในสมัยพระไชยเชษฐำธริ ำช เจ้ำผคู้ รองอำณำจักรล้ำนชำ้ ง ตำมศิลำจำรึกท่ีปรำกฏท่วี ัดถำ สวุ รรณคูหำ ระบุเทยี บเท่ำปีพทุ ธศกั รำช ๒๐๑๖ หรือกวำ่ ๔๘๔ ปีลว่ งมำแลว้ จำรึกไวว้ ่ำ พระเจ้ำไชยเชษฐำธิ รำช ทรงทำนบุ ำรงุ วัดถ้ำสวุ รรณคูหำ ถึงแม้ไม่ได้สรำ้ งถำวรวัตถุ แตไ่ ด้พระรำชทำนวิสุงคำมสีมำแกว่ ดั ดำ้ นละ ๑,๐๐๐ วำ (จำนวน ๒,๕๐๐ ไร่) พระรำชทำนนำจังหนั คอื พ้นื ท่ีในหมูบ่ ำ้ นเป็นสิทธขิ องวดั เมอื่ มีผลิตผลทำง กำรเกษตร เชน่ ขำ้ ว มะพร้ำว ตำล หมำก พลู เป็นตน้ ต้องเปน็ สทิ ธิของวดั ร้อยละ ๑๐ หมู่บ้ำนในเขตนำจังหัน ในปัจจบุ ันน้มี ี บ้ำนดงยำง บ้ำนนำตำแหลว บ้ำนนำสกึ สำง (บ้ำนนำส)ี บำ้ นนำท่ำเปด็ (บำ้ นนำไรเ่ ดียว) บ้ำนกดุ ผึ้ง บำ้ นนำหัน บำ้ นโนนสง่ำ บำ้ นนำแพงเมอื ง บ้ำนคหู ำพฒั นำ ซึง่ ชำวบำ้ นท่อี ยู่ในเขตนำจงั หนั ไม่ตอ้ งถูกเกณฑ์ ไปเป็นทหำร และไม่ต้องเสียคำ่ สว่ ยไร่ (ภำษ)ี แกเ่ จ้ำเมอื ง เปน็ กำรแสดงถึงควำมเลอื่ มใสศรัทธำตอ่ พระพุทธศำสนำ และควำมศกั ดิ์สิทธิ์ของพระไชยเชษฐำมำโดยตลอด สถำนท่ตี ัง บ้ำนคหู ำพัฒนำ หมู่ท่ี ๗ ตำบลนำสี อำเภอสุวรรณคูหำ จงั หวดั หนองบัวลำภู ผปู้ ระสำนงำน นำยทววี ทิ ย์ ชำวดอน ครู กศน.ตำบล เบอรโ์ ทรศพั ท์ ๐๙๘-๒๔๕๙๖๑๔ ๑.๒ ชอื่ แหล่งเรยี นรู้ วดั ศริ ธิ รรมพฒั นำ ประเภทแหลง่ เรยี นรู้ ศิลปะโบรำณวตั ถุ องคค์ วำมรู้ของแหล่งเรียนรู้ เปน็ แหล่งเรยี นรูด้ ำ้ นโบรำณสถำน มกี ลองโบรำณ ซ่งึ ชำวบ้ำนไดข้ ุดพบบนพื้นที่บริเวณวัด และมีพชื สมุนไพรนำนำชนิด เปน็ ป่ำธรรมชำติ สถำนทต่ี ั้ง วัดศริ ิธรรมพัฒนำ บำ้ นโชคชัย หมู่ 12 ตำบลดงมะไฟ อำเภอสุวรรณคหู ำ จังหวัดหนองบัวลำภู ผปู้ ระสำนงำน นำงศุภชั ญำ พรชยั ครู กศน.ตำบล เบอร์โทรศัพท์ 090-9155946 ๑.๓ ชอ่ื แหล่งเรยี นรู้ เร่ืองแหลง่ โบรำณคดีภูผำยำ ประเภทแหล่งเรียนรู้ ศิลปะ องค์ควำมรู้ของแหลง่ เรียนรู้ เปน็ ภเู ขำหนิ ปูนที่แยกตัวออกมำจำกเทือกเขำภูพำนมี ภำพเขียนสสี มัยก่อนประวัตศิ ำสตร์ปรำกฏตำมผนงั ถ้ำเป็นจำนวนหลำยส่วน ส่วนแรก บริเวณ “ถ้ำล่ำง”พบกลุ่มภำพเขยี นสแี ดงบนผนงั ถำ้ ผิวเรยี บยำวประมำณ 5 เมตร ประกอบด้วยลวดลำยเรขำคณิต ภำพสัตว์ ภำพฝ่ำมอื ส่วนที่สองคอื “ถ้ำบน”พบ ภำพเขียนสแี ดงกระจำยอยเู่ ป็นกลุ่ม ๆที่เห็นชดั เจนเปน็ ภำพสเี่ หลย่ี มขนมเปยี กปูน ภำพ คน ภำพสตั ว์เลอ้ื ยคลำน ภำพโครงรำ่ งสัตว์ขนำดใหญ่ นอกจำกนน้ั บรเิ วณถ้ำผำยำยงั มี

สำนกั สงฆ์อันเปน็ ทีเ่ คำรพนบั ถอื ของชำวบำ้ นตงั้ อย่ดู ้วย สนั นษิ ฐำนว่ำภำพเขียนถ้ำภูผำยำมีอำยรุ ะหวำ่ ง 2,000-3,000 ปี ใกล้เคยี งกับอำยุของภำพเขยี นท่คี น้ พบท่ีอุทยำนประวัตศิ ำสตร์ภพู ระบำท จงั หวัดอดุ รธำนี ลักษณะภำพเขยี นคล้ำยคลงึ กับภำพท่พี บท่ีผำลำย มณฑลกวำงสี ประเทศจนี สถำนที่แหล่งทอ่ งเทยี่ ววัดภูผำยำ สถำนทตี่ งั บำ้ นนำเจริญ หมู่ 11 ตำบลดงมะไฟ อำเภอสวุ รรณคูหำ จงั หวดั หนองบวั ลำภู ผ้ปู ระสำนงำน นำงศภุ ัชญำ พรชยั ครู กศน.ตำบล เบอร์โทรศพั ท์ 090-9155946 ๑.๔ ชือ่ แหล่งเรียนรู้ แหลง่ เรียนรูว้ ดั ป่ำถำผำโขง องคค์ วำมรู้ของแหลง่ เรยี นรู้ เป็นแหล่งเรยี นรู้ดำ้ นจติ รกรรม มีรปู ป้นั พระพุทธรูป ท่โี ดดเดน่ มีภเู ขำทเี่ ขียวขจีและมีสัตวป์ ำ่ น้อยใหญ่อำศัยอยู่ สถำนทต่ี งั บ้ำนโชคชยั หมู่ 8 ตำบลดงมะไฟ อำเภอสุวรรณคหู ำ จังหวัดหนองบัวลำภู ผปู้ ระสำนงำน นำงศุภัชญำ พรชัย ครู กศน.ตำบล เบอรโ์ ทรศัพท์ 090-9155946 ๑.5.ชือ่ แหล่งเรียนรู้ วดั สวุ รรณำรำม ประเภทแหล่งเรยี นร้ทู ำงพระพทุ ธศำสนำ องค์ควำมรู้ของแหล่งเรียนรู้ เพื่อให้ประชำชนได้รู้จักประวัติศำสตร์ควำมเป็นมำ ของพระพุทธศำสนำ และเรียนรู้หลกั เกษตรทฤษฎใี หม่ สถำนทต่ี งั วดั สุวรรณำรำม บ้ำนภูทอง ตำบลสวุ รรณคูหำ อำเภอสุวรรณคูหำ จังหวัดหนองบัวลำภู ผูป้ ระสำนงำน นำงยุพรตั น์ ทุมวนั ครู กศน.ตำบล เบอร์โทรทัพท์ 080–5489956 ๑.6. ชือ่ แหล่งเรียนรู้ ถำผำด้วง แหล่งเรยี นรูป้ ระเภทประวตั ศิ ำสตร์ ประเภท ประวัตศิ ำสตร์ องค์ควำมรู้ 1. แหล่งเรยี นรู้ดำ้ นประวัติศำสตร์ 2. แหลง่ เรยี นรู้ด้ำนธรรมชำติ สถำนท่ตี ัง บำ้ นวิจติ รพฒั นำ หมู่ 5 ตำบลนำดี อำเภอสุวรรณคูหำ จงั หวดั หนองบวั ลำภู ประธำนกลมุ่ นำยบญุ ทำ แดงนำ เบอรโ์ ทรศัพท์ 081-1432103 ผู้ประสำนงำน นำงสุภำวดี ไชยโพธ์ิ ครู กศน.ตำบล เบอร์โทรศพั ท์ 098-7507539

๑.๗. ชื่อแหล่งเรยี นรู้ วดั ถำผำนำลอด (วดั ถำศรีธน) ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ด้ำน โบรำณสถำน องคค์ วำมรู้ เปน็ แหล่งเรยี นรู้ดำ้ น โบรำณสถำน มีหนิ งอก หินย้อยทสี่ วยงำม มีพระพทุ ธรปู หลำยพันธอ์ งค์ และเป็น แหล่งท่องเที่ยวเชงิ นิเวศ สถำนทต่ี งั บ้ำนโชคชยั หมู่ที่ ๘ ตำบลดงมะไฟ อำเภอสวุ รรณคูหำ จังหวดั หนองบัวลำภู ประธำนกลุม่ นำยสมจติ ร เพง็ ลี ผูป้ ระสำนงำน นำงศุภชั ญำ พรชยั ครู กศน.ตำบล เบอรโ์ ทรศพั ท์ 0909155946

ทีป่ รกึ ษำ วงษำทองอนนั ต์ คณะผู้จัดทำ นำงนยั นป์ พร เพยี เทพ สุทธโิ สม ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยกำร กศน.อำเภอสวุ รรณคหู ำ นำยวชรพล สุทธโิ สม ตำแหน่ง ครอู ำสำสมัครกำรศกึ ษำนอกโรงเรียน นำยอภชิ ำต ตำแหน่ง ครูอำสำสมคั รกำรศกึ ษำนอกโรงเรยี น นำงสุวรรณำ ตำแหนง่ ครอู ำสำสมคั รกำรศึกษำนอกโรงเรยี น คณะทำงำน สมทอง ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล ปัญญำพุทธกิ ุล ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นำงอคั รอนงค์ ยำพนั ธ์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นำยพิสิษฐ์พล ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นำยรชั พล จงั พล ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล สที ำสงั ข์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นำงสำวยศพร ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นำยไมตรี ไชยโพธิ์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล พันธล์ ี ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นำงสภุ ำวดี คำสีทำ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นำงสำววงคเ์ ดอื น ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นำยอัฒชำ บำรงุ ภักดี ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล วงคอ์ นันท์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นำยนิพนธ์ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นำยพิชัยรัตน์ พมิ พจ์ ่อง ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล บญุ หนำ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นำงสำวหทยั รัตน์ ประครองญำติ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นำงสำวนรินทรำ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล นำยจตุพนธ์ พรชัย ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล พรชัย ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล นำงสำวศุภัชญำ ตำแหนง่ ครู ศรช. นำยทรงศักด์ิ อำเคน ตำแหน่ง ครู ศรช. โคตุรำช ตำแหน่ง ครูผสู้ อนคนพกิ ำร นำงสำวพรปวณี ์ ชำวดอน บรรณำรกั ษ์ นำยพิสษิ ฐ นำยทวีวทิ ย์ ทมุ วัน ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล ใหม่วงษ์ บรรณำรกั ษ์ นำงยพุ รตั น์ นำงฐติ พิ รรณ ทุ่นใจ ศรีใชย นำงสำวปรียำรตั น์ หลำวเหล็ก นำงสำววำสุกรี นำงสำวรัตนำภรณ์ วรชัยพทิ ักษ์ นำงภำรติ ำ ผูร้ วบรวม/เรียบเรียง/จัดทำรปู เลม่ นำยอฒั ชำ คำสีทำ นำงภำรติ ำ วรชัยพทิ กั ษ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook