Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore e-book วรรณคดีวรรณกรรมสุโขทัย อ.ฐา

e-book วรรณคดีวรรณกรรมสุโขทัย อ.ฐา

Published by Thatsawan Luechai, 2018-10-17 05:15:13

Description: e-book วรรณคดีวรรณกรรมสุโขทัย อ.ฐา

Search

Read the Text Version

วรรณคดี วรรณกรรม สมยั สุโขทยั โดย นางสาวทศั วรรณ ลือชัย รหสั 5806510049 ภาษาไทยห้อง 2/2558

การศึกษาวรรณคดี วรรณกรรมสมยั ต่าง ๆ ในประเทศไทย สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็ นหลายยคุ หลายสมยั โดยในท่ีน้ีผเู้ ขียนจะศึกษาในเร่ืองของ วรรณคดี วรรณกรรมสมยั สุโขทยั วรรณคดี วรรณกรรมสมยั สุโขทยั เป็ นสมยั ท่ีเร่ิมแรกในการประดิษฐ์ตวั อกั ษร ในสมยั น้ีคงจะมีอยมู่ าก และหลายประเภท ท้งั เร่ืองบา้ นเมือง การปกครอง และการส่ังสอนต่าง ๆ เป็นตน้ แรกเริ่มก่อนที่เราจะไปศึกษาวรรณคดี วรรณกรรมสมยั สุโขทยั เราจะตอ้ งมาศึกษาเกี่ยวกบัความหมายของวรรณคดี ภาพรวมของวรรณคดี วรรณกรรมสมัยสุโขทัย รายช่ือวรรณคดีวรรณกรรมสมยั สุโขทยั ท่ีปรากฏ วรรณคดี วรรณกรรมที่เด่น ๆ ในสมยั สุโขทยั ศิลาจารึกหลกั ที่ ๑และไตรภูมิพระร่วงวรรณคดี คืออะไร วทิ ย์ ศิวะศริยานนท์ (๒๕๔๔ : ๒๗) ไดอ้ ธิบายไวด้ งั น้ี วรรณคดีอนั เป็ นคาท่ีเราบญั ญตั ิข้ึนใชเ้ ทียบคา Iiterature ในภาษาองั กฤษ หมายถึงบทประพนั ธ์ท่ีรัดรึงตรึงใจผอู้ ่าน ปลุกมโนคติ ทาให้เพลิดเพลินและเกิดอารมณ์ตา่ ง ๆ ละมา้ ยคลา้ ยคลึงกบั อารมณ์ของผปู้ ระพนั ธ์ วรรณคดี คือ บทประพันธ์ท่ีมุ่งให้ผู้อ่านเกิดความเพลิดเพลิน ให้เกิดความนึกคิดและอารมณ์ต่าง ๆ ตามผเู้ ขียนภาพรวมของวรรณคดี วรรณกรรมสมยั สุโขทยั ภาพรวมของวรรณคดี วรรณกรรมสมยั สุโขทยั แต่งเป็ นความเรียง มีสัมผสั ระหวา่ งวรรคเพ่ือความราบรื่นของภาษา แต่ไม่คงที่และไม่เคร่งครัด เช่น “จูงววั ไปคา้ ขี่มา้ ไปขาย” มีการเล่นคาเช่น “...ใครจกั มกั เล่นเล่น ใครจกั มกั หวั หวั ใครจกั มกั เล่ือนเล่ือน...” ( ศิลาจารึกหลกั ท่ี ๑ ) เอกวุฒิ วงษ์มาลัย (๒๕๕๔ : ๙๘) ไดอ้ ธิบายไวด้ งั น้ี หลกั ศิลาจารึกหลกั ท่ี ๑ สมยั สุโขทยัในสมัยท่ีพ่อขุนรามคาแหงเป็ นกษัตริย์ ใช้ระบอบการปกครองแบบ “พ่อปกครองลูก” ก็คือการปกครองประชาชนของพอ่ ขนุ รามคาแหงน้นั มีความใกลช้ ิดเหมือนดง่ั พอ่ ดูแลลูก ส่ิงท่ีเห็นไดช้ ดั ถึงความสนิทสนมและ ใกลช้ ิดระหวา่ งผูป้ กครองกบั ประชาชน คื อ ก า ร แ ข ว น ก ร ะ ดิ่ ง ไ ว้ที่ ป ร ะ ตู พระราชวัง ราษฎรมีเรื่ องทุกข์ร้อน สามารถมาส่ันกระดิ่งร้องทุกขต์ ่อพ่อขุน รามคาแหงไดโ้ ดยตรง อีกท้งั ยงั เห็นได้ ในบางเวลาพ่อขนุ รามคาแหงยงั มีหนา้ ที่ เป็ นครู อาจารย์ของประชาชนด้วยพระองคเ์ อง สิ่งเหล่าน้ียนื ยนั ถึงการปกครองท่ีเป็นแบบ “พอ่ ปกครองลูก” ไดอ้ ยา่ งดี

“กรรมบาปคนฝูงน้นั หากไปเป็ นไฟลุกในตวั ตนน้นั เป็ นฝื นลุกเอง ไหมไ้ ฟน้นั แลมิแลว้ สักคาบ” (ไตรภูมิพระร่วง) ภาพรวมของวรรณคดี วรรณกรรมสมยั สุโขทยั ในท่ีน้ีจะศึกษาเน้ือหา ๒ เรื่อง สองลกั ษณะคือ หลักศิลาจารึกหลกั ท่ี ๑ เป็ นบนั ทึกอตั ชีวประวตั ิเป็นส่วนมาก คือมีการพูดถึงตวั เองอยา่ งถ่อมตวัมีการอธิบายถึงความอุดมสมบูรณ์ของบ้านเมือง การปกครอง ขอบเขตของบา้ นเมือง และการทาสงคราม เป็นตน้ ส่วนเร่ืองไตรภูมิพระร่วง มีเน้ือหาเป็นปรัชญาทางพระพุทธศาสนา โลกท้งั ๓ โลกมีการพรรณนาถึงโลก นรก และสวรรค์ การทาบุญ ทาบาป และชีวติ หลงั ความตาย เป็นตน้ วิทย์ ศิวะศริยานนท์ (๒๕๔๔ : ๑๕๒) ในเร่ืองของภาษาท่ีใชบ้ นั ทึกน้นั ในหลกั ศิลาจารึกก็จะมีการใช้ประโยคส้ัน ๆ ง่าย ๆ มีคาไทยแทใ้ ชม้ ากกว่าคาที่ยืมมาจากภาษาอ่ืน ส่วนในเรื่องไตรภูมิพระร่วง ใช้ประโยคยาว มีคาภาษาบาลีสันสกฤต ซ่ึงเป็ นคาทางศาสนาเข้ามาปะปนบ้างท่วงทานองการเขียนมีท้งั บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร เทศนาโวหาร ปะปนกนั สานวนภาษาเขา้ ใจคอ่ นขา้ งยาก เน่ืองจากวรรณคดีสมยั สุโขทยั เหลือตกทอดมาจนปัจจุบนั อยู่ไม่ก่ีเรื่อง จึงไม่อาจทราบชดั เจนวา่ มีแนวคิดใดเป็ นเอกลกั ษณ์ หลกั ศิลาจารึกมีแนวคิดแบบสัจนิยม คือ กล่าวถึงเรื่องราวท่ีมีเน้ือหาเป็นความจริงแท้ บรรยายถึงสภาพทว่ั ๆ ไปของบา้ นเมืองตามความเป็นจริง ส่วนเร่ืองไตรภูมิพระร่วงน้นั เป็ นแนวคิดแบบพุทธปรัชญา หรือปรัชญาจิตนิยม เช่น ในเรื่องท่ีกล่าวถึงความเป็ นอยู่ของผคู้ นในอุตรกุรุทวปี ซ่ึงเป็นลกั ษณะของสงั คมในอุดมคติรายชื่อวรรณคดี วรรณกรรมสมยั สุโขทยั ทปี่ รากฏ วทิ ย์ ศิวะศริยานนท์ (๒๕๔๔ : ๑๔๘) ไดอ้ ธิบายไวด้ งั น้ี วรรณคดี วรรณกรรมสมยั สุโขทยัคงจะมีจานวนมาก และมีอยู่หลายประเภท เพราะประวตั ิศาสตร์สมยั สุโขทยั มีเหตุการณ์สาคญัหลายอยา่ ง มีท้งั สงครามคร้ังสาคญั และมีความเจริญรุ่งเรืองสุขสมบูรณ์ เป็ นแรงบนั ดาลใจอย่างดีท่ีจะให้กวีสร้างวรรณคดีข้ึน แต่วรรณคดีซ่ึงน่าจะมีมากในสมยั น้ันมิไดต้ กทอดมาจนถึงปัจจุบนัคงมีอยไู่ ม่กี่เรื่องเทา่ น้นั คือ ๑. หลกั ศิลาจารึกหลกั ที่ ๑ ๒. ไตรภูมิพระร่วงหรือเตภูมิกถา ๓. หลกั ศิลาจารึกหลกั อื่น ๆ

วรรณคดี วรรณกรรมทเี่ ด่น ๆ ในสมยั สุโขทยั ๑. หลักศิลาจารึ กหลักท่ี ๑ (ศิลาจารึ กพ่ อขุน รามคาแหงมหาราช) ๑.๑ เนื้อเร่ืองย่อ ศิลาจารึกหลกั น้ี บนั ทึกเร่ืองราวและเหตุการณ์ ต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในสมยั น้นั ไว้ อาจจะแบ่งเน้ือเร่ืองได้ ๔ ดา้ น ๓ ตอน คือ ตอนท่ี ๑ ต้งั แต่บรรทดั ที่ ๑-๑๘ เป็ นประวตั ิของ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ต้งั แต่เริ่มประสูติว่า พ่อแม่พ่ีน้องชื่ออะไรบ้าง จนกระท่ังถึงข้ึนครองราชย์ ในช่วงน้ีใช้คาแทนพระองค์เองว่า “กู”จึงสนั นิษฐานวา่ ผแู้ ตง่ คือพอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราชเอง ตอนท่ี ๒ เล่าถึงเหตุการณ์ต่าง ๆ ธรรมเนียมในเมืองสุโขทยั พระราชกรณียกิจที่สาคญั ของพอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช เช่น สร้างพระแท่นมนงั คศิลา เมื่อ ม.ศ. ๑๒๑๔ สร้างพระมหาธาตุเมืองศรีสชั ชนาลยั เม่ือ ม.ศ. ๑๒๐๗ ประดิษฐอ์ กั ษรไทยเม่ือ พ.ศ. ๑๒๐๕ ตอนที่ ๓ ต้งั แต่ด้านที่ ๔ บรรทดั ท่ี ๑๑ ถึงบรรทดั สุดทา้ ย เป็ นคาสรรเสริญและยอพระเกียรติพอ่ ขนุ รามคาแหง และกล่าวถึงอาณาเขตของเมืองสุโขทยั ดา้ นที่ ๒ และดา้ นท่ี ๓ สันนิษฐานวา่ ผูแ้ ต่งคงไม่ใช่พ่อขุนรามคาแหงมหาราช และอาจจะไม่ไดแ้ ต่งในสมยั ของพระองคก์ ็ได้ เพราะคาสรรพนามแทนพระองคว์ า่ “กู” หายไป และเร่ิมความว่า “เม่ือช่ัว พ่อขุนรามคาแหง เมืองสุโขทยั น้ีดี ในน้ามีปลาในนามีขา้ ว” นอกจากน้ียงั มีขอ้ ความกล่าวสรรเสริญพอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช ขอ้ ความท่ีกล่าวยกยอ่ งสรรเสริญพ่อขนุ รามคาแหงมหาราชวา่ จะหาคนอ่ืนที่ทรงพระปรีชาสามารถและมีพระสติปัญญาเฉลียวฉลาด เทา่ เทียมพระองคน์ ้นั หาไม่ไดแ้ ลว้ ซ่ึงคงจะเป็นไปไม่ไดท้ ี่พอ่ ขนุ รามจะยกยอ่ งพระองคเ์ องเช่นน้นั หรือโปรดใหค้ นอื่นจารึกเช่นน้ี ผแู้ ตง่ หรือโปรดฯ ใหจ้ ารึกขอ้ ความในช่วงน้ีน่าจะเป็นพระมหาธรรมราชาลิไท ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงมหาราชน้ี ได้รับยกย่องว่าเป็ นวรรณคดีไทยเรื่องแรกที่ให้ประโยชน์ทางดา้ นการศึกษาประวตั ิศาสตร์ ความเป็นไปในกรุงสุโขทยั ไดอ้ ยา่ งชดั เจน

ศิลาจารึกหลกั ที่ ๑ พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช ปัจจุบนั อยู่ทพ่ี พิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครจารึกด้านท่ี ๑ จารึกด้านท่ี ๒จารึกด้านท่ี ๓ จารึกด้านท่ี ๔

๑.๒ ลกั ษณะคาประพนั ธ์ ในวรรณกรรมเร่ือง หลักศิลาจารึกหลักที่ ๑ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช เป็ นการประพนั ธ์แบบ “ร้องแกว้ ” คือ มีการใชค้ าง่าย ๆ ทาใหผ้ อู้ า่ นในยคุ ปัจจุบนั เขา้ ใจเน้ือหาไดโ้ ดยไม่ยาก ในแต่ละวรรคท่ีเขียนข้ึนมาจะไม่มีการสัมผสั กัน แต่ถึงจะมีก็ไม่ได้มีทุกวรรค ไม่มีรูปแบบท่ีแน่นอนความส้นั ยาวในแต่ละวรรคกแ็ ตกตา่ งกนั อีกดว้ ย ตวั อยา่ ง พอ่ กชู ื่อศรีอินทราทิตย์ แมก่ ชู ่ือนางเสือง พ่กี ชู ื่อบานเมือง ตูพี่นอ้ งทอ้ งเดียวหา้ คน ผชู้ ายสามผูห้ ญิงโสง พี่เผือผูอ้ า้ ยตายจากเผือเตียมแต่ยงั เล็ก เม่ือกูข้ึนใหญ่ได้ สิบเกา้ เขา้ ขุนสามชนเจา้ เมืองฉอดมาท่อเมืองตาก พ่อกูไปรบ ขนุ สามชนหวั ซ้าย ขนุ สามชนขบั มาหวั ขวา ขนุ สามชนเกล่ือนเขา้ไพร่ฟ้าหนา้ ใสพอ่ กหู นี ญญา่ ยพายจแจน้ ... (จารึกดา้ นท่ี ๑) ๑.๓ วตั ถุประสงค์ในการแต่ง ในการแต่งวรรณกรรมเร่ือง หลกั ศิลาจารึกหลกั ที่ ๑ ของพ่อขุนรามมหาราช เพื่อเป็ นการบนั ทึกเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ที่เกิดข้ึนในบา้ นเมืองสมยั น้นั ความกลา้ หาญของผนู้ าในฐานะกษตั ริย์ อีกท้งัยงั เป็นการกล่าวถึงอาณาเขตของเมืองสุโขทยั ในอดีตอีกดว้ ย ตวั อยา่ ง ...เมืองสุโขทยั น้ีดี ในน้ามีปลา ในนามีขา้ ว เจา้ เมืองบ่เอาจกอบในไพร่ลูทางเพ่ือนจูงววั ไปคา้ ข่ีมา้ ไปขาย ใครจกั ใคร่คา้ช้าง คา้ ใครจกั ใคร่คา้ มา้ คา้ ใครจกั ใคร่คา้เงือนคา้ ทอง คา้ ... ( จารึกดา้ นท่ี ๑ ) ...มีเมืองกว้างช้างหลาย ปราบเบ้ืองตะวนั ออกรอดสระหลวง สองแควลุมบาจายสคา เท้าผงั่ ของเถิงเวียงจนั ทน์คาเป็ นท่ีแล้ว เบ้ืองหัวนอนรอดคนที พระบาง แพรกสุพรรณภูมิ ราชบุรี เพชรบุรี ศรีธรรมราช ฝ่ังทะเลสมุทรเป็ นท่ีแล้ว เบ้ืองตะวนั ตกรอดเมืองฉอดเมือง..น หงสาวดี สมทรหาเป็นแดน เบ้ืองตีนนอนรอดเมืองแพล... (จารึกดา้ นที่ ๔ ) ๑.๔ คุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ๑. บรรยายโวหาร หมายถึง ช้ันเชิงในการบอก เล่า แจง้ แถลง อธิบาย อภิปรายเร่ืองราวต่าง ๆ เพื่อใหผ้ อู้ า่ นผฟู้ ังเกิดความรู้ความเขา้ ใจเป็นสาคญั เพื่อใหเ้ รื่องดาเนินไปอยา่ งกระชบัไมย่ ดื ยาด หรือขยายความเรื่องราวใหร้ ู้เขา้ ใจตรงกนั เช่น

...พ่อกูช่ือศรีอินทราทิตย์ แม่กูชื่อนางเสือง พ่ีกูชื่อบานเมือง ตูพี่น้องทอ้ งเดียวห้าคน ผชู้ ายสามผหู้ ญิงโสง พเี่ ผอื ผอู้ า้ ยตายจากเผอื เตียมแตย่ งั เลก็ ... (จารึกดา้ นท่ี ๑ )๒. สาธกโวหาร หมายถึง ช้นั เชิงในการยกเรื่องราวมาเป็นตวั อยา่ งประกอบ โวหารชนิดน้ีมกั นามาใชไ้ ปพร้อม ๆ กบั โวหารชนิดอ่ืน เช่น บรรยายโวหาร เทศนาโวหาร เป็นตน้ เช่น...มีเมืองกวา้ งช้างหลาย ปราบเบ้ืองตะวนั ออกรอดสระหลวง สองแคว ลุมบาจายสคา เทา้ ผงั่ ของเถิงเวียงจนั ทน์คาเป็ นที่แลว้ เบ้ืองหัวนอนรอดคนที พระบาง แพรก สุพรรณภูมิราชบุรี เพชรบุรี ศรีธรรมราช ฝั่งทะเลสมุทรเป็นท่ีแลว้ ... (จารึกดา้ นที่ ๔ )๓. การเล่นสัมผัส หมายถึง คาท่ีมีเสียงคล้องจองกันด้วยเสียงสระและเสียงพยญั ชนะทา้ ยพยางค์ เช่น...ผอู้ า้ ยตายจาก... ...ไพร่ฟ้าหนา้ ใส......หนีญญา่ ยพายจแจน้ ... ...ใครจกั มกั หวั หวั ใครจกั มกั เล้ือนเล้ือน......มีเมืองกวา้ งชา้ งหลาย... ...หาใคร่ใจในใจแลใส่ลายสือไทยน้ี...แนวคิดทไ่ี ด้จากเรื่อง หลักศิลาจารึ กหลักที่ ๑ พ่อขุนรามคาแหง มหาราช เป็ นหลักฐานท่ีสาคัญที่ให้ข้อมูล เก่ียวกับอาณาจักรสุ โขทัยในสมัยพ่อขุน รามคาแหง ท้งั พระราชประวตั ิ พระราชจริยา วตั ร พระปรีชาสามารถต่าง ๆ ของพระองค์ และ ยงั ให้ความรู้ด้านการปกครอง ด้านเศรษฐกิจ ด้านการทานุบารุ งศาสนา ด้านวัฒนธรรม ประเพณี ดา้ นวิถีชีวิตความเป็ นอยู่ ด้านสภาพบา้ นเมือง และอาณาเขตของเมืองสุโขทยั ในอดีตอีกดว้ ยกลวธิ ีในการเล่าเรื่องผู้เขียนในฐานะเป็ นตัวละครเอกเป็ นผู้เล่า คือ การใชส้ รรพนามบุรุษท่ีหน่ึง เช่น ผม ดิฉนัขา้ พเจา้ ในการเล่าเรื่อง ตวั ละครเอกในเร่ืองเป็ นผูถ้ ่ายทอดเรื่องราว เล่าวา่ ทาอะไร คิดอะไร และมีความรู้สึกอยา่ งไร เช่น...กูบ่หนี กูขี่ชา้ งเบกพล กูขบั เขา้ ก่อนพอ่ กู กูต่อชา้ งดว้ ยขุนสามชน ตนกูพุ่งชา้ ง ขนุ สามชนตวั ช่ือมาสเมืองแพ้ ขนุ สามชนพา่ ยหนี พอ่ กจู ึงข้ึนชื่อกู ชื่อพระรามคาแหง...จากตวั อยา่ งดงั กล่าว จะมีการใชส้ รรพนามบุรุษท่ี ๑ คือคาวา่ “กู”

ผู้เขียนเล่าเรื่องในฐานะผู้สังเกตการณ์ คือ ผเู้ ขียนจะสามารถเล่าเร่ืองไดเ้ ฉพาะส่ิงท่ีตนเห็นและไดย้ ิน ไดฟ้ ังจากการสนทนาและการกระทาของตวั ละคร ไม่อาจทราบไดถ้ ึงความรู้สึกนึกคิดของตวั ละครไดเ้ ลย ซ่ึงเป็นวธิ ีที่ดีในแง่ท่ีเปิ ดโอกาสใหผ้ อู้ ่านพจิ ารณา ตดั สินพฤติกรรมของตวั ละครเอง เช่น ...พ่อขุนรามคาแหงเจา้ เมืองศรีสัชนาลยั สุโขทยั น้ีปลูกไมต้ าลน้ีไดส้ ิบส่ีเขา้ จึงให้ช่างฟันขดานหิน ต้งั หว่างกลางไมต้ าลน้ี วนั เดือนดบั เดือนโอกแปดวนั วนั เดือนเต็ม เดือนบา้ งแปดวนัฝงู ป่ ูครู เถร มหาเถรข้ึนนง่ั เหนือขดานหินสูดธรรมแก่อุบาสกฝงู ทว่ ยจาศีล... จากตัวอย่างดังกล่าว จะเห็นได้ว่าการใช้สรรพนามบุรุษที่ ๑ คือคาว่า “กู” ได้หายไปเหลือแตค่ าเรียก “พอ่ ขนุ รามคาแหง” แทน คุณค่าด้านต่าง ๆ - ด้านสังคม หลักศิลาจารึ กหลักที่ ๑ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช เป็ นหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์และโบราณคดีชิ้นสาคญั ที่ทาให้คนรุ่นหลงั ไดเ้ ห็นสภาพสังคม วิถีชีวิต วฒั นธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีในสมยั สุโขทยั เช่น -สะทอ้ นวิธีชีวิตของประชาชน สะทอ้ นให้เห็นการทาอาชีพเกษตรกร “...ป่ าพร้าวก็หลายป่ าหมากก็หลายในเมืองน้ี...” การประมง “...ในน้ามีปลา ในนามีขา้ ว..” การคา้ ขาย “...ใครจกั ใคร่คา้ชา้ งคา้ ใครจกั ใคร่คา้ มา้ คา้ ...” เป็นตน้ -สะทอ้ นความศรัทธาในพระพุทธศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณี “... ลูกเจา้ ลูกขุนท้งั สิ้นท้งั หลาย ท้งั ผูช้ ายผูห้ ญิง ฝูงท่วยมีศรัทธาในพระพุทธศาสนา ทรงศีลเม่ือพรรษาทุกคน...”มีการทานุบารุงศาสนา มีการสร้างวดั สร้างปราสาท ปฏิบตั ิตามหลกั คาสอนอยา่ งเคร่งครัด “...คนในเมืองสุโขทยั น้ี มกั ทาน มกั ทรงศีล มกั โอยทาน...” -สะทอ้ นความเชื่อในการนบั ถือผบี รรพบุรุษ ความเชื่อผีบรรพบุรุษเป็ นเทพยดา “…มีพระขพุง ผีเทพยดาในเขาอนั น้นั เป็ นใหญ่กวา่ ทุกผใี นเมืองน้ี ขนุ ผใู้ ดถือเมืองสุโขทยั น้ีแล้ ไหวด้ ีพลีถูกเมืองน้ีเท่ียง เมืองน้ีดี ผไิ หวบ้ ่ดี พลีบถ่ ูก ผใี นเขาอ้นั บ่คุม้ บเ่ กรง เมืองน้ีหาย…” - ด้านประวัติศาสตร์ หลักศิลาจารึกหลกั ที่ ๑ พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราชเป็ นหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีชิ้นสาคญั ในการศึกษาเร่ืองราวในอดีต มีการกล่าวถึงพระราชประวตั ิของพระองค์อย่างชัดเจนในด้านท่ี ๑“...พ่อกูชื่ อศรี อินทราทิตย์ แม่กูชื่ อ

นางเสือง พี่กูชื่อบานเมือง ตูพี่นอ้ งทอ้ งเดียวหา้ คน ผชู้ ายสามผหู้ ญิงโสง พี่เผอื ผอู้ า้ ยตายจากเผอื เตียมแต่ยงั เล็ก...” อีกท้งั ยงั มีการกล่าวถึงอาณาเขตบา้ นเมืองในอดีตอีกดว้ ย “...มีเมืองกวา้ งช้างหลายปราบเบ้ืองตะวนั ออกรอด สระหลวง สองแคว ลุมบาจาย สคา เทา้ ผงั่ ของเถิงเวียงจนั ทน์คาเป็ นท่ีแล้ว เบ้ืองหัวนอนรอดคนที พระบาง แพรก สุพรรณภูมิ ราชบุรี เพชรบุรี ศรีธรรมราช ฝ่ังทะเลสมุทรเป็นที่แลว้ ...” - ด้านการปกครอง หลกั ศิลาจารึกหลกั ที่ ๑ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช สะทอ้ นให้เห็นว่าอาณาจกั รสุโขทยั สมยั พ่อขนุ รามคาแหง เป็นการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช แต่พระองค์ไม่ไดท้ รงใชอ้ านาจตามระบอบการปกครองดงั กล่าวอยา่ งเด็ดขาด มีการกล่าวถึงหลายตอนที่แสดงให้เห็นว่า ทรงปกครองอาณาประชาราษฎร์ด้วยความยุติธรรมและความเมตตา จนกล่าวกนั ว่าพ่อขุนรามคาแห่งทรงปกครองบา้ นเมืองแบบ “พ่อปกครองลูก” นน่ั คือ ทรงดูแลประชาชนอย่างใกลช้ ิดราวบิดาดูแลบุตร - ด้านภาษาศาสตร์ หลกั ศิลาจารึกหลกั ที่ ๑ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ดงั ท่ีทราบกนั ดีอยู่แลว้ ว่า พ่อขุนรามคาแหงเป็ นผูท้ ่ีทรงประดิษฐ์อกั ษรไทยข้ึน ช่ือวา่ “ลายสือไทย” มีการประดิษฐ์ท้งั ตวั พยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ ทาใหป้ ระเทศไทยมีภาษาท่ีใชเ้ ป็นของตนเองมาจนถึงปัจจุบนั การประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั หลกั ศิลาจารึกหลกั ท่ี ๑ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช นอกจากเป็ นหลกั ฐานชิ้นสาคญั ทางประวตั ิศาสตร์และโบราณคดีท่ีสะทอ้ นให้เห็นสภาพบา้ นเมือง วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณีแลว้ ยงั แฝงไปดว้ ยขอ้ คิดที่สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ไดห้ ลายประการ ดงั น้ี - ด้านความกตัญญูต่อบิดา มารดา พระจริยาวตั รอนั งดงามของพ่อขุนรามคาแหงมหาราชท่ีทรงดูแลพระราชบิดา พระราชมารดา อยา่ งดี ดงั ขอ้ ความท่ีปรากฏดงั หลกั ศิลาจารึกวา่ “...เม่ือชว่ัพอ่ กู กูบาเรอแก่แม่กู กูไดต้ วั เน้ือตวั ปลา กูเอามาแก่พ่อกู กูไดห้ มากส้มหมากหวาน อนั ใดกินอร่อยกินดี กูเอามาแก่พ่อกู...” ความกตญั ญูเป็ นคุณธรรมที่อยคู่ ู่สังคมไทยมายาวนาน เมื่อกระทาตวั ดีบิดามารดายอ่ มส่งเสริมสนบั สนุนให้มีความกา้ วหนา้ อีกท้งั การกตญั ญูต่อบิดามารดา และผูม้ ีพระคุณยอ่ มเป็นมงคลสูงสุดของชีวติ ทาใหไ้ ดร้ ับการยกยอ่ งและสรรเสริญจากบุคคลผพู้ บเห็น - ด้านการเป็ นพุทธศาสนิกชนที่ดี หลักศิลา จารึ กหลักที่ ๑ ที่พ่อขุนรามคาแหงทรงจารึกข้ึน สามารถใช้เป็ นหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์และ โบราณคดี ถ่ายทอดเรื่องราวสภาพสังคม วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีสมยั สุโขทยั ไดเ้ ป็ นอย่างดี อีกท้งั ยงั สะทอ้ นให้เห็นความเชื่อ ความศรัทธา การ

ประพฤติตนเป็ นพุทธศาสนิกชนที่ดี ช่วยทานุบารุงพระพุทธศาสนา ดงั ขอ้ ความท่ีปรากฏในหลกัศิลาจารึกวา่ “...คนในเมืองสุโขทยั น้ี มกั ทาน มกั ทรงศีล มกั โอยทาน พ่อขุนรามคาแหง เจา้ เมืองสุโขทยั น้ี ท้งั ชาวแม่ชาวบา้ น ท่วยป่ัวท่วยนาง ลูกเจา้ ลูกขนุ ท้งั สิ้นท้งั หลาย ท้งั ผูช้ ายผูห้ ญิง ฝงู ท่วยศรัทธาในพระพุทธศาสนา ทรงศีลเมื่อพรรษาทุกคน...” จากขอ้ ความท่ีปรากฏในหลกั ศิลาจารึกสะทอ้ นใหเ้ ห็นวา่ คนในเมืองสุโขทยั มีความศรัทธาในพระพุทธศาสนาปฏิบตั ิตนเป็นพทุ ธศาสนิกชนที่ดี ผคู้ นทาบุญทาทาน รักษาศีล โดยเฉพาะในช่วงวนั เขา้ พรรษาอนั เป็นแบบอยา่ งที่ดีผคู้ นรุ่นหลงั ควรเจริญรอยตาม เพอ่ื ความสงบสุขของชีวติ - การสืบทอดวฒั นธรรมประเพณี เป็ นหนา้ ที่ของทุกคน วฒั นธรรมและประเพณี คือ ส่ิงที่แสดงถึงความเป็ นเอกลกั ษณ์ของชาติ เป็ นมรดกที่สืบทอดมาต้งั แต่บรรพบุรุษ หลกั ศิลาจารึกหลกั ที่๑ ไดส้ ะทอ้ นให้เห็นว่าวฒั นธรรมประเพณีเป็ นสิ่งอนั มีคุณค่า ทาให้ไดต้ ระหนักเห็นคุณค่าและความสาคญั ของการสืบทอดที่บรรพบุรุษไดก้ ระทาใหเ้ ห็นเป็ นตวั อยา่ ง ดงั ขอ้ ความท่ีปรากฏในศิลาจารึกวา่ “...เมื่อจกั เขา้ มาเวยี ง เรียงกนั แต่อรัญญิกพูน้ เทา้ หวั ลา้ น ดงบงคมกลองดว้ ยเสียงพาทยเ์ สียงพิณ เสียงเล้ือนเสียงขบั ใครจกั มกั เล่น เล่น ใครจกั มกั หวั หวั ใครจกั มกั เล้ือน เล้ือน เมืองสุโขทยั น้ีมีส่ีปากประตูหลวง เท้ียรยอ่ มคนเสียดกนั เขา้ มาดูท่านเผา่ เทียน ทา่ นเล่นไฟ...”๒. ไตรภูมิพระร่วง ๒.๑ เนื้อเร่ืองย่อ เร่ืองไตรภูมิพระร่วงเป็นเน้ือเร่ืองท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ภูมิท้งั ๓ คือ

กามภูมิ เป็ นดินแดนที่ยงั เก่ียวขอ้ งอยกู่ บั กิเลส กามตณั หา ยงั มีความโลภ โกรธ หลง ความอยาก ความใคร่ แบ่งออกเป็ น ๓ ดินแดน คือ อบายภูมิ ไดแ้ ก่ที่อยูข่ องสัตวน์ รก เปรต อสูรกาย คือ บางจาพวกมีลกั ษณะ คือ ตอ้ งยนื ๑๐๐ ปี บางจาพวกตอ้ งยืน ๑,๐๐๐ ปี และบางจาพวกตอ้ งยืนชวั่ กลั ปฯ แมว้ า่ ขา้ ว ๑ เมล็ด นา ๑ หยดกเ็ ขา้ ปากไปไมไ่ ด้ มีตวั ใหญ่เท่าเขาแต่ปากเลก็ เท่ารู เขม็ เน้ือหนงั แห้งติดกระดูก ผมรุ่ยร่ายลงมาปิ ดปาก ไม่มีเส้ือ หาใหใ้ ส่ตอ้ งเปลือยกายอยูต่ ลอด เม่ือนอนหูติดพ้ืนก็จะไดย้ ิน เสียงคนเรียกให้ไปกินอาหารอยู่ตลอดเวลา เม่ือลุกข้ึนแลว้ ก็ ไม่มีแรงลม้ คว่าบา้ ง หงายบา้ ง พวกเปรตเหล่าน้ีเม่ือตอนเป็ นคนจะมีความริ ษยา เห็นผู้อ่ืนได้ดีไม่ได้ เป็ นคนตระหน่ีไม่ให้ทาน ฉ้อโกงทรัพยส์ ินสงฆ์มาเป็ นของตัวเอง มนุสสภูมิ จะเป็ นการพูดถึงการเกิดของมนุษย์ คือผูใ้ ดที่เกิดมาจากนรกน้นั เมื่อคลอดมาแลว้ตวั จะร้อน เมื่ออยูใ่ นทอ้ งแม่ก็ทาใหแ้ ม่เดือดเน้ือร้อนใจ ผูใ้ ดที่เกิดมาจากสวรรค์น้ัน เม่ือคลอดมาแล้วตวัจะเยน็ เมื่อยงั อยู่ในทอ้ งแม่น้นั อยูเ่ ยน็ เป็ นสุขสาราญบานใจ เม่ือตอนเป็ นคนรู้จกั บุญบาป เมตตากรุณา ใจกลา้ หาญ รักพี่รักนอ้ ง ยาเกรงต่อพอ่ แม่ พระ ครูอาจารย์และสวรรค์ภูมิ ๖ ช้นั ฟ้า คือ จตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามะ ดุสิต นิมานรดี และปรนิมมิตวสวตั ตี ใน สวรรคน์ ้ีเป็ นดินแดนที่อยขู่ องเทวดา มีราศีสุกใส รูปกายงดงาม มีความสุข สาราญเต็มท่ีจากบุญกุศลที่ได้สร้าง สมมาในชาติปางก่อน คือให้ทาน รักษาศีล

รูปภูมิ เป็ นดินแดนที่มีสุขไม่มีเรื่องกามเข้าไปปน เป็ นท่ีอยู่ของพวกพรหมมี ๑๖ ช้ันท่ีเรียกวา่ โสฬสพรหม คือ พรหมท่ีมีร่างกายลว้ นเป็ นชาย เพราะพรหมโลกเป็ นดินแดนที่ไม่มีสตรีเหล่าพรหมท้งั หลายเหล่าน้ีไม่ตอ้ งเสพเสวยส่ิงใด ด้วยว่าพรหมน้ันอยู่เหนือกามแล้ว และมีฌานสมาบตั ิเป็นอาหาร มีรัศมีออกมาจากเรือนร่างส่องสวา่ งรุ่งเรืองกวา่ ดวงอาทิตยแ์ ละดวงจนั ทร์ อรูปภูมิ คือดินแดนของพรหมไม่มีรูป มีแต่จิตวญิ ญาณ เป็นผสู้ ละแลว้ ซ่ึงกิเลสทุกอยา่ ง ๒.๒ ลกั ษณะคาประพนั ธ์ ในวรรณกรรมเร่ือง ไตรภูมิพระร่วง เป็ นการประพนั ธ์แบบ “ร้อยแกว้ ” และมีลกั ษณะเป็ นคาประพนั ธ์ประเภท “ร่ายยาว” คือ มีการใชค้ าที่ค่อยขา้ งยาก เพราะเป็ นคาภาษาบาลีสันสกฤต และเป็ นภาษาทางศาสนาดว้ ย ทาให้ผูอ้ ่านในยคุ ปัจจุบนั เขา้ ใจเน้ือหาไดโ้ ดยค่อนขา้ งยาก อาจจะตอ้ งไปอ่านในเล่มท่ีแปลมาก่อนแลว้ ในแต่ละวรรคที่เขียนข้ึนมาจะไม่มีการสัมผสั กนั แต่ถึงจะมีก็ไม่ไดม้ ีทุกวรรค ไมม่ ีรูปแบบท่ีแน่นอน ความส้ันยาวในแตล่ ะวรรคก็แตกต่างกนั อีกดว้ ย ตวั อยา่ ง สัตวอ์ นั เกิดในนรกภูมิน้นั เป็ นดว้ ยอุปปาติกโยนิ ภูลเป็ นรูปได้ ๒๘ คาบสิ้นคาบเดียว รูป๒๘ น้นั คืออนั ใดบา้ ง คือปถวี อาโป เตโช วาโย จกั ขุ โสต ฆาน ชิวหา กาย มน รูป สัทท คนั ธรส โผฏฐพั พ อตั ถีภาว บุรุษภาว หทย ชีวิตินทรีย์ อาหาร ปริจเฉท กายวิญญตั ์ติ วจีวญั ญตั ์ต ลหุตา กมั ์-มญั ์ญตา อุปัจโ์ ย สนั ์ติ รูปปัส์ส ชรโตฯ... ๒.๓ วตั ถุประสงค์ในการแต่ง วินัย ภู่ระหงษ์ (๒๕๔๖ : ๓๗๕) ไดอ้ ธิบายไว้ ดังน้ี พระราชประสงค์ในการท่ีทรงพระราชนิพนธ์ “ไตรภูมิพระร่วง” ตามท่ีกล่าวไวใ้ นบานแพนกเดิมว่า “...ใส่เพ่ือมีพระอตั ถพระอภิธรรมและจะใคร่เทศนาแก่ พระมารดาท่าน อน่ึงจะใคร่จาเริญพระอภิธรรมโสด...” น้นั กล่าวคือ ทรงเห็นว่าเร่ืองไตรภูมิน้ี เป็ นคมั ภีร์ท่ีมี สารประโยชน์มาก จึงทรงพระราชนิพนธ์ไวเ้ พื่อใหค้ น ทว่ั ๆ ไปไดร้ ู้ ไดร้ ับสารประโยชน์จากคมั ภีร์น้ี และเพ่ือเล่าถวายพระราชมารดาของพระองค์ อีกประการหน่ึง ทรงมีพระราชประสงค์ เพ่ือจะไดร้ ับรสพระธรรม และความรู้ความเขา้ ใจในพระคมั ภีร์มากยง่ิ ข้ึน อยา่ งไรก็ตาม เมื่อพิจารณาถึงเน้ือหาของเรื่องและวิธีการพรรณนาเร่ืองแลว้ อาจกล่าวไดว้ า่พระมหาธรรมราชาลิไททรงเขา้ ใจถึงจิตใจของมนุษยอ์ ย่างถ่องแท้ ทรงพระราชนิพนธ์หนังสือ

ไตรภูมิพระร่วงข้ึน เพือ่ ใชเ้ ป็นเครื่องมือในการอบรมสงั่ สอนประชาชนใหก้ ระทาแตค่ ุณงามความดีน้นั เอง ๒.๔ คุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ๑. บรรยายโวหาร หมายถึง ช้ันเชิงในการบอก เล่า แจง้ แถลง อธิบาย อภิปรายเร่ืองราวตา่ ง ๆ เพื่อใหผ้ อู้ ่านผฟู้ ังเกิดความรู้ความเขา้ ใจเป็นสาคญั เพ่ือใหเ้ รื่องดาเนินไปอยา่ งกระชบัไมย่ ดื ยาด หรือขยายความเร่ืองราวใหร้ ู้เขา้ ใจตรงกนั เช่น สัตวอ์ นั เกิดในนรกภูมิน้นั เป็ นดว้ ยอุปปาติกโยนิ ภูลเป็ นรูปได้ ๒๘ คาบสิ้นคาบเดียว รูป ๒๘ น้นั คืออนั ใดบา้ ง คือปถวี อาโป เตโช วาโย จกั ขุ โสต ฆาน ชิวหา กาย มน รูป สัททคนั ธรส โผฏฐพั พ อตั ถีภาว บุรุษภาว หทย ชีวิตินทรีย์ อาหาร ปริจเฉท กายวญิ ญตั ต์ ิ วจีวญั ญตั ต์ ลหุตา กมั -์ มญั ญ์ ตา อุปัจโ์ ย สนั ต์ ิ รูปปัส์ส ชรโตฯ... ๒. พรรณนาโวหาร หมายถึง ช้นั เชิงในการเขียนหรือแสดงรายละเอียดต่าง ๆ อยา่ งละเอียดถี่ถว้ น เพื่อราพึงราพนั ความรู้สึก อารมณ์ หรือมุ่งให้ผูอ้ ่านผูฟ้ ังนึกคิดจินตนาการเห็นภาพแสง สี เสียง บงั เกิดความประทบั ใจ และเกิดอารมณ์ความรู้สึกร่วมกบั กระบวนการพรรณนา เช่น “...ผแิ ลคนอนั มาแต่นรก ก็ดีแลมาแต่เปรตกด็ ี มนั คานึงถึงความอนั ลาบากน้นั คร้ันว่าออกมาก็ร้องไห้แล ผิแลคนผูม้ าแต่สวรรค์ แลคานึงถึงความสุขแต่ก่อนน้นั คร้ันว่าออกมาไสร้ก็ยอ่ มหวั ร่อก่อนแล...” ๓. เทศนาโวหาร หมายถึง ช้นั ชิงในการอธิบายความให้กวา้ งขวางออกไป โดยมีเจตนาชดั เจนเพอื่ ส่ังสอน อบรม ตกั เตือน แนะนาใหผ้ อู้ า่ นผฟู้ ังเห็นจริง เช่ือถือและปฏิบตั ิตาม เช่น “...เปรตฝูงน้ีเม่ือกาเนิดเกิดก่อน เขาน้ีตระหนี่นกั แล เขาบมิมกั กระทาบุญให้ทานเลย เขาเห็นท่านกระทาบุญให้ทานไส้ มักย่อมห้ามปรามเสียมิให้ท่านทาบุญให้ทานได้ ด้วยบาปกรรมอนั ตนตระหน่ีแลมิมกั ทาบุญใหท้ านดงั น้นั เขาไดไ้ ปเป็นเปรตแลอดอยากนกั หนา อาหารจะกินไส้กห็ าบมิไดส้ ักอนั น้นั เพราะบาปแลกรรมเขาอนั ไดก้ ระทาบมิดีน้นั แลฯ...” ๔. อุปมาโวหาร หมายถึง ช้นั เชิงในการเปรียบเทียบ โวหารชนิดน้ีจะดึงเอาวิธีการเปรียบเทียบเขา้ มาช่วยในการสื่อสาร หรือการนาเสนอเน้ือหาของสารใหผ้ ูอ้ ่านผูฟ้ ังจินตนาการนึกเห็นภาพ มีความเขา้ ใจอยา่ งแจ่มแจง้ เช่น “...แลมีฝูงผูห้ ญิงอนั อยู่ในแผ่นดินน้นั งามทุกคนรูปทรงเขาน้นั บมิต่าบมิสูงบมิพีบมิผอมบมิขาวบมิดา สีสมบูรณ์งามดงั ทองอนั สุกเหลืองเรืองเป็ นท่ีพึงใจฝูงชายทุกคนแลฯ นิ้วตีนนิ้วมือเขาน้นั กลมงามนะแน่ง เล็บตีนเลบ็ มือเขาน้นั แดงงามดงั น้าครั่งอนั ทา่ นแต่งแลว้ แลแตม้ ไว้ แลสองแกม้ เขาน้นั ไสงามเป็ นนวลดงั แกลง้ เอาแป้งผดั หนา้ เขาน้นั หมดเกล้ียงปราศจากมลทินหาผา้

หาไผบมิได้ แลเห็นดวงหนา้ เขาใสดุจดวงพระจนั ทร์อนั เพง็ บูรณ์น้นั เขาน้นั มีตาอนั ดาดงั ตาแห่งลูกทรายพ่งึ ออกได้ ๓ วนั ท่ีบูรณ์ขาวกข็ าวงามดงั สังขอ์ นั ท่านพ่ึงฝนใหม่แลมีฝีปากน้นั แดงดงั ลูกฝักขา้ วอนั สุกน้นั แลมีลาแขง้ ลาขาน้นั งามดงั ลากลว้ ยทองฝาแฝดน้นั แล แลมีทอ้ งเขาน้นั งามราบเพียงลาตวัเขาน้นั ออ้ นแอน้ เกล้ียงกลมงาม แลเส้นขนน้นั ละเอียดอ่อนนกั ๘ เส้นผมเขาจึงเท่าผมเราน้ีเส้นหน่ึงแลผมเขาน้นั ดางามดงั ปี กแมลงภู่เมื่อประลงมาเถิงริมบ่าเบ้ืองต่า แลมีปลายผมเขาน้นั งอนเบ้ืองบนทุกเส้น แลเมื่อเขานง่ั อยกู่ ็ดี ยนื อยูก่ ็ดี เดินไปก็ดี ดงั จกั แยม้ หวั ทุกเม่ือ แลขนคิ้วเขาน้นั ดาแลงามดงัแกลง้ ก่อ เมื่อเขาเจรจาแลน้าเสียงเขาน้นั แจม่ ใส่ปราศจากเสมหเขฬท้งั ปวงแล...” แนวคดิ ทไี่ ด้จากเร่ือง เรื่องไตรภูมิพระร่วง เป็ นเร่ืองท่ีมีการส่ังสอน และเป็ นการตกั เตือนเร่ืองการใช้ชีวิตอยู่ตลอดท้งั เร่ือง โดยมีการบรรยาย พรรณนาถึงสถานที่ต่าง ๆ เพอ่ื ใหผ้ อู้ า่ นไดเ้ กิดจินตนาการ โดยเมื่อไดอ้ า่ นเรื่องไตรภูมิพระร่วงแลว้ ทาใหผ้ ูอ้ า่ นมีสติในการท่ีจะใชช้ ีวติ มากข้ึน กลวธิ ีในการเล่าเรื่อง ผู้เขียนอยู่ในฐานะผู้รู้ คือ ผูเ้ ขียนจะไม่ใช้ตวั ละครตวั ใดตวั หน่ึงเป็ นผูเ้ ล่า แต่จะใช้วิธีการบรรยายไปตามเรื่องท่ีตวั ละครมีบทบาท ท้งั น้ีเป็ นเหตุการณ์และความรู้สึกนึกคิดภายในใจของตวัละคร ผเู้ ขียนเป็นผลู้ ่วงรู้หมดทุกส่ิงทุกอยา่ งเกี่ยวกบั ตวั ละคร และนามาบรรยายไดอ้ ยา่ งถี่ถว้ น ไม่วา่ตวั ละครน้นั ๆ จะคิดอะไร รู้สึกอยา่ งไร ผเู้ ขียนก็จะล่วงรู้ได้ เช่น สัตวอ์ นั เกิดในนรกภูมิน้นั เป็ นดว้ ยอุปปาติกโยนิ ภูลเป็ นรูปได้ ๒๘ คาบสิ้นคาบเดียว รูป๒๘ น้นั คืออนั ใดบา้ ง คือปถวี อาโป เตโช วาโย จกั ขุ โสต ฆาน ชิวหา กาย มน รูป สัทท คนั ธรสโผฏฐพั พ อตั ถีภาว บุรุษภาว หทย ชีวิตินทรีย์ อาหาร ปริจเฉท กายวญิ ญตั ต์ ิ วจีวญั ญตั ต์ ลหุตา กมั -์มญั ญ์ ตา อุปัจโ์ ย สันต์ ิ รูปปัส์ส ชรโตฯ... จากตวั อยา่ งดงั กล่าว จะเห็นไดว้ า่ ผูเ้ ขียนจะรู้วา่ ในนรกภูมิน้นั มีลกั ษณะเป็ นอยา่ งไร และมีช่ือวา่ อะไร โดยจะมีการอธิบายไวอ้ ยา่ งละเอียด

คุณค่าด้านต่าง ๆ - ด้านสังคม ไตรภูมิพระร่วง เป็นวรรณคดีท่ีเป็นการรวบรวมการสั่งสอนตา่ ง ๆ เพ่ือใหผ้ คู้ นประชาชนนาไปปฏิบตั ิใชก้ นั ในการดาเนินชีวิต ไตรภูมิพระร่วง สอนให้คนทาบุญละบาป เช่น การทาบุญรักษาศีลเจริญสมาธิภาวนาจะไดข้ ้ึนสวรรคก์ ารทาบาปจะตกนรก เช่น \"...คนผใู้ ดกล่าวคาร้ายแก่สมณพราหมณ์ผมู้ ีศีลและพอ่ แมแ่ ละผเู้ ฒ่าผแู้ ก่ครูปาทยาย คนผนู้ ้นั ตาย ไปเกิดในนรกอนั ไดข้ ่ือวา่สุนกั ขนรกน้นั แล แลมิใหเ้ ขาอยสู่ บายแลใหเ้ ขาเจบ็ ปวดสาหสั ไดเ้ วทนาพน้ ประมาณ ทนอยใู่ นนรกอนั ชื่อสุนกั ขนรกน้นั แล...\" - ด้านความรู้ ในเรื่องของวรรณคดีไตรภูมิพระร่วงน้นั ทาให้คนรุ่นหลงั ไดร้ ับความรู้ทางวรรณคดี อนั เป็ นความคิดของคนโบราณ ซ่ึงเรื่องไตรภูมิพระร่วงก็ถือวา่ เป็ นพ้ืนฐานของวรรณคดีไทย เช่น พระอินทร์ แท่นบณั ฑุกมั พล ชา้ งเอราวณั เขาพระสุเมรุ ป่ าหิมพานต์ ตน้ ปาริชาติ ตน้ นารี-ผล นรก สวรรค์ เป็ นตน้ ส่วนในดา้ นภูมิศาสตร์น้นั เป็ นความรู้ทางภูมิศาสตร์ของคนโบราณ โดยเช่ือกนั วา่ โลกมีอยู่ ๔ ทวปี ไดแ้ ก่ ชมพูทวปี บุรพวเิ ทหทวปี อุตตรกรุ ุทวปี และอมรโคยานทวปี โดยมีเขาพระสุเมรุเป็นศูนยก์ ลาง - ด้านภาษาและสานวนโวหาร เรื่องไตรภูมิพระร่วงเป็ นวรรณคดีเล่มแรกที่เรียบเรียงในลกั ษณะการคน้ ควา้ จากคมั ภีร์ต่าง ๆ ถึง ๓๐ คมั ภีร์ จึงมีศพั ทท์ างศาสนาและภาษาไทยโบราณอยมู่ ากสามารถนามาศึกษาการใชภ้ าษาในสมยั กรุงสุโขทยั ตลอดจนสานวนโวหารตา่ ง ๆ ไตรภูมิพระร่วงมีสานวนหนกั ไปในทางศาสนาโวหารและพรรณนาโวหาร ผกู ประโยคยาว และใชถ้ อ้ ยคาพรรณนาดีเด่น สละสลวยไพเราะ ก่อใหเ้ กิดความรู้สึกดา้ นอารมณ์สะเทือนใจและใหจ้ ินตภาพหรือภาพในใจอยา่ งเด่นชดั เช่น “...บา้ งเตน้ บา้ งราบา้ งฟ้อน ระบาบนั ลือเพลงดุริยดนตรี บา้ งดีดบา้ งสีบา้ งตีบา้ งเป่ าบา้ งขบั ศพั ทส์ าเนียง...” การประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั เร่ืองไตรภูมิพระร่วง ถือไดว้ า่ เป็ นเรื่องท่ีไดฝ้ ากขอ้ คิดไวแ้ ก่ผูอ้ ่านเป็นอยา่ งมาก นน่ั คือ การสะทอ้ นให้เห็นถึงภาวะอนั ตรงขา้ มกนั ของ ความดี และความชวั่ ซ่ึงจากเน้ือหาผูป้ ระพนั ธ์ไดใ้ ช้สัญลกั ษณ์แทนความดีดว้ ยการพรรณนาให้ผูอ้ ่านรู้จกั กบั สวรรคอ์ นั มีลกั ษณะน่าร่ืนรมย์ ซ่ึงต่างกนัโดยสิ้นเชิงกับนรกซ่ึงถือเป็ นสัญลักษณ์ของความชั่ว อันประกอบไปด้วยความทุกข์ทรมานนานาประการ ลกั ษณะตรงกนั ขา้ มน้ียงั คงเป็นความจริงไมผ่ นั แปรแมว้ า่ โลกจะไดร้ ับการสร้างสรรค์ให้เจริญไปมากเพียงใด หากแต่ใจคนยงั คงมีท้งั ดา้ นดี และดา้ นไม่ดีอยเู่ สมอ เมื่อปฏิบตั ิดียอ่ มไดร้ ับสิ่งที่ดีเป็ นผลสะทอ้ นกลบั มา และในขณะเดียวกนั หากปฏิบตั ิไม่ดีผลไม่ดียอ่ มติดตามมาเป็ นของคู่กนั เหมือนเงาตามตวั ซ่ึงตรงน้ีอาจเป็ นแรงบนั ดาลใจที่ทาให้ผูอ้ ่านไดต้ ระหนกั ถึงการมุ่งกระทาดีและควบคุม หรือลดการกระทาชว่ั ในชีวติ ประจาวนั ได้

สรุป วรรณคดี วรรณกรรมสมัยสุโขทัย เป็ นวรรณกรรมประเภทร้อยแก้วเสียส่วนใหญ่โดยมีเรื่องที่เด่น ๆ อยู่ ๒ เร่ือง คือ หลกั ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง และไตรภูมิพระร่วง ในเร่ืองหลกั ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงน้นั จะเป็ นเร่ืองท่ีเกี่ยวกบั การบนั ทึกเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนในบา้ นเมืองสมยั สุโขทยั อีกท้งั ยงั มีการบนั ทึกถึงพระราชประวตั ิของพ่อขุนรามคาแหง พระปรีชาสามารถ ความเจริญรุ่งเรืองในสมยั น้นั และอาณาเขตของบา้ นเมืองวา่ ติดต่อกบั เมืองใดบา้ ง โดยใช้การบนั ทึกเป็ นร้อยแกว้ มีการเล่นสัมผสั บา้ ง แต่ไม่ทุกวรรค มีการใชค้ าไทยแทเ้ สียส่วนมาก เขา้ ใจไดง้ ่าย ไม่ตอ้ งอาศยั การตีความ ส่วนเร่ืองไตรภูมิพระร่วง จะเป็ นเร่ืองท่ีเกี่ยวกบั การกล่าวถึง ภูมิท้งั๓ คือ กามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ โดยจะมีการกล่าวถึงลกั ษณะตา่ ง ๆ ของแตล่ ะภูมิ และการกระทาดว้ ยเหตุใดเม่ือตายไปจึงจะไปอยใู่ นภูมิน้นั โดยแก่นสารของเรื่องเพอื่ เป็นการเตือนสติของมนุษยท์ ุกคนให้รู้จกั ใชช้ ีวติ ใหร้ ู้จกั ทาความดี โดยใชก้ ารบนั ทึกเป็ นร้อยแกว้ เช่นเดียวกบั เร่ืองที่ ๑ แต่ต่างกนัตรงที่เร่ืองไตรภูมิพระร่วง จะมีการใช้ภาษาบาลีสันสกฤตเป็ นส่วนมาก ทาให้ผูอ้ ่านจะตอ้ งมีการตีความก่อนถึงจะเขา้ ใจ สรุปคือ วรรณคดี วรรณกรรมสมยั สุโขทยั จะมีการบนั ทึกเป็ นร้อยแกว้ เสียส่วนใหญ่ โดยมีเรื่องราวเกี่ยวกบั การบนั ทึกเหตุการณ์บา้ นเมือง และการส่งั สอนในการประพฤติตน อ่านจบแล้วอย่าลืมนาไป ปรับใช้ด้วยนะครับ/นะคะ

บรรณานุกรมนภาลยั สุวรรณธาดา. (๒๕๔๖). ภาษาไทย ๔ : วรรณคดีไทย. พิมพค์ ร้ังที่ ๔. นนทบุรี: มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช.ราชบณั ฑิตยสถาน. (๒๕๕๖). ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงมหาราช หลกั ท่ี ๑. พิมพค์ ร้ังท่ี ๓ กรุงเทพ: อรุณการพิมพ.์วทิ ย์ ศิวะศริยานนท.์ (๒๕๔๔). วรรณคดีและวรรณคดีวจิ ารณ์. พมิ พค์ ร้ังท่ี ๖. กรุงเทพ: ธรรมชาติ.วนิ ยั ภูร่ ะหงษ.์ (๒๕๔๖). ภาษาไทย ๔ : วรรณคดีไทย. พมิ พค์ ร้ังท่ี ๔. นนทบุรี: มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช.ศิลปาบรรณาคาร. (๒๕๕๔). ไตรภูมพิ ระร่วง. กรุงเทพ: ศิลปาบรรณาคาร.สายใจ อินทรัมพรรย.์ (๒๕๔๖). ภาษาไทย ๔ : วรรณคดีไทย. พิมพค์ ร้ังท่ี ๔. นนทบุรี: มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช.สมเกียรติ รักษม์ ณี. (๒๕๕๑). ภาษาวรรณศิลป์ . พิมพค์ ร้ังท่ี ๓. กรุงเทพ: สายน้าใจ.เอกวฒุ ิ วงษม์ าลยั . (๒๕๕๔). แผ่นดินพระร่วง ประวตั ศิ าสตร์สุโขทยั . กรุงเทพ: ยปิ ซี กรุ๊ป.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook