สำนักงบประมำณ กฎหมาย กฎ ระเบียบ และหลกั เกณฑต์ า่ ง ๆ ในด้านการบริหารงบประมาณ นำยยุทธนำ สำโยชนกร ผเู้ ชย่ี วชำญด้ำนกฎหมำยงบประมำณ กองกฎหมำยและระเบยี บ สำนกั งบประมำณ DOWNLOAD FILE :
หัวขอ้ การบรรยาย ๑. หลักกฎหมายทวั่ ไปทางการงบประมาณ ๒. รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ๓. หลกั งบประมาณแผ่นดนิ ของ ดร.ปว๋ ย องึ้ ภากรณ์ ๔. กระบวนการงบประมาณ ๕. พระราชบญั ญตั วิ ิธกี ารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒ และทีแ่ กไ้ ขเพม่ิ เติม ๖. รา่ งพระราชบญั ญตั วิ ิธกี ารงบประมาณ พ.ศ. .... ๗. กฎหมาย ระเบียบ ท่ีเกยี่ วข้องกบั การงบประมาณ ๘. การบรหิ ารงบประมาณ และระเบยี บวา่ ดว้ ยการบรหิ ารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ และท่แี กไ้ ขเพิม่ เตมิ ๙. ระเบยี บการก่อหนผ้ี กู พนั ขา้ มปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๓๔ และทแ่ี ก้ไขเพม่ิ เตมิ ๑๐. หลักการจาแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ
หลกั กฎหมายท่ัวไปทางการงบประมาณ 1. หลักความยินยอมหรืออานาจในการอนมุ ตั ิงบประมาณ (Authoritativeness) 2. หลกั ระยะเวลาหนงึ่ ปขี องงบประมาณ (Annual Basis) 3. หลักรายไดต้ อ้ งมีลกั ษณะทัว่ ไป (Universality) 4. หลกั ความเป็นเอกภาพของงบประมาณ (Unity) 5. หลักรายจ่ายต้องมีลักษณะเฉพาะเจาะจง (Specificity)
หลักกฎหมายทว่ั ไปทางการงบประมาณ (ตอ่ ) 6. หลกั ดุลยภาพของงบประมาณ (Balance) 7. หลกั การตรวจสอบได้ (Accountability) 8. หลักความโปร่งใส (Transparency) 9. หลกั เสถยี รภาพ (Stability or Predictability) 10. หลกั ประสทิ ธิภาพ (Performance or Efficiency, Economy and Effectiveness)
หลกั การสาคญั ของการงบประมาณตามรัฐธรรมนูญฯ • การใช้จา่ ยเงินแผน่ ดินต้องทาในรูปพระราชบัญญัติ • กาหนดให้ใช้กฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่ายในปีงบประมาณปีกอ่ นนน้ั ไปพลางก่อน • กาหนดสาระสาคัญในการเสนอรา่ งพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี • กาหนดให้มีกฎหมายว่าด้วยวนิ ัยการเงินการคลังของรัฐ • กาหนดหลกั เกณฑใ์ นการเสนอ การพจิ ารณา กรอบระยะเวลาในการตราพระราชบญั ญัติ งบประมาณรายจ่ายประจาปี • กาหนดให้มกี ารจดั สรรงบประมาณให้เพยี งพอขององค์กรตามรฐั ธรรมนูญ • กาหนดหลกั เกณฑ์ วิธกี าร และเง่อื นไข ในการแปรญัตติ • การต้ังงบประมาณรายจ่ายชดใชเ้ งนิ คงคลัง • การมีสว่ นไดเ้ สียในการใช้จา่ ยงบประมาณรายจ่าย • ความรับผดิ ชอบและโทษท่ีจะได้รับ
หลกั การสาคัญของการงบประมาณตามรฐั ธรรมนูญฯ (ตอ่ ) หมวด ๕ หน้าทีข่ องรฐั มาตรา ๖๒ “รัฐ ต้อ งรัก ษาวินั ยก ารเงิน ก ารค ลังอ ย่างเค ร่งค รัดเพื่อ ให้ฐ าน ะท าง ก ารเงิ นก าร ค ลัง ขอ งรัฐ มีเสถียรภาพและมั่นคงอย่างยั่งยืนตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ และจัดระบบภาษี ให้เกิดความเป็นธรรมแกส่ งั คม กฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติ เกี่ยวกับ กรอบการดาเนินการทางการคลังและงบประมาณของรัฐ การกาหนดวินัยทางการคลังด้านรายได้ และรายจ่ายทั้งเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ การบริหารทรัพย์สินของรัฐและเงินคงคลัง และการบริหารหน้ีสาธารณะ”
หลกั การสาคญั ของการงบประมาณตามรัฐธรรมนูญฯ (ตอ่ ) หมวด ๑๖ การปฏริ ูปประเทศ มาตรา ๒๕๘ ให้ดาเนินการปฏิรูปประเทศอยา่ งนอ้ ยในดา้ นต่าง ๆ ให้เกดิ ผล ดงั ต่อไปนี้ ข. ด้านการบรหิ ารราชการแผ่นดิน (๕) ให้มีการปรับปรุงระบบการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐให้มีความคล่องตัว เปิดเผย ตรวจสอบได้และมีกลไก ในการปอ้ งกันการทจุ รติ ทุกข้ันตอน ฉ. ดา้ นเศรษฐกจิ (๓) ปรับปรุงระบบภาษีอากรให้มีความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้า เพิ่มพูนรายได้ของรัฐด้านต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ และปรับปรุงระบบการจัดทาและการใช้จ่ายงบประมาณให้มีประสิทธิภาพ และสัมฤทธผิ ล
หลกั งบประมาณแผน่ ดิน ของ ดร.ป๋วย อง๊ึ ภากรณ์ • หนว่ ยราชการใดจะต้องทางานใดและตอ้ งใช้เงินเพอ่ื การนน้ั ๆ เท่าใดปีใด ตอ้ งคดิ และคาดคะเนไวล้ ่วงหนา้ 1. หลักคาดการณ์ รายได้ก็ตอ้ งคาดคะเนไว้ล่วงหนา้ เชน่ เดียวกัน ไกล (Foresight) • จะใช้จ่ายอย่างไรจึงจะเปน็ ประโยชนจ์ รงิ ๆแกป่ ระเทศ โดยจะต้องมีรายจา่ ยลงทนุ ให้มากพอและเปน็ สดั สว่ น • เงนิ ได้ของรัฐบาลเกดิ จากเงนิ ของราษฎร สมควรทีจ่ ะตอ้ งรู้ 4.หลกั ทเี่ หมาะสมกบั รายจ่ายประจา สารัตถประโยชน์ และเห็นชอบทง้ั รายไดแ้ ละรายจา่ ย จึงต้องได้รับอนมุ ัติ (Utility) 2.หลักประชาธปิ ไตย จากรัฐสภาก่อน (Democracy) • บางปีรายไดน้ อ้ ยกวา่ เงินจา่ ย (ขาดดุล) บางปเี งนิ จ่ายน้อยกว่า • ศีลธรรมและความชอบธรรมทง้ั รายจา่ ยและรายได้ 3.หลักดลุ ยภาพ รายได้ (เกินดุล) เพื่อเป็นการปอ้ งกนั มิใหเ้ กดิ หนส้ี ินลน้ พน้ ตวั 5.หลักยุตธิ รรม (Balance) (Equity) • จะต้องมีการควบคุมงบประมาณทง้ั รายได้และรายจา่ ย โดยกระทรวงการคลงั และสานักงบประมาณมหี น้าท่ี 6.หลกั สมรรถภาพ และส่งเสริมให้เกิดสมรรถภาพขนึ้ (Efficiency)
- หลักการตรวจสอบได้ กระบวนการงบประมาณ - หลกั ความเป็นเอกภาพ - หลักความโปรง่ ใส - หลักรายจา่ ยตอ้ งมลี กั ษณะ การจัดทางบประมาณ เฉพาะเจาะจง (ฝา่ ยบรหิ าร) - หลักดลุ ยภาพของงบประมาณ - หลักรายได้ต้องมลี ักษณะทวั่ ไป - หลกั เสถียรภาพ การควบคุมงบประมาณ ภายในระยะเวลา การอนุมัติงบประมาณ 1 ปีงบประมาณ (ฝ่ายนติ ิบญั ญัติ) (สานกั งานตรวจเงนิ แผ่นดนิ ,รฐั สภา) - หลักประสทิ ธิภาพ การบริหารงบประมาณ -หลกั ความยินยอม - หลักการตรวจสอบได้ (ฝา่ ยบริหาร) - หลกั ความเป็นเอกภาพ - หลักรายจ่ายตอ้ งมีลกั ษณะเฉพาะเจาะจง - หลกั รายได้ตอ้ งมลี ักษณะท่วั ไป - หลกั ดุลยภาพของงบประมาณ - หลกั รายจา่ ยต้องมลี ักษณะเฉพาะเจาะจง
พระราชบญั ญัตวิ ธิ กี ารงบประมาณ พ.ศ. 2502 และทแ่ี กไ้ ขเพม่ิ เตมิ มาตรา ๔ “จานวนเงนิ อยา่ งสงู ทอ่ี นุญาตใหจ้ า่ ยหรอื ก่อหนผ้ี ูกพนั ได้ตามวัตถปุ ระสงค์ และภายในระยะเวลาทกี่ าหนด” “งบประมาณรายจ่าย” “ปีงบประมาณ” “ระยะเวลาตงั้ แตว่ ันท่ี 1 ตลุ าคม ของปีหนง่ึ ถงึ วนั ที่ 30 กันยายน ของปีถัดไป และให้ใชป้ ี พ.ศ. ท่ถี ัดไปนน้ั เปน็ ช่อื สาหรบั ปงี บประมาณนน้ั ”
พระราชบญั ญัติวธิ ีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และทแี่ กไ้ ขเพ่ิมเติม (ต่อ) มาตรา ๑๘ • ห้ามมใิ ห้ทาการโอนงบประมาณของหน่วยรบั งบประมาณ หนึง่ ทีไ่ ดร้ ับอนมุ ัติไว้แลว้ ไปให้เปน็ งบประมาณของหนว่ ย หลัก รบั งบประมาณอ่นื ข้อยกเว้น • 1. กฎหมายเกี่ยวกับการโอนงบประมาณ • 2. พระราชกฤษฎีการวมหรือโอนสว่ นราชการ เข้าด้วยกัน
พระราชบญั ญตั วิ ิธกี ารงบประมาณ พ.ศ. 2502 และทแ่ี กไ้ ขเพิ่มเตมิ (ตอ่ ) มาตรา ๑๙ หลักการ รายจ่ายท่ีกาหนดไว้ในรายการใด สาหรับส่วนราชการฯ ตามพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจาปี พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม พระราชบัญญัติโอนเงินงบประมาณรายจ่าย หรือพระราชกฤษฎีการวมหรือ โอนส่วนราชการเข้าด้วยกัน ตามมาตรา 18 (2) แล้วแต่กรณี เป็นการ กาหนดรายการงบประมาณรายจ่ายของแต่ละหน่วยงานไว้ทั้งหมด ซึ่งได้รับ ความยินยอมจากรัฐสภาแล้ว ดงั น้ัน จงึ ห้ามเปล่ียนแปลงงบประมาณโดยการ โอนงบประมาณจากรายการหนึ่งไปยังอีกรายการหนง่ึ
พระราชบญั ญตั วิ ธิ กี ารงบประมาณ พ.ศ. 2502 และท่แี กไ้ ขเพิ่มเติม (ต่อ) มาตรา ๑๙ 1. ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจสามารถโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ ระหว่างรายการภายในส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจเดียวกัน ได้ ข้อยกเวน้ โดยขออนุญาตต่อผู้อานวยการสานกั งบประมาณ 2. ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจจะโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณภายใน ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจเดียวกันที่เป็นผลให้เพ่ิมรายจ่าย ประเภท เงินราชการลับ หรือเป็นงาน หรือโครงการใหม่ จะต้องขอ อนุมัติ ตอ่ คณะรัฐมนตรี
พระราชบญั ญัติวิธกี ารงบประมาณ พ.ศ. 2502 และท่ีแกไ้ ขเพ่มิ เตมิ (ตอ่ ) มาตรา ๑๙ 3. การโอนงบประมาณรายจ่ายงบกลางระหว่างรายการภายใน งบประมาณรายจ่ายงบกลางเดียวกัน เช่น โอนจากรายการค่าใช้จ่าย ข้อยกเว้น การปรบั เงนิ คา่ ตอบแทนบคุ ลากรภาครฐั ไปสมทบกบั รายการค่าใช้จา่ ย ในการรักษาพยาบาลข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ เป็นต้น เ น่ื อ งจ า ก งบ ป ระ มา ณ รา ยจ่ า ย งบ ก ล า งท่ี ต้ังไ ว้ใ น ร า ยก า ร ข้า งต้ น ไม่พอจ่าย จึงจาเป็นต้องโอนงบประมาณรายจ่ายงบกลางรายการอื่น มาเพิ่ม ท้ังนี้ จะต้องเป็นกรณีท่ีมีความจาเป็นและโอนโดยอานาจ ผู้อานวยการสานักงบประมาณโดยอนุมตั ินายกรัฐมนตรดี ้วย
พระราชบัญญตั ิวิธกี ารงบประมาณ พ.ศ. 2502 และท่ีแก้ไขเพม่ิ เติม (ต่อ) มาตรา ๒๓ วรรคหน่งึ “ยกเว้นกรณีที่บัญญัติไว้ในมาตรา 23 ตรี ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจจะจ่ายเงินหรือ ก่อหนี้ผูกพันได้แต่เฉพาะตามท่ีได้กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพ่ิมเติม หรือตามอานาจที่มีอยู่ตามกฎหมายอ่ืน และห้ามมิให้จ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี หรือพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจ่ายเพมิ่ เตมิ จนกวา่ จะได้รับอนุมัตเิ งินประจางวดแลว้ ” “ลงนามในสญั ญา ก่อนได้งวดไมไ่ ด”้
พระราชบญั ญตั วิ ธิ กี ารงบประมาณ พ.ศ. 2502 และทแ่ี กไ้ ขเพ่มิ เติม (ตอ่ ) มาตรา ๒๓ วรรคสาม “เม่ือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี หรือพระราชบัญญัติงบประมาณ รายจ่ายเพ่ิมเติมแล้วแต่กรณี ใช้บังคับแล้ว ให้สานักงบประมาณรวบรวมรายการงบประมาณ รายจ่ายซ่ึงจะต้องก่อหน้ีผูกพันและวงเงินท่ีคาดว่าจะต้องก่อหนี้ผูกพันงบประมาณรายจ่าย ประจาปีต่อๆ ไป พร้อมทงั้ จานวนเงนิ เผอ่ื เหลอื เผ่ือขาด เสนอให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมตั ิ ก า ร ก่ อ ห นี้ ผู ก พั น ภ า ย ใ น ห ก สิ บ วั น นั บ แ ต่ วั น ท่ี พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ดั ง ก ล่ า ว ใ ช้ บั ง คั บ และเม่ือคณะรัฐมนตรีอนุมัติแล้ว ให้ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจดาเนินการตามระเบียบ ทผี่ อู้ านวยการกาหนด ดว้ ยความเหน็ ชอบของคณะรัฐมนตรี”
พระราชบัญญตั ิวิธกี ารงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แก้ไขเพ่ิมเตมิ (ต่อ) มาตรา ๒๓ วรรคสี่ “ ใ น ก ร ณี ท่ี มี ค ว า ม จ า เ ป็ น แ ล ะ เ ร่ ง ด่ ว น แ ล ะ มิ ใ ช่ ก ร ณี ต า ม ว ร ร ค ส อ ง ห รื อ วรรคสาม คณะรัฐมนตรีมีอานาจอนุมัติให้ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจจ่ายเงินหรือ ก่อหนี้ผูกพันตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีหรือพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมก่อนได้รับเงินประจางวด หรืออนุมัติให้ส่วนราชการหรือ รัฐวิสาหกิจก่อหน้ีผูกพันเกินกว่าหรือนอกเหนือไปจากที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจาปีหรอื พระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยเพ่มิ เตมิ ได้”
พระราชบญั ญตั วิ ิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และทแี่ ก้ไขเพ่ิมเตมิ (ต่อ) มาตรา ๒๔ วรรคหนง่ึ “บรรดาเงินที่ส่วนราชการได้รับเป็นกรรมสิทธ์ิไม่ว่าจะได้รับตามกฎหมายหรือ ระเบียบข้อบังคับ หรือได้รับชาระตามอานาจหน้าท่ีหรือสัญญา หรือได้รับจากการ ให้ใช้ทรัพย์สิน หรือเก็บดอกผลจากทรัพย์สินของราชการ ให้ส่วนราชการที่ได้รับเงินน้ัน นาส่งคลังตามระเบียบหรือข้อบังคับท่ีรัฐมนตรีกาหนด เว้นแต่จะมีกฎหมายกาหนด เป็นอย่างอืน่ ” “เงินอะไรกต็ ามท่ไี ดร้ ับ จะเก็บไวไ้ ม่ได้”
พระราชบัญญัติวิธกี ารงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แก้ไขเพม่ิ เติม (ต่อ) มาตรา ๒๔ วรรคสอง “ส่วนราชการใดได้รับเงินที่มีผู้มอบให้โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ส่วนราชการน้ันใช้จ่ายในกิจการของ ส่วนราชการน้ันก็ดี หรือได้รับเงินท่ีเกิดจากทรัพย์สินซึ่งมีผู้มอบให้เพ่ือหาดอกผลใช้จ่ายในกิจการของส่วนราชการนั้นก็ดี ใหส้ ่วนราชการนัน้ จา่ ยเงินหรือกอ่ หนี้ผกู พนั ภายในวงเงนิ ท่ไี ด้รับนนั้ ได้ และไม่ตอ้ งนาส่งคลงั ” มาตรา ๒๔ วรรคสาม “ ใ น ก ร ณี ส่ ว น ร า ช ก า ร ไ ด้ รั บ เ งิ น ต า ม โ ค ร ง ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ห รื อ ร่ ว ม มื อ กั บ รั ฐ บ า ล ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ องค์การสหประชาชาติ ทบวงการชานัญพิเศษแห่งสหประชาชาติ องค์การระหว่างประเทศอ่ืนใด หรือบุคคลใดไม่ว่า จะเป็นเงินให้กู้หรือให้เปล่า รวมท้ังเงินท่ีส่วนราชการได้รับสืบเนื่องจากโครงการช่วยเหลือหรือร่วมมือเช่นว่านั้น รัฐมนตรจี ะกาหนดเปน็ อยา่ งอ่ืนโดยไมต่ ้องนาส่งคลังก็ได”้
พระราชบัญญตั ิวธิ กี ารงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แกไ้ ขเพ่มิ เตมิ (ตอ่ ) มาตรา ๒๖ o ข้าราชการฯของส่วนราชการก่อหนี้ผูกพันหรือจ่ายเงิน หรือโดยรู้อยู่แล้วยินยอมอนุญาต ให้กระทาการฝ่าฝืนกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นอกจากความผิดอาญาแล้ว ต้องรับผิด ชดใช้เงนิ ฯ รวมถงึ คา่ สินไหมทดแทนดว้ ย o บุคคลภายนอกผู้ได้รับประโยชน์จากการกระทาท่ีฝ่าฝืนดังกล่าว ต้องร่วมรับผิดด้วย เวน้ แต่ จะแสดงได้วา่ กระทาโดยสุจรติ ไมร่ ู้เท่าถึงการฝ่าฝืนกฎหมายดังกลา่ ว o ข้าราชการฯ ไม่ต้องรับผิดหากได้ทักท้วงคาสั่งของผู้บังคับบัญชาเป็น หนังสือ ว่า การท่จี ะปฏิบตั ติ ามคาสั่งไม่ชอบดว้ ยกฎหมายฯ
พระราชบญั ญัตวิ ธิ ีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และทแี่ ก้ไขเพม่ิ เตมิ (ตอ่ ) มาตรา ๒๗ วรรคหน่งึ หลักปีงบประมาณ + ข้อยกเว้น “การขอเบิกเงินจากคลังตามงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณใด ให้กระทาได้ แตเ่ ฉพาะภายในปีงบประมาณน้นั เว้นแต่ (1) เป็นงบประมาณรายจ่ายขา้ มปี หรอื (2) เป็นงบประมาณรายจ่ายท่ีได้ก่อหนี้ผูกพันไว้ก่อนสิ้นปีงบประมาณ หรือท่ีได้รับ อนุมัติจากรฐั มนตรีให้เบิกเหล่ือมปี และได้มกี ารกันเงินไว้ตามระเบียบหรือข้อบังคับเก่ียวกับการ เบิกจ่ายเงินจากคลัง”
พระราชบัญญตั ิวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และทแ่ี กไ้ ขเพม่ิ เติม (ตอ่ ) มาตรา ๒๗ วรรคสอง “ในกรณี (2) ให้ขยายเวลาขอเบิกเงินจากคลังต่อไปได้อีกไมเ่ กนิ หกเดือนปฏทิ ิน ของปีงบประมาณถัดไป เว้นแต่มีความจาเป็นต้องขอเบิกเงินจากคลังภายหลังเวลา ดังกลา่ ว กใ็ ห้ขอทาความตกลงกบั กระทรวงการคลังเป็นกรณี ๆ ไป”
รา่ งพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. . . . . หลกั การและเหตุผลของการจดั ทารา่ ง พ.ร.บ. ฉบบั น้ี 1. แนวทางการปฏริ ปู ระบบงบประมาณของสานกั งบประมาณ เพ่ือให้ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์เป็นเคร่ืองมือในการขับเคลื่อน นโยบายของรฐั บาลได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และเกดิ ผลสัมฤทธิใ์ นทางปฏิบตั ิ 2. ข้อสง่ั การของนายกรฐั มนตรี เมือ่ วนั ท่ี 26 มกราคม 2559 ใหป้ รับปรุงกฎหมายงบประมาณเพ่ือให้มีลักษณะเป็นการบรู ณาการงบประมาณระหวา่ งหน่วยงาน ท่ีสอดคลอ้ งกับภารกจิ หลักของหน่วยงาน และภารกจิ ท่เี ปน็ การดาเนนิ การตามนโยบายของรฐั บาล
หหลกั กาารรแแลละะสสาราะรสะาสคาญั คัญ ของขรอ่างรพ่ารงพะราะรชาบชญับญั ญญัตตั ิววิ ธิ ิธกี กี ารงบบปปรระะมมาณาณพ.พศ.ศ.... . . . . ประกอบดว้ ย ๘ หมวด 52 มาตรา และบทเฉพาะกาล (มาตรา ๕๓ – มาตรา ๕๙) เพ่ือรองรับการปฏริ ูประบบงบประมาณและการจัดทางบประมาณท่มี กี ารบูรณาการระหวา่ งหน่วยงาน 1. การจดั ทา มาตรา 6 กา รจั ดท า ง บประมา ณ กา รบริหา รง บประม า ณ รา ยจ่ า ย กา ร ค วบคุ มง บประมา ณ งบประมาณ และการประเมินผลและการรายงาน ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ และสอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยวินัย การเงนิ การคลังของรัฐ มาตรา ๒๓ การจดั ทางบประมาณต้องคานงึ ถงึ ประมาณการรายรับและฐานะทางการคลงั ของประเทศ ความจาเปน็ ในการพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ความเปน็ ธรรมทางสังคม นโยบายรัฐบาล ภารกิจของหนว่ ยรบั งบประมาณ
หลักการและสาระสาคัญ ของรา่ งพระราชบัญญตั ิวธิ กี ารงบประมาณ พ.ศ. . . . . (ตอ่ ) 1. การจัดทางบประมาณ มาตรา 1๙ ให้ผู้อานวยการมีหน้าท่ีและอานาจจัดทางบประมาณกับปฏิบัติการอย่างอ่ืนตามที่ (ต่อ) บญั ญัติไว้ในพระราชบญั ญัติน้ี และใหม้ ีอานาจหนา้ ที่เก่ยี วกับการงบประมาณ มาตรา 1๔ งบประมาณรายจ่ายที่กาหนดในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจา่ ยเพ่มิ เติม อาจจาแนกได้ดังตอ่ ไปน้ี (๑) งบประมาณรายจา่ ยงบกลาง (๒) งบประมาณรายจา่ ยของหน่วยรับงบประมาณ (๓) งบประมาณรายจ่ายบูรณาการ (๔) งบประมาณรายจา่ ยบุคลากร (๕) งบประมาณรายจา่ ยสาหรับทุนหมุนเวยี น (๖) งบประมาณรายจา่ ยเพอ่ื การชาระหน้ภี าครฐั (๗) งบประมาณรายจา่ ยเพ่อื ชดใชเ้ งินคงคลงั (๘) งบประมาณรายจา่ ยเพือ่ ชดใชเ้ งินทนุ สารองจ่าย
หลกั การและสาระสาคญั ของร่างพระราชบญั ญัติวิธกี ารงบประมาณ พ.ศ. . . . . (ต่อ) 1. การจัดทา มาตรา ๒๔ ให้สานักงบประมาณร่วมกับกระทรวงการคลัง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ งบประมาณ (ต่อ) และสังคมแหง่ ชาติ และธนาคารแหง่ ประเทศไทย ดาเนนิ การ ดงั น้ี (การกาหนด นโยบายและกรอบ (1) กาหนดนโยบายงบประมาณประจาปี ประมาณการรายได้ วงเงินงบประมาณรายจ่าย วงเงินงบประมาณ และวิธกี ารเพ่ือชดเชยการขาดดลุ งบประมาณหรือการจดั การในกรณที ี่ประมาณการรายได้สงู กวา่ วงเงนิ งบประมาณ ประจาปี) (๒) กาหนดสัดส่วนงบประมาณรายจ่ายเพ่ือการลงทุนและงบประมาณรายจ่ายเพ่ือการ ชาระหนี้ภาครฐั ต่อกรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจาปี (๓) กาหนดกรอบประมาณการรายจ่าย ประมาณการรายรับและฐานะการคลังของรัฐบาลล่วงหน้า ไม่นอ้ ยกว่าสามปี เม่ือได้ดาเนินการตาม (1) แล้ว ให้ผู้อานวยการเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา ให้ความเหน็ ชอบ
2. อานาจหน้าทขี่ อง หลักการและสาระสาคัญ ผ้อู านวยการ ของรา่ งพระราชบญั ญัตวิ ธิ ีการงบประมาณ พ.ศ. . . . . (ตอ่ ) มาตรา 1๙ ให้ผู้อานวยการมีหน้าท่ีและอานาจจัดทางบประมาณกับปฏิบัติการอย่างอ่ืนตามท่ีบัญญัติไว้ ในพระราชบญั ญัตนิ ี้ และใหม้ ีอานาจหนา้ ทเี่ กี่ยวกับการงบประมาณ ดงั ต่อไปนีด้ ้วย (๑) กาหนดยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี เพ่ือให้หน่วยรบั งบประมาณใชเ้ ป็นแนวทางในการจัดทาคาขอตงั้ งบประมาณรายจา่ ยประจาปี (๒) กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทากรอบประมาณการรายจ่าย เพื่อให้การจัดทางบประมาณสอดคล้อง กบั หลกั การตามมาตรา ๒๓ ... มาตรา ๒๐ ให้ผู้อานวยการเสนองบประมาณประจาปีต่อนายกรัฐมนตรีเพ่ือคณะรัฐมนตรีเสนอต่อรัฐสภา เป็นเวลาอย่างนอ้ ยสามเดอื นกอ่ นวนั เร่ิมปีงบประมาณนัน้ มาตรา ๒๑ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ี ให้ผู้อานวยการมีอานาจเรียกให้หน่วยรับงบประมาณชี้แจง ข้อเท็จจริงตามท่ีเห็นสมควร และให้ผู้อานวยการหรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีท่ีผู้อานวยการมอบหมายมีอานาจ ทจ่ี ะเข้าตรวจสรรพสมดุ บญั ชี เอกสาร และหลักฐานตา่ ง ๆ ของหน่วยรับงบประมาณได้ มาตรา ๒๒ ใหพ้ นักงานเจา้ หน้าท่ีท่ีผู้อานวยการมอบหมายตามมาตรา ๒๑เปน็ เจา้ พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
หลักการและสาระสาคัญ ของรา่ งพระราชบญั ญตั วิ ธิ ีการงบประมาณ พ.ศ. . . . . (ต่อ) ๓. หนว่ ยรบั งบประมาณ มาตรา 4 “หน่วยรับงบประมาณ” หมายความว่า หน่วยงานของรัฐท่ีขอรับหรือได้รับจัดสรร งบประมาณรายจา่ ย และให้หมายความรวมถงึ สภากาชาดไทยดว้ ย “หนว่ ยงานของรัฐ” หมายความว่า (๑) สว่ นราชการ (๒) รัฐวิสาหกจิ (๓) หน่วยงานของรัฐสภา ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ องค์กรอิสระ ตามรฐั ธรรมนญู และองคก์ รอัยการ (๔) องคก์ ารมหาชน (๕) ทุนหมนุ เวยี นทีม่ ีฐานะเป็นนติ บิ คุ คล (๖) องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ (๗) หน่วยงานอ่นื ของรฐั ตามท่ีกฎหมายกาหนด
หลักการและสาระสาคัญ ของรา่ งพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. . . . . (ตอ่ ) ๔ . คว า ม คร อ บ คลุ ม มาตรา 2๕ หน่วยรับงบประมาณจะต้องต้องแสดงวัตถุประสงค์ แผนการปฏิบัติงาน ของงบประมาณ และแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ และให้จดั ส่งรายงานเก่ียวกบั เงนิ นอกงบประมาณ มาตรา ๓๐ กรณีท่ีหน่วยรับงบประมาณใดไม่จัดส่งรายงานเกี่ยวกับเงินนอกงบประมาณ ผอ. สงป. มอี านาจพจิ ารณาการต้ังงบประมาณรายจ่ายประจาปีตามท่ีเหน็ สมควร ๕. งบประมาณบูรณาการ มาตรา ๓๑ เพ่ือประโยชน์ในการจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการให้มีการจัดทาแผนงานบูรณาการซ่ึง ประกอบด้วยเป้าหมาย วัตถุประสงค์ งบประมาณรายจ่ายที่ต้องใช้ในการดาเนินการ ระยะเวลา การดาเนินการ รวมท้ังภารกิจของหน่วยรับงบประมาณที่เป็นเจ้าภาพหลักและหน่วยรับงบประมาณ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง เพอ่ื เสนอให้คณะรัฐมนตรพี ิจารณาอนุมัติ มาตรา ๓๒ เม่ือคณะรัฐมนตรีอนุมัติแผนงานบูรณาการแล้ว การจัดทางบประมาณรายจ่าย ตามแผนงานบรู ณาการ ใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารที่ผูอ้ านวยการกาหนด
๖. การบริหาร หลกั การและสาระสาคญั งบประมาณ ของร่างพระราชบัญญตั ิวิธีการงบประมาณ พ.ศ. . . . . (ตอ่ ) ๗. การตดิ ตาม มาตรา 3๓ เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอ่ืน การบริหารงบประมาณรายจ่ายตามกฎหมายว่าด้วยงบประมาณ ประเมนิ ผล รายจ่าย ใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บที่ผอู้ านวยการกาหนด มาตรา ๓๕ โอนข้ามหน่วยงานได้ ในกรณีที่เป็นการโอนงบประมาณรายจ่าย บูรณาการภายใต้แผนงาน บรู ณาการเดียวกนั และการโอนงบประมาณรายจา่ ยบุคลากรภายใต้แผนงานบคุ ลากรภาครฐั มาตรา 4๖ 4๗ และ 4๘ กาหนดให้ผู้อานวยการสานักงบประมาณจัดวางระบบการติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามแผนการปฏิบัติงานและ แผนการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยรับงบประมาณท่ีได้รับการจัดสรรงบประมาณ เพ่ือการวัดผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ท่ีจะ ไดร้ ับจากการใช้งบประมาณ กาหนดหนว่ ยรับงบประมาณจดั ใหม้ รี ะบบการตดิ ตามและประเมินผลการดาเนินงานตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จา่ ย งบประมาณภายในหนว่ ยรับงบประมาณ หากการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยรับงบประมาณใดไม่ได้ตามเป้าหมายหรือตัวช้ีวัดท่ีกาหนดและ หน่วยรับ งบ ประมาณไม่ได้ดาเ นินการแก้ไข ให้ผู้อานวยการสานักงบประมาณรายงานต่อค ณะรัฐมนตรี เพื่อสง่ั การตามท่เี ห็นสมควร
๘. การรายงาน หลกั การและสาระสาคญั ของร่างพระราชบัญญตั ิวิธกี ารงบประมาณ พ.ศ. . . . . (ตอ่ ) มาตรา ๕๑ ให้ผู้อานวยการรายงานการโอนงบประมาณรายจ่ายงบกลางระหว่างรายการท่ีกาหนดไว้ใน งบประมาณรายจ่ายงบกลาง หรือการโอนงบประมาณรายจ่ายบูรณาการและงบประมาณรายจ่าย บุคลากรระหวา่ งหน่วยรบั งบประมาณเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อรายงานต่อรัฐสภาภายในสามสิบวันนับ แต่วนั สน้ิ ปงี บประมาณน้นั ๙. การพฒั นาประสทิ ธิภาพ มาตรา ๙ ให้มีการมอบหมายผู้บริหารผู้หน่งึ มีหนา้ ทีร่ ับผดิ ชอบประสานงานเก่ยี วกบั งบประมาณของ การปฏบิ ตั ิงานด้าน หนว่ ยรับงบประมาณ การงบประมาณ
หลกั การและสาระสาคญั ของรา่ งพระราชบญั ญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. . . . . (ต่อ) 1๐. ปรับเปลยี่ นวิธีปฏิบตั ิบางประการ มาตรา ๒๖ รายการงบประมาณรายจ่ายท่ีจะต้องก่อหน้ีผูกพันในปีงบประมาณต่อๆ ไป ให้ทนั สมยั สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ ท่ีมีวงเงินต้ังแต่ 1,000 ล้านบาทข้ึนไป ให้หน่วยรับงบประมาณเสนอให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ ความเหน็ ชอบกอ่ นเสนอขอตง้ั งบประมาณรายจ่ายประจาปี มาตรา 2๕ กาหนดให้หน่วยรับงบประมาณจัดทาแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่าย งบประมาณเพ่อื ใช้ประกอบการยน่ื คาขอตงั้ งบประมาณของหนว่ ยงาน มาตรา ๔๕ เพิ่มจานวนเงินทุนสารองจ่าย เพื่อนาไปจ่ายในกรณีที่มีความจาเป็นเร่งด่วน เพื่อประโยชน์แก่ราชการแผ่นดิน และงบประมาณรายจ่ายงบกลาง รายการเงินสารองจ่าย เพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจาเปน็ ไมเ่ พยี งพอ จาก 100 ล้านบาท เปน็ ๕0,000 ลา้ นบาท
กฎหมาย กฎหมำย ระเบียบ ทเี่ กยี่ วข้องกบั กำรงบประมำณ รัฐธรรมนญู ระเบยี บว่ำด้วยกำร ระเบยี บ หลกั กำรจำแนกประเภทรำยจ่ำย กฎหมำยว่ำด้วย บริหำรงบประมำณ กำรก่อหนีผ้ ูกพนั ว.๓๓ และ ว.๖๘ วธิ ีกำรงบประมำณ ข้ำมปี งบประมำณ ว.๓๗ พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2534 มาตรการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการใช้จ่าย ระเบยี บสานกั นายกฯ งบกลางฯ งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ กำรใรชะ้จเบ่ำยี งบบวป่ำดร้วะยมำณภำยในปี งบประมำณ เยยี วยา พ.ศ. 2559 พ.ศ. ๒๕๖๑ (ว.๔๖๑) หลกั เกณฑ์กำรโอน ระเบยี บว่ำด้วยกำร มตคิ ณะรัฐมนตรี 12 พฤษภำคม งบประมำณรำยจ่ำย บริหำรงบประมำณ 2558 (งบกลำง) เร่ือง ซักซ้อมควำม กำรปรับปรุงแนวทำงกำรดำเนินงำน เพ่ือกำรขบั เคลื่อน รำยจ่ำยสำหรับ เข้ำใจเกย่ี วกบั แนวทำงกำรเสนอเร่ือง และเร่งรัดกำรใช้จ่ำยงบประมำณ แผนงำนบูรณำกำร งบประมำณต่อคณะรัฐมนตรี (ว.143) ภำยใต้มำตรกำรเพม่ิ ประสิทธิภำพ กำรแก้ไขปัญหำ พ.ศ. 2559 (ว.14) กำรใช้จ่ำยงบประมำณรำยจ่ำย จังหวดั ชำยแดน บญั ชรี าคามาตรฐานส่งิ กอ่ สร้าง ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๑ (ว.๖๑) ภำคใต้ พ.ศ. 2559 บญั ชีรำคำมำตรฐำนครุภณั ฑ์ ประกอบ หนังสือซ้อมควำมเข้ำใจฯ (ว.17) (ว.๔๖)
การบริหารงบประมาณ หลักการ • “การควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตาม แผนงาน โครงการ/รายการที่ได้รับอนุมัติจากฝ่ายนิติบัญญัติ เพ่ือป้องกันการใช้จ่ายที่ไม่มีความคุ้มค่า ไม่ประหยัด หรือไม่มี ประสิทธิภาพ โดยการควบคุมการใช้จ่ายและเบิกจ่ายเงิน การตรวจสอบตามระเบยี บที่กาหนด”
ระเบยี บวา่ ดว้ ยการบรหิ ารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ และทแ่ี กไ้ ขเพิม่ เตมิ หลักการสาคญั 1. กาหนดให้ระเบียบมคี วามสอดคลอ้ งกบั ระบบและวิธีการจดั การงบประมาณ ทมี่ งุ่ เน้นผลงานตามยทุ ธศาสตร์ 2. กาหนดวิธีการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายตามพระราชบัญญัติงบประมาณ รายจ่ายประจาปี หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพ่ิมเติม รวมถึงการ โอนเปล่ียนแปลงรายการงบประมาณรายจ่าย เพ่ือให้ส่วน ราชการ และรฐั วสิ าหกจิ ใชจ้ ่ายงบประมาณรายจ่ายไดอ้ ย่างรวดเรว็ เกิดประโยชน์สูงสดุ และคุ้มค่า
ระเบยี บว่าดว้ ยการบรหิ ารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ และทแ่ี ก้ไขเพ่ิมเติม (ต่อ) หลักการสาคญั 3. กาหนดการมอบอานาจและความรับผิดชอบให้กับหัวหน้าส่วน ราชการและหัวหน้ารัฐวิสาหกิจในการบริหารงบประมาณรายจ่าย ได้อย่างยืดหยุ่นและคลอ่ งตัวสูง 4. กาหนดให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจบริหารงบประมาณ รายจ่ายให้บรรลุเป้าหมายและผลสัมฤทธ์ิของงานตามแผน งบประมาณ และแผนงบประมาณในเชิงบูรณาการท่ีกาหนดไว้
ระเบียบวา่ ด้วยการบรหิ ารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แกไ้ ขเพม่ิ เติม (ต่อ) หลักการสาคญั 5. กาหนดใหม้ เี ครือ่ งมอื ในการบรหิ ารงบประมาณ กล่าวคือ (1) การจดั ทาคา่ ใชจ้ า่ ยตอ่ หนว่ ย (2) การจัดทาแผนการปฏบิ ตั งิ านและแผนการใชจ้ า่ ย งบประมาณ (3) การรายงานผล (4) การจดั ทา และรับสง่ ขอ้ มูลด้วยระบบ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ระเบยี บว่าดว้ ยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ และท่แี กไ้ ขเพมิ่ เตมิ (ต่อ) หลกั การสาคญั 6. กาหนดให้การบริหารงบประมาณสอดคล้องกับหลักการธรรมาภิบาล คือ ให้การใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายมีความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่า มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบ และเปิดเผย ตอ่ สาธารณะได้
ข้ันตอนการบริหารงบประมาณทสี่ าคัญ ๑. การจดั ทาแผนการปฏิบัติงานและแผนการใชจ้ ่ายงบประมาณใหเ้ หมาะสมกับชว่ งเวลาและกาลงั เงนิ ท่ีไดร้ ับ ภายใต้ภารกจิ ของหน่วยงาน .๒ การใช้จา่ ยตามแผนฯ ท่ไี ด้รบั ความเห็นชอบ .๓ การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ ๔. การติดตาม ตรวจสอบ เมอ่ื มกี ารใชจ้ ่ายและเบกิ จา่ ยเงินแล้ว ตอ้ งมีการตรวจสอบว่าใช้จา่ ยตามแผนฯ และเบิกจ่ายจรงิ หรือไม่ เปน็ วิธกี ารสาคญั ท่ีจะควบคมุ และกากับการบริหารงบประมาณใหเ้ ปน็ ไปตามแผนฯ และถกู ต้องตามขั้นตอนของระเบียบ .๕ การรายงาน เปน็ วธิ กี าร/ขัน้ ตอนในการตรวจสอบให้มีการรายงานผลการดาเนินงานที่ผ่านมา เพือ่ ทบทวนผลการปฏิบัติตามแผนฯ ที่กาหนดไวว้ ่าเปน็ อย่างไร เพอ่ื ใช้ในการจัดทางบประมาณในปีต่อไป
ระเบยี บว่าดว้ ยการบรหิ ารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ และท่แี ก้ไขเพ่มิ เตมิ (ตอ่ )
ระเบยี บว่าดว้ ยการบรหิ ารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ และท่แี ก้ไขเพ่มิ เตมิ (ตอ่ )
ระเบยี บว่าดว้ ยการบรหิ ารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ และท่แี ก้ไขเพ่มิ เตมิ (ตอ่ )
กระบวนกำรบริหำรงบประมำณ ตำมระเบยี บว่ำด้วยกำรบริหำรงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๔๘ และทแ่ี ก้ไขเพม่ิ เตมิ
ระเบยี บการกอ่ หนี้ผกู พนั ข้ามปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แกไ้ ขเพิ่มเตมิ
ระเบยี บการกอ่ หนี้ผกู พนั ขา้ มปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๓๔ และท่แี ก้ไขเพ่มิ เตมิ (ตอ่ )
ระเบยี บการกอ่ หนี้ผกู พนั ขา้ มปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๓๔ และท่แี ก้ไขเพ่มิ เตมิ (ตอ่ )
หลกั การจาแนกประเภทรายจา่ ยตามงบประมาณ
การบริหารงบประมาณท่เี ก่ยี วกบั หลักการจาแนกฯ
เงินเดือน , ค่าจา้ งประจา , คา่ จา้ งชวั่ คราว , คา่ ตอนแทนพนกั งานราชการ คา่ ตอบแทน , ค่าใชส้ อย , ค่าวสั ดุ (ว.๓๗ และ ว.๖๘) , ค่าสาธารณูปโภค ค่าครุภณั ฑ์ คา่ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง (ว.๓๗ และ ว.๖๘) เงินอุดหนุนทวั่ ไป , เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ รายจ่ายท่ีไม่เขา้ ลกั ษณะประเภทงบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหน่ึงขา้ งตน้
Search