Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดการเรียนการสอน ภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)

คู่มือการจัดการเรียนการสอน ภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)

Published by Kannika Pingchai, 2021-10-28 05:26:23

Description: คู่มือการจัดการเรียนการสอน ภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) โรงเรียนศึกษานารีวิทยา

Search

Read the Text Version

แนวทางในการจัดการเรยี นการสอนของโรงเรยี นศกึ ษานารวี ทิ ยา ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กำหนดการ (Timeline) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรียนศึกษานารีวิทยา วันท่ี การดำเนนิ งาน/กิจกรรม ผรู้ บั ผิดชอบ 29 ก.ย. 2564 นกั เรียนฉดี วคั ซนี ซโิ นฟารม์ เขม็ ที่ 1 /หน่วยงานท่เี กี่ยวช้อง งานพยาบาล 8 ต.ค. 2564 นกั เรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ฉดี วัคซนี ไฟเซอร์ เขม็ ท่ี 1 งานพยาบาล 14 ต.ค. 2564 กจิ กรรม Clear & Clean กลมุ่ บริหารท่ัวไป 15 ต.ค. 2564 นักเรียนมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 ฉดี วคั ซนี ไฟเซอร์ เข็มที่ 1 งานพยาบาล 20 ต.ค. 2564 นกั เรียนฉีดวคั ซนี ซโิ นฟาร์ม เขม็ ที่ 2 งานพยาบาล 21 ต.ค. 2564 ประชมุ ฝ่ายบริหาร วางกำหนดการและแนวปฏิบัติ ฝ่ายบริหาร เพอ่ื เตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรยี นที่ 2/2564 และกลุ่มบรหิ ารฯ 27 ต.ค. 2564 ประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา องค์กรภายนอก และผูแ้ ทน ฝา่ ยบริหาร และกลุ่มบริหารฯ ชุมชนโดยรอบสถานศึกษาเพ่ือชี้แจงและรบั ทราบ คณะกรรมการสถานศึกษา 28 ต.ค. 2564 ขอ้ เสนอแนะ สำหรบั แนวทางในการเปิดภาคเรยี นท่ี2/2564 ขั้นพน้ื ฐาน 29 ต.ค. 2564 ประชุมครูและบุคลากร ผ่านระบบออนไลน์ เพื่อชแ้ี จงแนวทาง ฝ่ายบริหาร งานโสตฯ 1 พ.ย. 2564 ในการเปดิ ภาคเรยี นที่2/2564 ครูและบคุ ลากรทกุ คน 5 พ.ย. 2564 นกั เรยี นมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 ฉดี วัคซีนไฟเซอร์ เข็มท่ี 2 งานพยาบาล 7 พ.ย. 2564 เปดิ ภาคเรียนท่ี 2/2564 ทกุ ระดบั ชนั้ ในรูปแบบออนไลน์ ครู บุคลากร และนกั เรียนทกุ คน นกั เรียนมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 ฉีดวคั ซีนไฟเซอร์ เข็มที่ 2 งานพยาบาล ประชุมผปู้ กครอง ผา่ นระบบออนไลน์ ฝ่ายบริหาร งานระบบดแู ล เพ่อื เตรยี มเปิดในรปู แบบ On-site ช่วยเหลอื นักเรยี น งานโสตและ ครู บคุ ลากรทกุ คน

วนั ที่ การดำเนินงาน/กิจกรรม ผูร้ บั ผดิ ชอบ /หน่วยงานทเี่ กี่ยวชอ้ ง 15 พ.ย. 2564 กรณที ส่ี ามารถ On-site จัดการเรยี นร้ใู นรูปแบบ On-Site ครู บุคลากร และนกั เรยี นทกุ คน เปน็ ตน้ ไป (ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 - 6) โดยใชร้ ปู แบบที่ 5 การสลับ กลมุ่ นักเรยี น แบบแบ่งนักเรยี น ในหอ้ งเรียนเป็น 2 กล่มุ (กลมุ่ งานพยาบาล รว่ มกับ 15, 22, 29 A และกลุ่ม B) ไม่เกิน 25 คน/กลมุ่ โรงพยาบาลบางปะกอก 8 พ.ย. 2564 กรณไี ม่สามารถ On-site จัดการเรยี นรใู้ นรูปแบบออนไลน์ ครู บคุ ลากร และนกั เรยี นทกุ คน 22 พ.ย. 2564 ตรวจ ATK นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา เป็นต้นไป กรณที ีส่ ามารถ On-site จดั การเรยี นร้ใู นรปู แบบ On-Site (ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 - 3) โดยใชร้ ูปแบบท่ี 5 การสลบั กลุม่ นกั เรียน แบบแบ่งนกั เรียน ในหอ้ งเรียนเปน็ 2 กลุม่ (กลมุ่ A และกลมุ่ B) ไม่เกนิ 25 คน/กลมุ่ กรณีไม่สามารถ On-site จัดการเรยี นร้ใู นรูปแบบออนไลน์

แนวทางในการจัดการเรียนการสอน ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนศกึ ษานารวี ทิ ยา กอ่ นการเปดิ ภาคเรยี น ▪ ประสานการดำเนนิ งานฉีด/ได้รบั วคั ซนี Pfizer และวคั ซีนอื่น ๆ ของนักเรยี น ▪ ประชุมฝ่ายบริหาร วางกำหนดการและแนวปฏิบตั ิ เพื่อเตรียมความพร้อมกอ่ นเปดิ ภาคเรียนที่ 2/2564 ▪ เตรียมความพรอ้ ม และจดั ทำคมู่ อื แนวทางการเปิดภาคเรียนของโรงเรียนศึกษานารวี ิทยา โดยปฏบิ ัติตามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ประเภทไปกลับตามแนวทาง ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ▪ สรปุ ยอดการได้รับวคั ซีนของครู บคุ ลากร และนักเรียน ▪ สถานศกึ ษาประเมนิ ตนเองผ่านระบบ TSC+ ทั้ง 6 มติ ิ และรายงาน MOE COVID ▪ ประชุมคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาเพือ่ สรปุ แนวทางและความพร้อมในการเปิด ภาคเรยี นท่ี 2/2564 ▪ ประชุมครูและบคุ ลากร ผ่านระบบออนไลน์ เพอื่ ช้แี จงแนวทางในการเปิดภาคเรยี นท่ี 2/2564 ▪ ประชมุ นกั เรยี น และผูป้ กครอง ผา่ นระบบออนไลน์ เพ่ือช้แี จงแนวทางในการเปิด ภาคเรยี นท่ี 2/2564 ▪ ดำเนนิ การจดั ซื้อ SARS-CoV-2 Antigen Rapid Test Kit สำหรับนกั เรยี น ครู และบคุ ลากร

การจัดการเรียนการสอนใน ภาคเรียนท่ี 2/2564 กรณีที่สามารถ On-site จัดการเรียนรู้ในรูปแบบ On-site โดยใช้รูปแบบที่ 5 การสลับกลุ่มนักเรียนแบบ แบง่ นักเรียนในหอ้ งเรียนเปน็ 2 กลมุ่ (กลมุ่ A และกล่มุ B) ไม่เกนิ 25 คน/กลมุ่ โรงเรียนศึกษานารีวิทยา กำหนดให้มีการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) ระหว่าง การเรียนรู้ในชั้นเรียนปกติ (On-site) และการเรียนรู้ ผ่านระบบออนไลน์ (Online learning) ผ่านระบบ Google Classroom และ Google Meet เมอ่ื เขา้ สูช่ ่วงของการเปิดภาคเรียนท่ี 2 1. รูปแบบของการเรียนรู้ในชน้ั เรียนปกติ (On-site) แบ่งนักเรียนสลับกลุ่มมาเรียนในห้องเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม A และกลุ่ม B โดยจำกัดให้มีจำนวนนักเรียน 20 – 25 คนต่อห้องเรียน สลับกลุ่มกันมาเรียน เป็น สัปดาห์เว้นสัปดาห์ (ดังตารางการมาโรงเรียนรายสัปดาห์ที่แนบมาด้วย) โดยนักเรียนที่มาเรียนที่โรงเรียนและ นกั เรียนท่เี รียนท่ีบ้าน ตอ้ งมีโอกาสในการเรียนรู้ท่ีไม่แตกต่างกัน ตารางแสดงการแบง่ กลมุ่ A และกลุ่ม B ของนักเรยี น สัปดาห์ กล่มุ เรียน On-site กลมุ่ เรยี น On-Line หมายเหตุ 1 กลุม่ A (เลขค่ี) กล่มุ B (เลขคู่) ทกุ ระดับช้ัน 2 กลมุ่ B (เลขคู)่ กลุ่ม A (เลขค่)ี ทกุ ระดับชน้ั 3 กลมุ่ A (เลขค่ี) กลุ่ม B (เลขค)ู่ ทกุ ระดับชัน้ 4 กลุ่ม B (เลขคู)่ กล่มุ A (เลขค)ี่ ทุกระดับชน้ั 2. การเรียนสด (Live streaming) ผ่าน Google meet ของ Google Classroom ตามรายวิชาซึ่งนักเรียน ทุกคนสามารถเข้าถึงได้จาก รหัส Google meet ตามรหัสที่ใช้ในภาคเรียนที่ 1/2564 (หรือเข้ารหัส Google Classroom ที่หนา้ เว็บไซตข์ องโรงเรยี น www.snws.ac.th) 3. การนับเวลาเรียน ให้นับจากจำนวนชั่วโมงที่เรียนจริงตามตารางสอนตามที่มีการเรียนรู้ผ่านระบบ ออนไลน์ และกจิ กรรมหรืองานใด ๆ ทม่ี อบหมาย ภาระงานหรือกิจกรรมนน้ั มีการระบุไว้อยา่ งชดั เจนในกำหนดการสอน ของแต่ละรายวชิ า 4. การเก็บคะแนน ให้ครูผู้สอนวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนระหว่างที่มีการเรียน การสอน (Formative Assessment) ผ่านการมีส่วนร่วมในการเรียนผ่านระบบออนไลน์ (Online Learning) หรือเมื่อ นกั เรยี นส่งภาระงานที่มอบหมาย --------------------- สำหรับนกั เรยี น --------------------- 5. นักเรียนทุกคนเข้าเรียนผ่านระบบออนไลน์ (Online learning) โดยการเรียนสด (On Air) หรือผ่านระบบ Google meet ใน Classroom ตามตารางเรียนภาคเรียนท่ี 2/2564 6. นักเรียนทำแบบทดสอบภาระงาน หรือกิจกรรมหรืองานใด ๆ ที่มอบหมาย ผ่านภาระงานที่ครูแจ้งใน Google Classroom รายวิชา และส่งงานภายในระยะเวลาทีก่ ำหนดเพื่อเปน็ การนบั เวลาเรียน

7. เตรียมพร้อมสำหรับการเรียนออนไลน์ในแต่ละวัน เตรียมอุปกรณ์การเรียน เช่น โทรศัพท์มือถือ แท็บ เลต็ และคอมพิวเตอร์ทส่ี ามารถเชื่อมต่อระบบอินเทอรเ์ นต็ และอื่น ๆ บริหารเวลาใน การเข้าเรยี น/ส่งงานตามท่ีแต่ละ วิชาวางกำหนดการเรยี นหรือส่งงาน (ตรวจสอบได้ทาง Google Classroom ของครแู ตล่ ะทา่ น) 8. นักเรียนที่ต้องมีการฝึกซ้อมเพื่อการแข่งขัน โรงเรียนขอให้นักเรียนประสานงานกับครูผู้ฝึกซ้อมในการ ปรับรูปแบบการฝึกซอ้ มโดยไม่ใหก้ ระทบกับเวลาเรียนตามตารางเรียนภาคเรียนที่ 2/2564 หรือตามเวลาท่ีครปู ระจำวิชา นัดหมายในกรณีที่มีความจำเป็นต้องฝึกซ้อมโดยใช้สถานที่ภายในโรงเรียนต้องให้ครผู ู้ฝึกซ้อม ขออนุญาตเป็นลายลักษณ์ อกั ษรกับกลุ่มบริการวชิ าการและผู้ปกครองของนักเรยี นก่อนการฝึกซ้อมทุกครั้ง --------------------- สำหรับผ้ปู กครอง --------------------- 9. นักเรียนท่ีไม่มีอุปกรณ์ในการเรียนผ่านระบบออนไลน์ ในกรณีที่นักเรียนไม่มีอุปกรณ์ (คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ หรือแท็บเล็ต)หรือชั่วโมงอินเทอร์เน็ตสำหรับใชใ้ นการเรียนผ่านระบบออนไลน์นกั เรียนประสานงานกบั ครูทีป่ รึกษาผ่านช่องทางการติดต่อได้ท้งั เบอร์โทรศพั ท์/ไลน์กลุ่มของห้องเรียนเพื่อหาแนวทางในการแกไ้ ขและดูแลชว่ ยเหลือ เปน็ รายกรณี 10. ผู้ปกครองทุกท่านมีหน้าที่ให้ความช่วยเหลือนักเรียน และประสานงานกับครูที่ปรึกษา ในการ กำกับ ติดตาม และสนับสนุนนักเรียน ในด้านอุปกรณ์ วิธีการและกำลังใจ ในการเรียนผ่าน On-Site และระบบ ออนไลน์ ดงั นี้ 10.1 ให้ความสำคัญกับเวลาเรียนของนักเรียนในวันจันทร์ถึงวันศุกร์ เวลา 08.30–16.00 น. โดยระวงั งานหรือกิจกรรมต่าง ๆ ทอี่ าจส่งผลกระทบต่อเวลาและบรรยากาศในการเรียน ของนกั เรียน 10.2 จัดเตรียมอุปกรณ์ สัญญาณอินเทอร์เน็ต และสภาพแวดล้อม ให้พร้อมสำหรับ การเรียนรู้และการวดั และประเมนิ ผลการเรียนร้รู ะหวา่ งภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ของนักเรยี น 10.3 กำกับ ติดตาม การเข้าเรียนของนักเรียน ให้เข้าเรียน ผ่านการเรียนสด (Live streaming), การเรียนผา่ นคลิป (Clip video) และการศึกษาดว้ ยตนเอง (Self-study) 10.4 กำกับ ติดตาม ตรวจสอบการเข้าเรียน ภาระงาน หรือกิจกรรมหรืองานใด ๆ ทม่ี อบหมาย (ตรวจสอบได้ทางหน้าเวบ็ ไซตข์ องโรงเรียน www.snws.ac.th) 10.5 ติดตามประกาศ ข่าวสารต่าง ๆ ของโรงเรียน ผ่านชอ่ งทางตา่ ง ๆ เช่น Line กลมุ่ ผูป้ กครอง, เวบ็ ไซต์ของโรงเรยี น www.snws.ac.th, เพจประชาสัมพันธ์ โรงเรยี นศกึ ษานารีวทิ ยา 10.6 ประสานงานกบั คุณครูท่ปี รึกษาในกรณที ี่นักเรยี นพบปัญหาในการเรียน

--------------------- สำหรบั ครูผสู้ อน --------------------- 11. จดั การเรียนรผู้ า่ น On-Site และระบบออนไลน์ (Online Learning) บนระบบ Google Classroom ตามตารางเรยี นภาคเรยี นที่ 2/2564 หรอื ตามเวลาทคี่ รปู ระจำวชิ านดั หมาย โดยมวี ธิ กี ารเรียนรู้ 3 รูปแบบดังนี้ 11.1 การเรยี นสด ผ่าน Google meet (ช่องทางหลกั ), Zoom, Discord, Line หรอื ช่องทางอนื่ ๆ 11.2 การเรยี นผ่านคลิป (Clip Video) การอปั โหลดคลิปและเนื้อหาใน Google Classroom 11.3 การศึกษาด้วยตนเอง (Self-Study) ผ่านเนื้อหาที่ครูได้อัปโหลดใบความรู้ หรือลิงก์แหล่งเรียนรู้ ขอให้ คุณครูนัดหมายการเรียน หรือเนื้อหาการเรียน และภาระงานให้ตรงกับตารางเรียนภาคเรียนที่ 2/2564 รวมถงึ กำหนด ระยะเวลาในการส่งงานให้ชดั เจนและเหมาะสม 12. ครูผสู้ อนออกแบบการเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในส่ิงที่จำเป็นและเรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยมี 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ 12.1 เน้นตัวช้ีวัดที่ต้องรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ฯลฯ (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2560) 12.2 บรู ณาการตวั ช้วี ัดควรรู้ กบั กจิ กรรมภาคปฏิบัติหรอื ภาระงานของนักเรยี น 13. ครูผู้สอนปรับวิธีการจัดการเรียนรู้ วิธีการวัดและประเมินผลให้เหมาะสมกับสถานการณ์แพร่ระบาดของโรค ติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เช่น การใช้สอื่ การเรียนร้ผู ่านระบบออนไลน์ การมอบหมายงาน การทำ รายงาน รวมถึงมีการวัดและประเมินผลระหวา่ งที่มกี ารเรียนการสอน (Formative Assessment) เป็นต้น 14. ครูผู้สอนพิจารณาปริมาณของภาระงาน ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560 โดยคำนึงถึง ว่า นักเรียนแต่ละคนมีวิชาเรียนมากถึง 12 – 15 รายวิชาต่อสัปดาห์ มีภาระงานรายสัปดาห์ที่มากและอาจไม่พรอ้ มใน การเรียนรู้อย่างเต็มท่ี 15. ครผู สู้ อนเช็กเวลาเรียนของนกั เรียน เมอ่ื นกั เรยี นเขา้ เรยี น On-Site หรือ On-Line หรือการเข้าชน้ั เรยี นของ Google Classroom 16. ครูผูส้ อนรายงานผลการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีประจำวัน โดยรายงานสรปุ ผลการสอนรายคาบ กอ่ นเวลา 18.00น. ของ ทุกวนั 17. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้กิจกรรม พัฒนา ผู้เรียนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ต้อง ครอบคลุมและเป็นไปตามมาตรฐานตัวชี้วัดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 และ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชว้ี ัด ฯลฯ (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2560) ของรายวิชานั้น ๆ ทั้งนี้ให้ครูผู้สอน ปฏิบัติ ตามแนวทางการวัดและประเมนิ ผลตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานพุทธศกั ราช 2551 18. กิจกรรม Homeroom ให้ครูที่ปรึกษา สื่อสาร ช้แี จงและทำความเข้าใจกับนักเรียนถึงความจำเป็น ในการ ปรับวิธีการจัดการเรียนการสอนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ดังกล่าวให้ชัดเจนอาจมีการปรับเปลี่ยน วิธีการหรือ

รูปแบบการเรียนรใู้ ห้เหมาะสมกับนักเรียนแต่ละบุคคลและสถานการณ์กำกับติดตามการเข้าเรียนและสำรวจสภาพ ปญั หาของนกั เรยี นในระหว่างการเรียนผา่ นระบบออนไลน์ 19. การจัดกจิ กรรมรวมกลมุ่ ใหจ้ ดั ในรูปแบบ Small Bubble หลกี เลยี่ งการทำกิจกรรมขา้ มกลุ่มและจัดนักเรียน ในห้องเรยี นปกติ (6x8 เมตร) ไม่เกนิ 25 คน หรือจดั เวน้ ระยะห่างนักเรยี นในห้องเรียนไมน่ ้อยกว่า 1.5 เมตร พจิ ารณา (ไม่ใหแ้ ออัด) ตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวดั หรอื คิดหลกั เกณฑจ์ ำนวนคนต่อพื้นท่ีจัดงาน ไม่ น้อยกวา่ 4 ตารางเมตรต่อคน พจิ ารณาเพม่ิ พื้นท่ีทางเดนิ ให้มสี ดั ส่วนมากขึ้น สำหรับการลงทะเบียนเพื่อลดความแออัด อาจเลือกใชร้ ะบบการประชมุ ผ่านสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ ใช้การสแกน QR Code ลงทะเบยี นหรือตอบแบบสอบถาม รวมท้ัง การประชาสมั พนั ธม์ าตรการ คำแนะนำในการปอ้ งกันการแพร่ระบาดให้แกผ่ ูเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรมทราบ มาตรการป้องกนั การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา – 2019 นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรที่มาโรงเรียน หรือที่มีความจำเป็นต้องมาติดต่อราชการที่โรงเรยี น ศึกษานารีวิทยาให้ดำเนินการและปฏิบัติตามมาตรการสุขอนามัยส่วนบุคคลอย่างเข้มข้นไดแก่ 6 มาตรการ หลัก (DMHT-RC) และ 6 มาตรการเสริม (SSET-CQ) ตามที่กระทรวงสาธารณสุข หน่วยงานต้นสังกัดกำหนด และ แผน เผชิญเหตุของโรงเรียนศึกษานารีวิทยา