Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์ ม.5

แผนบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์ ม.5

Published by buritkongmali, 2021-01-19 04:39:19

Description: แผนบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์ ม.5

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรู้บรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อำเภอแมแ่ จม่ จงั หวดั เชียงใหม่ สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ วิชา งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศกึ ษา ๒563 องคป์ ระกอบท่ี 4 การรายงานผลการเรียนรู้ สาระท่ี 3 สรรพส่งิ ลว้ นพันเกีย่ ว แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 เรอ่ื ง การศึกษาปจั จัยทางกายภาพของกล้วยผา เวลา 6 ช่วั โมง หลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสตู รแกนกลางกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ บรู ณาการ ผู้สอน นายบรุ ศิ ร์ กองมะลิ 1.สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด การสำรวจและจดบนั ทึกจากสภาพจริง ปัจจัยทางกายภาพ เช่น ดิน แสง น้ำ โดยรอบบริเวณ กล้วยผา เรียนรู้คุณสมบัติ รูปลักษณ์ของปัจจัย การรายงานผลการทดลองในรูปแบบรายงานการ ทดลอง ฝึกการวิเคราะห์และสรุปผลการทดลองอยา่ งสอดคลอ้ ง 2.มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั สาระที่ 2 การเขียน (ภาษาไทย) ตัวชีว้ ัด 1. การเขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูลและ สาระสำคัญชดั เจน 6. เขียนรายงานการศกึ ษาค้นควา้ เรื่องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวชิ าการ และใช้ข้อมลู สารสนเทศอ้างอิง อย่างถูกต้อง มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออกจาก เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบตา่ ง ๆของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพนั ธ์กัน ความสัมพันธ์ ของโครงสร้างและหนา้ ที่ของอวยั วะตา่ ง ๆ ของพืชที่ทำงานสมั พันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชีว้ ัด ๑๐. ออกแบบการทดลอง ทดลอง และอธบิ ายเกี่ยวกับปัจจัยภายนอกทม่ี ีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช

๓. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เพื่อให้นกั เรยี นสามารถ ๓.๑ ความรู้ ๑. วิธีการปัจจยั ในการเจริญเติบโตของพืช ๒. การตอบสนองของพืชต่อส่งิ เร้า 3. การจดบนั ทึกและรายงานผลกผลการทดลอง ๓.๒ ทกั ษะกระบวนการ ๑. การสำรวจและบันทึกข้อมูลจากสภาพจริง ๒. การเรียบเรียง สรุปผลและนำเสนอข้อมลู ๓.๓ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๑. เข้าเรยี น ปฏิบตั กิ ิจกรรม และสง่ งานตรงเวลา ๒. ร่วมมือในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรับความคิดเหน็ ของผอู้ ืน่ และแสดง ความคิดเห็นอยา่ งมีเหตุผล ๓. บนั ทึกข้อมูลจากการปฏิบตั กิ ิจกรรม 4. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ ๑ รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ข้อที่ ๒ ซอื่ สตั ย์สจุ ริต ข้อที่ ๓ มีวินยั ข้อที่ ๔ ใฝ่รู้ใฝเ่ รียน ข้อที่ ๕ อยู่อยา่ งพอเพียง ข้อที่ ๖ มงุ่ มน่ั ในการทำงาน ข้อที่ ๗ รกั ความเป็นไทย ข้อที่ ๘ มีจติ สาธารณะ

5. การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และการเขียน การพฒั นาและประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ได้กำหนดขอบเขตการประเมินและตวั ช้ีวัดที่แสดงความสามารถในการ อา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียนของผู้เรยี น ดง้ั นี้ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 สามารถอา่ นเพื่อการศึกษาค้นคว้า เพิม่ พนู ความรู้ ประสบการณ์ และการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน จับประเด็นสำคัญ ลำดับเหตุการณ์จากการอ่านสื่อที่มีความ ซบั ซ้อน วิเคราะห์ส่งิ ที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารกบั ผู้อา่ น และสามารถวิพากษ์ ให้ข้อเสนอแนะ ในแง่มุม ต่างๆ สามารถประเมินความน่าเชือ่ ถอื คุณคา่ แนวคิดที่ได้จากสิ่งทีอ่ า่ นอย่างหลากหลาย เขียนแสดง ความคิดเหน็ โต้แย้ง สรุป โดยมีขอ้ มลู อธิบายสนับสนุนอยา่ งเพียงพอและสมเหตสุ มผล 6. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น กำหนดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ หลังจากผู้เรยี นผ่านการเรียนและนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตในสูส่ งั คม ตามหลักการประเมิน สมรรถนะผู้เรียน ๕ ดา้ น ได้แก่ ๑) ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปญั หา ๔) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 7. การบูรณาการ 7.๑ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง - 7.๒ การบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในโครงการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรมพืชอันเนือ่ งมาจาก พระราชดำริสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีวตั ถปุ ระสงค์ให้เยาวชนได้มี โอกาสใกล้ชิดกับพืชพรรณไม้ ได้เรยี นรู้ถงึ พืชท้องถิ่นของตน ช่วยกนั ดูแลไม่ให้สูญพันธ์ุ ซึง่ จะ กอ่ ให้เกิดจิตสำนกึ ในการทีจ่ ะอนุรักษส์ บื ไป การดำเนนิ งานประกอบดว้ ย 5 องค์ประกอบ และ 3 สาระการเรียนรู้และฐานทรัพยากรท้องถิ่น

บรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น องค์ประกอบที่ 4 การรายงานผลการเรยี นรู้ ลำดบั การเรยี นรู้ที่ 3 การสรปุ และเรยี บเรียง ลำดบั การเรยี นรู้ที่ 6 เรียนรู้วิธกี ารรายงานผล สาระการเรยี นรู้ สรรพสิ่งลว้ นพนั เก่ียว ลำดับการเรยี นรู้ที่ 3 เรียนรู้ธรรมชาตขิ องปจั จัยกายภาพ (ดิน น้ำ แสง อากาศ) ลำดับการเรยี นรู้ที่ 5 เรียนรู้ธรรมชาติของความพนั เกี่ยวระหว่างปจั จัย 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขน้ั สร้างความสนใจ ๑. ครนู ำนักเรียนไปเรยี นรู้ ศูนยก์ ารเรียนรู้งานสวนพฤกษศาสตร์ ๒. เรียนรู้ลกั ษณะรปู ลักษณข์ องกล้วยผา ๓. ชีแ้ จงเป้าหมายในการทดลอง กิจกรรมในการเรียนรู้ ขน้ั จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. ครชู ีแ้ จงวิธกี ารสำรวจทดลองปัจจัยทางกายภาพของกล้วยผา ๒. นักเรยี นออกแบบตารางบันทึกผลการทดลองดว้ ยตนเอง ๓. ครตู รวจสอบและให้คำแนะนำเพือ่ ให้แบบบนั ทกึ การทดลอง ข้นั สรุปกิจกรรมการเรยี นรู้ ๑. นกั เรยี นนำเสนอผลการการทดลอง ๒. ครตู รวจรายงานผลการทดลอง และให้คำแนะนำ 9. สื่ออปุ กรณ์และแหลง่ เรียนรู้ 9.๑ สื่อ อุปกรณ์ ๑. คมู่ ืองานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 9.๒ แหลง่ เรยี นรู้ ๑. พืน้ ทีศ่ ึกษาสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ๒. ห้องศูนยก์ ารเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๑0. การวัดและการประเมินผล เครือ่ งมือ เกณฑ์ วิธีการ - แบบประเมิน ผู้เรียนมีการจดบันทึกที่ถูกต้องตาม ๑. ตรวจสอบรายงานการทดลอง โจทย์ ร้อยละ ๘๐ ๒. สงั เกตกระบวนการในการทำ - แบบสังเกต ผู้เรียนมีกระบวนการสังเกตและ กิจกรรม รวบรวมข้อมลู ร้อยละ ๘๐ ๑1. กิจกรรมเสนอแนะแผนจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นายบรุ ศิ ร์ กองมะลิ) ผเู้ ขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะของหวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นางกมลชนก เทพบุ) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ข้อเสนอแนะของรองผู้อำนวยการกล่มุ บรหิ ารงานวิชาการ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) รองผู้อำนวยการกล่มุ บรหิ ารงานวิชาการ

๑2. บนั ทึกผลการจดั การเรยี นรู้ ๑2.๑) ผลการจดั การเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๑2.๒) ปญั หา / อปุ สรรค ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๑2.๓) ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นายบรุ ศิ ร์ กองมะลิ) ผู้สอน

แผนการจดั การเรยี นรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อำเภอแมแ่ จม่ จังหวดั เชียงใหม่ สำนกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ วิชา งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศกึ ษา ๒563 องค์ประกอบท่ี 4 การรายงานผลการเรียนรู้ สาระท่ี 3 สรรพส่งิ ลว้ นพันเกี่ยว แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 เร่อื ง การศึกษาปจั จัยทางชีวภาพของกล้วยผา เวลา 6 ชว่ั โมง หลกั สูตรสถานศึกษาตามหลักสตู รแกนกลางกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ บรู ณาการ ผ้สู อน นายบุรศิ ร์ กองมะลิ 1.สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด การสำรวจและจดบันทึกจากสภาพจริง ปัจจัยทางชีวภาพโดยรอบบริเวณกล้วยผาเช่น สัตว์ แมลง พรรณไม้ เรียนรู้พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต การรายงานผลการทดลองในรูปแบบรายงานการ ทดลอง ฝึกการวิเคราะหแ์ ละสรปุ ผลการทดลองอย่างสอดคลอ้ ง 2.มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ัด สาระที่ 2 การเขียน (ภาษาไทย) ตัวชี้วดั 1. การเขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูลและ สาระสำคญั ชัดเจน 6. เขียนรายงานการศกึ ษาค้นควา้ เรื่องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวชิ าการ และใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิง อย่างถกู ต้อง มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออกจาก เซลล์ ความสัมพันธข์ องโครงสร้างและหน้าที่ของระบบตา่ ง ๆของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพนั ธ์กัน ความสัมพันธ์ ของโครงสร้างและหนา้ ที่ของอวยั วะตา่ ง ๆ ของพืชทีท่ ำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ๑๐. ออกแบบการทดลอง ทดลอง และอธบิ ายเกีย่ วกับปจั จยั ภายนอกทม่ี ีผลตอ่ การเจริญเติบโตของพืช

๓. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เพือ่ ให้นกั เรยี นสามารถ ๓.๑ ความรู้ ๑. วิธีการสำรวจสิ่งมีชีวิตโดยรอบกลว้ ยผา ๒. พฤติกรรมของสง่ิ มีชีวิตโดยรอบกลว้ ยผา 3. การจดบันทึกและรายงานผลกผลการทดลอง ๓.๒ ทกั ษะกระบวนการ ๑. การสำรวจและบันทึกข้อมลู จากสภาพจริง ๒. การเรียบเรียง สรปุ ผลและนำเสนอข้อมลู ๓.๓ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๑. เข้าเรยี น ปฏิบัตกิ ิจกรรม และสง่ งานตรงเวลา ๒. รว่ มมือในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรบั ความคิดเหน็ ของผอู้ ื่น และแสดง ความคิดเห็นอยา่ งมีเหตุผล ๓. บันทึกข้อมูลจากการปฏิบตั กิ ิจกรรม 4. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ ๑ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ข้อที่ ๒ ซอื่ สัตยส์ จุ ริต ข้อที่ ๓ มีวินัย ข้อที่ ๔ ใฝร่ ู้ใฝเ่ รียน ข้อที่ ๕ อยอู่ ยา่ งพอเพียง ข้อที่ ๖ ม่งุ มนั่ ในการทำงาน ข้อที่ ๗ รักความเป็นไทย ข้อที่ ๘ มีจติ สาธารณะ

5. การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และการเขียน การพฒั นาและประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ได้กำหนดขอบเขตการประเมินและตวั ช้ีวัดที่แสดงความสามารถในการ อา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียนของผู้เรยี น ดง้ั นี้ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 สามารถอา่ นเพื่อการศึกษาค้นคว้า เพิม่ พนู ความรู้ ประสบการณ์ และการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน จับประเด็นสำคัญ ลำดับเหตุการณ์จากการอ่านสื่อที่มีความ ซบั ซ้อน วิเคราะห์ส่งิ ที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารกบั ผู้อา่ น และสามารถวิพากษ์ ให้ข้อเสนอแนะ ในแง่มุม ต่างๆ สามารถประเมินความน่าเชือ่ ถอื คุณคา่ แนวคิดที่ได้จากสิ่งทีอ่ า่ นอย่างหลากหลาย เขียนแสดง ความคิดเหน็ โต้แย้ง สรุป โดยมีขอ้ มลู อธิบายสนับสนุนอยา่ งเพียงพอและสมเหตสุ มผล 6. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น กำหนดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ หลังจากผู้เรยี นผ่านการเรียนและนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตในสูส่ งั คม ตามหลักการประเมิน สมรรถนะผู้เรียน ๕ ดา้ น ได้แก่ ๑) ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปญั หา ๔) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 7. การบูรณาการ 7.๑ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง - 7.๒ การบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในโครงการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรมพืชอันเนือ่ งมาจาก พระราชดำริสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีวตั ถปุ ระสงค์ให้เยาวชนได้มี โอกาสใกล้ชิดกับพืชพรรณไม้ ได้เรยี นรู้ถงึ พืชท้องถิ่นของตน ช่วยกนั ดูแลไม่ให้สูญพันธ์ุ ซึง่ จะ กอ่ ให้เกิดจิตสำนกึ ในการทีจ่ ะอนุรักษส์ บื ไป การดำเนนิ งานประกอบดว้ ย 5 องค์ประกอบ และ 3 สาระการเรียนรู้และฐานทรัพยากรท้องถิ่น

บรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น องคป์ ระกอบที่ 4 การรายงานผลการเรยี นรู้ ลำดับการเรยี นรู้ที่ 3 การสรปุ และเรยี บเรียง ลำดบั การเรยี นรู้ที่ 6 เรียนรู้วิธกี ารรายงานผล สาระการเรยี นรู้ สรรพสิ่งลว้ นพันเก่ียว ลำดบั การเรยี นรู้ที่ 2 เรียนรู้ธรรมชาตขิ องปจั จัยชีวภาพ (สตั ว์ แมลง พชื ) ลำดับการเรยี นรู้ที่ 5 เรียนรู้ธรรมชาติของความพันเกีย่ วระหว่างปจั จยั 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นสรา้ งความสนใจ ๑. ครนู ำนักเรียนไปเรยี นรู้ ศูนย์การเรียนรู้งานสวนพฤกษศาสตร์ ๒. เรียนรู้ลักษณะรูปลักษณ์ของกล้วยผา ๓. ชีแ้ จงเป้าหมายในการทดลอง กิจกรรมในการเรียนรู้ ข้นั จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. ครชู ีแ้ จงวิธกี ารสำรวจทดลองปัจจัยทางชีวภาพของกล้วยผา ๒. นักเรยี นออกแบบตารางบันทึกผลการทดลองดว้ ยตนเอง ๓. ครตู รวจสอบและให้คำแนะนำเพือ่ ให้แบบบันทกึ การทดลอง ขนั้ สรุปกิจกรรมการเรยี นรู้ ๑. นกั เรยี นนำเสนอผลการการทดลอง ๒. ครตู รวจรายงานผลการทดลอง และให้คำแนะนำ 9. สื่ออปุ กรณแ์ ละแหล่งเรียนรู้ 9.๑ สื่อ อปุ กรณ์ ๑. ค่มู ืองานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 9.๒ แหลง่ เรยี นรู้ ๑. พนื้ ที่ศึกษาสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ๒. ห้องศูนย์การเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๑0. การวัดและการประเมินผล เครือ่ งมือ เกณฑ์ วิธีการ - แบบประเมิน ผู้เรียนมีการจดบันทึกที่ถูกต้องตาม ๑. ตรวจสอบรายงานการทดลอง โจทย์ ร้อยละ ๘๐ ๒. สงั เกตกระบวนการในการทำ - แบบสังเกต ผู้เรียนมีกระบวนการสังเกตและ กิจกรรม รวบรวมข้อมลู ร้อยละ ๘๐ ๑1. กิจกรรมเสนอแนะแผนจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นายบรุ ศิ ร์ กองมะลิ) ผเู้ ขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะของหวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นางกมลชนก เทพบุ) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ข้อเสนอแนะของรองผู้อำนวยการกล่มุ บรหิ ารงานวิชาการ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) รองผู้อำนวยการกล่มุ บรหิ ารงานวิชาการ

๑2. บนั ทึกผลการจดั การเรยี นรู้ ๑2.๑) ผลการจดั การเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๑2.๒) ปญั หา / อปุ สรรค ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๑2.๓) ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นายบรุ ศิ ร์ กองมะลิ) ผู้สอน

แผนการจัดการเรยี นรู้บรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 อำเภอแม่แจม่ จังหวดั เชียงใหม่ สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ วิชา งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศกึ ษา ๒563 การสำรวจและจดั ทำฐานทรัพยากรทอ้ งถิน่ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 เร่อื ง สำรวจและจดั ทำฐานทรัพยากร เวลา 6 ชั่วโมง หลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสตู รแกนกลางกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ บูรณาการ ผู้สอน นายบุรศิ ร์ กองมะลิ 1.สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด การเรียนรู้วิธีการเพาะขยายพันธุ์แบบวิธีการเฉพาะ นั้นคือการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ลักษณะ โครงสร้างของกลว้ ยผา ประเภทเนือ้ เยื่อต่างๆ การดูแลรักษาและการนำกลว้ ยผาออกปลูกหลังจากการ เพาะเล้ยี งเนอื้ เยือ่ ข้อดี ข้อเสยี ของการเพาะเล้ยี งเนือ้ เยือ่ สาระที่ 2 การเขียน (ภาษาไทย) ตวั ชีว้ ัด 1. การเขียนสื่อสารในรปู แบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มี ข้อมูลและสาระสำคญั ชัดเจน 6. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ข้อมูล สารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ตวั ชว้ี ัด ๑๐. ออกแบบการทดลอง ทดลอง และอธบิ ายเกีย่ วกับปจั จยั ภายนอกที่มีผลตอ่ การเจริญเตบิ โตของพืช ๑๖. เลือกวิธีการขยายพันธุ์พืชให้เหมาะสมกับความต้องการของมนุษย์ โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับการ สบื พันธข์ุ องพืช ๑๗. อธบิ ายความสำคญั ของเทคโนโลยีการเพาะเล้ียงเน้ือเยือ่ พืชในการใช้ประโยชน์ดา้ นต่าง ๆ ๓. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เพื่อให้นักเรยี นสามารถ ๓.๑ ความรู้ ๑. วิธีการสำรวจสิง่ มชี ีวิตโดยรอบกลว้ ยผา ๒. พฤติกรรมของสิ่งมชี ีวิตโดยรอบกลว้ ยผา 3. การจดบนั ทึกและรายงานผลกผลการทดลอง ๓.๒ ทกั ษะกระบวนการ ๑. การสำรวจและบนั ทึกข้อมูลจากสภาพจริง ๒. การเรียบเรียง สรปุ ผลและนำเสนอข้อมูล ๓.๓ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๑. เข้าเรยี น ปฏิบัตกิ ิจกรรม และส่งงานตรงเวลา ๒. ร่วมมือในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรบั ความคิดเห็นของผอู้ ื่น และแสดง ความคิดเหน็ อย่างมีเหตุผล ๓. บนั ทึกข้อมลู จากการปฏิบัตกิ ิจกรรม 4. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ข้อที่ ๑ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ข้อที่ ๒ ซอื่ สัตย์สุจริต ข้อที่ ๓ มีวินัย ข้อที่ ๔ ใฝร่ ู้ใฝเ่ รียน ข้อที่ ๕ อย่อู ยา่ งพอเพียง ข้อที่ ๖ มงุ่ มัน่ ในการทำงาน ข้อที่ ๗ รกั ความเป็นไทย ข้อที่ ๘ มีจติ สาธารณะ

5. การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และการเขียน การพฒั นาและประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ได้กำหนดขอบเขตการประเมินและตวั ช้ีวัดที่แสดงความสามารถในการ อา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียนของผู้เรยี น ดง้ั นี้ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 สามารถอา่ นเพื่อการศึกษาค้นคว้า เพิม่ พูนความรู้ ประสบการณ์ และการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน จับประเด็นสำคัญ ลำดับเหตุการณ์จากการอ่านสื่อที่มีความ ซบั ซ้อน วิเคราะห์ส่งิ ที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารกบั ผู้อา่ น และสามารถวิพากษ์ ให้ข้อเสนอแนะ ในแง่มุม ต่างๆ สามารถประเมินความน่าเชื่อถอื คณุ ค่า แนวคิดที่ได้จากสิ่งทีอ่ า่ นอย่างหลากหลาย เขียนแสดง ความคิดเหน็ โต้แย้ง สรุป โดยมีขอ้ มลู อธิบายสนบั สนุนอยา่ งเพียงพอและสมเหตสุ มผล 6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น กำหนดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ หลังจากผู้เรยี นผ่านการเรียนและนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตในสูส่ งั คม ตามหลกั การประเมิน สมรรถนะผู้เรียน ๕ ดา้ น ได้แก่ ๑) ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปญั หา ๔) ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 7. การบูรณาการ 7.๑ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง - 7.๒ การบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในโครงการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรมพืชอันเนือ่ งมาจาก พระราชดำริสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี มีวตั ถปุ ระสงคใ์ ห้เยาวชนได้มี โอกาสใกล้ชิดกับพืชพรรณไม้ ได้เรยี นรู้ถงึ พืชท้องถิ่นของตน ชว่ ยกนั ดูแลไมใ่ ห้สญู พนั ธุ์ ซึ่งจะ กอ่ ให้เกิดจิตสำนกึ ในการทีจ่ ะอนุรักษ์สบื ไป การดำเนนิ งานประกอบดว้ ย 5 องคป์ ระกอบ และ 3 สาระการเรียนรู้และฐานทรัพยากรท้องถิ่น

บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น องคป์ ระกอบที่ 2 การรวบรวมพรรณไม้เขา้ ปลูกในโรงเรยี น ลำดับการเรยี นรู้ที่ 8 การปลูก และดแู ลรกั ษา ลำดับการเรยี นรู้ที่ 9 การศึกษาของพืชพรรณที่ปลูก องค์ประกอบที่ 4 การรายงานผลการเรยี นรู้ ลำดบั การเรยี นรู้ที่ 3 การสรปุ และเรยี บเรียง ลำดับการเรยี นรู้ที่ 6 เรียนรู้วิธกี ารรายงานผล สาระการเรยี นรู้ ธรรมชาติแหง่ ชีวิต ลำดับการเรยี นรู้ที่ 1 สมั ผัสเรียนรู้วงจรชีวิตของชีวภาพอื่นๆ (รูปลักษณ์คณุ สมบัติ และพฤติกรรม) 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขน้ั สร้างความสนใจ ๑. ครนู ำนักเรียนไปเรยี นรู้ ศนู ยก์ ารเรียนรู้งานสวนพฤกษศาสตร์ ๒. เรียนรู้จากการสังเกตลกั ษณะรปู ลกั ษณ์ คณุ สมบตั ิ และพฤติกรรมของกล้วยผา ๓. ใช้คำถามกระตนุ้ คิด “นักเรียนคิดว่ากล้วยผาสามารถขยายพันธุ์ด้วยวิธีใดบา้ ง” ขั้นจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. ครอู ธิบายการขยายพันธขุ์ องกลว้ ยผา (ทางเมล็ด) ๒. ครูอธิบายวิธีการขยายพนั ธ์ุโดยการเพาะเล้ยี งเนอื้ เยือ่ ๓. ให้นกั เรยี นชว่ ยการเปรยี บเทียบข้อดี ข้อเสยี ของการเพาะเล้ยี งเนือ้ เยือ่ ๔. นักเรยี นจัดเตรียมอุปกรณส์ ำหรบั การเพาะเล้ยี งเนอื้ เยือ่ กลว้ ยผา ๕. จัดเตรียมต้นกล้วยผาที่มอี ายุไมเ่ กิน 1 ปี ๖. ทำการเพาะเล้ยี งเนือ้ เยือ่ กลว้ ยผา ๗. ติดตามผลการเจริญเติบโตของต้นกลว้ ยผาที่เพาะเล้ยี งเนือ้ เยอื้ ข้ันสรุปกิจกรรมการเรยี นรู้ ๑. นำข้อมลู ทั้งหมดรวบรวมและจัดทำเลม่ รายงาน ๒. นกั เรยี นนำเสนอผลการการทดลอง ๓. ครตู รวจรายงานผลการทดลอง และให้คำแนะนำ

9. สื่ออปุ กรณแ์ ละแหล่งเรียนรู้ 9.๑ สือ่ อุปกรณ์ ๑. ค่มู ืองานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 2. ค่มู ือการเพาะเล้ยี งเนอื้ เยื่อ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 9.๒ แหล่งเรยี นรู้ ๑. พืน้ ที่ศึกษาสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ๒. ห้องศูนยก์ ารเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ๑0. การวัดและการประเมินผล วิธีการ เครือ่ งมือ เกณฑ์ ผู้เรียนมีการจดบันทึกที่ถกู ต้องตาม ๑. ตรวจสอบรายงานการทดลอง - แบบประเมิน โจทย์ ร้อยละ ๘๐ ๒. สงั เกตกระบวนการในการทำ - แบบสังเกต ผู้เรียนมีกระบวนการสงั เกตและ กิจกรรม รวบรวมข้อมูล ร้อยละ ๘๐ ๑1. กิจกรรมเสนอแนะแผนจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นายบุรศิ ร์ กองมะลิ) ผเู้ ขียนแผนการจดั การเรียนรู้ ขอ้ เสนอแนะของหวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นางกมลชนก เทพบุ) หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ข้อเสนอแนะของรองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) รองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ

๑2. บันทึกผลการจดั การเรยี นรู้ ๑2.๑) ผลการจดั การเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๑2.๒) ปญั หา / อุปสรรค ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๑2.๓) ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นายบุรศิ ร์ กองมะลิ) ผู้สอน

แผนการจัดการเรยี นรู้บรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อำเภอแม่แจม่ จังหวัดเชียงใหม่ สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ วิชา งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศกึ ษา ๒563 การสำรวจและจัดทำฐานทรัพยากรท้องถิน่ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 4 เรอ่ื ง สำรวจและจดั ทำฐานทรพั ยากร เวลา 6 ชั่วโมง หลักสตู รสถานศึกษาตามหลกั สตู รแกนกลางกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ บรู ณาการ ผ้สู อน นายบรุ ศิ ร์ กองมะลิ 1.สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เทคนิควิธีการสัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูล การออกแบบการสัมภาษณ์การตั้งคำถาม การฟังที่ดี การออกแบบแบบบันทึกข้อมูลฐานทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น การจัดเรียง สรุปข้อมูลจากการ สำรวจทรัพยากร การจดั ทำแผนที่ทรพั ยากรท้องถิน่ สาระที่ 2 การเขียน (ภาษาไทย) ตัวชีว้ ัด 1. การเขียนสื่อสารในรปู แบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มี ข้อมูลและสาระสำคญั ชดั เจน สาระที่ 5 ภมู ิศาสตร์ (สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม) ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 5.1 5. วางแผนกำหนดแนวทางและการมสี ่วนร่วมการอนรุ ักษ์ภมู ิปัญญาไทยและวัฒนธรรม ตวั ชีว้ ดั มาตรฐาน ส 5.2 4. อธิบายการใช้ประโยชน์จากสิง่ แวดล้อมในการสร้างสรรคว์ ฒั นธรรมอันเปน็ เอกลกั ษณ์ของ ท้องถิน่ ท้ังในประเทศไทยและไลก 5. มีสว่ นร่วมในการแก้ปัญหาและการดำเนินชีวิตตามแนวทาง การอนุรกั ษท์ รัพยากรและ สง่ิ แวดล้อมเพื่อการพฒั นาที่ยง่ั ยืน

๓. จุดประสงค์การเรยี นรู้ เพื่อให้นักเรยี นสามารถ ๓.๑ ความรู้ ๑. วิธีการสัมภาษณ์และเกบ็ ข้อมูลเชิงรุก ๒. ทรัพยากรในท้องถิ่น วฒั นธรรมและการดำเนินชีวิต 3. หลกั การทำแผนทีท่ รพั ยากรและการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร ๓.๒ ทักษะกระบวนการ ๑. การสำรวจและบนั ทึกข้อมูลจากสภาพจริง ๒. การเรียบเรียง สรุปผลและนำเสนอข้อมลู ๓.๓ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. เข้าเรยี น ปฏิบัตกิ ิจกรรม และสง่ งานตรงเวลา ๒. รว่ มมือในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรบั ความคิดเห็นของผอู้ ื่น และแสดง ความคิดเหน็ อย่างมีเหตุผล ๓. บันทึกข้อมลู จากการปฏิบตั กิ ิจกรรม 4. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ข้อที่ ๑ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ข้อที่ ๒ ซอื่ สตั ย์สจุ ริต ข้อที่ ๓ มีวินัย ข้อที่ ๔ ใฝ่รู้ใฝเ่ รียน ข้อที่ ๕ อยอู่ ย่างพอเพียง ข้อที่ ๖ มุ่งมั่นในการทำงาน ข้อที่ ๗ รกั ความเป็นไทย ข้อที่ ๘ มีจติ สาธารณะ

5. การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และการเขียน การพฒั นาและประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ได้กำหนดขอบเขตการประเมินและตวั ช้ีวัดท่แี สดงความสามารถในการ อา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียนของผู้เรยี น ดง้ั นี้ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 สามารถอา่ นเพื่อการศึกษาค้นคว้า เพิ่มพนู ความรู้ ประสบการณ์ และการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน จับประเด็นสำคัญ ลำดับเหตุการณ์จากการอ่านสื่อที่มีความ ซบั ซ้อน วิเคราะห์ส่งิ ที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารกบั ผู้อา่ น และสามารถวิพากษ์ ให้ข้อเสนอแนะ ในแง่มุม ต่างๆ สามารถประเมินความน่าเชือ่ ถอื คุณคา่ แนวคิดที่ได้จากสิ่งทีอ่ า่ นอยา่ งหลากหลาย เขียนแสดง ความคิดเหน็ โต้แย้ง สรุป โดยมีขอ้ มลู อธิบายสนับสนุนอยา่ งเพียงพอและสมเหตสุ มผล 6. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น กำหนดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ หลังจากผู้เรยี นผ่านการเรียนและนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตในสูส่ งั คม ตามหลักการประเมิน สมรรถนะผู้เรียน ๕ ดา้ น ได้แก่ ๑) ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปญั หา ๔) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 7. การบูรณาการ 7.๑ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง - 7.๒ การบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในโครงการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรมพืชอันเนือ่ งมาจาก พระราชดำริสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีวตั ถปุ ระสงค์ให้เยาวชนได้มี โอกาสใกล้ชิดกับพืชพรรณไม้ ได้เรยี นรู้ถงึ พืชท้องถิ่นของตน ช่วยกันดูแลไม่ให้สูญพันธ์ุ ซึง่ จะ กอ่ ให้เกิดจิตสำนกึ ในการทีจ่ ะอนุรักษส์ บื ไป การดำเนนิ งานประกอบดว้ ย 5 องค์ประกอบ และ 3 สาระการเรียนรู้และฐานทรัพยากรท้องถิ่น

บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น การสำรวจและจดั ทำฐานทรัพยากรทอ้ งถิน่ ลำดับการเรยี นรู้ที่ 1 – 9 1. เก็บข้อมลู พื้นฐานในท้องถิน่ 2. เก็บข้อมลู การประกอบอาชีพในท้องถิน่ 3. เกบ็ ข้อมลู กายภาพในท้องถิน่ 4. เก็บข้อมูลประวตั ิหมู่บ้าน ชมุ ชน วิธีชุมชนในท้องถิ่น 5. เก็บข้อมูลการใช้ประโยชน์จากพืชในท้องถิ่น 6. เกบ็ ข้อมูลการใช้ประโยชน์จากสัตว์นที้ ้องถิน่ 7. เก็บข้อมูลการใช้ประโยชน์จากชีวภาพอืน่ ๆในท้องถิ่น 8. เกบ็ ข้อมลู ภูมิปญั ญาในท้องถิน่ 9. เก็บข้อมลู แหลง่ ทรพั ยากรและโบราณคดใี นท้องถิ่น 10. จัดทำฐานข้อมูลทรัพยากรในท้องถิ่น 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขนั้ สร้างความสนใจ ๑. ครแู นะนำนักเรียนให้รู้จกั กบั การท่องเที่ยวเชิงการเกษตร ๒. ครูยกตัวอยา่ งสถานที่การจัดการท่องเทีย่ วเชิงการเกษตร ๓. ระบุข้อดีและข้อเสยี ของการจัดการทอ่ งเที่ยวเชิงการเกษตร ขนั้ จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. จัดกลุ่มนกั เรยี นกลมุ่ ละ 8 – 10 คน ๒. ครอู ธิบายวิธีการสร้างการทอ่ งเทีย่ วเชิงการเกษตร ๓. ครวู ิธีการสำรวจข้อมูลเพื่อจดั ทำแผนทีท่ รัพยากรในท้องถิ่น ๔. นักเรยี นศึกษาข้อมูลของหมบู่ ้านแม่ปาน โดยใช้วิธกี ารสมั ภาษณ์ ๕. สรปุ และรวบรวมข้อมลู จากนั้นจัดทำเลม่ รายงาน ๖. นำข้อมูลวางแผนการทำแผนที่ทรัพยากรเพือ่ การท่องเที่ยว ๗. ลงมือสร้างต้นแบบแผนทีท่ รัพยากรเพื่อการท่องเทีย่ ว

ขนั้ สรุปกิจกรรมการเรยี นรู้ ๑. นำเสนอแผนที่ทรัพยากรเพื่อการทอ่ งเที่ยว ๒. ครใู ห้คำแนะนำแกน่ กั เรยี น ๓. เชือ่ โงความรู้ทีไ่ ดร้ บั ทั้งหมดกับการดำเนนิ ชีวิต 9. สือ่ อปุ กรณ์และแหลง่ เรียนรู้ 9.๑ สือ่ อปุ กรณ์ ๑. คู่มืองานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 2. ใบงาน 9 ฐานทรัพยากรท้องถิน่ 9.๒ แหลง่ เรยี นรู้ ๑. พนื้ ทีศ่ ึกษาสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ๒. ห้องศูนยก์ ารเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๑0. การวดั และการประเมินผล เครือ่ งมือ เกณฑ์ วิธีการ - แบบประเมิน ผู้เรียนมีการจดบันทึกทีถ่ กู ต้องตาม ๑. ตรวจสอบแบบบันทึกและแผนที่ โจทย์ ร้อยละ ๘๐ ๒. สงั เกตกระบวนการในการทำ - แบบสังเกต ผู้เรียนมีกระบวนการสงั เกตและ กิจกรรม รวบรวมข้อมลู ร้อยละ ๘๐ ๑1. กิจกรรมเสนอแนะแผนจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นายบรุ ศิ ร์ กองมะลิ) ผเู้ ขียนแผนการจดั การเรียนรู้ ขอ้ เสนอแนะของหัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นางกมลชนก เทพบุ) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ข้อเสนอแนะของรองผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) รองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ

๑2. บันทึกผลการจดั การเรยี นรู้ ๑2.๑) ผลการจดั การเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๑2.๒) ปญั หา / อุปสรรค ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๑2.๓) ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นายบุรศิ ร์ กองมะลิ) ผู้สอน

แผนการจดั การเรยี นรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ วิชา งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศกึ ษา ๒563 องค์ประกอบที่ 4 การรายงานผลการเรียนรู้ สาระที่ 3 ธรรมชาตแิ ห่งชีวิต แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 5 เรอ่ื ง โครงงานอาชีพ model กล้วยผา เวลา 8 ช่วั โมง หลกั สูตรสถานศึกษาตามหลักสตู รแกนกลางกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ บูรณาการ ผู้สอน นายบุรศิ ร์ กองมะลิ 1.สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด ศึกษาข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยผา วิเคราะห์และจินตนาการถึงลักษณะ พฤติกรรม ของกล้วยผา เพื่อการสร้าง model กล้วยผา การออกแบบผลิตภัณฑ์ กระบวนการทำโครงงานอาชีพ การเรียบเรียงของข้อมลู ตลอดจนการนำเสนอโครงงานอย่างมืออาชีพ 2.มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ัด สาระที่ 2 การเขียน (ภาษาไทย) ตัวชี้วดั 1. การเขียนสื่อสารในรปู แบบตา่ งๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มี ข้อมลู และสาระสำคัญชดั เจน 6. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ข้อมูล สารสนเทศอ้างอิงอย่างถกู ต้อง สาระที่ 4 การอาชีพ (การงานอาชีพ) มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ มีทักษะที่จำเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้ เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรมแลมเี จตคตทิ ี่ดีต่ออาชีพ ตัวชีว้ ดั ม. 4-6 3. มีประสบการณ์ในอาชีพทีถ่ นดั และสนใจ

๓. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เพื่อให้นกั เรยี นสามารถ ๓.๑ ความรู้ ๑. กระบวนการทำโครงงานอาชีพ ๒. การลักษณะและพฤติกรรมของกล้วยผา ๓.๒ ทกั ษะกระบวนการ ๑. กระบวนการทำโครงงานอาชีพ ๒. การสร้างสรรค์ model กล้วยจากเหลอื ใช้ ๓.๓ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ๑. เข้าเรยี น ปฏิบตั กิ ิจกรรม และส่งงานตรงเวลา ๒. รว่ มมือในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรับความคิดเห็นของผอู้ ื่น และแสดง ความคิดเห็นอยา่ งมีเหตผุ ล ๓. บันทึกข้อมูลจากการปฏิบัตกิ ิจกรรม 4. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ ๑ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ข้อที่ ๒ ซอื่ สตั ยส์ ุจริต ข้อที่ ๓ มีวินยั ข้อที่ ๔ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน ข้อที่ ๕ อยู่อย่างพอเพียง ข้อที่ ๖ มุ่งม่ันในการทำงาน ข้อที่ ๗ รกั ความเปน็ ไทย ข้อที่ ๘ มีจติ สาธารณะ 5. การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และการเขียน การพฒั นาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ัน พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ได้กำหนดขอบเขตการประเมินและตวั ช้ีวดั ที่แสดงความสามารถในการ อา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียนของผู้เรยี น ดง้ั นี้ ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 สามารถอ่านเพือ่ การศึกษาค้นคว้า เพิม่ พูนความรู้ ประสบการณ์ และการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน จับประเด็นสำคัญ ลำดับเหตุการณ์จากการอ่านสื่อที่มีความ ซับซ้อน วิเคราะห์สง่ิ ทีผ่ ู้เขียนต้องการสื่อสารกับผู้อ่าน และสามารถวิพากษ์ ให้ข้อเสนอแนะ ในแง่มุม ต่างๆ สามารถประเมินความนา่ เชื่อถอื คณุ ค่า แนวคิดที่ได้จากสิ่งที่อ่านอย่างหลากหลาย เขียนแสดง ความคิดเหน็ โต้แย้ง สรุป โดยมีขอ้ มูลอธิบายสนบั สนุนอยา่ งเพียงพอและสมเหตสุ มผล

6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น กำหนดสมรรถนะสำคญั ของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ หลังจากผู้เรยี นผา่ นการเรียนและนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตในสสู่ ังคม ตามหลักการประเมิน สมรรถนะผู้เรียน ๕ ดา้ น ได้แก่ ๑) ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 7. การบรู ณาการ 7.๑ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง - 7.๒ การบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในโครงการอนุรักษ์พนั ธุกรรมพืชอนั เนื่องมาจาก พระราชดำริสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี มีวัตถุประสงค์ให้เยาวชนได้มี โอกาสใกล้ชิดกบั พืชพรรณไม้ ได้เรยี นรู้ถงึ พืชท้องถิ่นของตน ชว่ ยกนั ดูแลไมใ่ ห้สญู พนั ธ์ุ ซึง่ จะ ก่อให้เกิดจิตสำนกึ ในการที่จะอนุรักษ์สบื ไป การดำเนนิ งานประกอบดว้ ย 5 องคป์ ระกอบ และ 3 สาระการเรียนรู้และฐานทรัพยากรท้องถิ่น บรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น องคป์ ระกอบที่ 4 การรายงานผลการเรยี นรู้ ลำดบั การเรยี นรู้ที่ 2 การคัดแยกสาระสำคัญ และการจัดให้เปน็ หมวดหมู่ ลำดับการเรยี นรู้ที่ 3 สรุปและเรยี บเรียง ลำดับการเรยี นรู้ที่ 4 เรียนรู้รปู แบบการเขียนรายงาน สาระการเรยี นรู้ ธรรมชาติแห่งชาติ ลำดับการเรียนรู้ที่ 1 สมั ผสั เรียนรู้วงจรชีวิตของชีวภาพอืน่ ๆ ลำดับการเรยี นรู้ที่ 2 เปรยี บเทียบการเปลย่ี นแปลงและความแตกต่าง

8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั สร้างความสนใจ ๑. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยพาไปรู้จกั กับพืชศึกษาของโรงเรียน กล้วยผา ๒. อธิบายรูปรา่ ง ลกั ษณะ พฤติกรรมของกล้วยผา ๓. ใช้คำถามกระตนุ้ คิด “หากนกั เรยี นคิดว่าลกั ษณะพิเศษของกล้วยผา คือสว่ นไหน” ขน้ั จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. ครูช่วยนักเรยี น วิเคราะห์รปู ลกั ษณข์ องกล้วยผา โดยใช้ใบงาน ๒. นักเรยี นกำหนดหวั ข้อและจินตนาการการใช้ประโยชนอ์ ยา่ งสร้างสรรค์ ๓. ครูอธิบายขั้นตอนการทำโครงงานอาชีพ ชี้แจงองคป์ ระกอบของโครงงานอาชีพ 4. นักเรยี นออกแบบ และเขียนโครงร่างของโครงงานอาชีพ 5. เริ่มทำโครงงานอาชีพโดยการใช้กล้วยผา โดยมีครใู ห้คำแนะนำเปน็ ระยะ 6. จัดเรียงข้อมูลและทำรูปเลม่ รายงงาน ขัน้ สรปุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ๑. ครนู ำเสนอโครงงานอาชีพทีไ่ ดจ้ ดั ทำ ๒. ครูให้คำแนะนำโครงงานอาชีพของนกั เรยี น ๓. ครทู บทวนความรจู้ ากการจัดกิจกรรม 9. สื่ออปุ กรณ์และแหล่งเรียนรู้ 9.๑ สือ่ อปุ กรณ์ ๑. คมู่ ืองานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 2. ใบงานการวิเคราะห์ รปู ลกั ษณก์ ล้วยผา 3. เล่มตัวอยา่ งโครงงานอาชีพ 9.๒ แหลง่ เรยี นรู้ ๑. พนื้ ที่ศึกษาสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ๒. ห้องศนู ย์การเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๑0. การวัดและการประเมินผล เครือ่ งมือ เกณฑ์ วิธีการ - แบบประเมิน ผู้เรียนมีการจดบนั ทึกทีถ่ ูกต้องตาม ๑. ตรวจสอบรปู เลม่ และชิน้ งานจาก โจทย์ ร้อยละ ๘๐ โครงงานอาชีพ ๒. สังเกตกระบวนการในการทำ - แบบสงั เกต ผู้เรียนมีกระบวนการสงั เกตและ โครงงานอาชีพของนกั เรยี น รวบรวมข้อมลู ร้อยละ ๘๐ ๑1. กิจกรรมเสนอแนะแผนจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นายบุรศิ ร์ กองมะลิ) ผเู้ ขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากล่มุ สาระการเรยี นรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นางกมลชนก เทพบุ) หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ขอ้ เสนอแนะของรองผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) รองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ

๑2. บันทึกผลการจดั การเรยี นรู้ ๑2.๑) ผลการจดั การเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๑2.๒) ปญั หา / อุปสรรค ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๑2.๓) ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นายบุรศิ ร์ กองมะลิ) ผู้สอน

แผนการจดั การเรยี นรู้บรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อำเภอแมแ่ จม่ จังหวัดเชียงใหม่ สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ วิชา งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศกึ ษา ๒563 องค์ประกอบที่ 1 การจดั ทำป้ายชื่อพรรณไม้ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 6 เร่อื ง การวาดทางพฤกษศาสตร์ เวลา 8 ชวั่ โมง หลกั สูตรสถานศึกษาตามหลกั สตู รแกนกลางกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ บูรณาการ ผ้สู อน นายบุรศิ ร์ กองมะลิ 1.สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด หลักการวาดภาพเพื่อเป็นข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ การสังเกตลักษณะโครงสร้างของพรรณไม้ การวัดและเทียบมาตรส่วน เขียนข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ข้อมูลพืน้ ฐานพรรณไม้ การเขียนรูปและการ จดั วางองค์ประกอบของภาพวาดทางพฤกษศาสตร์ 2.มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วดั สาระที1่ ทัศนศลิ ป์ มาตรฐาน ศ 1.1 ตัวชีว้ ดั 4. มีทักษะและเทคนคิ ในการใช้วัสดุ อปุ กรณ์ และกระบวนการทีส่ ูงขนึ้ ในการสร้างงานทัศนศิลป์ 5. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ด้วยเทคโนโลยีต่างๆ โดยเน้นหลักการออกแบบและการจัด องคป์ ระกอบศิลป์

๓. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เพือ่ ให้นักเรยี นสามารถ ๓.๑ ความรู้ ๑. วิธีการเขียนชือ่ วิทยาศาสตร์ ๒. วิธีการเขียนให้ข้อมูลพรรณไมท้ ีถ่ ูกต้อง 3. การคำนวณมาตรสว่ น 4. วิธีการวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ ๓.๒ ทักษะกระบวนการ ๑. การวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ ๒. การการจดบนั ทึกและเรยี บเรียงข้อมูลพรรณไม้ 3. ทักษะการสงั เกตลกั ษณะพรรณไม้ ๓.๓ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๑. เข้าเรยี น ปฏิบตั กิ ิจกรรม และสง่ งานตรงเวลา ๒. ร่วมมือในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรบั ความคิดเหน็ ของผอู้ ืน่ และแสดง ความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ๓. บนั ทึกข้อมลู จากการปฏิบัตกิ ิจกรรม 4. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ ๑ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ข้อที่ ๒ ซอื่ สัตย์สจุ ริต ข้อที่ ๓ มีวินัย ข้อที่ ๔ ใฝร่ ู้ใฝเ่ รียน ข้อที่ ๕ อยอู่ ย่างพอเพียง ข้อที่ ๖ มุง่ มน่ั ในการทำงาน ข้อที่ ๗ รกั ความเป็นไทย ข้อที่ ๘ มีจติ สาธารณะ

5. การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และการเขียน การพฒั นาและประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ได้กำหนดขอบเขตการประเมินและตวั ช้ีวัดที่แสดงความสามารถในการ อา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียนของผู้เรยี น ดง้ั นี้ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 สามารถอา่ นเพือ่ การศึกษาค้นคว้า เพิม่ พูนความรู้ ประสบการณ์ และการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน จับประเด็นสำคัญ ลำดับเหตุการณ์จากการอ่านสื่อที่มีความ ซบั ซ้อน วิเคราะห์ส่งิ ที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารกบั ผู้อา่ น และสามารถวิพากษ์ ให้ข้อเสนอแนะ ในแง่มุม ต่างๆ สามารถประเมินความน่าเชื่อถอื คณุ ค่า แนวคิดที่ได้จากสิ่งทีอ่ า่ นอย่างหลากหลาย เขียนแสดง ความคิดเหน็ โต้แย้ง สรุป โดยมีขอ้ มลู อธิบายสนบั สนุนอยา่ งเพียงพอและสมเหตสุ มผล 6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น กำหนดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ หลังจากผู้เรยี นผ่านการเรียนและนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตในสูส่ งั คม ตามหลกั การประเมิน สมรรถนะผู้เรียน ๕ ดา้ น ได้แก่ ๑) ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปญั หา ๔) ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 7. การบูรณาการ 7.๑ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง - 7.๒ การบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในโครงการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรมพืชอันเนือ่ งมาจาก พระราชดำริสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี มีวตั ถปุ ระสงคใ์ ห้เยาวชนได้มี โอกาสใกล้ชิดกับพืชพรรณไม้ ได้เรยี นรู้ถงึ พืชท้องถิ่นของตน ชว่ ยกนั ดูแลไมใ่ ห้สญู พนั ธ์ุ ซึง่ จะ กอ่ ให้เกิดจิตสำนึกในการทีจ่ ะอนุรักษ์สบื ไป การดำเนนิ งานประกอบดว้ ย 5 องคป์ ระกอบ และ 3 สาระการเรียนรู้และฐานทรัพยากรท้องถิ่น

บรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น องคป์ ระกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้ ลำดับการเรยี นรู้ที่ 6 ศึกษาและบันทึกลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ลำดับการเรยี นรู้ที่ 7 บนั ทึกภาพหรือวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั สร้างความสนใจ ๑. ครแู สดงตวั อย่างตวั อย่างภาพวาดทางพฤกษศาสตร์ ๒. นำเสนอคลิปการวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ ของอาจารย์พนั ธ์ศุ กั ดิ์ จกั กะพาก ๓. ครชู ีแ้ จงชนิดพรรณไม้ ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ขัน้ จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. ให้นกั เรยี นเลอื กชนิดพรรณไมท้ ี่สนใจ โดยไมใ่ ห้ซำ้ กัน ๒. นักเรยี นลงมือสำรวจ พรรณไมท้ ี่สนใจ โดยบนั ทึกลักษณะ และขนาด ๓. ครอู ธิบายหลักการและจดุ สำคัญของการวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ 4. นกั เรยี นวาดภาพพรรณไม้ ทีต่ นเองเลอื กลงในกระดาษร้อยปอนด์ 5. ครแู นะนำให้ข้อเสนอแนะระหว่างการวาด ขัน้ สรุปกิจกรรมการเรยี นรู้ ๑. ครแู ละนกั เรยี นรวมกันวิเคราะห์ภาพวาด การจดั วางองคป์ ระกอบ ๒. ครสู รุปองคค์ วามรู้และทกั ษะทีไ่ ดร้ บั 9. สือ่ อุปกรณแ์ ละแหลง่ เรียนรู้ 9.๑ สือ่ อปุ กรณ์ ๑. ค่มู ืองานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 2. ตวั อย่างรูปวาดทางพฤกษศาสตร์ 3. ส่อื วิดโี อ botanical art อาจารย์พนั ธศ์ุ กั ดิ์ จกั กะพาก 9.๒ แหล่งเรยี นรู้ ๑. พนื้ ทีศ่ ึกษาสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ๒. ห้องศนู ยก์ ารเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๑0. การวัดและการประเมินผล เครือ่ งมือ เกณฑ์ วิธีการ - แบบประเมิน ผู้เรียนมีการจดบนั ทึกที่ถูกต้องตาม ๑. ตรวจสอบรูปวาดทางพฤกษศาสตร์ โจทย์ ร้อยละ ๘๐ ๒. สังเกตกระบวนการในการทำ - แบบสงั เกต ผู้เรียนมีกระบวนการสงั เกตและ กิจกรรม รวบรวมข้อมลู ร้อยละ ๘๐ ๑1. กิจกรรมเสนอแนะแผนจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นายบรุ ศิ ร์ กองมะลิ) ผเู้ ขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะของหวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นางกมลชนก เทพบุ) หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ขอ้ เสนอแนะของรองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) รองผู้อำนวยการกล่มุ บรหิ ารงานวิชาการ

๑2. บันทึกผลการจดั การเรยี นรู้ ๑2.๑) ผลการจดั การเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๑2.๒) ปญั หา / อุปสรรค ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๑2.๓) ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นายบุรศิ ร์ กองมะลิ) ผู้สอน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook