Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ ม. 1 เทอม 1 หน่วยที่ 2 หน่วยของสิ่งมีชีวิต

แผนการจัดการเรียนรู้ ม. 1 เทอม 1 หน่วยที่ 2 หน่วยของสิ่งมีชีวิต

Published by buritkongmali, 2020-04-29 03:04:25

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ ม. 1 เทอม 1 หน่วยที่ 2 หน่วยของสิ่งมีชีวิต

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรือ่ ง หน่วยของสง่ิ มีชวี ติ เวลา 12 ช่ัวโมง วิชา วิทยาศาสตร์พืน้ ฐาน รหัสวิชา ว 21101 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ปีการศึกษา ๒563 มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบตั ิของสงิ่ มีชีวติ หน่วยพ้ืนฐานของสิง่ มชี วี ติ การลาเลยี งสารผา่ นเซลล์ ความสัมพันธ์ ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบตา่ ง ๆ ของสตั ว์และมนษุ ย์ท่ีทางานสัมพันธก์ นั ความสมั พนั ธข์ องโครงสร้างและหน้าทขี่ องอวัยวะต่าง ๆ ของพชื ทที่ างานสมั พนั ธก์ นั รวมทั้ง นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ว1.2 ม.1/1 เปรียบเทียบรูปร่าง ลักษณะ และโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์รวมทั้งบรรยายหน้าท่ี ของผนังเซลล์เย่ือหุ้มเซลล์ไซโทพลาซมึ นวิ เคลยี ส แวควิ โอล ไมโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์ ว1.2 ม.1/2 ใชก้ ลอ้ งจุลทรรศนใ์ ชแ้ สงศกึ ษาเซลลแ์ ละโครงสร้างตา่ ง ๆ ภายในเซลล์ ว1.2 ม.1/3 อธบิ ายความสัมพันธ์ระหวา่ งรูปร่างกับการทาหนา้ ทีข่ องเซลล์ ว1.2 ม.1/4 อธิบายการจัดระบบของส่ิงมีชีวิต โดยเร่ิมจากเซลล์เน้ือเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ จนเป็น สง่ิ มชี วี ติ ว1.2 ม.1/5 อธิบายกระบวนการแพร่และออสโมซิสจากหลักฐานเชิงประจักษ์และยกตัวอย่างการแพร่ และออสโมซสิ ในชวี ติ ประจาวนั

แผนการจดั การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จ่ม จังหวัดเชียงใหม่ สานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ว 21101 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ปีการศึกษา ๒563 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง หน่วยของสิง่ มีชีวติ เวลา 12 ช่วั โมง แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง เซลล์ของสิง่ มีชีวิต เวลา 5 ชว่ั โมง หลักสตู รสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ บรู ณาการ  หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง  งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น  หลกั สตู รอาเซียน ผู้ออกแบบ นายบุริศร์ กองมะลิ 1.สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารผ่านเซลล์ ความสัมพันธ์ ของ โครงสร้าง และหนา้ ทีข่ องระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ทท่ี างานสมั พนั ธก์ นั ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ขี องอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพนั ธก์ ัน รวมท้ังนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ 2.มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชีว้ ดั ว1.2 ม.1/1 เปรียบเทียบรูปร่าง ลักษณะ และโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์รวมท้ังบรรยาย หน้าท่ขี องผนังเซลล์เยื่อหุ้มเซลล์ไซโทพลาซึมนวิ เคลียส แวควิ โอล ไมโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์ ว1.2 ม.1/2 ใช้กลอ้ งจลุ ทรรศน์ใชแ้ สงศกึ ษาเซลลแ์ ละโครงสรา้ งต่าง ๆ ภายในเซลล์ ว1.2 ม.1/3 อธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่างรปู ร่างกับการทาหนา้ ท่ขี องเซลล์ ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ เพือ่ ใหน้ ักเรียนสามารถ ๓.๑ ความรู้ ๑. รปู รา่ ง ลกั ษณะ และโครงสรา้ งของเซลล์ ๒. วิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์โดยใช้แสง ๓.๒ ทักษะกระบวนการ ๑. การสงั เกตจากสภาพจริง ๒. การวิเคราะห์ แยกแยะ ลกั ษณะจากรูปภาพ ๓. การใช้ระบบสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูล

๓.๓ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. เข้าเรียน ปฏบิ ัติกิจกรรม และส่งงานตรงเวลา ๒. ร่วมมือในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรบั ความคิดเหน็ ของผ้อู ืน่ และแสดง ความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ๓. บนั ทึกข้อมูลจากการปฏิบตั ิกิจกรรม ๔. สาระการเรียนรู้ กลอ้ งจุลทรรศน์ ( Microscope ) คือ เครื่องมือขยายขอบเขตของประสาทสมั ผสั ทางตา ใหเ้ ห็นสิง่ ที่ ไม่สามารถเหน็ ด้วยตาเปล่า เช่น จลุ ินทรีย์ เซลล์เมด็ เลือด เปน็ ตน้ ประเภทของกล้องจุลทรรศน์ ในปัจจบุ นั แบ่งออกเปน็ 2ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. กลอ้ งจุลทรรศน์แบบใชแ้ สง (Light Microscope) เปน็ กล้องที่ได้รบั การพฒั นาจากในอดีต อย่างมาก และใช้แสงทีด่ ีที่สดุ ในปจั จบุ นั มีกาลงั ขยายถึง 2,000 เท่าและเปน็ กล้องทีร่ าคาถูก แบ่งได้ เป็น 2 ประเภทดงั นี้ 1.1 กลอ้ งจุลทรรศน์ที่ใชแ้ สงแบบธรรมดา ประกอบด้วยเลนส์ 2 ชนิดคือ เลนส์ใกล้วัตถแุ ละ เลนส์ใกล้ตา โดยใช้แสงผ่านวัตถุแล้วขึ้นมาที่เลนส์จนเห็นภาพที่บนวตั ถุอย่างชัดเจน 1.2 กล้องทีใ่ ช้แสงแบบสเตอริโอ เป็นกล้องทีป่ ระกอบด้วยเลนส์ที่ทาให้เกิดภาพแบบ 3 มิติ ใช้ศึกษา วัตถทุ ีม่ ีขนาดใหญ่แต่ตาเปล่าไม่สามารถแยกรายละเอียดได้จึงต้องใช้กล้องชนิดน้ีช่วยขยาย

2.กลอ้ งจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron Microscope) ใช้ลาอิเลก็ ตรอน ซึ่งมองไม่เหน็ ด้วย ตาเปล่าแทนแสงสว่างที่มองเหน็ และใช้เลนส์แม่เหลก็ ไฟฟ้าแทนเลนส์แก้ว ใช้ลาอิเลก็ ตรอนจากปนื ยิงผ่านเลนส์แม่เหลก็ ไฟฟ้า เพือ่ ให้เกิดภาพบนจอรบั ภาพ มีกาลงั ขยายสงู กว่ากล้องจลุ ทรรศน์แบบ ใช้แสง แบง่ เปน็ 2.1กลอ้ งจลุ ทรรศนอ์ ิเลก็ ตรอนชนิดส่องผ่าน (Transmission Electron Microscope) สามารถมองเหน็ องคป์ ระกอบภายในของเซลล์ได้ชดั เจน มีกาลังขยายสงู มาก 2.2กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด (Scanning Electron Microscope) ใช้ศึกษารปู ร่าง โครงสร้างและพิ้นผิวของเซลล์ภายนอก ไม่เหน็ องค์ประกอบด้านใน ส่วนประกอบต่าง ๆ ของกล้องจุลทรรศน์ เซลล์ คือ หน่วยย่อยพื้นฐานที่ไมส่ ามารถมองเหน็ ได้ด้วยตาเปลา่ และเปน็ หนว่ ยที่เล็กทีส่ ุดของ สิง่ มีชีวิต เซลล์สตั ว์เปน็ ส่วนทีเ่ ลก็ ทีส่ ุดของสตั ว์ ซึง่ ภายในเซลล์ประกอบด้วยออร์แกเนลล์ต่าง ๆ ซึง่ เซลล์สัตว์จะมีลกั ษณะเฉพาะที่แตกต่างจากเซลล์พืชและเซลล์อืน่ โดยส่วนประกอบของเซลล์สตั ว์ ประกอบไปด้วย

เยือ่ หมุ้ เซลล์ (Cell membrane) พบในเซลล์สิง่ มีชีวิตทุกชนิด ยกเว้นไวรสั เยือ่ ห้มุ เซลล์ทาให้เซลล์คงรูปอย่ไู ด้ และเป็นเยือ่ เลือกผ่าน คือ มีคณุ สมบตั ิยอมให้สารบางชนิดผ่านเข้าออกเท่าน้นั ควบคุมการเข้าออกของสารตา่ ง ๆ จากสิง่ แวดล้อม เข้าส่เู ซลล์ เยื่อห้มุ เซลล์ประกอบด้วย ฟอสโฟลิพิด (Phospholipid bilayer) โปรตีน คารโ์ บไฮเดรต และ คอเลสเตอรอล นิวเคลียส (Nucleus) มีลักษณะค่อนข้างกลม อย่บู ริเวณกลางเซลล์ ประกอบด้วยเยื่อห้มุ นิวเคลียส และนิวคลีโอพลาซึมซึง่ เป็นส่วนทีอ่ ย่ภู ายในเยื่อห้มุ นิวเคลียส นิวเคลียสทาหน้าที่ควบคุมการทางานต่าง ๆ ภายในเซลล์ แบ่ง เซลล์ และบรรจุสารพนั ธกุ รรม DNA ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) อย่รู ะหว่างนิวเคลียสและเยือ่ ห้มุ เซลล์ ประกอบด้วยส่วนทีเ่ ปน็ ของเหลว เรียกว่าไซโทซอล (Cytosol) และส่วนทีเ่ ป็นของแขง็ เรียกว่า ออร์แกเนลล์ (Organelle) รา่ งแหเอนโดพลาซึม (Endoplasmic Reticulum, ER) แบ่งออกเป็นชนิดผิวเรียบและผิวขรุขระ ชนิดผิวเรียบ (Smooth Endoplasmic Recticulum, SER) จะไม่มี ไรโบโซมเกาะ ทาหน้าที่สร้างไขมัน กาจดั สารพิษ ส่วนชนิดผิวขรุขระ (Rough endoplasmic recticulum, RER) จะมีไรโบโซมเกาะอยู่ ทาหน้าที่สร้างโปรตีน และส่งโปรตีนออกนอกเซลล์ ไรโบโซม (Ribosome) เป็นแหล่งสร้างโปรตีน และทาหน้าทีส่ ่งโปรตีนออกไปยังนอกเซลล์ มี 2 หน่วยย่อย ประกอบด้วยหน่วย ใหญ่และหน่วยเลก็ แต่ละหน่วยจะมี Ribosomal RNA (rRNA) เซนทริโอล (Centrioles) เป็นออร์แกเนลล์ทีไ่ ม่มีเยื่อห้มุ มีลักษณะเปน็ แทง่ รูปทรงกระบอก ภายในกลวง ประกอบด้วยหลอดเล็ก ๆ ทีเ่ ชือ่ มต่อกนั เรียกว่า ไมโครทิวบูล (microtubule) เซนทริโอลมี DNA และ RNA สามารถจาลอง

ตัวเองและสรา้ งโปรตีนขนึ้ เองได้ เซนทริโอลมีหน้าที่เกี่ยวกบั การแบ่งเซลล์ ส่วนไมโครทบู ลู มีหน้าทีใ่ น การลาเลียงสารในเซลล์ ใหค้ วามแขง็ แรง และช่วยในการเคลื่อนที่ของเซลล์ ไลโซโซม (Lysosome) เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยือ่ ห้มุ เพียงช้นั เดียว มีลกั ษณะเปน็ ถงุ ทาหน้าที่ย่อยสลายอนุภาค โมเลกุล สารอาหารภายในเซลล์ ทาลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่เข้าส่เู ซลล์ และทาลายเซลล์ที่ตายแล้ว ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) เป็นแหล่งผลติ สารพลังงานสงู คือ ATP เกีย่ วข้องกบั การสลายอาหารหรือการหายใจระดับเซลล์แบบใช้ ออกซิเจน เป็นออร์แกเนลล์ที่ประกอบด้วยเยือ่ ห้มุ 2 ช้นั มีของเหลวภายในเรยี กว่า matrix ภายในมี DNA และไรโบโซมเป็นของตวั เอง กอลจิบอดี (Golgi Body) หรือกอลจิคอมเพล็กซ์ (Golgi Complex) มีลกั ษณะเปน็ ถุงแบน ๆ วางซ้อนกนั ทาหน้าทรี่ บั สาร เก็บสารต่าง ๆ ภายใน ตดั แต่งหรือต่อเติมโปรตีน ให้สมบรู ณ์ แล้วเคลือ่ นย้ายไปส่จู ุดหมายปลายทางต่าง ๆ ท้งั ภายในเซลล์และภายนอกเซลล์ ส่วนประกอบที่กล่าวมาข้างต้น เป็นส่วนประกอบทีอ่ ยู่ภายในเซลลส์ ตั ว์ ซึง่ แตล่ ะ สว่ นประกอบมีหน้าที่แตกต่างกนั ไป เพื่อให้สตั วส์ ามารถดารงชีวิตอย่ไู ด้ หากขาดส่วนประกอบ ชนิดใดไป อาจทาให้เซลล์สัตว์ทาหนา้ ทีไ่ มส่ มบูรณ์และเกิดความบกพร่องได้ ๕. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ ๑ รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ข้อที่ ๒ ซื่อสตั ย์สจุ ริต ข้อที่ ๓ มีวินยั ข้อที่ ๔ ใฝร่ ู้ใฝ่เรียน ข้อที่ ๕ อย่อู ย่างพอเพียง ข้อที่ ๖ มุ่งมั่นในการทางาน ข้อที่ ๗ รักความเปน็ ไทย ข้อที่ ๘ มีจิตสาธารณะ ๖. การอา่ น คิดวิเคราะห์ และการเขียน การพฒั นาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ได้กาหนดขอบเขตการประเมินและตัวชี้วัดที่แสดงความสามารถในการ อ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนของผ้เู รียน ดั้งน้ี การอ่านจากสือ่ สิ่งพิมพ์และสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ทีใ่ ห้ข้อมลู สารสนเทศ ข้อคิด ความรู้เกี่ยวกบั สงั คมและสิ่งแวดล้อมที่เอือ้ ให้ผ้อู ่านนาไปคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สรุปแนวคิดคุณค่าที่ได้ นาไปประยุกต์ใช้

ด้วยวิจารณญาณ และถ่ายทอดเปน็ ข้อเขียนเชิงสร้างสรรค์หรอื รายงานด้วยภาษาทถี่ ูกต้องเหมาะสม เช่น อ่านหนงั สือพิมพ์ วารสาร หนงั สือเรียน บทความ สนุ ทรพจน์ คาแนะนา คาเตือน แผนภูมิ ตาราง แผนที่ ตัวบ่งช้ที างพฤติกรรมการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน 1.สามารถคดั สรรสื่อทตี่ ้องการอ่านเพื่อหาข้อมลู สารสนเทศได้ตาวตั ถปุ ระสงค์ สามารถสร้างความเข้าใจและประยกุ ต์ใช้ความร้จู ากการอ่าน 2. สามารถจบั ประเดน็ สาคญั และประเดน็ สนับสนนุ โต้แย้ง 3. สามารถวเิ คราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตสุ มผล ความน่าเชือ่ ถือ ลาดับความและ ความเปน็ ไปได้ของเรื่องทีอ่ ่าน 4. สามารถสรปุ คณุ ค่า แนวคิด แง่คิดทไี่ ด้จากการอ่าน 5. สามารถสรปุ อภิปราย ขยายความแสดงความคิดเหน็ โต้แย้ง สนับสนนุ โน้มน้าวโดย การเขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ ผงั ความคิด เปน็ ต้น ๗. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน กาหนดสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียนตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ หลังจากผู้เรียนผ่านการเรียนและนาความร้ไู ปใช้ในการดารงชีวติ ในส่สู งั คม ตามหลกั การประเมิน สมรรถนะผ้เู รียน ๕ ด้าน ได้แก่ ๑) ความสามารถในการสือ่ สาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๘. การบูรณาการ ๘.๑ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง - ๘.๒ การบรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในโครงการอนรุ ักษ์พันธกุ รรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดารสิ มเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีวัตถปุ ระสงคใ์ ห้เยาวชนได้มโี อกาสใกลช้ ดิ กับพชื พรรณไม้ ได้ เรยี นร้ถู งึ พืชท้องถ่นิ ของตน ช่วยกันดูแลไม่ใหส้ ญู พันธ์ุ ซ่ึงจะกอ่ ใหเ้ กดิ จิตสานึกในการทีจ่ ะอนรุ กั ษส์ บื ไป การ ดาเนินงานประกอบด้วย 1 และองค์ประกอบ 5 สาระการเรยี นรแู้ ละฐานทรพั ยากรท้องถนิ่ บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น : 3 สาระ ธรรมชาตแิ ห่งชีวติ สัมผสั เรยี นรวู้ งจรชวี ิตของ ชวี ภาพอน่ื ๆ การศึกษาด้านรปู ลักษณ์ โดยการศึกษาโครงสร้างภายในของใบกล้วยผา

๙. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) ๑. ครูกระต้นุ ความสนใจโดยใช้ประโยคว่าวนั นี้เราจะมาเรียนเกี่ยวกบั หน่วยเลก็ ที่สดุ ของ สิ่งมีชีวิต ๒. ครใู หน้ ักเรียนช่วยการตอบลาดับความเล็กขนาดหน่วยในร่างกายของเราโดยเริม่ จาก ร่างกายจนถึงเซลล์ ขั้นสารวจและคน้ หา (Exploration) ๑. ให้นาเรียนศึกษาค้นคว้าจากแผนภาพของการ์ตนู เมืองเซลล์ ๒. นักเรียนจดบนั ทึก ลักษณะและหน้าทีข่ องออแกแนลตา่ งๆ ๓. ทดลองจดั จาแนกประเภทตามเกณฑ์ที่นกั เรียนเข้าใจ ขัน้ อธิบายและลงข้อสรุป (explanation) 1. ครใู ห้ข้อสรุปและจดุ สงั เกตออแกแนลแต่ละชนิด 2. ให้ข้อเปรียบเทียบถึงลักษณะออแกแนล 3. วิธีการสงั เกตเซลล์แต่ประเภท ลกั ษณะของเซลล์ทีง่ ่ายต่อการทดลอง ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) ๑. ครูอธิบายส่วนประกอบของกล้องจลุ ทรรศ และวิธีการใช้งานททีถ่ ูกต้อง ๒. ครอู ธบิ ายการเตรียมสไลน์สาหรบั สอ่ งใตก้ ล้องจุลทรรศ 3. ใหน้ ักเรียนหาของดงั ตอ่ ไปนี้ ใบตน้ กาบหอยแครง ใบกล้วยผา ลาต้นสาบเสือ 4. ทดการศึกษาลักษณะของเซลล์ผ่านกล้องจลุ ทรรศ และบันทึกสิ่งทีเ่ หน็ ในรปู แบบของ ภาพวาดในเชิงชีววิทยา 5. นักเรียนชว่ ยการช้สี ่วนประกอบของเซลล์ตามที่เหน็ ขน้ั ประเมิน (Evaluation) ๑. ครใู ห้นกั เรียนทาแบบฝึกหดั เพือ่ ทบทวนความรู้เรื่องเซลล์และการใช้กล้องจุลทรรศ ๒. ให้นกั เรียนเขยี นสรุปความรู้ทไี่ ด้รบั และวาดภาพประกอบเลก็ น้อย ๑๐. สือ่ อปุ กรณ์และแหลง่ เรียนรู้ ๑๐.๑ สื่อ อปุ กรณ์ ๑. แผนภาพการต์ นู หน้าทขี่ องออแกนอลภายในเซลล์ ๕. แบบสังเกต การทากิจกรรม ๑๐.๒ แหล่งเรียนรู้ ๑. ห้องปฏบิ ัติการชีววิทยา

๑๑. การวดั และการประเมินผล เครือ่ งมือ เกณฑ์ วิธีการ - แบบตรวจแบบฝกึ หัด ผู้เรียนมีการจดบันทึกที่ถกู ต้องตาม ๑. ตรวจสอบแบบทดสอบในหนังสือเรยี น โจทย์ ร้อยละ ๘๐ แบบฝกึ หดั ๒. สังเกตกระบวนการในการทากิจกรรม - แบบสงั เกต ผ้เู รียนมีกระบวนการสงั เกตและ รวบรวมข้อมลู ร้อยละ ๘๐ 3 การเขยี นองค์ความร้ทู ี่ฉันไดร้ ับ - แบบตรวจกิจกรรม ผ้เู รียนสามารถเขียนองค์ความร้ทู ี่ฉนั ได้รบั ร้อยละ ๑๐๐ ๑๒. กิจกรรมเสนอแนะ ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นายบรุ ิศร์ กองมะลิ) ผ้เู ขียนแผนการจัดการเรยี นรู้ ขอ้ เสนอแนะของหัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ในการใชแ้ ผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นางกมลชนก เทพบุ) หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ข้อเสนอแนะของหวั หน้ากลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการในการใชแ้ ผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นางสาวรัตติกาล ยศสขุ ) หวั หน้ากล่มุ บรหิ ารงานวิชาการ ขอ้ เสนอแนะของผูอ้ านวยการโรงเรียนในการใช้แผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นางวิลาวลั ย์ ปาลี) ผ้อู านวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31

๑๓. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ ปัญหา / อปุ สรรค ข้อเสนอแนะ / แนว หมายเหตุ ห้อง ผลการจดั การเรียนรู้ ทางแกไ้ ข ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/๔ ลงชือ่ ................................................................. (นายบุริศร์ กองมะลิ) ผ้สู อน

แผนการจัดการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จม่ จงั หวัดเชียงใหม่ สานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ วิชา วิทยาศาสตร์พืน้ ฐาน รหสั วิชา ว 21101 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ปีการศึกษา ๒563 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรือ่ ง หนว่ ยของสิ่งมีชีวิต เวลา 12 ชัว่ โมง แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 2 เรือ่ ง เซลลพ์ ชื และเซลลส์ ัตว์ เวลา 4 ช่วั โมง หลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ บูรณาการ  หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง  งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น  หลกั สตู รอาเซียน ผู้ออกแบบ นายบรุ ิศร์ กองมะลิ 1.สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เข้าใจสมบัตขิ องสิง่ มชี ีวิต หนว่ ยพืน้ ฐานของสงิ่ มชี ีวติ การลาเลียงสารผา่ นเซลล์ ความสมั พนั ธ์ ของ โครงสร้าง และหนา้ ที่ของระบบตา่ ง ๆ ของสตั ว์และมนุษย์ทที่ างานสมั พนั ธก์ นั ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าทข่ี องอวยั วะต่าง ๆ ของพชื ที่ทางานสัมพันธก์ นั รวมทง้ั นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ 2.มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชีว้ ดั ว1.2 ม.1/1 เปรียบเทียบรูปร่าง ลักษณะ และโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์รวมทั้งบรรยาย หนา้ ทีข่ องผนงั เซลลเ์ ยอ่ื หมุ้ เซลล์ไซโทพลาซึมนิวเคลียส แวควิ โอล ไมโทคอนเดรีย และคลอโรพลาสต์ ว1.2 ม.1/4 อธิบายการจัดระบบของสิ่งมีชีวิต โดยเร่ิมจากเซลล์เน้ือเยื่อ อวัยวะ ระบบอวยั วะ จนเป็น สง่ิ มชี ีวิต ๓. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เพื่อใหน้ ักเรียนสามารถ ๓.๑ ความรู้ ๑. ความแตกต่างระหว่างโครงสรา้ งของเซลลพ์ ชื และเซลล์สตั ว์ ๒. การจัดระบบของสิ่งมีชีวิต โดยเร่มิ จากเซลล์เน้ือเย่อื อวยั วะ ระบบอวยั วะ จนเปน็ ส่งิ มชี ีวติ ๓.๒ ทักษะกระบวนการ ๑. การสังเกตจากสภาพจริง ๒. การวิเคราะห์ แยกแยะ ลกั ษณะจากรูปภาพ ๓. การใช้ระบบสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูล

๓.๓ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ๑. เข้าเรียน ปฏบิ ัติกิจกรรม และส่งงานตรงเวลา ๒. ร่วมมือในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรบั ความคิดเห็นของผ้อู ื่น และแสดง ความคิดเห็นอย่างมีเหตผุ ล ๓. บันทึกข้อมลู จากการปฏิบตั ิกิจกรรม ๔. สาระการเรียนรู้ โครงสรา้ งเซลลพ์ ืช มรี ปู รา่ งคงที่ มีความแขง็ แรง และมีออร์แกเนลล์พิเศษทีส่ าคัญต่อกระบวนการ สังเคราะหแ์ สงสาหรบั พืชก็ประกอบขึ้นด้วยเซลล์เช่นกัน แต่ส่วนประกอบภายใน เซลล์พืช จะแตกต่าง ออกไปจากเซลล์สัตว์ ทาใหเ้ ซลล์พืชและเซลล์สตั ว์มีลกั ษณะและสมบัติบางอย่างที่แตกต่างกัน โดย โครงสร้างเซลล์พืช ประกอบไปด้วย ผนังเซลล์ (Cell wall) เปน็ ส่วนทีอ่ ย่ชู ้นั นอกสุดของเซลล์ จะพบใน เซลล์พืช แต่ไม่พบในเซลล์สัตว์ เปน็ โครงสร้างทกี่ าหนด ขอบเขต และรูปร่างของสิ่งมีชีวิต มีหน้าที่เพิ่มความแข็งแรง ค้าจนุ โครงสร้างของเซลล์ ทาให้เซลล์คงรปู และป้องกนั การสญู เสียน้าของเซลล์พืช ในผนงั เซลล์ประกอบด้วยเซลลูโลส (Cellulose) และเพกติน (Pectin)

การสังเคราะห์แสงในเซลลพ์ ืช เกิดขนึ้ ที่คลอโรพลาสต์ ผลผลิตทีไ่ ด้จากการสงั เคราะหแื สงคือ นา้ ตาลและแก๊สออกซิเจน คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) พบเฉพาะในเซลล์พืช มีสีเขียวเพราะมีพลาสติดที่สะสมรงควตั ถสุ เี ขียวอยู่ภายใน นั่นคือคลอโรฟลี (Chloroohyll) ทาหน้าที่ช่วยในการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพืช เซลลพ์ ชื เซลล์สัตว์ 1. มีผนงั เซลล์ 1. ไม่มีผนังเซลล์ 2. มีคลอโรพลาสต์ 2. ไม่มีคลอโรพลาสต์ 3. มีแวคิวโอลขนาดใหญ่ที่มีของเหลวบรรจอุ ยู่ 3. มีแวคิวโอลขนาดเลก็ หรือไม่มีแวคิวโอล 4. มีนิวเคลียสอย่ขู ้างเซลล์ 4. มีนิวเคลียสอย่ตู รงกลางเซลล์ ๕. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ ๑ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ข้อที่ ๒ ซือ่ สัตย์สจุ ริต ข้อที่ ๓ มีวินยั ข้อที่ ๔ ใฝร่ ู้ใฝ่เรียน ข้อที่ ๕ อย่อู ย่างพอเพียง ข้อที่ ๖ มุ่งม่นั ในการทางาน ข้อที่ ๗ รักความเปน็ ไทย ข้อที่ ๘ มีจิตสาธารณะ ๖. การอ่าน คิดวิเคราะห์ และการเขียน การพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ได้กาหนดขอบเขตการประเมินและตวั ชี้วดั ที่แสดงความสามารถในการ อ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนของผ้เู รียน ด้ังน้ี การอ่านจากสื่อสิง่ พิมพ์และสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ที่ให้ข้อมลู สารสนเทศ ข้อคิด ความรู้เกีย่ วกับ สงั คมและสิ่งแวดล้อมที่เอือ้ ให้ผ้อู ่านนาไปคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สรุปแนวคิดคุณค่าทีไ่ ด้ นาไปประยุกต์ใช้ ด้วยวิจารณญาณ และถ่ายทอดเปน็ ข้อเขียนเชิงสร้างสรรค์หรอื รายงานด้วยภาษาทถี่ กู ต้องเหมาะสม

เช่น อ่านหนงั สือพิมพ์ วารสาร หนังสือเรียน บทความ สนุ ทรพจน์ คาแนะนา คาเตือน แผนภมู ิ ตาราง แผนที่ ตวั บ่งช้ที างพฤติกรรมการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน 1.สามารถคดั สรรสื่อทตี่ ้องการอ่านเพื่อหาข้อมลู สารสนเทศได้ตาวตั ถปุ ระสงค์ สามารถสร้างความเข้าใจและประยุกต์ใช้ความร้จู ากการอ่าน 2. สามารถจับประเด็นสาคญั และประเดน็ สนบั สนนุ โต้แย้ง 3. สามารถวเิ คราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตสุ มผล ความน่าเชื่อถือ ลาดับความและ ความเป็นไปได้ของเรื่องทีอ่ ่าน 4. สามารถสรปุ คณุ ค่า แนวคิด แง่คิดทไี่ ด้จากการอ่าน 5. สามารถสรุป อภิปราย ขยายความแสดงความคิดเห็น โต้แย้ง สนับสนนุ โน้มน้าวโดย การเขียนสือ่ สารในรปู แบบต่าง ๆ เชน่ ผังความคิด เปน็ ต้น ๗. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน กาหนดสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียนตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ หลังจากผู้เรียนผ่านการเรียนและนาความร้ไู ปใช้ในการดารงชีวติ ในส่สู ังคม ตามหลกั การประเมิน สมรรถนะผ้เู รียน ๕ ด้าน ได้แก่ ๑) ความสามารถในการสือ่ สาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปญั หา ๔) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๘. การบรู ณาการ ๘.๑ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง - ๘.๒ การบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน - ๙. กิจกรรมการเรียนรู้ ขนั้ สร้างความสนใจ (Engagement) ๑. ครูทบทวนหน้าทีแ่ ละองค์ประกอบของเซลล์การใช้กล้องจลุ ทรรศและภาพเซลล์ที่เหน็ ๒. ครูนาพานักเรยี นสังเกตจุดความแตกต่างของเซลล์แต่ละประเภท

ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) ๑. นกั เรียนศกึ ษาแผนภาพของเซลล์สัตว์และเซลล์พืช ๒. นักเรียนร่วมกนั วิเคราะห์ความแตกต่างของเซลล์แต่ละแบบ ข้ันอธิบายและลงข้อสรุป (explanation) 1. ครูชี้แจงให้เหน็ ถึงข้อแตกตา่ งที่สาคญั ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 2. ช่วยการทาตารางสรปุ ออแกนอลที่แตกต่างของเซลล์ท้งั สอง 3. ครูอธิบายเหตุผลทของการมีออแกนอลที่แตกกนั และกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสง ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) ๑. นาเรยี นสบื คน้ ข้อมูลการใช้ประโยชน์จากความรู้เรือ่ งเซลล์ในแง่ที่นกั เรียนสนใจ ๒. จดบันทึกโดยการใช้ภาพ ๓. นาเสนอเรื่องราวในกล่มุ เพือ่ นเพื่อคัดเลือกตวั แทนในการนาเสนอ ๔. นาเสนองานหน้าช้นั เรียน ครใู ห้คาแนะนาและเพิ่มเรือ่ งราวใหก้ บั การนาเสนอของนกั เรียน ขน้ั ประเมิน (Evaluation) ๑. นกั เรียนทาแบบฝึกหดั ความแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ๒. ครูในนักเรียนเขียนความรู้ทรี่ ับจากการเรยี นรู้ ๑๐. สือ่ อปุ กรณ์และแหลง่ เรียนรู้ ๑๐.๑ สื่อ อปุ กรณ์ ๑. หนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 2. แบบสงั เกต การทากิจกรรม ๑๐.๒ แหลง่ เรียนรู้ ๑. ห้องสมุดโรงเรียน ๒. ห้องสืบค้นข้อมูล ๑๑. การวดั และการประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ๑. ตรวจสอบแบบทดสอบในหนังสือ - แบบตรวจแบบฝกึ หัด ผ้เู รียนมีการจดบันทึกที่ถกู ต้องตาม เรียนแบบฝึกหัด โจทย์ ร้อยละ ๘๐ ๒. สงั เกตกระบวนการในการทา - แบบสงั เกต ผู้เรียนมีกระบวนการสังเกตและ กิจกรรม รวบรวมข้อมูล ร้อยละ ๘๐

3 การเขยี นองค์ความร้ทู ี่ฉนั ไดร้ บั - แบบตรวจกิจกรรม ผ้เู รียนสามารถเขียนองค์ความร้ทู ี่ ฉนั ได้รบั ร้อยละ ๑๐๐ ๑๒. กิจกรรมเสนอแนะ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นายบรุ ิศร์ กองมะลิ) ผ้เู ขียนแผนการจัดการเรยี นรู้ ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในการใชแ้ ผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นางกมลชนก เทพบุ) หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ขอ้ เสนอแนะของหวั หนา้ กล่มุ บรหิ ารงานวิชาการในการใช้แผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นางสาวรัตติกาล ยศสุข) หวั หน้ากล่มุ บรหิ ารงานวิชาการ ขอ้ เสนอแนะของผู้อานวยการโรงเรียนในการใชแ้ ผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นางวิลาวัลย์ ปาลี) ผ้อู านวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

๑๓. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ ปัญหา / อปุ สรรค ข้อเสนอแนะ / แนว หมายเหตุ ห้อง ผลการจดั การเรียนรู้ ทางแกไ้ ข ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/๔ ลงชือ่ ................................................................. (นายบุริศร์ กองมะลิ) ผ้สู อน

แผนการจดั การเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ว 21101 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ปีการศึกษา ๒563 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เรือ่ ง หนว่ ยของสิง่ มีชีวติ เวลา 12 ช่ัวโมง แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 3 เรื่อง การแพรแ่ ละออสโมซิส เวลา 3 ช่วั โมง หลกั สตู รสถานศึกษาตามหลกั สูตรแกนกลางกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ บูรณาการ  หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง  งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน  หลักสตู รอาเซียน ผ้อู อกแบบ นายบุริศร์ กองมะลิ 1.สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เขา้ ใจสมบัติของสิ่งมชี ีวิต หนว่ ยพืน้ ฐานของสงิ่ มีชีวิต การลาเลียงสารผา่ นเซลล์ ความสัมพนั ธ์ ของ โครงสร้าง และหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสตั ว์และมนุษย์ทที่ างานสัมพนั ธก์ นั ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหนา้ ท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพชื ทท่ี างานสัมพนั ธ์กนั รวมทง้ั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ 2.มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชีว้ ดั ว1.2 ม.1/5 อธิบายกระบวนการแพร่และออสโมซิสจากหลักฐานเชิงประจักษแ์ ละยกตวั อย่างการแพร่ และออสโมซสิ ในชีวติ ประจาวนั ๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เพื่อใหน้ กั เรียนสามารถ ๓.๑ ความรู้ ๑. หลกั การของการแพร่ ออสโมซิส ๒. ตัวอย่างการแพร่และการออสโมซิสในชีวิตประจาวัน ๓.๒ ทกั ษะกระบวนการ ๑. การสังเกตจากสภาพจริง ๒. การวิเคราะห์ แยกแยะ ลกั ษณะจากรูปภาพ ๓. การใช้ระบบสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูล

๓.๓ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. เข้าเรียน ปฏบิ ัติกิจกรรม และส่งงานตรงเวลา ๒. ร่วมมือในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรับความคิดเห็นของผ้อู ืน่ และแสดง ความคิดเหน็ อย่างมีเหตุผล ๓. บนั ทึกข้อมลู จากการปฏิบตั ิกิจกรรม ๔. สาระการเรียนรู้ การออสโมซสิ (osmosis) คือ การแพร่ของน้าจากบริเวณทมี่ ีอนภุ าคของน้ามากไปส่บู ริเวณที่มี อนภุ าคของนา้ น้อยกว่า โดยผ่านเยือ่ เลือกผ่าน (semipermeable membrane) หรือเยื่อกั้นบางๆ เช่น เยือ่ ห้มุ เซลล์ กระดาษเซลโลเฟน กระเพาะปัสสาวะสตั ว์ เยื่อช้นั ในของไข่ การออสโมซิสในชีวติ ประจาวัน เชน่ การแช่ผกั ในน้า การปกั ดอกไม้ในแจกัน การดูดน้าเข้าส่รู ากพืช การ หุบของตน้ ไมยราบ การเหี่ยวของต้นพืช การแพร่ (diffusion) เปน็ การเคลื่อนทีห่ รือการกระจายอนภุ าคของสารจากบริเวณทมี่ ีความเข้มข้น ของสารมากไปยงั บรเิ วณที่มีความเข้มขน้ ของสารน้อย จนกว่าอนุภาคของสารจะมีความเข้มข้นเท่ากนั ทั้งสองบริเวณ หรือที่เราเรียกว่า สมดลุ ของการแพร่ การแพร่เกิดขึ้นกับสารทุกสถานะ ทั้งของแข็ง ของเหลว และแก๊ส อนุภาคของสารยังมีการเคลื่อนที่ ตลอดเวลาไม่หยดุ นิ่งเพื่อรักษาความเข้มข้นให้เท่ากนั ตลอดเวลา การแพร่เกิดขึ้นได้ทุกทศิ ทาง ไม่ แนน่ อน เรียกว่า การเคลือ่ นทีแ่ บบบราวด์เนียน

การแพร่ในชีวติ ประจาวนั เช่น การแพร่ของด่างทบั ทิมในน้า การแพร่ของกลิน่ อาหาร การแพร่กระจาย ของน้าหอม การฉีดพ่นยากันยงุ การฉีดพ่นสารกาจดั ศัตรพู ืช การแช่อิม่ ผลไม้ การจดุ ธปู บูชาพระ การ แพร่แก๊สออกซิเจนเข้าส่หู ลอดเลือด เปน็ ต้น ๕. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ข้อที่ ๑ รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ข้อที่ ๒ ซือ่ สัตย์สุจริต ข้อที่ ๓ มีวินยั ข้อที่ ๔ ใฝร่ ู้ใฝ่เรียน ข้อที่ ๕ อย่อู ย่างพอเพียง ข้อที่ ๖ มุ่งมนั่ ในการทางาน ข้อที่ ๗ รกั ความเปน็ ไทย ข้อที่ ๘ มีจิตสาธารณะ ๖. การอา่ น คิดวิเคราะห์ และการเขียน การพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กาหนดขอบเขตการประเมินและตัวชี้วัดที่แสดงความสามารถในการ อ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนของผ้เู รียน ด้ังน้ี การอ่านจากสือ่ สิ่งพิมพ์และสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ทีใ่ ห้ข้อมูลสารสนเทศ ข้อคิด ความรู้เกี่ยวกับ สังคมและสิ่งแวดล้อมที่เออื้ ให้ผ้อู ่านนาไปคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สรุปแนวคิดคุณค่าที่ได้ นาไปประยุกต์ใช้ ด้วยวิจารณญาณ และถ่ายทอดเปน็ ข้อเขียนเชิงสร้างสรรค์หรอื รายงานด้วยภาษาทถี่ ูกต้องเหมาะสม เช่น อ่านหนังสือพิมพ์ วารสาร หนังสือเรียน บทความ สนุ ทรพจน์ คาแนะนา คาเตือน แผนภมู ิ ตาราง แผนที่

ตวั บ่งช้ที างพฤติกรรมการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน 1.สามารถคดั สรรสือ่ ทตี่ ้องการอ่านเพื่อหาข้อมลู สารสนเทศได้ตาวตั ถปุ ระสงค์ สามารถสร้างความเข้าใจและประยุกต์ใช้ความร้จู ากการอ่าน 2. สามารถจบั ประเด็นสาคัญและประเด็นสนับสนุน โต้แย้ง 3. สามารถวเิ คราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตสุ มผล ความน่าเชือ่ ถือ ลาดบั ความและ ความเป็นไปได้ของเรื่องที่อ่าน 4. สามารถสรุปคณุ ค่า แนวคิด แง่คิดทไี่ ด้จากการอ่าน 5. สามารถสรปุ อภิปราย ขยายความแสดงความคิดเหน็ โต้แย้ง สนับสนนุ โน้มน้าวโดย การเขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ ผงั ความคิด เปน็ ต้น ๗. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน กาหนดสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียนตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ หลังจากผู้เรียนผ่านการเรียนและนาความร้ไู ปใช้ในการดารงชีวติ ในส่สู งั คม ตามหลกั การประเมิน สมรรถนะผ้เู รียน ๕ ด้าน ได้แก่ ๑) ความสามารถในการสื่อสาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๘. การบูรณาการ ๘.๑ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง - ๘.๒ การบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน - ๙. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) ๑. ครูทบทวนความรู้เรื่อง เยือ่ ห้มุ เซลล์และคุณสมบตั ิของเยือ่ ห้มุ เซลล์ ๒. ใช้คาถามกระตุ้นความสนใจ นักเรียนคิดว่าเยื่อห้มุ เซลล์มีประโยชน์ต่อสิ่งมีชวี ิตอย่างไร ๓. เขียนความคิดของนักเรียนบนกระดาน เพื่อกระตุ้นความอยากเรียนรู้ ข้ันสารวจและคน้ หา (Exploration) ๑. นาเรียนศึกษาเรื่องของการออสโมซิสและการแพร่ผ่านของสาร ๒. จดบันทึกในรปู แบบของภาพ

๓. ร่วมกนั สังเกตลกั ษณะที่แตกต่างระหว่างการออสโมซสิ และการแพร่ ขนั้ อธิบายและลงข้อสรุป (explanation) 1. นาแผนภาพเรื่องการออสโมซิสและการแพร่ผ่านแสดงให้นักเรียนดู 2. ร่วมกนั หาหลกั การถึงลกั ษณะจาเพาะและหลักการของการออสโมซิสและการแพร่ผ่าน 3. ครอู ธิบายหลกั การของการแพร่ผ่านและออสโมซิส 4. ยกตัวอย่างการแพร่ผ่านและออสโมซิส ในชีวิตประจาวนั ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) ๑. นกั เรียนอ่านวิธีการทดลองการการแพร่ผ่านโดยใชส้ ีผสมอาหารและการออสโมซิสโดยใชไ้ ข่ ๒. ครแู นะนาและทบทวนการการปฏิบตั กิ าร 3. ลงมือปฏบิ ตั ิการและสรปุ การปฏิบตั กิ ารร่วมกนั ขัน้ ประเมิน (Evaluation) ๑. นกั เรียนทาแบบฝึกหัดเรื่องการแพร่ผ่านและออสโมซิส ๒. นกั เรียนเขียนความรทู้ ี่นกั เรยี นได้รบั ตามความคิดของตน ๑๐. สื่ออปุ กรณแ์ ละแหลง่ เรียนรู้ ๑๐.๑ สื่อ อุปกรณ์ ๑. แผนการแพร่ผ่านและการออสโมซิส 2. แบบสงั เกต การทากิจกรรม ๑๐.๒ แหลง่ เรียนรู้ ๑. ห้องสมดุ โรงเรียน ๒. ห้องสืบค้นข้อมูล ๑๑. การวัดและการประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ๑. ตรวจสอบแบบทดสอบในหนงั สือ - แบบตรวจแบบฝกึ หัด ผ้เู รียนมีการจดบนั ทึกที่ถกู ต้องตาม เรียนแบบฝึกหัด โจทย์ ร้อยละ ๘๐ ๒. สังเกตกระบวนการในการทา - แบบสังเกต ผู้เรียนมีกระบวนการสงั เกตและ กิจกรรม - แบบตรวจกิจกรรม รวบรวมข้อมลู ร้อยละ ๘๐ 3 การเขยี นองค์ความร้ทู ี่ฉันไดร้ ับ ผ้เู รียนสามารถเขียนองค์ความร้ทู ี่ ฉันได้รบั ร้อยละ ๑๐๐

๑๒. กิจกรรมเสนอแนะ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นายบรุ ิศร์ กองมะลิ) ผ้เู ขียนแผนการจัดการเรยี นรู้ ขอ้ เสนอแนะของหัวหนา้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ในการใชแ้ ผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นางกมลชนก เทพบุ) หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มบรหิ ารงานวิชาการในการใชแ้ ผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นางสาวรตั ติกาล ยศสขุ ) หวั หน้ากล่มุ บรหิ ารงานวิชาการ ขอ้ เสนอแนะของผู้อานวยการโรงเรียนในการใช้แผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นางวิลาวัลย์ ปาลี) ผ้อู านวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

๑๓. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ ปัญหา / อปุ สรรค ข้อเสนอแนะ / แนว หมายเหตุ ห้อง ผลการจดั การเรียนรู้ ทางแกไ้ ข ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/๔ ลงชือ่ ................................................................. (นายบุริศร์ กองมะลิ) ผ้สู อน