แผนการจัดการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง สารรอบตัว เวลา 22 ชัว่ โมง วิชา วิทยาศาสตรพ์ ื้นฐาน รหสั วิชา ว 21101 ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒563 มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนีย่ วระหว่างอนภุ าค หลกั และธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะ ของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี ตวั ชี้วดั ว2.1 ม.1/1 อธิบายสมบัติทางกายภาพบางประการของธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ โดยใช้หลักฐาน เชิงประจักษ์ท่ีได้จากการสังเกตและการทดสอบและใช้สารสนเทศที่ได้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆรวมทั้งจัดกลุ่ม ธาตเุ ป็นโลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ ว2.1 ม.1/2 วิเคราะห์ผลจากการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะและธาตุกัมมันตรังสีที่มีต่อส่ิงมีชีวิต สง่ิ แวดล้อมเศรษฐกจิ และสงั คม จากขอ้ มูลทร่ี วบรวมได้ ว2.1 ม.1/3 ตระหนกั ถงึ คณุ ค่าของการใช้ธาตโุ ลหะ อโลหะกึง่ โลหะ ธาตกุ ัมมนั ตรังสโี ดยเสนอแนวทางการ ใช้ธาตอุ ยา่ งปลอดภยั คมุ้ ค่า ว2.1 ม.1/4 เปรียบเทียบจุดเดือดจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารผสม โดยการวัดอุณหภูมิเขียน กราฟแปลความหมายข้อมูลจากกราฟ หรอื สารสนเทศ ว2.1 ม.1/5 อธิบายและเปรียบเทียบความหนาแนน่ ของสารบรสิ ทุ ธิ์และสารผสม ว2.1 ม.1/6 ใช้เคร่ืองมือเพ่ือวดั มวลและปริมาตรของสารบริสทุ ธแิ์ ละสารผสม ว2.1 ม.1/7 อธิบายเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างอะตอมธาตุและสารประกอบ โดยใช้แบบจําลองและ สารสนเทศ ว2.1 ม.1/8 อธิบายโครงสร้างอะตอมที่ประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน โดยใช้ แบบจาํ ลอง
แผนการจัดการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จม่ จังหวดั เชียงใหม่ สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ วิชา วิทยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน รหสั วิชา ว 21101 ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒563 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่อื ง สารรอบตวั เวลา 22 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1 เร่อื ง สารและการจาแนกสาร เวลา 3 ชวั่ โมง หลกั สตู รสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ บูรณาการ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น หลกั สูตรอาเซียน ผู้ออกแบบ นายบรุ ิศร์ กองมะลิ 1.สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี 2.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ว2.1 ม.1/8 อธิบายโครงสร้างอะตอมที่ประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน โดยใช้ แบบจาํ ลอง ว2.1 ม.1/7 อธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างอะตอมธาตุและสารประกอบ โดยใช้ แบบจาํ ลองและสารสนเทศ ๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เพือ่ ให้นักเรียนสามารถ ๓.๑ ความรู้ ๑. อธิบายโครงสร้างอะตอมทีป่ ระกอบดว้ ยโปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ลก็ ตรอน ๒. อธิบายเกยี่ วกับความสัมพันธ์ระหว่างอะตอมธาตแุ ละสารประกอบ ๓.๒ ทกั ษะกระบวนการ ๑. การสงั เกตจากสภาพจริง ๒. การวิเคราะห์ แยกแยะ ลักษณะจากรปู ภาพ ๓. การใชร้ ะบบสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมลู ๓.๓ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
๑. เข้าเรียน ปฏิบัติกิจกรรม และส่งงานตรงเวลา ๒. ร่วมมอื ในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรบั ความคิดเห็นของผอู้ ื่น และแสดง ความคิดเหน็ อย่างมเี หตผุ ล ๓. บันทึกข้อมลู จากการปฏิบตั ิกิจกรรม ๔. สาระการเรียนรู้ สสาร คืออะไรวตั ถุต่างๆ ที่อยู่รอบตวั เรา เช่น อากาศ ก๊าซ ดิน น้า หรอื หนังสอื เป็นสสาร ทังสิน ตวั เราเองก็เปน็ สสาร สตั ว์และพืชก็เปน็ สสารสสารจะมีคุณสมบตั ิ 2 ประการ คอื ต้องการทีอ่ ยู่ ถ้าเราเอาหนิ ใส่ในกล่องกระดาษใบหน่งึ ทีละก้อน ในที่สดุ ก้อนหนิ จะเต็มกล่อง ไม่สามารถใส่ก้อนหนิ ได้ อีก เพราะก้อนหนิ ต้องการทีอ่ ยู่กล่องจึงเตม็ หรอื ถ้วยแก้วทีเ่ รามองดวู ่าว่างเปล่า แท้ที่จรงิ แล้วมีอากาศ อยู่ภายใน แต่เรามองไม่เหน็ มนั ลองเอากระดาษมาหนง่ึ ชิน ใส่ลงไปในก้นแก้วเปล่า แล้วคว้า่ ถ้วยแก้วนี ลงไปในถงั น้า หรอื อ่างนา้ กดใหแ้ ก้วจมอยู่ในน้าสักครู่ จงึ ยกถ้วยแก้วขึนมาตรงๆ จะเห็นว่ากระดาษจะ ไม่เปียก เพราะน้าเข้าไปในแก้วไม่ได้ แสดงวา่ มีส่งิ ใดสิง่ หน่งึ อยู่ในแก้ว นั่นก็คือ อากาศ ดังนนั อากาศก็ ต้องการทีอ่ ยู่ น้าจึงเข้าไปในแก้วไม่ได้มีนา้ หนัก สสารทกุ อย่างตอ้ งมีน้าหนัก เช่น กระดาษเราอาจจะไม่ รู้สกึ ว่ากระดาษมันหนัก แต่ถ้าลองยกหนงั สือสกั 10 เล่ม จะรู้สกึ ได้ว่ากระดาษนันก็มีนา้ หนกั หรอื น้า ลูกบอลทีย่ งั ไม่ได้สบู ลมมาวางไว้บนตาช่ัง แล้วดูว่าหนกั เท่าไร หลงั จากนันน้าลกู บอลไปสูบ ให้อากาศ เข้าไปจนเตม็ ลูกบอล แลว้ น้าไปวางบนตาชงั่ อีกครัง จะเห็นว่าครังนลี กู บอลจะหนักกว่าครังแรก แสดง ว่าอากาศที่เพิ่มเข้าไปในลูกบอลนันมีน้าหนกั อะตอม เป็นโครงสร้างขนาดเล็กมากมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ที่พบได้ในสิ่งของทุก ๆ อย่าง รอบตัวเรา อะตอมประกอบไปด้วยอนุภาค 3 ชนิด คือ: อิเลก็ ตรอน ซึง่ มีประจลุ บโปรตอน ซึง่ มปี ระจุ บวกนิวตรอน ซึง่ ไม่มปี ระจุ อิเล็กตรอน (Electron) เป็นอนุภาค ที่มีประจุไฟฟ้า เป็นลบวิ่งอยู่รอบๆ นิวเคลียส โดยปกติ จ้านวน อิเล็กตรอน ในอะตอมที่เป็นกลางทางไฟฟ้าจะมีเท่ากับจ้านวน โปรตอน เช่น ไฮโดรเจน มี โปรตอน 1 ตัว และอิเล็กตรอน 1 ตัว ฮีเลียม มีโปรตอน 2 ตวั และอิเลก็ ตรอน 2 ตวั โปรตรอน (Proton) คืออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเป็นบวกอยู่ในนิวเคลียสหรือใจกลางของธาตุ ธาตุเดียวกันจะมีจ้านวนโปรตอนเท่ากัน เช่นไฮโดรเจน เป็นธาตุตัวที่ 1 เบาที่สุดมีโปรตอนตัวเดียว โปรตอนเกิดจากควาร์ก up 2 และ down 1 มีประจุ +1.60×10^(-19)คูลอมบ์ มีน้าหนัก 1.67×10^(-27) กิโลกรัม ฮีเลียม มี 2 ตัว เหลก็ มี 26 ตัว ยเู รเนียม มี 92 ตัว นิวตรอน (Neutron) เป็นอนุภาคที่เป็นกลางไม่มีประจไุ ฟฟ้าอยู่ในนิวเคลียสมีจ้านวนใกล้เคียง กับโปรตอนแต่อาจแตกต่างกันได้เช่นในฮีเลียมมีนิวตรอน 2 ตัว เท่ากับโปรตอนแต่ในเหล็กมี 30 ตัว และในยูเรเนียมมีนิวตรอนถึง 146 ตัว นิวตรอนอาจเกิดจากการอัดอีเล็กตรอนกับโปรตอนดังเช่นใน ดาวฤกษ์มวลมาก นิวตรอนเกิดจากควาร์ก up 1 อนุภาค และ ควาร์ก down 2 อนุภาค มีน้าหนัก 1.67×10^(-27)ซึง่ เท่ากันโปรตอน
สสารมี 3 สถานะ คอื ของแข็ง ของเหลวและกา๊ ซ ของแข็ง (Solid) คือ สถานะของสสารที่มีอนุภาคอยู่ชดิ กนั มีช่องว่างระหว่างอนุภาคน้อย อนุภาค ของสสารจงึ เคลื่อนไหวได้ยาก ดังนนั สสารจงึ มีรูปร่างคงทีเ่ กิดการเปลีย่ นแปลงได้ยาก ของเหลว (Liquid) คือ สถานะของสสารที่มีอนุภาคอยู่ห่างกันมากกว่าของแข็ง จงึ อยู่กันอย่าง หลวม ๆ อนุภาคของสสารจึงเคลื่อนไหวได้ง่ายขึน ดังนันสสารจึงมรี ปู ร่างไม่แน่นอน เปลีย่ นแปลงไป ตามภาชนะที่บรรจุ สสารทีม่ ีสถานะเป็นของเหลว เช่น กา๊ ซ (Gas) คือ สถานะของสสารที่มีอนุภาคอยู่หา่ งกนั จึงมีแรงยึดเหนย่ี วระหว่างกันน้อยมาก ท้า ให้อนภุ าคเคลื่อนทีไ่ ด้อย่างอิสระ ดังนนั สสารจึงมรี ูปร่างไม่แน่นอน เมอ่ื สสารอยู่ในภาชนะใดอนุภาค ของสสารจะฟุ้งกระจายเตม็ ภาชนะสสารทีม่ ีสถานะเปน็ ก๊าซ เชน่ อากาศ ก๊าซหุงต้ม เปน็ ต้น ๕. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ข้อที่ ๑ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ข้อที่ ๒ ซือ่ สัตย์สุจริต ข้อที่ ๓ มีวนิ ยั ข้อที่ ๔ ใฝ่รู้ใฝเ่ รียน ข้อที่ ๕ อยู่อย่างพอเพียง ข้อที่ ๖ มุ่งมนั่ ในการทา้ งาน ข้อที่ ๗ รักความเป็นไทย ข้อที่ ๘ มีจิตสาธารณะ
๖. การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และการเขียน การพฒั นาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน พืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ได้กา้ หนดขอบเขตการประเมินและตวั ชวี ดั ที่แสดงความสามารถในการ อ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียนของผู้เรยี น ดังนี การอา่ นจากสื่อส่ิงพิมพ์และสื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ทีใ่ ห้ขอ้ มลู สารสนเทศ ข้อคิด ความรเู้ กี่ยวกบั สงั คมและสิ่งแวดล้อมทีเ่ อือให้ผู้อา่ นน้าไปคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สรุปแนวคิดคณุ ค่าที่ได้ น้าไปประยุกต์ใช้ ด้วยวิจารณญาณ และถ่ายทอดเปน็ ข้อเขียนเชงิ สร้างสรรค์หรือรายงานด้วยภาษาที่ถูกต้องเหมาะสม เชน่ อ่านหนังสือพิมพ์ วารสาร หนงั สือเรียน บทความ สนุ ทรพจน์ ค้าแนะน้า ค้าเตอื น แผนภมู ิ ตาราง แผนที่ ตวั บ่งชีทางพฤติกรรมการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน 1.สามารถคดั สรรสื่อที่ตอ้ งการอ่านเพือ่ หาข้อมูลสารสนเทศได้ตาวัตถุประสงค์ สามารถสร้างความเข้าใจและประยุกต์ใชค้ วามรู้จากการอ่าน 2. สามารถจับประเดน็ สา้ คญั และประเดน็ สนับสนนุ โต้แย้ง 3. สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล ความน่าเชือ่ ถอื ล้าดับความและ ความเป็นไปได้ของเรื่องที่อ่าน 4. สามารถสรปุ คุณค่า แนวคิด แงค่ ิดที่ได้จากการอ่าน 5. สามารถสรปุ อภปิ ราย ขยายความแสดงความคิดเห็น โต้แย้ง สนบั สนุน โน้มน้าวโดย การเขียนสื่อสารในรปู แบบต่าง ๆ เช่น ผงั ความคิด เป็นต้น ๗. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น กา้ หนดสมรรถนะส้าคัญของผู้เรยี นตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขันพืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ หลงั จากผู้เรยี นผา่ นการเรียนและน้าความรไู้ ปใช้ในการด้ารงชีวติ ในสู่สังคม ตามหลักการประเมนิ สมรรถนะผเู้ รียน ๕ ด้าน ได้แก่ ๑) ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปญั หา ๔) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๘. การบูรณาการ ๘.๑ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ๘.๒ การบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น -
๙. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) ๑. ครูน้าเข้าสู่บทเรียนให้ให้นักเรียนชว่ ยกันยกตวั อย่างสง่ิ ของ วสั ดุ ๒. จากครูใชค้ ้าถามว่า นกั เรียนคิดว่าองค์ประกอบของสสารเหล่านีคืออะไร เพือ่ นา้ เข้าสู่ เนือหา ข้นั สารวจและค้นหา (Exploration) ๑. ใช้บอร์ดภาพ ในการเป็นสือ่ ใหน้ ักเรียนสังเกตและศึกษา ๒. ครูช่วยในการจา้ แนกส่วนประกอบของอะตอม เพือ่ ให้นักเรียนสังเกตได้ดีขนึ ข้ันอธิบายและลงข้อสรุป (explanation) 1. ให้นกั เรียนอภิปรายว่านักเรียนสงั เกตเห็นอะไรและมีหน้าที่อย่างไร 2. ครูอธิบายลักษณะของสว่ นประกอบของอะตอม ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) ๑. ครูใช้ค้าถาม ว่า การจดั เรียงตวั ของอะตอมมีผลต่อสถานะอย่างไร ๒. ครใู ช้แผนภาพ ของการเรียงตวั ของอะตอมตามสถานะของสาร และอธิบายถึงลกั ษณะ อะตอมแตล่ ะสถานะ ขน้ั ประเมิน (Evaluation) ๑. นักเรียนทา้ แบบฝกึ หดั จากนันใหค้ รตู รวจ ๒. นกั เรียนเขียนสิง่ ที่ฉันได้เรยี นรู้ในสมดุ ๑๐. สื่ออุปกรณ์และแหล่งเรียนรู้ ๑๐.๑ สื่อ อุปกรณ์ ๑. รูปแผนผงั องค์ประกอบของอะตอม 2. แบบสงั เกต การท้ากิจกรรม ๑๐.๒ แหลง่ เรียนรู้ ๑. หอ้ งสมดุ โรงเรียน ๒. หอ้ งสบื ค้นขอ้ มลู ๑๑. การวัดและการประเมินผล วิธีการ เครือ่ งมือ เกณฑ์ ผเู้ รียนมีการจดบนั ทึกที่ถูกต้องตาม ๑. ตรวจสอบแบบทดสอบในหนงั เรียนแบบฝกึ หดั - แบบตรวจแบบฝกึ หัด โจทย์ ร้อยละ ๘๐
๒. สงั เกตกระบวนการในการทา้ กิจกรรม - แบบสังเกต ผเู้ รียนมีกระบวนการสังเกตและ 3 การเขียนองค์ความรทู้ ี่ฉันได้รบั - แบบตรวจกิจกรรม รวบรวมข้อมูล ร้อยละ ๘๐ ผเู้ รียนสามารถเขียนองค์ความรทู้ ีฉ่ ัน ได้รับ ร้อยละ ๑๐๐ ๑๒. กิจกรรมเสนอแนะ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นายบุริศร์ กองมะลิ) ผเู้ ขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะของหวั หน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้ในการใช้แผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นางกมลชนก เทพบุ) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ข้อเสนอแนะของหวั หน้ากลมุ่ บรหิ ารงานวชิ าการในการใชแ้ ผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นางสาวรตั ติกาล ยศสขุ ) หัวหนา้ กลุ่มบริหารงานวิชาการ ขอ้ เสนอแนะของผู้อานวยการโรงเรียนในการใชแ้ ผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นางวิลาวัลย์ ปาลี) ผอู้ ้านวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31
๑๓. บันทึกผลการจัดการเรยี นรู้ ปัญหา / อปุ สรรค ขอ้ เสนอแนะ / แนว หมายเหตุ ห้อง ผลการจดั การเรียนรู้ ทางแกไ้ ข ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/๔ ลงชื่อ................................................................. (นายบุริศร์ กองมะลิ) ผสู้ อน
แผนการจดั การเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแม่แจม่ จังหวัดเชียงใหม่ สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ วิชา วิทยาศาสตร์พน้ื ฐาน รหัสวิชา ว 21101 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒563 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรอ่ื ง สารรอบตวั เวลา 23 ช่วั โมง แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 2 เร่อื ง การเปล่ียนแปลงของสาร เวลา 3 ชัว่ โมง หลักสตู รสถานศึกษาตามหลักสตู รแกนกลางกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ บรู ณาการ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น หลักสูตรอาเซียน ผอู้ อกแบบ นายบรุ ิศร์ กองมะลิ 1.สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี 2.มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั ว2.1 ม.1/4 เปรียบเทียบจดุ เดอื ดจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธแ์ิ ละสารผสม โดยการวัดอุณหภูมิ เขยี นกราฟแปลความหมายขอ้ มลู จากกราฟ หรอื สารสนเทศ ๓. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เพือ่ ให้นกั เรียนสามารถ ๓.๑ ความรู้ ๑. หลักการแปลีย่ นสถานะของสสาร ๓.๒ ทักษะกระบวนการ ๑. การสงั เกตจากสภาพจริง ๒. การวิเคราะห์ แยกแยะ ลกั ษณะจากรปู ภาพ ๓. การใชร้ ะบบสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูล
๓.๓ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. เข้าเรียน ปฏิบตั ิกิจกรรม และส่งงานตรงเวลา ๒. ร่วมมอื ในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรบั ความคิดเห็นของผอู้ ื่น และแสดง ความคิดเห็นอย่างมเี หตุผล ๓. บันทึกข้อมูลจากการปฏิบัติกิจกรรม ๔. สาระการเรียนรู้ สถานะของสาร สารต่างๆที่อยู่รอบตัวเรา ทังใกล้ตัว หรือแม้แต่สารที่อยู่ไกลตัวออกไปนอกโลก จะด้ารงอยู่ในรูปแบบ ลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งสารแต่ละประเภทก็จะมีคุณสมบัติแตกต่างกัน ลักษณะรูปแบบของ สารที่เกิดจากการจับตัวกันของโมเลกุลที่แตกต่างกัน เรียกว่า สถานะของสาร (State of Matter) ซึ่ง สามารถจา้ แนกสถานะของสสารออกได้เปน็ 3 สถานะ คือ ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส ของแข็ง (Solid) เป็นสารที่มีการจัดเรียงตัวของอนุภาคชิดกันมาก จึงท้าให้มีการอัดกันแน่น มีแรง ยึดเหนี่ยวในอนุภาคสูง ส่งผลให้ของแข็งนันมีรูปร่างที่แน่นอน เปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ยาก หากน้า ของแขง็ ไปใส่ในภาชนะต่างๆจะไม่มีการเปลี่ยนรูปร่างตามภาชนะ ปริมาตรของของแขง็ คงที่ ยกตัวอย่าง เชน่ แก้ว หิน ไม้ เป็นต้น ของเหลว (Liquid) อนุภาคในของเหลวจะยึดกันแบบหลวมๆ ไม่ค่อยชิดกันมาเท่าใดนัก ท้าให้ ของเหลวสามารถมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ง่าย โดยรูปร่างจะเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ แต่ ปริมาตรของของเหลวยังคงมีค่าคงที่ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคมีค่าน้อยกว่าแรงยึดเหนี่ยวภายใน ของแข็ง สารที่มสี ถานะเป็นของเหลว เชน่ นา้ ปรอท เป็นต้น แก๊ส (Gas) อนุภาคจะมีแรงยึดเหนี่ยกันน้อยมาก อนุภาคของแก๊สอยู่อย่างอิสระและห่างกันมาก อนุภาคในสถานะแก๊ยจึงมีการฟุ้งกระจายไปทุกทิศทุกทาง ท้าให้แก๊สมีรูปร่างไม่แน่นอนเปลี่ยนไปตาม
ภาชนะที่บรรจุ แต่หากอยู่ในภาชนะที่ไม่ได้ปิดมิดชิดก็จะฟุ้งกระจาย ปริมาตรของแก๊สจึงไม่คงที่ด้วย ตัวอย่างสารทีอ่ ยู่ในสถานะแก๊ส เชน่ อากาศที่เราหายใจเข้าไป เป็นต้น การเปลีย่ นแปลงสถานะของสาร สสาร มีอยู่ 3 สถานะด้วยกัน คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ซึ่งทังสามสถานะนีมีคุณสมบัติ แตกต่างกันออกไป แต่อย่างไรก็ตาม สสารทังสามสถานะก็ยังสามารถที่จะมีการเปลี่ยนแปลงไปเป็น สถานะอืน่ ได้ เราเรยี กการเปลีย่ นแปลงนันว่า “การเปลี่ยนสถานะของสาร” ซึ่งการเปลีย่ นแปลงสถานะ ของสารนันจะมี ความร้อน เข้ามาเกี่ยวข้อง โดยสารที่มีการเปลี่ยนแปลงสถานะอาจจะเกิดจากการ ได้รับความร้อนจากสิ่งแวดล้อม เรียกว่าการ ดูดความร้อน หรืออาจจะมีการปล่อยความร้อนให้กับ สิง่ แวดล้อมภายนอก เรียกว่า การคายความรอ้ น ซึ่งสสารจะมีการเปลี่ยนแปลงสถานะแบบต่างๆ ดังนี การหลอมเหลว เป็นการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งกลายไปเป็นของเหลว โดยของแข็งมีการดูด ความร้อนจากภายนอกเข้าไปท้าให้อนุภาคอยู่ห่างกันมากขึน เช่น น้าแข็งหลอมเหลวไปเป็นน้าที่ อุณหภูมิ 0 องศาเซลล์เซียส การหลอมเหลวเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การละลาย อุณหภูมิที่ของแข็ง กลายเป็นของเหลว เรียกว่า จดุ หลอมเหลว การกลายเป็นไอ เป็นการเปลี่ยนสถานะจากของเหลว กลายไปเป็นแก๊ส โดยมีการดูดความร้อน ท้าให้อนุภาคของของเหลวกระจายตัวห่างกัน ความเป็นระเบียบลดน้อยลง การกลายเป็นไปเรียกอีก อย่างหนึ่งว่า การระเหย เช่น น้าระเหยเป็นไอน้าที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส เรียกอุณหภูมิที่ท้าให้ สสารกลายเป็นไอว่า จดุ เดือด การควบแน่น เกิดจากอนุภาคของแก๊สมีการคายพลังงานออกไป ท้าให้อนุภาคแก๊สขยับเข้าชิดกัน มากขึนจนกลายเปน็ ของเหลว เชน่ ไอน้าในอากาศควบแนน่ เป็นหยดนา้ ค้าง การแข็งตัว หมายถึงการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวหลายไปเป็นของแข็ง โดยมีการคายพลังงาน ออกมาให้กับสิ่งแวดล้อม ท้าให้อนุภาคมีพลังงานลดลงจึงชิดตัวกันมากขึน อุณภูมิที่ท้าให้ของเหลว กลายเปน็ ของแข็ง เรียกว่า จดุ เยือกแข็ง เชน่ น้ามีจุดเยือกแข็งที่ 0 องศาเซลลเซียส การระเหิด เป็นการเปลี่ยนแปลงสถานะจากของแข็งกลายไปเป็นแก๊ส โดยไม่ผ่านการเป็นของเหลว ก่อน เช่น การระเหิดของการบูร การระเกิดของลกู เหมน็ เป็นต้น การระเหิดกลับ หมายถึง การเปลี่ยนสถานะของแก๊สมาเป็นของแข็งเลยโดยไม่ผ่านการเป็น ของเหลว ซึง่ จะมีการคายพลังงานอย่างรวดเร็ว เป็นกระบวนการทีเ่ กิดขึนได้ยากมาก ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ ๑ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ข้อที่ ๒ ซือ่ สตั ย์สุจริต ข้อที่ ๓ มีวนิ ัย ข้อที่ ๔ ใฝ่รู้ใฝเ่ รียน
ข้อที่ ๕ อยู่อย่างพอเพียง ข้อที่ ๖ มุ่งมั่นในการทา้ งาน ข้อที่ ๗ รักความเปน็ ไทย ข้อที่ ๘ มีจิตสาธารณะ ๖. การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และการเขียน การพฒั นาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน พืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ได้กา้ หนดขอบเขตการประเมินและตัวชวี ัดที่แสดงความสามารถในการ อ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียนของผู้เรยี น ดังนี การอา่ นจากสือ่ ส่ิงพิมพ์และสื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ที่ให้ขอ้ มูลสารสนเทศ ข้อคิด ความรเู้ กีย่ วกบั สังคมและสิ่งแวดล้อมที่เออื ให้ผู้อา่ นนา้ ไปคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สรปุ แนวคิดคุณค่าทีไ่ ด้ นา้ ไปประยุกต์ใช้ ด้วยวิจารณญาณ และถ่ายทอดเป็นข้อเขียนเชงิ สร้างสรรค์หรือรายงานด้วยภาษาที่ถกู ต้องเหมาะสม เชน่ อ่านหนงั สือพิมพ์ วารสาร หนงั สือเรียน บทความ สุนทรพจน์ ค้าแนะน้า ค้าเตือน แผนภมู ิ ตาราง แผนที่ ตวั บ่งชีทางพฤติกรรมการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน 1.สามารถคัดสรรสื่อทีต่ อ้ งการอ่านเพือ่ หาข้อมูลสารสนเทศได้ตาวตั ถุประสงค์ สามารถสร้างความเข้าใจและประยุกต์ใชค้ วามรู้จากการอ่าน 2. สามารถจับประเดน็ ส้าคญั และประเดน็ สนับสนุน โต้แย้ง 3. สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล ความน่าเชื่อถอื ล้าดับความและ ความเปน็ ไปได้ของเรื่องที่อ่าน 4. สามารถสรปุ คุณค่า แนวคิด แงค่ ิดที่ได้จากการอา่ น 5. สามารถสรุป อภปิ ราย ขยายความแสดงความคิดเหน็ โต้แย้ง สนับสนุน โน้มน้าวโดย การเขียนสื่อสารในรปู แบบต่าง ๆ เช่น ผังความคิด เปน็ ต้น ๗. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น ก้าหนดสมรรถนะส้าคญั ของผู้เรยี นตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขันพืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ หลังจากผู้เรยี นผา่ นการเรียนและน้าความรไู้ ปใช้ในการดา้ รงชีวติ ในสู่สงั คม ตามหลกั การประเมนิ สมรรถนะผเู้ รียน ๕ ด้าน ได้แก่ ๑) ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปญั หา ๔) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
๘. การบรู ณาการ ๘.๑ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ๘.๒ การบรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น - ๙. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) ๑. ครูน้าเข้าโดยการทบทวนสิง่ ที่เรียนไป ในครังก่อน ๒. ครูใช้คา้ ถาม น้าเรียนคิดว่าสถานะสามารถเปลี่ยนแปลงไดอย่างไร ขั้นสารวจและคน้ หา (Exploration) ๑. ครใู ห้แผนภาพการเปลี่ยนแปลงของสถานะสสาร ๒. นกั เรียนจา้ แนกและสงั เกตคา้ ที่เปน็ การเปลีย่ นแปลง ขน้ั อธิบายและลงขอ้ สรุป (explanation) 1. นกั เรียนคิดวิเคราะห์จากลักษณะอะตอมในแผนภาพและอภปิ รายนา้ เสนอ 2. ครูใหค้ า้ แนะน้าและอธิบายเป็นความรู้เพิ่มเตมิ ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) ๑. ครูอธิบายขันตอนในการเปลี่ยนสถานะของสสาร โดยการวาดรปู อะตอมตามวงจรสถานะ ๒. นักเรียนเขียนวงจรของการเปลี่ยนอแปลงสถานะของแข็ง ของเหลว แก๊สโดยใช้ค้าในการ เปลีย่ นแปลงใหถ้ ูกต้อง ขน้ั ประเมิน (Evaluation) ๑. นกั เรียนท้าแบบฝกึ หัด จากนันใหค้ รูตรวจ ๒. นักเรียนเขียนสิ่งทีฉ่ นั ได้เรยี นรู้ในสมดุ ๑๐. สื่ออุปกรณ์และแหลง่ เรียนรู้ ๑๐.๑ สือ่ อปุ กรณ์ ๑. รูปแผนผังสารรอบตัว 2. แบบสังเกต การท้ากิจกรรม ๑๐.๒ แหลง่ เรียนรู้ ๑. หอ้ งสมดุ โรงเรียน ๒. หอ้ งสบื ค้นขอ้ มูล
๑๑. การวัดและการประเมินผล เครือ่ งมือ เกณฑ์ วิธีการ - แบบตรวจแบบฝกึ หดั ผเู้ รียนมีการจดบันทึกทีถ่ กู ต้องตาม ๑. ตรวจสอบแบบทดสอบในหนงั เรียน โจทย์ ร้อยละ ๘๐ แบบฝกึ หดั ๒. สังเกตกระบวนการในการท้า - แบบสังเกต ผเู้ รียนมีกระบวนการสงั เกตและ กิจกรรม - แบบตรวจกิจกรรม รวบรวมข้อมูล ร้อยละ ๘๐ 3 การเขียนองค์ความรทู้ ี่ฉันได้รบั ผเู้ รียนสามารถเขียนองค์ความรทู้ ี่ ฉันได้รับ ร้อยละ ๑๐๐ ๑๒. กิจกรรมเสนอแนะ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นายบรุ ิศร์ กองมะลิ) ผเู้ ขียนแผนการจดั การเรียนรู้ ขอ้ เสนอแนะของหวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในการใชแ้ ผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นางกมลชนก เทพบุ) หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ข้อเสนอแนะของหวั หน้ากล่มุ บรหิ ารงานวชิ าการในการใชแ้ ผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นางสาวรตั ติกาล ยศสุข) หวั หนา้ กลุ่มบริหารงานวิชาการ ขอ้ เสนอแนะของผูอ้ านวยการโรงเรียนในการใชแ้ ผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นางวิลาวลั ย์ ปาลี) ผอู้ ้านวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่
๑๓. บันทึกผลการจัดการเรยี นรู้ ปัญหา / อปุ สรรค ขอ้ เสนอแนะ / แนว หมายเหตุ ห้อง ผลการจดั การเรียนรู้ ทางแกไ้ ข ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/๔ ลงชื่อ................................................................. (นายบุริศร์ กองมะลิ) ผสู้ อน
แผนการจดั การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแม่แจม่ จังหวัดเชียงใหม่ สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ วิชา วิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน รหัสวิชา ว 21101 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒563 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรอ่ื ง สารรอบตัว เวลา 22 ชวั่ โมง แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 เร่อื ง สารบริสุทธิ์ เวลา 4 ชั่วโมง หลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสตู รแกนกลางกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ บรู ณาการ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น หลักสูตรอาเซียน ผอู้ อกแบบ นายบรุ ิศร์ กองมะลิ 1.สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี 2.มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ัด ว2.1 ม.1/1 อธิบายสมบัติทางกายภาพบางประการของธาตุโลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ โดยใช้ หลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้จากการสังเกตและการทดสอบและใช้สารสนเทศท่ีได้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆรวมทั้ง จัดกลุ่มธาตุเปน็ โลหะ อโลหะ และกง่ึ โลหะ ว2.1 ม.1/2 วิเคราะห์ผลจากการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะและธาตุกัมมันตรังสีท่ีมีต่อสิ่งมีชีวิต ส่งิ แวดลอ้ มเศรษฐกจิ และสังคม จากข้อมูลทร่ี วบรวมได้ ว2.1 ม.1/3 ตระหนักถึงคุณค่าของการใช้ธาตุโลหะ อโลหะก่ึงโลหะ ธาตุกัมมันตรังสีโดยเสนอแนว ทางการใชธ้ าตอุ ย่างปลอดภยั คุ้มคา่ ๓. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้นกั เรียนสามารถ ๓.๑ ความรู้ ๑. อธิบายสมบัติทางกายภาพบางประการของธาตโุ ลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ๒. สงั เกตและการทดสอบและใช้สารสนเทศที่ได้จากแหล่งขอ้ มูลต่าง ๆรวมทังจดั กลุ่มธาตุเป็น โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ
๓.๒ ทกั ษะกระบวนการ ๑. การสงั เกตจากสภาพจริง ๒. การวิเคราะห์ แยกแยะ ลักษณะจากรปู ภาพ ๓. การใชร้ ะบบสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมลู ๓.๓ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๑. เข้าเรียน ปฏิบัติกิจกรรม และส่งงานตรงเวลา ๒. ร่วมมอื ในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรับความคิดเห็นของผอู้ ื่น และแสดง ความคิดเห็นอย่างมเี หตผุ ล ๓. บันทึกข้อมลู จากการปฏิบัติกิจกรรม ๔. สาระการเรียนรู้ 1. สารเน้อื เดียว เมื่อสังเกตด้วยตาเปล่า เราจะมองเหน็ สารเนือเดียวมีลักษณะของเนือสารกลมกลืนกนั ไปเป็นเนือเดียว แบ่งออกได้เปน็ สารบริสทุ ธิ์และสารละลาย 1.1 สารบรสิ ุทธิ์ เป็นสารที่ไม่สามารถแยกอออกจากกนั ได้ด้วยวิธีทางกายภาพ เชน่ การกรอง นอกจากนียงั มี องค์ประกอบทางเคมีตายตัวและมีสมบัติชัดเจน แบ่งออกได้เป็น ธาตุและสารประกอบ 1) ธาตุ เปน็ องค์ประกอบพืนฐานของสสารทังหลาย โดยเปน็ สารบริสทุ ธิท์ ีป่ ระกอบด้วยอนภุ าค ของอะตอมเพียงชนิดเดียวเท่านัน มีจุดเดือดจดุ หลอมเหลวคงที่ ปจั จุบนั นักวิทยาศาสตร์คน้ พบธาตุแล้ว ทังสิน 118 ชนิด ธาตุสามารถแบ่งออกได้เป็น - โลหะ มีสมบัติน้าไฟฟ้าและความร้อนได้ดี ผวิ เป็นมนั วาว มคี วามเหนยี ว และสามารถตีเปน็ แผน่ บางได้ สว่ นใหญ่อยู่ในสถานะของแขง็ เช่น ทองคา้ (Au) เงิน (Ag) เหลก็ (Fe) สังกะสี (Zn) - อโลหะ มีสมบตั ิน้าไฟฟ้าและความร้อนได้ไม่ดนี ัก มีความเปราะบางและแตกหักได้ง่าย เชน่ ก๊าซ
ออกซิเจน (O) ก๊าซไนโตรเจน (N) คารบ์ อน (C) - กึง่ โลหะ มีสมบตั ิระหว่างธาตโุ ลหะและอโลหะ น้าไฟฟ้าได้ไม่ดี ณ อุณหภมู หิ ้อง แตก่ ารน้าไฟฟ้า จะเพิม่ ขนึ ตามอุณหภูมิที่เพิม่ ขึน มีความแข็งแรงแต่กม็ ีความเปราะบางสูง เช่น ซิลิกอน (Si) เจอร์เมเนียม (Ge) เปรียบเทยี บสมบัติของโลหะและอโลหะ สมบัติของโลหะ สมบัติของอโลหะ 1.มีสถานะเป็นของแขง็ ที่อุณหภมู ิหอ้ ง ยกเว้น ปรอท 1.ที่อณุ หภูมิห้องมีได้ทกุ สถานะทังของแข็ง ซึ่งเปน็ ของเหลว ของเหลวและก๊าซ 2.เมือ่ ขดั จะมีความเปน็ มันวาว 2. เมือ่ ขัดจะไม่มคี วามมันวาว 3.น้าไฟฟ้าและนา้ ความร้อนได้ดี แต่การน้าไฟฟ้าจะ 3. ไม่น้าไฟฟ้าและความรอ้ น ยกเว้นบางตวั เช่น ลดลงเมือ่ อุณหภูมิสูงขึน แกร์ไฟต์น้าไฟฟ้าได้ 4.เคาะจะมีเสียงกงั วาน 4. เคาะจะไม่มเี สียงกังวาน 5.แขง็ และเหนยี วสามารถตีแผ่ใหเ้ ปน็ แผน่ หรือดึงเปน็ 5.ส่วนมากเปราะไม่สามารถจะท้าให้เปน็ แผน่ เส้นได้ หรอื เปน็ เส้นได้ 6. มีจดุ หลอมเหลวและจุดเดือดสงู 6. ส่วนมากมีจุดหลอมเหลวและจดุ เดือดตา้่ 7.มีความหนาแนน่ และความถ่วงจ้าเพาะสูง 7. ส่วนมากมีความหนาแน่นและความ ถ่วงจา้ เพาะต่้า 8.เป็นพวกชอบให้อิเล็กตรอน ท้าให้เกิดเป็นไอออน 8. เปน็ พวกชอบรับอิเลก็ ตรอน ทา้ ใหเ้ กิดเปน็ บวก ไอออนลบ 9.เกิดเป็นสารประกอบเชน่ ออกไซด์ คลอไรด์ 9. เกิดเป็นสารประกอบ เช่น ออกไซด์ คลอไรด์ ซลั ไฟด์ และไฮไดร์ได้ ซัลไฟด์ และไฮไดร์ได้ 10.ส่วนใหญ่จ้าท้าปฏิกิรยิ ากบั กรดเจอื จางให้ก๊าซ 10 ไม่ทา้ ปฏิกิริยากับกรดเจอื จาง ไฮโดรเจน
ตาราง สมบตั ิบางประการของ 20 ธาตแุ รก เรยี งตามมวลอะตอม ธาตุ สัญลกั ษณ์ มวล ลักษณะที่อุณหภูมิ mp.(0C) d ความเป็นโลหะ- ความวอ่ งไวในการ อะตอม ปกติ (g/cm3) อโลหะ เกิดปฏิกิรยิ า ไฮโดรเจน H 1.008 ก๊าซไม่มีสี -259 0.07* อโลหะ มาก ฮเี ลียม He 4.003 ก๊าซไม่มีสี -272 0.15* โลหะ ไม่เกิด ลิเทียม Li 6.94 ของแขง็ สเี งนิ 180 0.53 โลหะ มาก เบริลเลียม Be 9.01 ของแข็งสเี งนิ 1280 1.45 โลหะ ปานกลาง โบรอน B 10.81 ของแข็งสีด้า 2030 2.34 กึง่ โลหะ ปานกลาง คารบ์ อน C 12.01 ของแขง็ สีด้า 3730 2.26 อโลหะ น้อย ไนโตรเจน N 14.01 ก๊าซไม่มีสี -210 0.81* อโลหะ ปานกลาง ออกซิเจน O 16.00 ก๊าซไม่มีสี -219 1.15* อโลหะ มาก ฟลอู อรีน F 19.00 ก๊าซสีเหลืองอ่อน -220 1.51* อโลหะ มาก นีออน Ne 20.18 ก๊าซไม่มีสี -249 1.20* อโลหะ ไม่เกิด โซเดียม Na 22.99 ของแขง็ สเี งนิ 98 0.97 โลหะ มาก แมกนีเซียม Mg 24.31 ของแข็งสเี งนิ 650 1.74 โลหะ มาก อะลูมิเนยี ม Al 26.98 ของแขง็ สเี งนิ 660 2.70 โลหะ ปานกลาง ซิลคิ อน Si 28.09 ของแข็งสเี ทา 1410 2.33 กึง่ โลหะ ปานกลาง ฟอสฟอรสั P 30.97 ของแข็งสีขาว 44 1.82 อโลหะ มาก ก้ามะถนั S 32.06 ของแขง็ สเี หลอื ง 113 1.96 อโลหะ ปานกลาง คลอรีน Cl 35.45 ก๊าซสีเขียวอ่อน -101 1.56* อโลหะ มาก โพแทสเซียม K 39.10 ของแขง็ สเี งนิ 64 0.86 โลหะ มาก ไม่เกิด อาร์กอน Ar 39.95 ก๊าซไม่มีสี -189 1.40 อโลหะ มาก แคลเซียม Ca 40.08 ของแข็งสีขาว 838 1.55 โลหะ mp. = จุดหลอมเหลว d = ความหนาแน่น * = ความหนาแนน่ ขณะเปน็ ของเหลว
๕. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ข้อที่ ๑ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ข้อที่ ๒ ซือ่ สัตย์สจุ ริต ข้อที่ ๓ มีวนิ ัย ข้อที่ ๔ ใฝ่รู้ใฝเ่ รียน ข้อที่ ๕ อยู่อย่างพอเพียง ข้อที่ ๖ มุ่งมนั่ ในการท้างาน ข้อที่ ๗ รักความเปน็ ไทย ข้อที่ ๘ มีจิตสาธารณะ ๖. การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และการเขียน การพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน พืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ได้กา้ หนดขอบเขตการประเมินและตวั ชีวดั ที่แสดงความสามารถในการ อ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียนของผู้เรยี น ดังนี การอา่ นจากสื่อส่ิงพิมพ์และสือ่ อเิ ล็กทรอนิกส์ที่ให้ขอ้ มูลสารสนเทศ ข้อคิด ความรเู้ กี่ยวกับ สงั คมและสิง่ แวดล้อมที่เออื ให้ผู้อา่ นน้าไปคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สรุปแนวคิดคณุ ค่าทีไ่ ด้ นา้ ไปประยุกต์ใช้ ด้วยวิจารณญาณ และถ่ายทอดเป็นข้อเขียนเชงิ สร้างสรรคห์ รอื รายงานด้วยภาษาทีถ่ กู ต้องเหมาะสม เชน่ อ่านหนงั สือพิมพ์ วารสาร หนงั สือเรียน บทความ สนุ ทรพจน์ ค้าแนะน้า ค้าเตือน แผนภมู ิ ตาราง แผนที่ ตัวบ่งชีทางพฤติกรรมการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน 1.สามารถคัดสรรสื่อที่ตอ้ งการอ่านเพื่อหาข้อมูลสารสนเทศได้ตาวัตถุประสงค์ สามารถสร้างความเข้าใจและประยุกต์ใชค้ วามรู้จากการอ่าน 2. สามารถจบั ประเดน็ ส้าคญั และประเด็นสนับสนนุ โต้แย้ง 3. สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล ความน่าเชื่อถอื ล้าดบั ความและ ความเป็นไปได้ของเรือ่ งที่อ่าน 4. สามารถสรุปคุณค่า แนวคิด แงค่ ิดที่ได้จากการอา่ น 5. สามารถสรุป อภปิ ราย ขยายความแสดงความคิดเห็น โต้แย้ง สนับสนุน โน้มน้าวโดย การเขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ผังความคิด เปน็ ต้น
๗. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น ก้าหนดสมรรถนะสา้ คญั ของผู้เรยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ หลงั จากผู้เรยี นผา่ นการเรียนและน้าความรไู้ ปใช้ในการดา้ รงชีวติ ในสู่สงั คม ตามหลกั การประเมนิ สมรรถนะผเู้ รียน ๕ ด้าน ได้แก่ ๑) ความสามารถในการส่อื สาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปญั หา ๔) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๘. การบูรณาการ ๘.๑ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ๘.๒ การบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น - ๙. กิจกรรมการเรียนรู้ ข้นั สร้างความสนใจ (Engagement) ๑. ครูทบทวนความรู้ในการเรียนครังก่อน ๒. ครูอธิบายความหมายที่ถูกต้องของ สสาร ๓. ครูใช้ค้าถาม เราสามารถแบ่งประเภทของสสารอย่างไร ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) ๑. ครใู ห้นักเรียนเขียนสารทีต่ นเองรู้จักลงในกระดาษ พร้อมบอกสสารบ้างอย่างทีจ่ า้ เปน็ ๒. ครอู ธิบายวิธีการทา้ กิจกรรมจดั จ้าแนก โดยให้เกณฑต์ ามความเข้าใจของนกั เรียน ๓. ครเู ฝา้ สงั เกตการณ์ทา้ กิจกรรมของผเู้ รียน และก้าลงั ใจเพื่อให้นักเรียนกล้าในการกิจกรรม ขั้นอธิบายและลงขอ้ สรุป (explanation) 1. นกั เรียนน้าเสนอการจดั เกณฑต์ ามทีน่ ักเรียนเข้าใจ 2. ครูอธิบายการใชเ้ กณฑ์มาตรฐานตามขนาดและความบริสทุ ธิ์ 3. ให้นักเรียนจา้ แนกตามเกณฑม์ าตรฐาน 4. นา้ เสนอและตรวจความถูกต้องการจัดจา้ แนกของนกั เรียน 5. ครูวิธีการสังเกตสสารที่จดั จา้ แนกในชีวติ จริง
ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) 1. ครใู หช้ ีองค์ประกอบทีเ่ ลก็ ที่สุด ในสสาร นนั ครธู าตุ ซึง่ มีลักษณะเปน็ อะตอม 2. ครูอธิบายความหมายของธาตุ เกณฑใ์ นการแบ่งประเภทของธาตุ โลหะ อโลหะ 3. ยกตัวอย่างของธาตแุ ละสารประกอบในชีวติ ประจ้าวัน ข้นั ประเมิน (Evaluation) ๑. ให้นักเรียนท้าแบบฝกึ หัดแล้วให้ครูตรวจ ๒. ครูให้นกั เรียนเขียนความรู้ทีไ่ ด้รบั ในการเรียนรคู้ รังนี ๑๐. สื่ออปุ กรณแ์ ละแหลง่ เรียนรู้ เครื่องมือ เกณฑ์ ๑๐.๑ สื่อ อปุ กรณ์ - แบบตรวจแบบึกหดั ผเู้ รียนมีการจดบนั ทึกทีถ่ กู ต้องตาม 1. แบบสังเกต การทา้ กิจกรรม ๒. ภาพสารตวั อย่างสสาร - แบบสงั เกต โจทย์ ร้อยละ ๘๐ ๑๐.๒ แหล่งเรียนรู้ ๑. หอ้ งเรียนวิทยาศาสตร์ - แบบตรวจกิจกรรม ผเู้ รียนมกี ระบวนการสงั เกตและ ๒. หอ้ งสบื ค้นขอ้ มลู รวบรวมข้อมูล ร้อยละ ๘๐ ๑๑. การวัดและการประเมินผล ผเู้ รียนสามารถเขียนองค์ความรทู้ ี่ วิธีการ ฉันได้รับ ร้อยละ ๑๐๐ ๑. ตรวจสอบแบบทดสอบในหนังเรียน แบบฝกึ หดั ๒. สงั เกตกระบวนการในการท้า กิจกรรม 3 การเขียนองค์ความรทู้ ี่ฉันได้รบั ๑๒. กิจกรรมเสนอแนะ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นายบรุ ิศร์ กองมะลิ) ผเู้ ขียนแผนการจัดการเรียนรู้
ขอ้ เสนอแนะของหวั หน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้ในการใชแ้ ผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นางกมลชนก เทพบุ) หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ข้อเสนอแนะของหวั หน้ากลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการในการใชแ้ ผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นางสาวรัตติกาล ยศสุข) หวั หนา้ กลุ่มบริหารงานวิชาการ ข้อเสนอแนะของผ้อู านวยการโรงเรียนในการใช้แผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นางวิลาวลั ย์ ปาลี) ผอู้ า้ นวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่
๑๓. บันทึกผลการจัดการเรยี นรู้ ปัญหา / อปุ สรรค ขอ้ เสนอแนะ / แนว หมายเหตุ ห้อง ผลการจดั การเรียนรู้ ทางแกไ้ ข ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/๔ ลงชื่อ................................................................. (นายบุริศร์ กองมะลิ) ผสู้ อน
แผนการจดั การเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จม่ จังหวดั เชียงใหม่ สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ วิชา วิทยาศาสตร์พน้ื ฐาน รหัสวิชา ว 21101 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒563 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่อื ง สารรอบตัว เวลา 22 ช่วั โมง แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 เรอ่ื ง ธาตกุ มั มนั ตรังสี เวลา 2 ชัว่ โมง หลักสูตรสถานศึกษาตามหลกั สูตรแกนกลางกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ บรู ณาการ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น หลักสตู รอาเซียน ผูอ้ อกแบบ นายบุริศร์ กองมะลิ 1.สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี 2.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ัด ว2.1 ม.1/1 อธิบายสมบัติทางกายภาพบางประการของธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ โดยใช้ หลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้จากการสังเกตและการทดสอบและใช้สารสนเทศท่ีได้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆรวมทั้ง จัดกลุ่มธาตุเปน็ โลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ ว2.1 ม.1/2 วิเคราะห์ผลจากการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะและธาตุกัมมันตรังสีท่ีมีต่อส่ิงมีชีวิต ส่ิงแวดล้อมเศรษฐกิจและสังคม จากข้อมูลท่รี วบรวมได้ ว2.1 ม.1/3 ตระหนักถึงคุณค่าของการใช้ธาตุโลหะ อโลหะกึ่งโลหะ ธาตุกัมมันตรังสีโดยเสนอแนว ทางการใช้ธาตุอยา่ งปลอดภัย คมุ้ คา่ ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้นกั เรียนสามารถ ๓.๑ ความรู้ ๑. คุณสมบตั ิของงธาตุกัมมันตรงั สี และลกั ษณะของรังสี ๓.๒ ทักษะกระบวนการ ๑. การสงั เกตจากสภาพจริง ๒. การวิเคราะห์ แยกแยะ ลักษณะจากรปู ภาพ
๓. การใชร้ ะบบสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมลู ๓.๓ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. เข้าเรียน ปฏิบัติกิจกรรม และส่งงานตรงเวลา ๒. ร่วมมอื ในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรบั ความคิดเห็นของผอู้ ื่น และแสดง ความคิดเหน็ อย่างมเี หตุผล ๓. บนั ทึกข้อมลู จากการปฏิบัติกิจกรรม ๔. สาระการเรียนรู้ ธาตกุ ัมมันตรังสี (Radioactive Element) คือธาตุที่มีองค์ประกอบภายในนิวเคลียส (Nucleus) ไม่ เสถียร สง่ ผลใหเ้ กิดการสลายตวั หรือการปล่อยรังสขี องธาตอุ ยู่ตลอดเวลา เนอ่ื งจากปรากฏการณ์การ แผ่รงั สีของธาตเุ ปน็ กระบวนการปรับสมดุล เพื่อสร้างความเสถียรภายในธาตุ ซึ่งในธรรมชาติ ธาตกุ ัมมันตรังสมี กั เป็นธาตุที่มมี วลมากหรอื มีเลขอะตอมสูงเกินกว่า 82 เชน่ เรเดียม (Radium) ทีม่ เี ลข มวลอยู่ที่ 226 และเลขอะตอม 88 หรือยูเรเนียม (Uranium) มีเลขมวลอยู่ที่ 238 และเลขอะตอม 92 การแผ่รงั สีของธาตุ ภายในนิวเคลียสของธาตปุ ระกอบไปด้วยโปรตอน (Proton) ทีม่ ปี ระจบุ วก และนิวตรอน (Neutron) ที่ มีสถานะเปน็ กลางทางไฟฟ้า ซึง่ การมีสัดสว่ นหรอื จ้านวนโปรตอนตอ่ จ้านวนนิวตรอนภายในอะตอมไม่ เหมาะสม ท้าใหธ้ าตุดังกล่าวขาดเสถียรภาพและเกิดการปล่อยรังสอี อกมา การแผ่รังสขี องธาตุนันเปน็ กระบวนการปรบั สมดุลภายในตัวเองของธาตตุ ามธรรมชาติ ซึ่งสามารถก่อก้าเนดิ ธาตุชนิดใหมห่ รืออาจ สร้างการเปลีย่ นแปลงภายในองค์ประกอบอะตอมของธาตุชนิดเดิม เช่น จ้านวนโปรตอนหรอื นิวตรอน ในนิวเคลียสเพิม่ ขนึ หรอื ลดลง โดยธาตกุ มั มนั ตรังสีแต่ละชนิดจะมีระยะเวลาในการสลายตวั และการแผ่ รังสที ี่แตกต่างกันออกไป หรอื ทีเ่ รยี กว่า “ครึ่งชีวติ ” (Half Life)
รังสีจาแนกเป็น 3 ชนิด ไดแ้ ก่ รังสีแอลฟา (Alpha: α) เกิดจากการสลายตวั ของนิวเคลียสทีม่ ขี นาดใหญ่และมีมวลมาก หรอื มีจ้านวนโปรตอนภายในนิวเคลียส มาก เพือ่ ปรับตวั ใหม้ ีเสถียรภาพมากขึน รังสแี อลฟา หรอื อนุภาคแอลฟาในรูปของนิวเคลียสของฮีเลียม (Helium) จงึ ถกู ปล่อยออกมา โดยมีสถานะทางไฟฟ้าเปน็ ประจบุ วก มมี วลค่อนข้างใหญ่ ส่งผลให้รงั สี แอลฟาเกิดการเบี่ยงเบนจากการเคลื่อนทีไ่ ด้ยาก มีอ้านาจทะลุทะลวงต้่า ไม่สามารถทะลุผา่ นสิ่งกีด ขวาง เช่น ผวิ หนัง แผน่ โลหะบางๆ หรอื แผน่ กระดาษไปได้ ดังนนั เม่ือเกิดการชนเข้ากบั สิ่งกีดขวาง รงั สี แอลฟาจะถ่ายทอดพลังงานเกือบทังหมดออกไป สง่ ผลใหเ้ กิดการแตกตวั เปน็ ไอออนของสารที่รงั สีผา่ น ได้ดี รังสีบีตา (Beta: β) เกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสที่มจี ้านวนนิวตรอนมาก รังสีบีตามีคุณสมบัติคล้ายคลึงกับ อิเล็กตรอน (Electron) ซึ่งมีประจไุ ฟฟ้าเป็นลบและมีมวลต้่า แต่มีอ้านาจทะลุทะลวงสูง (สูงกว่ารงั สี แอลฟาราว 100 เท่า) และมีความเร็วในการเคลื่อนทีส่ ูงถึงระดับใกล้เคียงกับความเร็วแสง รังสีแกมมา (Gamma: γ) เกิดจากการทีน่ ิวเคลียสภายในอะตอมมพี ลังงานสงู หรือถูกกระตุ้น จึงก่อให้เกิดรงั สีแกมมาที่มสี ถานะ เปน็ กลางทางไฟฟ้า มสี มบัติคล้ายรังสีเอกซ์ (X-ray) คือเป็นคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นสัน หรอื มีความถี่สูง ไม่มีประจุและไม่มมี วล เปน็ รังสที ีม่ พี ลังงานสงู เคลือ่ นทีด่ ้วยความเร็วเท่าแสง และมี อ้านาจทะลุทะลวงสงู ที่สุด
๕. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ข้อที่ ๑ รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ข้อที่ ๒ ซื่อสตั ย์สจุ ริต ข้อที่ ๓ มีวนิ ัย ข้อที่ ๔ ใฝ่รู้ใฝเ่ รียน ข้อที่ ๕ อยู่อย่างพอเพียง ข้อที่ ๖ มุ่งมน่ั ในการท้างาน ข้อที่ ๗ รักความเปน็ ไทย ข้อที่ ๘ มีจิตสาธารณะ ๖. การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และการเขียน การพฒั นาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน พืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กา้ หนดขอบเขตการประเมินและตวั ชีวดั ที่แสดงความสามารถในการ อ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียนของผเู้ รียน ดังนี การอา่ นจากสือ่ ส่ิงพิมพ์และสือ่ อเิ ล็กทรอนิกส์ที่ให้ขอ้ มูลสารสนเทศ ข้อคิด ความรเู้ กี่ยวกับ สังคมและสิง่ แวดล้อมทีเ่ ออื ให้ผู้อา่ นน้าไปคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สรุปแนวคิดคณุ ค่าทีไ่ ด้ นา้ ไปประยุกต์ใช้ ด้วยวิจารณญาณ และถ่ายทอดเป็นข้อเขียนเชงิ สร้างสรรค์หรอื รายงานด้วยภาษาทีถ่ กู ต้องเหมาะสม เชน่ อ่านหนงั สือพิมพ์ วารสาร หนงั สือเรียน บทความ สนุ ทรพจน์ ค้าแนะน้า ค้าเตือน แผนภมู ิ ตาราง แผนที่ ตัวบ่งชีทางพฤติกรรมการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน 1.สามารถคัดสรรสื่อที่ตอ้ งการอ่านเพื่อหาข้อมูลสารสนเทศได้ตาวัตถุประสงค์ สามารถสร้างความเข้าใจและประยุกต์ใชค้ วามรู้จากการอ่าน 2. สามารถจบั ประเดน็ ส้าคญั และประเดน็ สนับสนนุ โต้แย้ง 3. สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล ความน่าเชื่อถอื ล้าดบั ความและ ความเป็นไปได้ของเรื่องทีอ่ ่าน 4. สามารถสรุปคุณค่า แนวคิด แงค่ ิดที่ได้จากการอา่ น 5. สามารถสรปุ อภปิ ราย ขยายความแสดงความคิดเห็น โต้แย้ง สนับสนุน โน้มน้าวโดย การเขียนสื่อสารในรปู แบบต่าง ๆ เช่น ผังความคิด เปน็ ต้น
๗. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น กา้ หนดสมรรถนะสา้ คญั ของผู้เรยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขันพืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ หลังจากผู้เรยี นผา่ นการเรียนและน้าความรไู้ ปใช้ในการดา้ รงชีวติ ในสู่สงั คม ตามหลกั การประเมนิ สมรรถนะผเู้ รียน ๕ ด้าน ได้แก่ ๑) ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๘. การบรู ณาการ ๘.๑ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ๘.๒ การบรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น - ๙. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) ๑. ครูทบทวนเรื่องธาตุ โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ๒. ครูเหล่าเรือ่ งธาตุชนิดพิเศษ ทีส่ ามารถแผพ่ ลังงานได้ ๓. ครถู ามค้าถามว่า นกั เรียนคิดว่าธาตุนันเรียกว่าอะไร ข้นั สารวจและค้นหา (Exploration) ๑. นักเรียนศกึ ษาหาข้อมูลธาตุ ลกั ษณะของธาตกุ มั มนั ตรงั สี ๒. นกั เรียนศกึ ษาประเภทของรังสที ี่แผอ่ อกมาจากธาตุ ขน้ั อธิบายและลงขอ้ สรปุ (explanation) 1. ครูอธิบายสรุปลกั ษณะของธาตุกมั มนั ตรังสี 2. ครูใช้แผนภาพเพื่อเปรียบเทียบลกั ษณะ ของรงั สี แอลฟา บีตา้ และแกมมา 3. ครูใช้ค้าถาม ถึงการใชป้ ระโยชน์จากรังสี ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) ๑. ศึกษาความสามารถในการทะลวงของรังสี จากหนังสอื เรียน ๒. ทดลองการบนั ทึกแบบภาพเพื่อให้เข้าใจได้มากขึน โดย visual thinking
ขน้ั ประเมิน (Evaluation) ๑. ให้นักเรียนทา้ แบบฝดึ หดั ท้ายบท เร่อื งธาตุกัมมันตรงั สี ๒. ให้เขียนความรทู้ ีไ่ ด้รบั จากการเรียนรู้ ๑๐. สือ่ อุปกรณ์และแหลง่ เรียนรู้ ๑๐.๑ สือ่ อปุ กรณ์ ๑. หนงั สอื เรียนวิทยาสาสตรพ์ ืนฐาน ม.1 2. แบบสงั เกต การท้ากิจกรรม ๑๐.๒ แหลง่ เรียนรู้ ๑. หอ้ งสมุดโรงเรียน ๒. หอ้ งสบื อค้นขอ้ มูล ๑๑. การวัดและการประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ๑. ตรวจสอบแบบทดสอบในหนังเรียน - แบบตรวจแบบึกหดั ผเู้ รียนมีการจดบนั ทึกทีถ่ ูกต้องตาม แบบฝกึ หัด โจทย์ ร้อยละ ๘๐ ๒. สังเกตกระบวนการในการท้า - แบบสงั เกต กิจกรรม - แบบตรวจกิจกรรม ผเู้ รียนมีกระบวนการสงั เกตและ 3 การเขียนองค์ความรทู้ ี่ฉันได้รับ รวบรวมข้อมลู ร้อยละ ๘๐ ผเู้ รียนสามารถเขียนองค์ความรทู้ ี่ ฉันได้รับ ร้อยละ ๑๐๐ ๑๒. กิจกรรมเสนอแนะ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นายบุริศร์ กองมะลิ) ผเู้ ขียนแผนการจัดการเรียนรู้
ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้ในการใช้แผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นางกมลชนก เทพบุ) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการในการใช้แผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นางสาวรัตติกาล ยศสุข) หัวหนา้ กลุ่มบริหารงานวิชาการ ข้อเสนอแนะของผูอ้ านวยการโรงเรียนในการใชแ้ ผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นางวิลาวัลย์ ปาลี) ผอู้ า้ นวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่
๑๓. บันทึกผลการจัดการเรยี นรู้ ปัญหา / อปุ สรรค ขอ้ เสนอแนะ / แนว หมายเหตุ ห้อง ผลการจดั การเรียนรู้ ทางแกไ้ ข ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/๔ ลงชื่อ................................................................. (นายบุริศร์ กองมะลิ) ผสู้ อน
แผนการจดั การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแม่แจม่ จังหวัดเชียงใหม่ สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ วิชา วิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน รหัสวิชา ว 21101 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒563 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง สารรอบตวั เวลา 22 ชวั่ โมง แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 5 เร่อื ง สารประกอบและสารละลาย เวลา 4 ชัว่ โมง หลกั สตู รสถานศึกษาตามหลักสตู รแกนกลางกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ บูรณาการ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น หลกั สตู รอาเซียน ผ้อู อกแบบ นายบรุ ิศร์ กองมะลิ 1.สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2.มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั 2.1 ม.1/5 อธิบายและเปรียบเทียบความหนาแน่นของสารบริสุทธิ์และสารผสม ว2.1 ม.1/6 ใช้เครอ่ื งมอื เพือ่ วัดมวลและปริมาตรของสารบริสทุ ธิ์และสารผสม ๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนสามารถ ๓.๑ ความรู้ ๑. หลักลกั ษณะและคณุ สมบตั ิของสารละลาย ๓.๒ ทกั ษะกระบวนการ ๑. การสังเกตจากสภาพจริง ๒. การวิเคราะห์ แยกแยะ ลกั ษณะจากรูปภาพ ๓. การใชร้ ะบบสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูล
๓.๓ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๑. เข้าเรียน ปฏิบัติกิจกรรม และส่งงานตรงเวลา ๒. ร่วมมอื ในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรับความคิดเห็นของผอู้ ื่น และแสดง ความคิดเหน็ อย่างมเี หตุผล ๓. บันทึกข้อมูลจากการปฏิบัติกิจกรรม ๔. สาระการเรียนรู้ สารเน้อื เดียว เมื่อสงั เกตด้วยตาเปล่า เราจะมองเห็นสารเนือเดียวมีลักษณะของเนือสารกลมกลืนกนั ไปเป็นเนือเดียว แบ่งออกได้เปน็ สารบริสุทธิ์และสารละลาย สารบรสิ ุทธิ์ เปน็ สารทีไ่ ม่สามารถแยกอออกจากกันได้ด้วยวิธีทางกายภาพ เช่น การกรอง นอกจากนียังมี องค์ประกอบทางเคมีตายตัวและมีสมบัติชัดเจน แบ่งออกได้เปน็ ธาตแุ ละสารประกอบ สารประกอบ เปน็ สารบริสุทธิท์ ี่ประกอบไปด้วยอะตอมของธาตุตังแต่ 2 ชนิดขึนไปมารวมกัน ไม่ สามารถแยกได้ดว้ ยวิธีทางกายภาพ ตวั อย่างของสารประกอบ ได้แก่ - เกลือแกง (NaCl) ซึ่งประกอบด้วยธาตโุ ซเดียมกบั คลอไรด์ - น้า (H2O) ประกอบด้วยไฮโดรเจนกับออกซิเจน - นา้ ตาลทราย (C12H22O11) ประกอบด้วยคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน
สารละลาย สารละลายเป็นสารที่สามารถแยกองค์ประกอบออกจากกันได้มากกว่าสองชนิดขึนไปโดยกระบวนการ ทางกายภาพ เช่น การกลน่ั การกรอง การตม้ ประกอบไปด้วยตัวท้าละลายและตัวละลาย ซึง่ ไม่ท้า ปฏิกิรยิ าทางเคมตี ่อกนั มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวไม่คงที่ มอี นุภาคขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางนอ้ ยกว่า 10-7 เซนติเมตร ตัวอย่างของสารละลาย เช่น - อากาศ โดยมีไนโตรเจนซึ่งมปี ริมาณมากที่สดุ เปน็ ตวั ทา้ ละลาย และมีองค์ประกอบอื่น ๆ ซึ่งมี ปริมาณน้อยกว่าเปน็ ตัวละลาย - น้าเกลือ โดยมีน้าเป็นตวั ท้าละลาย และมีเกลือเป็นตวั ละลาย - น้าเชอ่ื ม โดยมีนา้ เป็นตัวทา้ ละลาย และมีนา้ ตาลเป็นตวั ละลาย ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ ๑ รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ข้อที่ ๒ ซื่อสัตย์สจุ ริต ข้อที่ ๓ มีวนิ ยั ข้อที่ ๔ ใฝ่รู้ใฝเ่ รียน ข้อที่ ๕ อยู่อย่างพอเพียง ข้อที่ ๖ มุ่งมัน่ ในการท้างาน ข้อที่ ๗ รักความเปน็ ไทย ข้อที่ ๘ มจี ติ สาธารณะ ๖. การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และการเขียน การพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน พืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ได้ก้าหนดขอบเขตการประเมินและตัวชีวัดที่แสดงความสามารถในการ อ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียนของผู้เรียน ดังนี การอา่ นจากสือ่ ส่ิงพิมพ์และสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ทีใ่ ห้ขอ้ มลู สารสนเทศ ข้อคิด ความรเู้ กีย่ วกบั สงั คมและสิง่ แวดล้อมที่เอือให้ผู้อา่ นนา้ ไปคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สรุปแนวคิดคุณค่าทีไ่ ด้ น้าไปประยกุ ต์ใช้ ด้วยวิจารณญาณ และถ่ายทอดเป็นข้อเขียนเชงิ สร้างสรรค์หรือรายงานด้วยภาษาทีถ่ กู ต้องเหมาะสม เชน่ อ่านหนงั สือพิมพ์ วารสาร หนังสือเรียน บทความ สุนทรพจน์ ค้าแนะน้า ค้าเตอื น แผนภมู ิ ตาราง แผนที่ ตัวบ่งชีทางพฤติกรรมการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน 1.สามารถคดั สรรสื่อที่ตอ้ งการอ่านเพือ่ หาข้อมลู สารสนเทศได้ตาวตั ถปุ ระสงค์ สามารถสร้างความเข้าใจและประยุกต์ใชค้ วามรู้จากการอ่าน
2. สามารถจบั ประเด็นสา้ คญั และประเด็นสนบั สนนุ โต้แย้ง 3. สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล ความน่าเชื่อถอื ล้าดบั ความและ ความเปน็ ไปได้ของเรื่องที่อ่าน 4. สามารถสรปุ คุณค่า แนวคิด แงค่ ิดที่ได้จากการอา่ น 5. สามารถสรปุ อภปิ ราย ขยายความแสดงความคิดเหน็ โต้แย้ง สนบั สนุน โน้มน้าวโดย การเขียนสือ่ สารในรปู แบบต่าง ๆ เช่น ผงั ความคิด เป็นต้น ๗. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น กา้ หนดสมรรถนะสา้ คัญของผู้เรยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขันพืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ หลงั จากผู้เรยี นผา่ นการเรียนและน้าความรไู้ ปใช้ในการดา้ รงชีวติ ในสู่สังคม ตามหลักการประเมนิ สมรรถนะผเู้ รียน ๕ ด้าน ได้แก่ ๑) ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปญั หา ๔) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๘. การบรู ณาการ ๘.๑ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ๘.๒ การบรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น - ๙. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) ๑. ครูทบทวนความรู้จากการเรียนครังก่อน ๒. ทบทวนแผนผงั เกณฑก์ ารจ้าแนกสาร โดยมุ่งเน้นเรื่องสารละลาย ขนั้ สารวจและคน้ หา (Exploration) ๑. นกั เรียนช่วยกนั ยกตวั อย่างสารทีส่ ามารถละลายได้ คนละ 1 ช่อื ๒. ให้นักเรียนสา้ รวจสารทีเ่ ปน็ สารละลายในชีวิตประจ้าวัน ๓. สังเกตและบอกลักษณะเด่นของสารละลาย
ขน้ั อธิบายและลงข้อสรุป (explanation) 1. ครูอธิบายลกั ษณะสารละลาย 2. ครูอธิบายขันตอนการเตรียมสารละลายเกลือ 0.9 % และน้าตาลเดรกโทส 5 % ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) ๑. นกั เรียนแบ่งกลุ่มจ้านวนกลุ่มละ 5 คน ๒. ให้นกั เรียนฝึกเตรียมสารละลายสารละลายเกลือ 0.9 % และน้าตาลเดรกโทส 5 % โดย การใชเ้ ครือ่ งชง่ั และกระบอกตวง ขนั้ ประเมิน (Evaluation) ๑. ในนา้ เรียนจดบนั ทึกขันตอนการปฏิบตั ิการของตนเองและความรู้ที่ได้รบั จากการเรียน ๑๐. สื่ออปุ กรณแ์ ละแหลง่ เรียนรู้ ๑๐.๑ สื่อ อปุ กรณ์ ๑. รปู แผนผังสารรอบตัว 2. แบบสงั เกต การทา้ กิจกรรม ๑๐.๒ แหลง่ เรียนรู้ ๑. หอ้ งสมดุ โรงเรียน ๒. หอ้ งสบื ค้นขอ้ มลู ๑๑. การวัดและการประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ๑. ตรวจสอบแบบทดสอบในหนังเรียน - แบบตรวจแบบึกหดั ผเู้ รียนมีการจดบนั ทึกที่ถูกต้องตาม แบบฝกึ หัด - แบบสังเกต โจทย์ ร้อยละ ๘๐ ๒. สงั เกตกระบวนการในการทา้ กิจกรรม - แบบตรวจกิจกรรม ผเู้ รียนมีกระบวนการสังเกตและ 3 การเขียนองค์ความรทู้ ีฉ่ ันได้รับ รวบรวมข้อมลู ร้อยละ ๘๐ ผเู้ รียนสามารถเขียนองค์ความรทู้ ี่ ฉันได้รับ ร้อยละ ๑๐๐
๑๒. กิจกรรมเสนอแนะ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นายบรุ ิศร์ กองมะลิ) ผเู้ ขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้ในการใชแ้ ผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชอื่ ................................................................. (นางกมลชนก เทพบุ) หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลมุ่ บรหิ ารงานวชิ าการในการใชแ้ ผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นางสาวรตั ติกาล ยศสขุ ) หวั หนา้ กลุ่มบริหารงานวิชาการ ขอ้ เสนอแนะของผูอ้ านวยการโรงเรียนในการใชแ้ ผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นางวิลาวลั ย์ ปาลี) ผอู้ า้ นวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่
๑๓. บันทึกผลการจัดการเรยี นรู้ ปัญหา / อปุ สรรค ขอ้ เสนอแนะ / แนว หมายเหตุ ห้อง ผลการจดั การเรียนรู้ ทางแกไ้ ข ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/๔ ลงชอื่ ................................................................. (นายบุริศร์ กองมะลิ) ผสู้ อน
แผนการจัดการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ วิชา วิทยาศาสตรพ์ ้นื ฐาน รหสั วิชา ว 21101 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒563 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง สารรอบตวั เวลา 22 ชว่ั โมง แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 6 เรอ่ื ง สารผสม เวลา 2 ชว่ั โมง หลกั สูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ บูรณาการ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น หลกั สตู รอาเซียน ผูอ้ อกแบบ นายบรุ ิศร์ กองมะลิ 1.สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี 2.มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชีว้ ดั ว2.1 ม.1/5 อธิบายและเปรียบเทียบความหนาแน่นของสารบริสทุ ธิ์และสารผสม ว2.1 ม.1/6 ใช้เครอื่ งมอื เพือ่ วดั มวลและปริมาตรของสารบริสุทธิ์และสารผสม ๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เพือ่ ให้นักเรียนสามารถ ๓.๑ ความรู้ ๑. คณุ สมบตั ิและลกั ษณะของสารผสม คอลลอยด์ สารแขวนลอย ๓.๒ ทกั ษะกระบวนการ ๑. การสงั เกตจากสภาพจริง ๒. การวิเคราะห์ แยกแยะ ลกั ษณะจากรูปภาพ ๓. การใชร้ ะบบสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมลู ๓.๓ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๑. เข้าเรียน ปฏิบตั ิกิจกรรม และส่งงานตรงเวลา
๒. ร่วมมอื ในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรบั ความคิดเห็นของผอู้ ื่น และแสดง ความคิดเห็นอย่างมเี หตผุ ล ๓. บันทึกข้อมูลจากการปฏิบตั ิกิจกรรม ๔. สาระการเรียนรู้ สารเนอ้ื ผสม สารเนือผสมประกอบด้วยอะตอมหรอื โมเลกลุ มากกว่า 2 ชนิดขึนไปรวมกนั อยู่ และสามารถแยกออก จากกันได้ด้วยวิธีทางกายภาพ เมอ่ื สังเกตด้วยตาเปล่าจะเหน็ ว่าเนือสารไม่กลมกลืนเป็นเนือเดียวกนั เชน่ คอนกรีต ดนิ นา้ โคลน ฝนุ่ ละอองในอากาศ สารแขวนลอย เป็นสารเนือผสมทีม่ ีอนภุ าคของแข็งขนาดเส้นผ่านศนู ย์กลางใหญ่กว่า 10-4 เซนติเมตร และสามารถ ตกตะกอนได้เมอ่ื ตังทิงไว้ระยะเวลาหน่ึง ไม่สามารถผ่านได้ทังกระดาษกรองและกระดาษเซลโลเฟน ตัวอย่างของสารแขวนลอย ได้แก่ น้าโคลน น้าอบไทย น้าคลอง คอลลอยด์ ในความเปน็ จรงิ คอลลอยด์ไม่สามารถจัดอยู่ในสารเนือเดียวหรอื สารเนือผสมได้อย่างแน่ชดั แตเ่ ป็นสาร ผสมทีป่ ระกอบด้วยอนุภาคทีม่ เี ส้นผ่านศนู ย์กลางระหว่าง 10-7 - 10-4 เซนติเมตร ซึง่ เป็นขนาดที่อยู่ ระหว่างสารละลายที่เปน็ สารเนอื เดียว และสารแขวนลอยที่เป็นสารเนือผสม คอลลอยด์ไม่ตกตะกอน และสามารถท้าให้เกิดปรากฏการณท์ ินดอลล์หรอื การกระเจงิ ของแสงได้ เราสามารถแยกอนภุ าคใน คอลลอยด์ได้โดยใช้กระดาษเซลโลโฟน แต่ไม่สามารถแยกอนภุ าคได้ด้วยกระดาษกรอง ตัวอย่างของ คอลลอยด์ เชน่ นมสด ควัน สารละลาย สารละลายเปน็ สารที่สามารถแยกองค์ประกอบออกจากกันได้มากกว่าสองชนิดขึนไปโดยกระบวนการ ทางกายภาพ เช่น การกลั่น การกรอง การตม้ ประกอบไปด้วยตวั ทา้ ละลายและตวั ละลาย ซึ่งไม่ท้า
ปฏิกิรยิ าทางเคมตี ่อกัน มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวไม่คงที่ มอี นุภาคขนาดเส้นผ่านศนู ย์กลางนอ้ ยกว่า 10-7 เซนติเมตร ตวั อย่างของสารละลาย เช่น - อากาศ โดยมีไนโตรเจนซึ่งมปี ริมาณมากทีส่ ุดเป็นตวั ทา้ ละลาย และมีองค์ประกอบอืน่ ๆ ซึ่งมี ปริมาณน้อยกว่าเปน็ ตัวละลาย - น้าเกลือ โดยมีน้าเป็นตัวทา้ ละลาย และมีเกลือเปน็ ตวั ละลาย - น้าเช่อื ม โดยมีน้าเป็นตัวทา้ ละลาย และมีนา้ ตาลเปน็ ตวั ละลาย การทดลองเพือ่ สมบตั ิเปรียบเทยี บสมบตั ิของสารละลายและคอลลอยต์ ๕. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ข้อที่ ๑ รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ข้อที่ ๒ ซือ่ สตั ย์สจุ ริต ข้อที่ ๓ มีวนิ ยั ข้อที่ ๔ ใฝ่รู้ใฝเ่ รียน ข้อที่ ๕ อยู่อย่างพอเพียง ข้อที่ ๖ มุ่งมน่ั ในการทา้ งาน ข้อที่ ๗ รกั ความเป็นไทย ข้อที่ ๘ มีจิตสาธารณะ
๖. การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และการเขียน การพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน พืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้ก้าหนดขอบเขตการประเมินและตัวชวี ัดทีแ่ สดงความสามารถในการ อ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียนของผู้เรยี น ดังนี การอา่ นจากสือ่ ส่ิงพิมพ์และสื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ที่ให้ข้อมูลสารสนเทศ ข้อคิด ความรเู้ กี่ยวกบั สงั คมและสิง่ แวดล้อมที่เอือให้ผู้อา่ นน้าไปคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สรุปแนวคิดคุณค่าทีไ่ ด้ น้าไปประยุกต์ใช้ ด้วยวิจารณญาณ และถ่ายทอดเปน็ ข้อเขียนเชงิ สร้างสรรค์หรือรายงานด้วยภาษาที่ถกู ต้องเหมาะสม เชน่ อ่านหนังสือพิมพ์ วารสาร หนงั สือเรียน บทความ สุนทรพจน์ ค้าแนะน้า ค้าเตือน แผนภูมิ ตาราง แผนที่ ตวั บ่งชีทางพฤติกรรมการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน 1.สามารถคดั สรรสื่อทีต่ อ้ งการอ่านเพื่อหาข้อมลู สารสนเทศได้ตาวตั ถปุ ระสงค์ สามารถสร้างความเข้าใจและประยุกต์ใชค้ วามรู้จากการอ่าน 2. สามารถจับประเดน็ สา้ คญั และประเด็นสนบั สนุน โต้แย้ง 3. สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล ความน่าเชื่อถอื ล้าดบั ความและ ความเป็นไปได้ของเรื่องที่อ่าน 4. สามารถสรปุ คุณค่า แนวคิด แงค่ ิดที่ได้จากการอา่ น 5. สามารถสรุป อภปิ ราย ขยายความแสดงความคิดเห็น โต้แย้ง สนบั สนุน โน้มน้าวโดย การเขียนสือ่ สารในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ผังความคิด เปน็ ต้น ๗. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น กา้ หนดสมรรถนะสา้ คญั ของผู้เรยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขันพืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ หลังจากผู้เรยี นผา่ นการเรียนและน้าความรไู้ ปใช้ในการดา้ รงชีวติ ในสู่สงั คม ตามหลักการประเมนิ สมรรถนะผเู้ รียน ๕ ด้าน ได้แก่ ๑) ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปญั หา ๔) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๘. การบรู ณาการ ๘.๑ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๘.๒ การบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
๙. กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั สร้างความสนใจ (Engagement) ๑. ครูทบทวนความรดู้ ้านสารเนือผสมตามแผนผังของสสาร ๒. ให้นกั เรียนใช้การยกตัวอย่างสารประเภทเนือผสม ขนั้ สารวจและค้นหา (Exploration) ๑. นกั เรียนศกึ ษาเกณฑใ์ นการแยกระหว่างคอยลอยต์และแขวนลอย ๒. นกั เรียนศกึ ษาวิธีการทดสอบคอยเลย์โดยใช้แสง ๓. ลงมอื ทดลองตามใบกิจกรรมของสารคอยลอยต์ ขน้ั อธิบายและลงขอ้ สรปุ (explanation) 1. นักเรียนอภปิ รายและลงความเห็นหาข้อสรุป 2. ครูใหข้ ้อเสนอแนะในการท้าการทดลองและหาข้อสรุป ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) ๑. ครูใช้คา้ ถามว่า เราจะมีวธิ ีการแยกสารคอยลอย์ได้อย่างไร ๒. บอกว่าการตกตะกอนนมวัวโดยการใชน้ า้ ส้มสายชูหรอื สารละลายอื่นๆ ๓. จากนันทา้ การสาธิตใหผ้ ู้เรียนเหน็ ๔. เช่อื มความรเุ้ กี่ยวกบั การท้าครีมชีสในเบเกอรี่ ขน้ั ประเมิน (Evaluation) ๑. นักเรียนเขียนบันทึกการทดลองและความรู้ที่ได้รบั จากการในการเรียนรู้ ๑๐. สื่ออปุ กรณแ์ ละแหลง่ เรียนรู้ ๑๐.๑ สื่อ อุปกรณ์ ๑. ใบกิจกรรมการทดสอบสารคอยลอยต์โดยใช้แสง 2. แบบสงั เกต การท้ากิจกรรม 3. ชุดทดลองการตกตะกอนนม ๑๐.๒ แหล่งเรียนรู้ ๑. หอ้ งสมดุ โรงเรยี น ๒. หอ้ งสบื ค้นขอ้ มูล
๑๑. การวัดและการประเมินผล เครือ่ งมือ เกณฑ์ วิธีการ - แบบตรวจแบบึกหดั ผู้เรียนมกี ารจดบนั ทึกที่ถกู ต้องตามโจทย์ ๑. ตรวจสอบแบบทดสอบในหนังเรียนแบบฝึกหัด ร้อยละ ๘๐ ๒. สงั เกตกระบวนการในการทา้ กิจกรรม - แบบสังเกต ผู้เรียนมกี ระบวนการสังเกตและรวบรวม ข้อมลู ร้อยละ ๘๐ 3 การเขียนองค์ความรู้ทีฉ่ นั ได้รบั - แบบตรวจกิจกรรม ผู้เรียนสามารถเขยี นองคค์ วามรู้ที่ฉัน ได้รับ ร้อยละ ๑๐๐ ๑๒. กิจกรรมเสนอแนะ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นายบุริศร์ กองมะลิ) ผเู้ ขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในการใชแ้ ผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นางกมลชนก เทพบุ) หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ข้อเสนอแนะของหวั หน้ากลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการในการใช้แผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นางสาวรตั ติกาล ยศสขุ ) หัวหนา้ กลุ่มบริหารงานวิชาการ ข้อเสนอแนะของผู้อานวยการโรงเรียนในการใชแ้ ผนการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นางวิลาวัลย์ ปาลี) ผอู้ า้ นวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31
๑๓. บันทึกผลการจัดการเรยี นรู้ ปัญหา / อปุ สรรค ขอ้ เสนอแนะ / แนว หมายเหตุ ห้อง ผลการจดั การเรียนรู้ ทางแกไ้ ข ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/๔ ลงชื่อ................................................................. (นายบุริศร์ กองมะลิ) ผสู้ อน
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จ่ม จังหวดั เชียงใหม่ สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ วิชา วิทยาศาสตรพ์ ้นื ฐาน รหัสวิชา ว 21101 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒563 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรอ่ื ง สารรอบตวั เวลา 22 ชว่ั โมง แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 7 เรอ่ื ง สมบัตขิ องสารบรสิ ุทธิ์และสารผสม เวลา 4 ชวั่ โมง หลกั สตู รสถานศึกษาตามหลกั สตู รแกนกลางกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ บรู ณาการ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น หลกั สูตรอาเซียน ผ้อู อกแบบ นายบุริศร์ กองมะลิ 1.สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี 2.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั ว2.1 ม.1/5 อธิบายและเปรยี บเทียบความหนาแนน่ ของสารบรสิ ุทธ์แิ ละสารผสม ว2.1 ม.1/6 ใช้เครือ่ งมือเพ่ือวัดมวลและปริมาตรของสารบรสิ ุทธแ์ิ ละสารผสม ๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เพือ่ ให้นักเรียนสามารถ ๓.๑ ความรู้ ๑. วดั มวลและปริมาตรของสารบรสิ ทุ ธแ์ิ ละสารผสม ๒. การใชอ้ ุปกรณ์การวดั ๓.๒ ทักษะกระบวนการ ๑. การสงั เกตจากสภาพจริง ๒. การวิเคราะห์ แยกแยะ ลักษณะจากรูปภาพ ๓. การใชร้ ะบบสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมลู ๓.๓ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. เข้าเรียน ปฏิบัติกิจกรรม และส่งงานตรงเวลา
๒. ร่วมมอื ในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรับความคิดเห็นของผอู้ ื่น และแสดง ความคิดเห็นอย่างมเี หตุผล ๓. บนั ทึกข้อมูลจากการปฏิบตั ิกิจกรรม ๔. สาระการเรียนรู้ สมบัติบางประการของสารละลาย ตวั ท้าละลายทีเ่ ปน็ สารบริสุทธิเ์ มื่อเติม ตวั ถกู ละลายลงไปกลายเปน็ สารละลายจะทา้ ให้สมบัติของตัว ทา้ ละลายเปลีย่ นไป เช่น ความดันไอ จุดเดือด จุดหลอมเหลว สมบัติดงั กล่าวของ สารละลาย เรียกว่า สมบัติคอลลิเกทีฟ (colligative properties) ซึง่ ได้แก่ 1. การเพิ่มขึนของจุดเดือด (boiling point elevation) 2. การลดลงของจดุ เยือกแขง็ (freezing point depression) 3. การลดลงของความดนั ไอ (vapor pressure lowering) 4. การเกิดแรงดนั ออสโมซิส (osmosis pressure) ความหนาแน่น (Density) คืออตั ราส่วนของมวลต่อหนึง่ หนว่ ยปริมาตร ซึง่ เป็นสมบัติพืนฐาน ทางกายภาพของสสาร โดยวตั ถทุ ีม่ มี วลในหน่งึ หนว่ ยพืนที่ทีก่ า้ หนดมากเท่าไหร่ ยิง่ แสดงให้เห็นว่าวตั ถุ ดงั กล่าวมีความหนาแน่นมากเท่านัน นอกจากนี ความหนาแนน่ ยังแปรผันตามมวลอะตอม (Atomic Mass) ของธาตุหรอื มวลโมเลกุลของสารประกอบอีกด้วย สูตรคานวณความหนาแน่น ในการคา้ นวณหาความหนาแนน่ ของสสารความหนาแน่นมกั ถูกแสดงผลดว้ ยสัญลักษณ์ p (โร) ซึ่งเปน็ ตัวอกั ษรตัวที่ 17 ในภาษากรีกโดยค้านวณผ่านความสมั พนั ธ์ระหว่างมวล (Mass) หรอื ปริมาณเนือ ของสสารที่ถูกบรรจุอยู่ภายในวัตถตุ ่อหน่ึงหน่วยปริมาตร (Volume) p = m/v
โดยหน่วยของความหนาแน่นที่ผคู้ นนิยมใชก้ ันคือ กิโลกรัมตอ่ ลูกบาศก์เมตร (kg/m3) และกรมั ต่อ ลูกบาศก์เซนติเมตร (g/cm3) และจากสตู รการคา้ นวณหาความหนาแน่นข้างต้นแสดงให้เหน็ วา่ ความ หนาแน่นนันเป็นอตั ราส่วนของมวลตอ่ ปริมาตรทีไ่ ม่ได้ค้านึงถึงปริมาณของวตั ถุหรอื สารตังต้นทังหมดที่ มีอยู่ในขณะนัน ดังนนั ความหนาแน่นจึงเป็นสมบตั ิที่ไม่ได้ขึนอยู่กบั ปริมาณของสสาร (Intensive Property) ซึง่ โดยทว่ั ไป เราอาจสับสนระหว่างความหนาแน่นกบั น้าหนัก เนือ่ งจากวัตถุ 2 ชินที่มีปริมาตรเท่ากัน ชนิ ที่ มีความหนาแน่นมากกว่ามักมีน้าหนักที่มากกว่า ซึ่งในความเปน็ จริง ความหนาแน่นเป็นความสัมพันธ์ ระหว่างมวลต่อปริมาตร จึงไม่สามารถหาข้อสรุปจากการพิจารณามวลหรือปริมาตรของสสารเพียง ส่วนเดียว แตต่ ้องพิจารณาตัวแปรทังสองควบคู่กนั ไป ๕. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ข้อที่ ๑ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ข้อที่ ๒ ซือ่ สัตย์สุจริต ข้อที่ ๓ มีวนิ ัย ข้อที่ ๔ ใฝ่รู้ใฝเ่ รียน ข้อที่ ๕ อยู่อย่างพอเพียง ข้อที่ ๖ มุ่งมน่ั ในการทา้ งาน ข้อที่ ๗ รักความเป็นไทย ข้อที่ ๘ มีจิตสาธารณะ ๖. การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และการเขียน การพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน พืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ได้ก้าหนดขอบเขตการประเมินและตวั ชวี ัดที่แสดงความสามารถในการ อ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียนของผู้เรยี น ดังนี การอา่ นจากสือ่ ส่ิงพิมพ์และสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ที่ให้ขอ้ มูลสารสนเทศ ข้อคิด ความรเู้ กี่ยวกับ สังคมและสิง่ แวดล้อมที่เออื ให้ผู้อา่ นนา้ ไปคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สรปุ แนวคิดคุณค่าที่ได้ น้าไปประยกุ ต์ใช้ ด้วยวิจารณญาณ และถ่ายทอดเป็นข้อเขียนเชงิ สร้างสรรค์หรือรายงานด้วยภาษาที่ถกู ต้องเหมาะสม เชน่ อ่านหนงั สือพิมพ์ วารสาร หนงั สือเรียน บทความ สนุ ทรพจน์ ค้าแนะน้า ค้าเตือน แผนภูมิ ตาราง แผนที่ ตัวบ่งชีทางพฤติกรรมการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน 1.สามารถคัดสรรสื่อทีต่ อ้ งการอ่านเพื่อหาข้อมูลสารสนเทศได้ตาวัตถปุ ระสงค์ สามารถสร้างความเข้าใจและประยุกต์ใชค้ วามรู้จากการอ่าน
Search