Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report:SAR)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report:SAR)

Published by jantaporn9, 2021-05-17 06:12:51

Description: RSBS-SAR-๒๕๖๓

Search

Read the Text Version

๙๗ สวนที่ ๓ สรุปผล แนวทางการพัฒนา และการตอ งการการชวยเหลอื ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาถือเปนขอมูลสารสนเทศสำคัญท่ีสถานศึกษาจะตอ งนำไปวิเคราะห สังเคราะห เพื่อสรุปนำไปสูการเชื่อมโยงหรือสะทอนภาพความสำเร็จกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาและนำไปใชในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ดังนน้ั จากผลการดำเนินงานของ สถานศึกษาสามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจุดเดน จุดควรพัฒนาของแตละมาตรฐาน พรอมทั้งแนว ทางการพฒั นาในอนาคต เพือ่ ใหไดมาตรฐานท่สี ูงขึน้ และความตอ งการชวยเหลอื ดงั น้ี ระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน สรุปผล จดุ เดน จุดควรพัฒนา Šคุณภาพของนกั เรียน Šคณุ ภาพของนกั เรียน โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมและโครงการที่ จากสภาพปญหาของความหลากหลายทางดา นความ หลากหลายเพื่อพัฒนาศักยภาพและคุณภาพของ เปนอยูของนกั เรียน ในชวงสถานการณโรคระบาดโค ผูเรียน ทำใหผูเรียนไดรับรางวัลทางดานวิชาการ วิด๑๙ ซึ่งทางโรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอน เทคโนโลยี นาฏศิลป กฬี า ในระดับเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา Online มีนักเรียนสวนใหญที่ประสบปญหาในเรื่อง และระดับภูมิภาค ผูเรียนมีความสามารถในการใช การขาดแคลนอุปกรณการเรียน อาทิ คอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในชวงของ เครื่องมอื สือ่ สาร และอินเตอรเน็ต wifi ในการเรียนที่ บาน ทางโรงเรียนตองมีการเตรียมแผนรองรับในการ สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโร แกปญหาเพื่อใหนักเรียนไดรับความรูอยางเสมอภาค นา ๒๐๑๙ (COVID-19) นอกจากนี้ครูที่ปรึกษาให จนกวาการแกปญหาเรื่อง สถานการณโรคระบาดโค ความรวมมือในการดูแลชวยเหลือและสง เสริม วดิ ๑๙ จะคลี่คลายลง น ั ก เ ร ี ย น จ น ส า ม า ร ถ แ ก  ไ ข ป  ญ ห า แ ล ะ ช  ว ย เ ห ลื อ นักเรียนในเบื้องตนได อีกทั้งนักเรียนเห็นคุณคาใน ตนเอง มีทักษะในการดำรงชีวิตรวมกับผอู ื่นไดอยางมี ความสุข ดานการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค โ ด ย โ ร ง เ ร ี ย น ไ ด  น ำ ก ร ะ บ ว น ก า ร ลู ก เ สื อ ม า ใ ช เ พื่อ เสรมิ สรางคุณลักษณะอันพึงประสงคผเู รียนใหเปนไป ตาม Boy Scout RSBS Model

๙๘ จดุ เดน จดุ ควรพัฒนา Šกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ Šกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอยาง การดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนนคุณภาพ เปน ระบบ ทง้ั ในสว นการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการ นักเรียนรอบดานตามหลักสูตรสถานศึกษา ควร จัดการศึกษา การนำแผนไปปฏิบัติเพื่อพัฒนา ดำเนินการเชื่อมโยงกับทองถิ่นมากขึ้น โดยการเชิญ คุณภาพการศึกษา มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพ วิทยากรทองถิ่นเขามามีสวนรวมในการใหความรูกับ การจัดการศึกษา และมีการติดตามตรวจสอบ นกั เรยี นมากขน้ึ ประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอยางตอเนื่อง ทำใหการดำเนินงานมีความตอเนื่องและเปนระบบ มกี ารจดั บรรยากาศและสภาพแวดลอ มทางกายภาพท่ี มีความปลอดภัย สวยงาม มีชุมชนและหนวยงาน ภายนอกขอเขา ใชสถานที่ Šกระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน นักเรียน Šกระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน นกั เรยี น เปนสำคญั เปน สำคัญ - ครูมีความตั้งใจ มุงมั่นในการพัฒนาการสอน - เนื่องจากอุปกรณโปรเจคเตอรมีอายุการใชงาน โดยจัดกิจกรรมใหนักเรียนไดเรียนรู ที่เนนทักษะ ดังนั้นมีโอกาสเสียขณะที่มีการจัดการเรียนการสอน กระบวนการคิด ไดปฏิบัติจริง มีการใชวิธีการและ เพื่อใหการจัดการเรียนการสอนเปนไปอยางตอเนื่อง แหลงเรยี นรูท ีห่ ลากหลาย ใหนักเรียนแสวงหาความรู ควรมีโปรเจคเตอรสำรองไวเพือ่ ใชงานไดตลอดเวลาใน จากส่ือเทคโนโลยดี วยตนเองอยางตอ เนื่อง นักเรียนมี ขณะท่ีรอชางซอ ม สว นรว มในการจัดบรรยากาศสภาพแวดลอมที่เอ้ือตอ - เครื่องกระจายสัญญาณอินเทอรเน็ตมีขอจำกัด การเรยี นรู การกระจายสัญญาณใหค รอบคลมุ รวดเร็ว และทว่ั ถึง - มีการรวมมือกับหนวยงานภายนอกในการจัด จะตองใชง บประมาณมาก กิจกรรมสงเสริมความสามารถ และความถนัดของ ผเู รียน แผนพฒั นาคณุ ภาพเพือ่ ยกระดับคุณภาพใหไดม าตรฐานที่สงู ขน้ึ 1) พฒั นานักเรียนใหม ที ักษะในการอาน การเขยี น การส่อื สาร และการคดิ คำนวณเปนไปตามเกณฑที่ โรงเรยี นกำหนดในแตล ะระดบั ช้ัน 2) พฒั นานกั เรียนใหมีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยางมวี จิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน ความคิดเห็น และแกป ญ หาอยา งมีเหตุผล

๙๙ ๓) พัฒนานกั เรียนใหมีความรูและทักษะพื้นฐานในการสรางนวัตกรรม การนำนวัตกรรมไปใชและมี การเผยแพร 4) พัฒนานกั เรียนใหม ีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อพัฒนาตนเอง และสงั คมในดานการเรยี นรู การส่ือสาร การทำงานอยางสรางสรรคและมีคณุ ธรรม 5) พฒั นานกั เรียนใหม คี วามกา วหนา ในการเรยี นรตู ามหลักสตู ร และผลการทดสอบระดบั ชาติ 6) พัฒนานักเรียนใหมีความรู ทักษะพื้นฐาน และมีเจตคติที่ดี พรอมที่จะศึกษาตอในระดับที่สูงขน้ึ และการประกอบอาชีพ ๗) จัดทำโมเดลในการบริหารงานทั้งระบบ ปรับปรุงโครงสรางการบริหารงานใหทันสมัยดำเนินงาน ตามกระบวนการ PDCA ๘) ขอคำปรกึ ษาจากหนว ยงานทเี่ กยี่ วของเพอ่ื พฒั นาในปต อ ๆ ไป ๙) จัดทำโครงการพฒั นาครูสูม ืออาชพี ๑๐) สนบั สนนุ สง เสรมิ การพฒั นาครแู ละบุคลากรใหม ีความเชีย่ วชาญทางวิชาชีพใหไดร ับโอกาส ไดรับ การพัฒนาตนเองอยา งตอเนื่อง ๑๑) จัดเตรียมความพรอมดานเทคโนโลยี อาทิ คอมพิวเตอร โปรเจคเตอร wifi และวัสดุอุปกรณ สำนักงานในการจัดการเรียนการสอนท่ีทันสมัยและเพียงพออนั สง ผลการจัดการเรยี นการสอนให มคี ณุ ภาพ ๑๒) ภาครัฐควรเขามาใหบริการใหสญั ญาณอินเทอรเ น็ต (Wifi) กับทางโรงเรียนโดยไมเ สียคา ใชจา ย เพราะเปนการใหบ รกิ ารทางดา นการศึกษา แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต โรงเรียนรัตนโกสินทรสมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ มีแนวทางการพัฒนาสถานศึกษา เปนไปตามรูปแบบการบริหารจัดการโดยใชโรงเรยี นเปน ฐานและการบริหารแบบมีสวนรว ม โดยพัฒนาทงั้ ทางดาน วชิ าการ บคุ ลากร งบประมาณ และบรหิ ารท่วั ไป ดังนี้ ดานวิชาการ โรงเรียนมีแนวทางในการสงเสริมและพัฒนากระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสำคัญอยางตอเนื่อง โดยสงเสริมใหครูผลิตและใชสื่อรวมถึงงานวิจัยในชั้นเรียน ใชกระบวนการนิเทศ เพ่อื พัฒนากระบวนการเรยี นการสอน เพื่อยกระดบั คุณภาพวชิ าการและพัฒนาการยกระดบั ผลสมั ฤทธขิ์ องนกั เรียน ใหเปน ไปตามเปาหมายของสถานศกึ ษาและสูมาตรฐานสากล อกี ทั้งสง เสรมิ ความสามารถและทักษะของนักเรียน ในดานตาง ๆ เพิ่มมากขึ้น โดยการบูรณาการกระบวนการลูกเสือมาใชเพื่อเสริมสรางคุณลักษณะอันพึงประสงค ผเู รียนใหเ ปนไปตาม Boy Scout RSBS Model ดานงานปกครองและบุคลากร โรงเรียนมีในการสงเสริมและพัฒนาโดยใชการบริหารแบบมีสวนรวม (Praticipative Managment) มีการเสริมและพัฒนาบุคลากรใหเปนครูมืออาชีพ พัฒนากระบวนการชุมชนแหง การเรียนรูทางวชิ าชีพ (PLC) โดยจัดใหมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูและใหขอ มูลสะทอนกลบั นอกจากนี้มีแนวทางใน การสง เสริมคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค คณุ ธรรมจริยธรรมของนกั เรยี นดว ยกระบวนการลูกเสอื โดยการบูรณาการ

๑๐๐ และสอดแทรกในเน้ือหาทกุ กลุมสาระการเรียนรู เพือ่ พัฒนาผเู รียนใหเปนไปตามลกั ษณะของ กระบวนการลูกเสือ มาใชเพ่อื เสรมิ สรา งคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคผ เู รยี นใหเปนไปตาม Boy Scout RSBS Model ดานงบประมาณ มีแนวทางจัดสรร สงเสริมงบประมาณตามการบริหารงบประมาณแบบมุงเนนผลงาน (PBB) เพื่อใหอยางพอเพียงตามโครงการพัฒนาการเรียนการสอนสูมาตรฐานสากลทุกกลุมสาระการเรียนรู และ ขอคำปรึกษาจากหนว ยงานท่เี กี่ยวของเพ่อื พัฒนาอยางตอ เนื่องในปต อ ๆ ไป ดานอาคารสถานที่ มีการพัฒนาจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อตอ การเรียนรู มีความปลอดภัยโดยเครงครัดจากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ตามแนวทางการปองกันจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม โดยยึดหลักการปฏิบติตาม ประกาศของ ศบค.มท.(ศูนยบริหารสถาณการณแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ กระทรวง มหาดไทย) รวมทั้งมีการจัดสภาพสังคมที่ดีเอื้อตอการเรียนรู ครอบคลุมทุกกลุมสาระการเรียนรู ทั่วถึงทุกคนทุก กลุม เปาหมาย ใหสอดคลอ งกบั สภาพปญหา ความตอ งการ เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพผูเรียนอยา งตอเน่ือง ความตองการและการชว ยเหลือ ๑. ภาครัฐควรเขามาใหบ รกิ ารเร่อื งการใหสัญญาณอินเทอรเน็ต (Wifi) กบั ทางโรงเรยี นโดยไมเ สียคาใชจาย เพราะเปน การใหบ รกิ ารทางดานการศึกษา 3. การสนบั สนนุ ดานงบประมาณจากหนว ยงานตนสงั กัด 4. ความรว มมือจากชุมชนและหนว ยงานภายนอกในดา นงบประมาณและบุคลากรท่ีมคี วามเชีย่ วชาญ

๑๐๑ สวนท่ี 4 การปฏบิ ัตทิ ่เี ปน เลิศของสถานศกึ ษา (ความโดดเดน ) … เปนตน แบบ มีความโดดเดน ไดร บั การยอมรบั ระดบั นานาชาติ (C๓) … เปนตน แบบ มีความโดดเดน ไดรบั การยอมรับระดบั ชาติ (C2) ; เปน ตน แบบหรือมีความโดดเดนระดบั ทองถ่ิน/ภมู ภิ าค/เขตพืน้ ที่ (C1) ชื่อผลงานทเี่ สนอประเมนิ ความโดดเดน (Best Practices) การจัดกจิ กรรมตามกระบวนการลกู เสอื เพ่ือพัฒนาเยาวชน ประจำปการศกึ ษา 256๓ คำสำคญั กระบวนการลูกเสือ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค 1. บทนำ กระบวนการ/วธิ กี ารดำเนินงานในอดตี การศึกษาเปนกร ะ บวน ก าร ที่ สำคัญ ยิ ่งในก ารพัฒน าคน ใหมี คุ ณภาพ สามาร ถที ่ จะปรั บตัวไ ด อ ย  าง รู เทาทันตอการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ใหเปนไปในแนวทางที่ถูกตอง เหมะสมกับสภาพความตองการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรมของประเทศ ที่จะสามารถสรางสรรคความเจริญกาวหนาใหแกสังคมไทย ทั้งยัง สรางความสมดุลและความกลมกลืนของการพัฒนาดานตาง ๆ การศึกษาในศตวรรษที่ 21 จึงตองมี การปรับเปล่ียนใหสอดคลองกับความเปนจริง คุณลักษณะของนักเรยี นในปจจบุ นั นอกจากจะเปน ผูที่สมบูรณทั้ง ทางรางกาย จิตใจ สติปญญา มีความรู คุณธรรมและจริยธรรม สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข ตาม พระราชบญั ญตั ิการศึกษาพุทธศักราช 2542 แลว นักเรียนจะตองมีวนิ ยั ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญไดตาม ความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบตอครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศ ทักษะการเรียนรูจ ึงครอบคลุม ทั้งดานวิชาการ วิชาชีพ วิชาชีวิต สอดคลองกับคุณลักษณะอันพึงประสงค ทักษะที่จำเปนในศตวรรษที่ 21 และ ทกั ษะดา นพหุปญญา โรงเรียนรัตนโกสินทรส มโภชบวรนเิ วศศาลายา ในพระสงั ฆราชูปถมั ภไ ดตระหนกั ถึงความสำคญั ของ การพฒั นาและสงเสริมนักเรยี นทัง้ ทางกาย สตปิ ญ ญา จติ ใจ และศีลธรรม ใหเ ปน พลเมืองดี มีความรบั ผดิ ชอบ และ ชวยสรา งสรรคส งั คมใหเกิดความสามัคคีและมีความเจรญิ กาวหนา โดยการพฒั นาการเรียนการสอนกิจกรรมที่จัด ในโรงเรียนเพราะทุกกิจกรรมมุงเนน การพัฒนาคุณลักษณะนกั เรยี น สรางนักเรยี นใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพือ่ พฒั นาใหผเู รยี นมคี ณุ ธรรมนำความรู เปน คน “ดี เกง และมีความสุข” จงึ มกี ารบรู ณาการจัดกจิ กรรมการเรยี น การสอน ที่มุง เนน ใหน กั เรยี นเปนศูนยกลางการเรียนรูตามมาตรฐานการเรียนรูของกจิ กรรมพฒั นานกั เรียน โดยใช กระบวนการลูกเสือมาชวยในการพัฒนาเยาวชน มีวัตถุประสงคเพือ่ ฝกอบรม ใหการศึกษาและพัฒนาเยาวชนให เปน พลเมอื งดี โดยไมค ำนงึ ถึงเชือ้ ชาติ ศาสนา ท้งั น้ีเปน ไปตามความมุงประสงคหลักการ และวธิ ีการ ซ่ึงลกู เสือโลก ไดกำหนดไว ปจจุบนั กระบวนการลูกเสือถือเปน กระบวนการทางการศึกษาสว นหนง่ึ ซง่ี มุง พัฒนาสมรรถภาพของ บุคคลทง้ั ทางสมอง รา งกาย จิตใจ และศลี ธรรม

๑๐๒ กระบวนการลูกเสือมีหลกั การสำคญั ดงั นี้ ๑. มีศาสนาเปน หลักยดึ ทางจติ ใจ จงรักภกั ดตี อศาสนาท่ตี นเคารพนบั ถอื และพึงปฏบิ ัติศาสนกจิ ดว ยความ จริงใจ ๒. จงรกั ภักดตี อพระมหากษัตริยแ ละประเทศชาติของตน พรอมดว ยการสง เสริมและสนบั สนุนสันติสุข และสนั ติภาพ ความเขา ใจที่ดีซ่ึงกันและกนั และความรวมมอื ซงึ่ กนั และกันต้งั แตระดบั ทอ งถ่นิ ระดบั ชาติ และ ระดบั นานาชาติ ๓. เขารว มพัฒนาสังคม ยอมรบั และใหความเคารพในเกียรติและศักด์ิศรขี องผูอ ่ืนและเพอ่ื นมนุษยท กุ คน รวมทั้งธรรมชาติและสรรพสงิ่ ทัง้ หลายในโลก ๔. มีความรับผดิ ชอบตอ การพัฒนาตนเองอยา งตอ เนือ่ ง ๕. ลูกเสอื ทุกคนตองยดึ มนั่ ในคำปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื สภาพทั่วไป โรงเรียนรตั นโกสินทรส มโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสงั ฆราชปู ถัมภ มีการจัดการเรยี นการสอนหลักสูตร ลูกเสอื ของโรงเรียน มีการจดั การเรียนรลู ูกเสือ-เนตรนารีสามัญรุนใหญและจัดการเรยี นรลู กู เสือ-เนตรนารี วิสามัญ มีการคัดเลือกลูกเสือ-เนตรนารีเขามาเปนลูกเสือกองรอยพิเศษของโรงเรียน ตั้งแตระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 นอกจากนี้โรงเรียนมีความพรอมของสภาพแวดลอมเอื้อตอการจัดการเรียนรูกิจกรรมพัฒนาผูเรียน เปนศูนย กิจกรรมพัฒนาผูเรียนของจังหวัดนครปฐม เปนที่ยอมรับของหนวยงานภายนอก มีการขอเขาใชสถานที่ เพื่อจัด กิจกรรมที่เกี่ยวของกับกิจกรรมพัฒนาผูเรียน อีกทั้งบุคลากรทางการศึกษาไดรับการพัฒนาใหมีวุฒิทางลูกเสือมี ความรูความสามารถในกจิ กรรมลูกเสอื และกระบวนการลกู เสอื โรงเรียนไดร บั รางวัลรางวลั ความสำเร็จ อาทิ - ป 2559 ไดรับรางวลั ชนะเลศิ อันดบั 1 ในการแขงขนั กิจกรรมเดนิ สวนสนามลกู เสอื ของสำนักงาน เขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 - ป 2560 ไดร บั รางวลั รองชนะเลิศอันดับ 2 ระดบั เหรียญทองในการประกวดระเบยี บแถวลูกเสอื - เนตรนารี จังหวดั นครปฐม - ป 2562 ไดร ับรางวัลรองชนะเลิศอันดบั 1 การจัดการคา ยพกั แรม ในการแขง ขันศลิ ปหัตถกรรม นักเรียน ระดบั เขตพน้ื ท่ีการศึกษา - ป 2562 ไดรบั รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การสรา งอุปกรณเพือ่ ใหบ ริการ ในการแขง ศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียน ระดบั เขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา - ป ๒๕๖๓ โรงเรยี นใหก ารสนับสนนุ การประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารโครงการสงเสริมและพฒั นาระบบ ฐานขอ มูลดานลูกเสือ ยวุ กาชาดและกจิ การนกั เรียน จากการดำเนนิ งานขางตน ทำใหโ รงเรียนไดนำกระบวนการลูกเสือมาใชเปน แนวทางปฏบิ ตั ิที่เปนเลิศ โดย นำกระบวนการลกู เสือมาใชพ ฒั นานกั เรียนท้งั ทางกาย สติปญญา จิตใจและศีลธรรม ใหเปนพลเมอื งดี มีความ รบั ผดิ ชอบและชว ยสรางสรรคสงั คมใหเกิดความสามคั คีและมีความเจริญกา วหนา ทง้ั นีเ้ พอื่ ความสงบสขุ และความ มน่ั คงของประเทศชาติ ซง่ึ สอดคลอ งกบั พระราชบัญญตั ิลูกเสอื

๑๐๓ ลักษณะสำคญั ของวธิ หี รอื แนวทางปฏบิ ตั ิทเ่ี ปน เลิศ โรงเรียนไดนำจดั การเรยี นการสอนในวิชากจิ กรรมลูกเสอื -เนตรนารี โดยนำกระบวนการลูกเสอื เขา มาชวย สรา งเสริมทกั ษะชีวติ และสรา งนักเรยี นใหมคี ุณลกั ษณะอันพึงประสงค อยางเชน กจิ กรรมในวนั สำคัญ ของชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ  โครงการอบรมผูน ำ (สภานกั เรียน) มีวตั ถุประสงคเสริมสรา งความรูความเขา ใจในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท รงเปนประมขุ และพฒั นาจนเกดิ เปน วิธีประชาธปิ ไตย คอื คารวธรรม สามคั คีธรรม ปญ ญาธรรม เพอื่ ใหการเรยี นรูของนักเรยี นเปนไปอยางสนกุ โดยกระบวนการลูกเสือ ควบคูไ ปกบั การใหน ักเรียนเปน บุคคลที่มีระเบยี บวนิ ยั มีความรบั ผิดชอบ ซอ่ื สตั ยสุจริต มเี กยี รติ เชือ่ ถือได และประการสำคัญ คอื การรูจ ักหนาท่ี รจู ักตอบแทนผมู พี ระคุณ ดว ยการเปนลูกที่ดีและลูกศษิ ยท ่ีดี ตง้ั ใจศกึ ษา เลา เรียนดว ยความ วิรยิ ะอตุ สาหะ มคี วามสขุ ในการเรยี นรู และปฏิบัติตนใหเ หมาะสมกับสถานภาพของนักเรยี น โดยมแี นวทางการจัด กจิ กรรมตามวธิ กี ารลูกเสอื (Scout Method) ซึง่ มีองคประกอบ ๗ ประการ คือ ๑. คำปฏญิ าณและกฎ ถอื เปน หลักเกณฑที่ลูกเสอื ทุกคนใหค ำม่นั สัญญา วาจะปฏบิ ัตติ ามกฎของลกู เสือ กฎของลูกเสือมีไวใหลูกเสือเปน หลกั ในการปฏิบัติ ไมได “หา ม” ทำ หรอื “บังคับ” ใหท ำ แตถา “ทำ” ก็จะทำให เกิดผลดแี กต ัวเอง เปน คนดี ไดร ับการยกยองวาเปนผูม ีเกยี รตเิ ชอ่ื ถอื ได ฯลฯ ๒. เรยี นรจู ากการกระทำ เปนการพัฒนาสวนบคุ คล ความสำเรจ็ หรือไมส ำเรจ็ ของผลงานอยูทีก่ ารกระทำ ของตนเอง ทำใหม คี วามรทู ี่ชดั เจน และสามารถแกปญ หาตาง ๆดวยตัวเองได และทาทายความสามารถของตนเอง ๓. ระบบหมู เปน รากฐานอันแทจ รงิ ของการลูกเสือ เปน พ้นื ฐานในการอยูรวมกัน การยอมรับซงึ่ กันและ กนั การแบง หนา ท่คี วามรบั ผิดชอบ การชวยเหลือซ่ึงกนั และกนั ซง่ึ เปนการเรียนรู การใชป ระชาธปิ ไตยเบอื้ งตน ๔. การใชส ัญลักษณรวมกัน ฝกใหมีความเปน หนง่ึ เดยี วในการเปน สมาชิกลูกเสอื เนตรนารี ดวยการใช สัญลกั ษณรวมกนั ไดแก เครอ่ื งแบบ เครื่องหมาย การทำความเคารพ รหสั คำปฏิญาณ กฎ คติพจน คำขวัญ ธง เปนตน วธิ ีการนจี้ ะชว ยใหผเู รียนตระหนักและภาคภูมิใจในการเปนสมาชกิ ขององคการลกู เสือโลก ซง่ึ มีสมาชกิ อยู ทั่วโลกและเปนองคกรท่มี จี ำนวนสมาชกิ มากท่ีสุดในโลก ๕. การศกึ ษาธรรมชาติ คือ ส่ิงสำคญั อนั ดับหนึ่งในกิจกรรมลูกเสือ ธรรมชาตอิ ันโปรงใสตามชนบท ปาเขา ปาละเมาะ และพุม ไม เปน ทป่ี รารถนาอยา งยงิ่ ในการไปทำกิจกรรมกบั ธรรมชาติ การปน เขา ตง้ั คาย พกั แรมในสุด สปั ดาหหรอื ตามวาระของการอยูคา ยพักแรมตามกฎระเบียบ เปน ท่ีเสนหาแกเ ด็กทกุ คน ถาขาด สิ่งนี้แลว กไ็ ม เรยี กวา ใชช วี ติ แบบลูกเสือ ๖. ความกา วหนา ในการเขารว มกิจกรรม กิจกรรมตา ง ๆ ทจี่ ัดใหเด็กทำตอ งใหม ีความกา วหนา และดึงดูด ใจ สรางใหเกิดความกระตอื รอื รน อยากท่ีจะทำ และวัตถปุ ระสงคในการจดั แตละอยางใหส มั พนั ธกับความ หลากหลายในการพัฒนาตนเอง เกมการเลน ที่สนุกสนานการแขงขันกนั ก็เปน สิ่งดึงดูดใจและเปน การจูงใจทีด่ ี ๗. การสนับสนนุ โดยผใู หญ ผูใ หญเ ปนผูท่ชี ้ีแนะหนทางท่ีถูกตอ งใหแ กเดก็ เพอ่ื ใหเขาเกดิ ความมน่ั ใจในการ

๑๐๔ ท่จี ะตัดสินใจกระทำสงิ่ ใดลงไป ท้ังคูม คี วามตอ งการซึ่งกนั และกันเดก็ ก็ตองการใหผูใหญชว ยชนี้ ำ ผูใหญเ องก็ ตอ งการนำพาใหไ ปสหู นทางท่ีดี ใหไ ดรบั การพฒั นาอยางถกู ตองและดีทส่ี ุด จงึ เปน การรวมมือกันท้ังสองฝาย โรงเรียนรัตนโกสินทรสมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ ไดนำกระบวนการ หลักการ และ วิธีการลูกเสือ สูการบริหารจัดการและการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยยดึ กฎของลูกเสือ เพื่อสงเสรมิ พัฒนา นกั เรยี นใหอยใู นระเบียบวนิ ยั “Boy Scout RSBS Model” มีรายละเอยี ดดังนี้ 1. R (Resource) ทรัพยากร เปนสิ่งที่สำคัญในการบริหารเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและบรรลุ เปาหมาย ไดแก 4M ประกอบดวย - คน (Man) - เงนิ (Money) - วัสดุหรือวัตถุดบิ (Meterial) - การจดั การ (Management) 2. S (System) ระบบ เปน กระบวนการทำงานโดยใชว งจรคุณภาพของเดมมงิ่ (Deming Cycle) ใน การบริหารจัดการประกอบดวย การวางแผน (Plan) การนำไปปฏิบัติ (Do) การตรวจสอบและ การติดตาม (Check) การดำเนนิ การปรับปรุง (Act) ๓. B (Board) คณะกรรมการเปน สวนสำคัญของการบริหารและการตัดสินใจ เพราะการมีสวนรวม ของผรู วมงานจะชวยนำพาความสำเร็จมาสหู นว ยงาน ๔. S (Student) นกั เรยี น เปน เปาหมายท่ีสำคญั ที่สุดตาม พรบ.การศึกษา คือ นกั เรียนจะตองเปนผู ที่ “เกง ดี มีความสุข” ผูเรียนมีศักยภาพเปนพลโลก (World Citizen) “เปน เลศิ วิชาการ สอื่ สารสอง ภาษา ลำ้ หนา ทางความคดิ ผลิตงานอยางสรา งสรรค” ความเกง Intelligence Quotient(IQ) ความดี Moral Quotient (MQ) มสี ขุ Emotional Quotient (EQ) วัตถุประสงคข องวิธหี รือแนวทางท่เี ปนเลิศ 1. เพื่อพัฒนาคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคข องนกั เรยี นดว ยกระบวนการลูกเสือ 2. เพื่อเสรมิ สรางทักษะชีวิตของนักเรียนดวยกระบวนการลกู เสือ เปาหมาย ตวั ช้ีวดั เชิงปรมิ าณ 1) นักเรยี นโรงเรียนรัตนโกสนิ ทรสมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสงั ฆราชปู ถมั ภ มคี ุณลกั ษณะ อันพงึ ประสงค ระดับดีขน้ึ ไป รอ ยละ ๑๐๐ 2) นักเรียนโรงเรียนรัตนโกสินทรสมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ ผา นการประเมนิ การมที กั ษะชีวติ แบบลูกเสือ รอ ยละ ๑๐๐ ตัวชวี้ ดั เชงิ คุณภาพ 1) นักเรยี นมีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคส อดคลองกบั “Boy Scout RSBS Model” 2) นักเรียนมีทกั ษะชวี ิต

๑๐๕ 2. แนวทาง/ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน/Flow Chart (แผนภูม)ิ ของวิธหี รือแนวทางปฏิบัตทิ เ่ี ปน เลศิ ข้นั ท่ี 1 ดานการวางแผน (Plan) - ประชุมวางแผน - วางแผนกิจกรรม - จดั เตรียมทรพั ยากร ข้นั ท่ี 2 ดา นการปฏบิ ัติตามแผน (Do) - สำรวจคณุ วุฒทิ างการลกู เสอื ของบคุ ลากรทางการลูกเสือในโรงเรยี น - สง เสริม สนับสนุนการพฒั นาผบู รหิ ารสถานศกึ ษา และครูผสู อนไดรบั การพฒั นาคุณวุฒิทาง ลูกเสือ โดยไดรับเครอื่ งหมาย วดู แบดจ 2 ทอน (wood badge) (W.B.) เปนอยา งนอ ย - สงเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนลูกเสอื ในสถานศึกษาใหสอดคลอ งตาม พระราชบญั ญตั ิลกู เสอื พ.ศ. 2551 - บรู ณาการกระบวนการลกู เสอื เขากับทุกกลุมวิชา ทกุ กลมุ สาระการเรียนรู โดยจัดกิจกรรมท่ี สอดคลองกับ “Boy Scout RSBS Model” ขั้นท่ี ๓ ดานการตรวจสอบ (Check) - ดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตามการดำเนนิ การตามมาตรการ และแนวทางการดำเนนิ การ - กำกบั ดูแลการจดั การเรียนการสอน กจิ กรรมและโครงการใหดำเนินการไป ข้ันที่ 4 ดา นการปรบั ปรุง (Action) - นำผลการดำเนนิ การมาปรับปรุงพฒั นาตอ ไป ๓. ผลลัพธ/ ผลการดำเนินการ ระบุผลการดำเนนิ งานตามเปา หมาย-ตวั ชีว้ ดั ที่กำหนดท้งั เชงิ ปรมิ าณ และหรือคุณภาพ 1) นกั เรียน โรงเรยี นรัตนโกสินทรสมโภชบวรนเิ วศศาลายา ในพระสงั ฆราชูปถัมภ มคี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคร ะดบั ดขี นึ้ ไป รอยละ 9๙.๒๒ เปน ไปตามวัตถปุ ระสงคท ่ตี ัง้ ไว 2) นักเรยี น โรงเรียนรตั นโกสินทรส มโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสงั ฆราชูปถมั ภ ผานการประเมินการมีทักษะชีวิต แบบลูกเสือ รอยละ 100 เปนไปตามวัตถุประสงคที่ตั้งไวเมื่อดำเนินการตาม ขนั้ ตอนของ Best Practices แลว สงผลตอสถานศกึ ษาอยางไร ๓) ผูเรยี นมคี ุณลักษณะอนั พงึ ประสงค มรี ะเบียบวนิ ยั และเคารพกฎในการอยูรวมกันในสังคม ๔) สถานศึกษาเปน แบบอยางในการนำกระบวนการลูกเสอื ไปพัฒนาผูเรียนใหเปนผูมี คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค เปน ผมู ีคณุ ธรรมจริยธรรม ระเบยี บวินัย มคี วามเปนผูน ำผูตามท่ดี ี มีจิตอาสา สามารถ อยรู วมกันบนความแตกตา งและหลากหลาย มที กั ษะชีวิตและทักษะการเรียนรูตลอดชีวติ ๕) ไดรบั การยอมรบั จากหนวยงานภายนอกและชุมชนโดยรอบในการจัดกจิ กรรมตา ง ๆ สถานทศ่ี ึกษาดงู านใหแ กโ รงเรยี นและหนว ยงานอื่น ๆ

๑๐๖ ๔. ปจ จัยเกอื้ หนุน/ปจจยั แหง ความสำเร็จ 1) ผูบริหารใหการสนบั สนุนในการจัดกจิ กรรมและพฒั นาสถานทีใ่ หเ ออ้ื ตอการจดั การเรยี นรู 2) ครแู ละบคุ ลากรมีการดำเนินการ กำกบั ตดิ ตาม การจดั กิจกรรมอยา งตอเนื่อง 3) นกั เรียนใหค วามรวมมอื ในการดำเนินกิจกรรมและมีคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค 4) กรรมการสถานศกึ ษาใหก ารรวมมอื และสนบั สนุนในการดำเนนิ การสำเรจ็ ลุลวงดวยดี 5) สถานทแ่ี ละสภาพแวดลอมมคี วามเหมาะสมตอการจัดกิจกรรม 6) หนว ยงานภายนอก อาทิ องคการบริหารสว นตำบลศาลายา เทศบาลตำบลศาลายา ใหก าร สนับสนนุ ในเรอ่ื งงบประมาณ 7) สถานีตำรวจอำเภอพทุ ธมณฑล ใหค วามอนุเคราะหใ นการดแู ลรกั ษาความปลอดภยั และใหค วามรู ในเรื่องกฎหมายการจราจรแกน ักเรยี นใหม รี ะเบียบวินัย 8) การประสานความมือกับวดั ในชมุ ชน ใหพ ระสงฆเ ทศนา ใหหลกั ธรรมคำสอน แกนักเรียน 9) การวางแผนท่ีดี มีการจดั ทำแผนงานของโครงการลวงหนา หรือมกี ารนำเครือ่ งมอื Plan, Do, Check, Action มาใชเ ปน เครื่องมอื ในการบริหารจัดการ ๕. แนวทางการพัฒนาใหย ั่งยืน 1) พฒั นาบุคลากรอยา งตอเนือ่ ง 2) พฒั นาขดี ความสามารถของผูเ รียนเพ่ือเขา รวมกจิ กรรมตาง ๆ 3) พัฒนาสถานท่ีใหมีความทนั สมัยและปลอดภยั มากขึ้น 4) สนับสนนุ กจิ กรรมจากหนว ยงานภายนอก ท้งั ส่งิ อำนวยความสะดวกและบุคลากร 6. การเปน ตนแบบใหก ับหนวยงานอ่ืน/การขยายผล และ/หรือรางวลั ท่ไี ดร ับ ๖.๑ โครงการฝก อบรมหลักสตู รลูกเสอื ตา นภัยยาเสพตดิ เชงิ ปรมิ าณ ลูกเสอื เนตรนารี แกนนำ จำนวน ๙ คน เขารวมกจิ กรรม มีโรงเรยี นรว มการอบรม ดังนี้ โรงเรียน คงทองวิทยา โรงเรียนอบุ ลรตั นร าชกัญญาราชวิทยาลัย โรงเรียนพลอยจาตุรจินดา โรงเรียนงิ้วรายบุญมรี ังสฤษฏ โรงเรียนกำแพงแสนวิทยา โรงเรยี นบางเลนวิทยา โรงเรียนภัทรญาณวิทยา และโรงเรียนโพรงมะเดื่อวทิ ยา รวม ทัง้ ส้ิน จำนวน ๘๑ คน เชิงคุณภาพ ลูกเสือ เนตรนารี ที่เขารับการฝกอบรมตระหนักถึงพิษภยั และบทลงโทษของผูท่ีเกีย่ วของกับยาเสพ ติด และสามารถนำมาขยายผลตอใหกับลูกเสือ เนตรนารีในโรงเรียน จำนวน ๘๐๒ คน โดยใหความรูในคาบ วชิ ากิจกรรมลูกเสอื สามญั รนุ ใหญ ๖.๒ โครงการสอบวิชาพิเศษลกู เสือ เนตรนารสี ามญั รนุ ใหญ จำนวน ๙ รายวชิ า รายละเอยี ด เชิงปริมาณ ลูกเสือ เนตรนารีสามัญรุนใหญ ม.๑ จำนวน ๑๘๘ คน วิชาหัวหนาคนครัว การจัดการคายพัก แรม การพยาบาล ลูกเสอื เนตรนารสี ามญั รนุ ใหญ ม.๒ จำนวน ๒๓๕ คน ๖.๓ วิชานักผจญภยั วชิ านักสะกดรอย วิชาดาราศาตร นักเดนิ ทางไกล นักบุกเบกิ นักธรรมชาตวิ ทิ ยา เชงิ ปรมิ าณ ลูกเสอื เนตรนารสี ามญั รุนใหญ ม.๓ จำนวน ๒๑๘ คน

๑๐๗ เชิงคณุ ภาพ ลกู เสือ เนตรนารสี ามญั รุนใหญผ านวชิ าพเิ ศษ รอยละ ๑๐๐ ๖.๔ กิจกรรมการสอบธรรมสนามหลวง (ธรรมศึกษา) เชิงปริมาณ นกั เรยี นเขา รว มกิจกรรม จำนวน ๑,๐๕๓ คน เชิงคณุ ภาพ นกั เรยี นทเี่ ขา รว มกจิ กรรมสามารถสอบผา นไดรอ ยละ ๗๕ ๖.๕ โครงการออกแบบชวี ิต: การเรียนรสู ูการเปล่ยี นแปลง เชิงปริมาณ นกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี ๔ เขา รว มกิจกรรม จำนวน ๒๐๐ คน เชิงคุณภาพ นกั เรียนมีภูมคิ ุมกนั และมีแนวทางในการปอ งกันความเส่ยี ง ท่ีอาจจะเกิดขน้ึ ในอนาคต ๖.๖ โครงการอบรมผูนำนักเรยี น “หลักสูตรผนู ำ” เชงิ ปรมิ าณ นักเรียนเขารวมกิจกรรม จำนวน ๒๘ คน เชิงคณุ ภาพ สภานกั เรยี นมีความรู ความเขาใจในบทบาทหนาท่ีของตนเอง เปน องคก รมท่ีมคี วามเขมแข็ง มีสวน รวมในการแกไขปญหา พัฒนาโรงเรียนและสังคม มีความเปนผูนำและผูตามที่ดี สามารถนำหลักการบริหาร บา นเมอื งทีด่ ี หรอื หลกั ธรรมาภบิ าลมาประยกุ ตใ ชใ นการทำงานไดเ ปนอยางดี 7. ภาคผนวก (รอ งรอย หลักฐาน ภาพถา ย ชิน้ งาน ฯลฯ) 1) คำสั่ง 2) วุฒิบตั ร/เกียรตบิ ตั ร 3) ภาพถา ยกจิ กรรม

๑๐๘ ภาคผนวก x คำสั่งแตง ต้ังคณะกรรมการพัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ปการศกึ ษา 256๓ x คำส่งั แตงต้งั คณะกรรมการตดิ ตามตรวจสอบและประเมนิ ผลคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาปการศึกษา256๓ x มาตรฐานสถานศึกษา / คาเปาหมายของสถานศึกษา x กำหนดการประชุมสมั มนา “สะทอ นผลการปฏิบัติงานและการประเมินคณุ ภาพภายในสกู ารประเมนิ คุณภาพ ภายนอกรอบสี่” โดยงานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา x หนงั สอื เชญิ ผูทรงคณุ วฒุ ิ x ภาพประกอบการประเมินภายในโดยคณะกรรมการคณะกรรมการตดิ ตามตรวจสอบและประเมินผลคณุ ภาพ ภายในสถานศกึ ษาปการศกึ ษา256๓ x Infographic สรุปรายงานทกุ มาตรฐาน

๑ คำสัง่ โรงเรยี นรตั นโกสนิ ทรสมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสงั ฆราชปู ถัมภ ที่ ๕๙/๒๕๖๔ เรอื่ ง แตงตั้งคณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนรัตนโกสินทรสมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ ปการศึกษา ๒๕6๓ ------------------ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.๒๕๕๒ หมวด ๖ มาตรา ๔๘ กำหนดใหหนวยงาน ตนสังกัดและสถานศึกษาจัดใหมีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาน้ัน เพ่ือใหการดำเนินการ ประกันคุณภาพในสถานศึกษาท่ีไดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและเปนไปดวยความเรียบรอย จงึ แตงต้ังคณะกรรมการดาํ เนินการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา ดงั น้ี ๑. คณะกรรมการอำนวยการ ประกอบดว ย ๑. วาทร่ี อยตรีพิษณพุ ล แตงออ น ประธานกรรมการ ๒. นายสมเกยี รติ ฐานบัญชา รองประธานกรรมการ ๓. นางสาวอิสรยี  ดา นพิชติ ชยั ศ กรรมการ ๔. นางสาวธัณฐภรณ สมิ มา กรรมการ ๕. นางจิตณา ม่นั คง กรรมการและเลขานกุ าร ๖. นางสาวสทุ ธญา นศิ ากร กรรมการและผชู ว ยเลขานกุ าร มีหนา ที่ อำนวยการวางแผนการดาํ เนนิ การใหค าํ ปรกึ ษา กําหนดหนาทคี่ วามรับผดิ ชอบ นิเทศ กาํ กบั ตดิ ตาม และประเมิน เพ่ือใหการดําเนินการประกันคุณภาพการศกึ ษาและการประเมนิ คุณภาพมาตรฐาน การศึกษาของโรงเรียนรัตนโกสนิ ทรสมโภชบวรนเิ วศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ ใหเ ปนไปดวย ความเรียบรอย บรรลุวัตถุประสงค ๒. คณะกรรมการดำเนินงานประกนั คณุ ภาพภายใน ประกอบดวย ๑. นางจิตณา ม่นั คง ประธานกรรมการ ๒. นางจีรวรรณ วรยศ รองประธานกรรมการ ๓. นายสรุ มิตร ศรีเสนพลิ า กรรมการ ๔. นางภัสสร ทิมาศาสตร กรรมการ ๕. นางสาวจุฑารัตน สายอรณุ กรรมการ ๖. นางสาวสุทธญา นศิ ากร กรรมการและผชู วยเลขานกุ าร มีหนาที่ - นัดหมายประชุม วางแผน เพ่ือวิเคราะหคำอธิบาย ประเด็นการพิจารณา ระดับคุณภาพ และ วิธีการเก็บขอมูล/แหลงขอมูล ตามเอกสาร “แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ขนั้ พน้ื ฐานเพอ่ื การประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา” - ศึกษาคนควา วิเคราะหหาเครื่องมือเก็บขอมูล แหลงขอมูล วิธีเก็บรวบรวมขอมูล ดำเนินการ ประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอยางตอเน่ือง วิเคราะหขอมูล การแปลผลและการเขียน รายงาน / ผปู ระสานงาน...

๒ - ผปู ระสานงานรวบรวมเอกสารจากหวั หนาและผชู วย เพ่อื สรุปเปนรายงานของแตล ะมาตรฐาน - หัวหนาและผูชวยเขียนรายงานตามรูปแบบของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๙ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพผเู รียน 1.1 ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผเู รียน ประกอบดว ย นางจีรวรรณ วรยศ ประธานผปู ระสานงาน 1) มคี วามสามารถในการอาน การเขียน การสอ่ื สารและการคดิ คำนวณ 1. นางชนชญา สงั ขพญา ประธานกรรมการ 2. นางปุณญนชุ ใจงาม รองประธานกรรมการ 3. นางปทิตตา สาทรกจิ กรรมการ 4. นางสาวพรทิพย อรณุ สุโข กรรมการ 5. นายทรรศนัย ศรีสุภักดิ์ กรรมการ 6. นางสาวอาภัสรา อุนตะ กรรมการ 7. นายพศนิ กิตติศรี กรรมการ 8. นางสาวเกศกนก วชิ ยั กรรมการ 9. นางสาวทศั นาภรณ บญั ชรมาศพรรณ กรรมการ 10.ครกู ลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย กรรมการ 11.ครกู ลุม สาระการเรียนรูภาษาตา งประเทศ กรรมการ 12.ครกู ลุมสาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร กรรมการ 13.นางวรี ยา สงวนพวก กรรมการและเลขานุการ 2) มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยา งมวี ิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยน ความคิดเหน็ และแกปญ หา 1. นางปทติ ตา อากาศฤกษ ประธานกรรมการ 2. นางสาวฐิติรตั น จันทรอำพร รองประธานกรรมการ 3. นางสริ พิ ร ฉมิ พาลี กรรมการ 4. นางนันทนา พิสินนาวงษ กรรมการ 5. นางสาวศุภกานต พงษวิเศษ กรรมการ 6. นางพชั รพร เผดิม กรรมการ 7. นางสรุ ัสวดี เภารัศมี กรรมการ 8. นางสาวเออื้ งฟา เรอื งผ้ึง กรรมการ 9. ครูกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร กรรมการ 10.ครูกลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กรรมการ 11.นางสาวสนุ ษิ า อาจออนศรี กรรมการและเลขานุการ 3) มคี วามสามารถในการสรา งนวตั กรรม 1. นางสาวดวงใจ ไชยคณุ ประธานกรรมการ 2. นายศักด์ิณรงค กาสนิ ธพุ ลิ า รองประธานกรรมการ 3. ครูกลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กรรมการ 4. นางสาวโชษิตา มะลทิ อง กรรมการและเลขานุการ /๔) มีความสามารถ...

๓ 4) มคี วามสามารถในการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร 1. นายวีระพงษ วชิ ัย ประธานกรรมการ รองปรานกรรมการ 2. นายดวงอนชุ า บวั งาม กรรมการ กรรมการและเลขานุการ 3. ครูกลุมสาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ประธานกรรมการ 4. นางสาวเพ็ญศรี สรรพคง รองประธานกรรมการ กรรรมการ 5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา กรรมการและเลขานกุ าร 1. นางจรี วรรณ วรยศ ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ 2. นางสาวพรรณธิภา เซี่ยงฉิน กรรมการ กรรมการ 3. นางสาวขวัญชนก จกั รแกว กรรมการ กรรมการ 4. นางสาวอุษา ภิรมยร กั ษ กรรมการ กรรมการ ๖) มีความรู ทกั ษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ่ีดีตอ งานอาชพี กรรมการและเลขานกุ าร 1. นายฉัตรชัย คะชา ประธานผูประสานงาน 2. นางณิชรัตน ทองธรรมชาติ ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ 3. นางบุญเรอื น นวลประเสริฐสขุ กรรมการ กรรมการ 4. นางสวา งจติ ต หริ ัญญสจั จาเลิศ กรรมการ กรรมการ 5. นางสาวประภาพร ทยาเลิศบวร กรรมการ กรรมการและเลขานุการ 6. นางสาวสพุ รรณี สกลุ ฤทธิ์ ประธานกรรมการ 7. ครูกลุมพฒั นาผูเรียน รองประธานกรรมการ กรรมการ 8. ครกู ลุม สาระการเรียนรกู ารงานอาชีพ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ 9. นางสาวจริ าวรรณ ฤทธ์สิ ุวรรณา 1.2 คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคของผูเรียน ประกอบดวย นายสรุ มติ ร ศรีเสนพิลา 1) การมคี ุณลักษณะและคานยิ มทีด่ ีตามท่ีสถานศึกษากำหนด 1. นายสมพร เล็กจนิ ดา 2. นายชรินทร รุจิพนู พงศ 3. นายวชั รนิ ทร แกว ดำรง 4. ครจู ุมพล เนยี มแสวง 5. ครแู สวง ทองปาน 6. นายปธานนิ สมบัตบิ รริ ักษ 7. ครทู ป่ี รกึ ษา 8. นางสาวณัฏฐพัชร ฝดคา 2) ความภูมิใจในทองถิน่ และความเปน ไทย 1. นางจริ ฐา ธรรมรกั ษ 2. นายวรเทพ กวา งสวสั ด์ิ 3. ครกู ลมุ สาระการเรียนรูศิลปะ 4. ครูกลมุ สาระการเรียนรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 5. นางสาวจันทพร เมฆจนั ทร / ๓) การยอมรับ...

๔ 3) การยอมรับทีจ่ ะอยรู ว มกนั บนความแตกตางและหลากหลาย 1. นายทรรศรลั เผา พนั ธ ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ 2. นางสาวอัญชลี ลอ ทนงศกั ด์ิ กรรมการ กรรมการ 3. ครูกลุม สาระการเรียนรูศลิ ปะ กรรมการและเลขานุการ 4. ครกู ลุมสาระการเรียนรูสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ 5. วาทร่ี อ ยตรีหญงิ ศรัญญา ขาวผอง กรรมการ กรรมการ 4) สขุ ภาวะทางรา งกายและลักษณะจติ สังคม กรรมการ กรรมการ 1. นางสาววิมลวรรณ เวชวิบูรณ กรรมการ กรรมการ 2. นายประเสริฐ ดเี อยี่ ม กรรมการ กรรมการ 3. นางทรัพย ถวลิ กรรมการ กรรมการ 4. นายสันตภิ าพ อุปสิทธิ์ กรรมการและเลขานกุ าร 5. นางสาวอาภรณ หนุ สวัสดิ์ 6. นางสุวรรณธาดา ธญั ญเกษตร 7. นางสาวภัทรภร บุญทวมี ติ ร 8. นางสาวพชั รยี า พายัพทวิ า 9. ครกู ลุมสาระการเรียนรูส ขุ ศึกษาและพลศึกษา 10.ครูกลมุ สาระการเรียนรูสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 11.ครูกลมุ พัฒนาผูเรยี น 12.ครทู ่ปี รึกษาชุมนุม 13.นางสาวสพุ รรษา แสงพงษ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผูบริหารสถานศึกษา ประกอบดวย นางภัสสร ทมิ าศาสตร ประธานผูประสานงาน 1) มเี ปา หมาย วิสัยทศั น และพนั ธกิจทสี่ ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน 1. นางสาววาสนา พวงแกว ประธานกรรมการ 2. นางสาววีราวรรณ โฆษิตสคุ ต รองประธานกรรมการ 3. นางสุนันท มีศรี กรรมการ 4. นางสาวเนตรนภา ดฐิ เจรญิ กรรมการ 5. นางสาววนดิ า เล้ยี งอำนวย กรรมการและเลขานุการ 2) มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา 1. นางสาววรี าวรรณ โฆษิตสุคต ประธานกรรมการ 2. นางสาวทัศนาภรณ บญั ชรมาศพรรณ รองประธานกรรมการ 3. นางสาวสดุ ารตั น พตุ า กรรมการ 4. นางสาววรรณฉวี ศรีโยธา กรรมการและเลขานกุ าร 3) ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการที่เนนคณุ ภาพผเู รียนรอบดานตามหลกั สูตรสถานศึกษาและ ทกุ กลุมเปา หมาย 1. นางจีรวรรณ วรยศ ประธานกรรมการ 2. นางสาวพรรณภิ า เซีย่ งฉิน รองประธานกรรมการ 3. หวั หนา กลมุ สาระการเรยี นรู กรรมการ 4. หัวหนา กจิ กรรมพัฒนาผูเรียน กรรมการ 5. นางสาวอษุ า ภริ มยรักษ กรรมการและเลขานุการ /๔) พัฒนาครู...

๕ 4) พัฒนาครูและบคุ ลากรใหมคี วามเชย่ี วชาญทางวชิ าชพี 1. นางสาวรตั นาภรณ มรี ักษา ประธานกรรมการ 2. นางสาวสุนษิ า อาจออนศรี รองประธานกรรมการ 3. นางศิรดา รตั นรังสฤษฏ กรรมการ 4. นางสาวทพิ วรรณ ปสสาพันธ กรรมการและเลขานกุ าร 5) จัดสภาพแวดลอ มทางกายภาพและสงั คมทเี่ ออ้ื ตอการจัดการเรียนรอู ยา งมีคณุ ภาพ 1. นายสิทธเิ ทพ เลยี้ งรักษา ประธานกรรมการ 2. นายดวงอนชุ า บัวงาม รองประธานกรรมการ 3. นายพิชิต ส่ำประเสริฐ กรรมการ 4. นายศิลชัย ถาวร กรรมการ 5. นางสาวเนตรนภา ดิฐเจริญ กรรมการและเลขานุการ 6) จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื สนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การและการจัดการเรยี นรู 1. นายสปิ ปแ สง สุขผล ประธานกรรมการ 2. ครกู ลุมสาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร)กรรมการ 3. นางสาวรัตนาภรณ มีรกั ษา กรรมการและเลขานกุ าร มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนนผเู รยี นเปน สำคัญ ประกอบดวย นางสาวจุฑารัตน สายอรณุ ประธานผปู ระสานงาน 1) จัดการเรียนรูผานกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยุกตใชใ นชีวติ ได 1. นางสาวพรรณธภิ า เซย่ี งฉิน ประธานกรรมการ 2. นางสาวอษุ า ภิรมยร ักษ กรรมการ 3. นางสาวขวัญชนก จักรแกว กรรมการและเลขานกุ าร 2) ใชสื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง เรียนรทู ่ีเอื้อตอการเรยี นรู 1. นายวรี ะพงษ วชิ ยั ประธานกรรมการ 2. นายศักด์ณิ รงค กาสนิ ธุพ ลิ า รองประธานกรรมการ 3. ครกู ลมุ สาระการเรียนรูการงานอาชพี (คอมพิวเตอร) กรรมการ 4. นางสาวเพญ็ ศรี สรรพคง กรรมการและเลขานุการ 3) มกี ารบริหารจัดการช้นั เรยี นเชิงบวก 1. นางพตั ราภรณ สดุ ล้ำเลิศ ประธานกรรมการ 2. หัวหนาระดบั กรรมการ 3. ครทู ่ปี รึกษา กรรมการ 4. นายคมกรชิ นอยจินดา กรรมการและเลขานกุ าร 4) ตรวจสอบและประเมินผูเรยี นอยา งเปน ระบบ และนำผลมาพัฒนาผเู รยี น 1. นางสาวเพญ็ ศรี สรรพคง ประธานกรรมการ 2. หวั หนากลมุ สาระ กรรมการ 3. นางสาวนฤมล ศริ ิธานนั ท กรรมการและเลขานุการ 5) มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรูแ ละใหขอมลู สะทอ นกลบั เพอ่ื พัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู 1. นางสาวรตั นาภรณ มีรกั ษา ประธานกรรมการ 2. นางสาวจุฑารัตน สายอรุณ รองประธานกรรมการ 3. นายสปิ ปแ สง สขุ ผล กรรมการ 4. นางจรี วรรณ วรยศ กรรมการและเลขานุการ /๓. คณะกรรมการจดั ทำรปู เลม...

๖ ๓. คณะกรรมการจัดทำรปู เลม ประกอบดว ย 1. นางจิตณา มั่นคง ประธานกรรมการ 2. นางสาวจริ าภรณ นลิ าพนั ธ รองประธานกรรมการ กรรมการ 3. นางสาววชิราภรณ สุวรรณวรางคก ูล กรรมการ 4. นายศลิ ชยั ถาวร กรรมการ กรรมการและเลขานกุ าร 5. นางสาวโชษติ า มะลทิ อง 6. นางสาวสุทธญา นิศากร มีหนา ท่ี รวบรวมเอกสารแตละดาน ตรวจทาน จดั พมิ พต ามรูปแบบ และจดั ทำรปู เลม ใหแลว เสรจ็ คณะ ผรู ับผดิ ชอบ ขอใหผูทไ่ี ดรับการแตงต้ังตามคำส่งั นี้ ปฏิบตั ิหนาทด่ี วยความวิริยะ อุตสาหะ รอบคอบ จนบงั เกิด ผลดที ง้ั แกตนเอง และราชการสืบตอไป สั่ง ณ วันที่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๔ วา ท่รี อ ยตรี (พษิ ณพุ ล แตงออน) ผอู ำนวยการโรงเรยี นรตั นโกสนิ ทรส มโภชบวรนเิ วศศาลายา ในพระสงั ฆราชูปถมั ภ

ประกาศ โรงเรียนรัตนโกสนิ ทรส มโภชบวรนเิ วศศาลายา ในพระสงั ฆราชปู ถมั ภ เรอื่ ง แตงตงั้ คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบระบบประกันคุณภาพและประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา .................................................. ตามทม่ี ปี ระกาศใชก ฎกระทรวง การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 นโยบายการปฏิรูป การศึกษา ในทศวรรษที่สองที่กำหนดเปาหมายและยุทธศาสตรในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต ประกอบกับมีนโยบายใหปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอกของทุกระดับ กอนจะมีการประเมินคุณภาพในรอบตอไป และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ใหใชมาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน เมอื่ วันท่ี 6 สงิ หาคม พ.ศ. 2561 จำเปน ตองปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ใหสอดคลอ งกนั พรอมท้งั กำหนดใหส ถานศึกษาระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน จดั ใหมีการตดิ ตาม ตรวจสอบคุณภาพ การศึกษาทงั้ ระดบั บุคคลและระดับสถานศกึ ษาอยางนอยปการศึกษาละ 1 ครง้ั พรอมท้งั จัดทำรายงานผลและนำ ผลการตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาไปใชป ระโยชนในการปรบั ปรุงพฒั นาสถานศกึ ษานั้น เพ่ือใหการดำเนินงานเปน ไปดว ยความเรยี บรอ ย ประกาศ โรงเรียนรัตนโกสนิ ทรสมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ จึงประกาศแตงตั้งคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบระบบประกันคุณภาพและประเมิน คุณภาพภายในสถานศึกษา ดงั น้ี 1. วาที่รอยตรีพิษณุพล แตงออ น ผอู ำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ 2. นายสทิ ธิ สริ ิพิเดช 3. นายสาทิศ เพ็งนาเรนทร ผูท รงคณุ วฒุ ิ กรรมการผูท รงคุณวุฒิ 4. นายสุวิทย พ่ึงเกษม ประธานคณะกรรมการสถานศึกษากรรมการผูท รงคณุ วฒุ ิ 5. นางสาวอิสรีย ดา นพชิ ติ ชัยศ 6. นางสาวทัศนาภรณ บญั ชรมาศพรรณ กรรมการสมาคมผูป กครองและครู กรรมการผทู รงคุณวุฒิ 7. นางจติ ณา มน่ั คง 8. นางสาวสทุ ธญา นศิ ากร รองผอู ำนวยการกลมุ บรหิ ารวิชาการ กรรมการ ครู กรรมการ ครู กรรมการและเลขานุการ ครู กรรมการและ ผูชว ยเลขานกุ าร หนาท่ี ติดตาม ตรวจสอบระบบประกันคุณภาพและประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามมาตรฐานและ ประเดน็ พิจารณาของสถานศึกษา ใหคำแนะนำการดำเนินงานตามมาตรการการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ใหค ณะกรรมการท่ีไดรบั การแตง ต้งั ปฏิบตั ิหนาทีท่ ไ่ี ดร ับมอบหมายใหเปนไปดว ยความเรยี บรอ ยมี ประสทิ ธิภาพ โดยคำนงึ ถงึ ประโยชนข องทางราชการเปนสำคญั ทัง้ นี้ ตั้งแตบ ดั น้ีเปน ตน ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี 11 เดอื น ตุลาคม พ.ศ. 256๓

วาทรี่ อยตรี (พษิ ณพุ ล แตงออ น) ผูอำนวยการโรงเรยี นรตั นโกสินทรส มโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชปู ถมั ภ

ประกาศ โรงเรยี นรตั นโกสินทรส มโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสงั ฆราชปู ถัมภ เรอ่ื ง การใชม าตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน เพอ่ื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา .................................................. โดยทีม่ ปี ระกาศใชกฎกระทรวง การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 นโยบายการปฏริ ูป การศกึ ษา ในทศวรรษที่สองที่กำหนดเปาหมายและยุทธศาสตรในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต ประกอบกับมีนโยบายใหปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอกของทุกระดับ กอนจะมีการประเมินคุณภาพในรอบตอไป และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ใหใชมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน เมอ่ื วันท่ี 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 จำเปนตอ งปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใหสอดคลองกัน พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไ ขเพิ่มเตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 9 (3) ไดก ำหนดการจดั ระบบ โครงสรา ง และกระบวนการจัดการศึกษาใหย ึดหลักทีส่ ำคัญขอหนงึ่ คือ มกี ารกำหนด มาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทกุ ระดบั และประเภท และมาตรา 48 ใหหนวยงาน ตนสังกดั และสถานศึกษาจัดใหมีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และใหถือวาการประกันคุณภาพภายใน เปนสวนหนึ่งของการบริหารการศึกษาที่ตองดำเนินการอยางตอเนื่อง โดยมีการจัดทำรายงานประจำปเสนอตอ หนวยงานตนสังกัด หนวยงานที่เกี่ยวของ และเปดเผยตอสาธารณชน เพื่อนำไปสูการพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน การศึกษา และเพ่อื รองรับการประกนั คุณภาพภายนอก ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 9 (3) มาตรา 48 แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 และ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ใหใชมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบกับมติ คณะกรรมการการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนรัตนโกสินทรสมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ ในการประชุม ครั้งท่ี 2/2562 เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2562 โรงเรียนรัตนโกสินทรสมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ จึงประกาศใหใชมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใชเปนหลักในการ เทียบเคียงสำหรับการสงเสรมิ และกำกับดแู ลในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา การตรวจสอบการประเมินผล และ การประกนั คุณภาพทางการศกึ ษา ประกาศ ณ วนั ที่ 11 เดอื น ตุลาคม พ.ศ. 2562 วาทีร่ อยตรี (พษิ ณพุ ล แตงออ น) ผูอำนวยการโรงเรียนรตั นโกสินทรสมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถมั ภ

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน แนบทา ยประกาศโรงเรยี นรตั นโกสินทรสมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสงั ฆราชปู ถัมภ ลงวันท่ี 11 เดอื น ตลุ าคม พ.ศ. 2562 เรื่อง การใชม าตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน เพอ่ื การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศึกษาขึน้ พื้นฐาน พ.ศ.2561 มีจำนวน 3 มาตรฐาน ไดแก มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู รยี น 1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผเู รยี น 1.2 คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงคของผเู รยี น มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน ผูเ รยี นเปน สำคญั แตละมาตรฐาน มีรายละเอยี ด ดงั น้ี มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผเู รยี น 1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผูเรียน 1) มีความสามารถในการอาน การเขยี น การส่ือสาร และการคดิ คำนวณ 2) ความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ยี นความ คดิ เห็น และแกปญ หา 3) มีความสามารถในการสรา งนวตั กรรม 4) ความสามารถในการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร 5) มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา 6) มีความรู ทักษะพน้ื ฐาน และเจตคติที่ดีตองานอาชพี 1.2 คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงคข องผูเรียน 1) การมคี ุณลักษณะและคานยิ มทด่ี ตี ามที่สถานศึกษากำหนด 2) ความภมู ใิ จในทอ งถน่ิ และความเปน ไทย 3) การยอมรบั ทีจ่ ะอยูรวมกนั บนความแตกตา งและหลากหลาย 4) สุขภาวะทางรา งกาย และจติ สงั คม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 1. การมเี ปาหมาย วสิ ัยทัศน และพนั ธกจิ ทีส่ ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน 2. มีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา 3. ดำเนินงานพฒั นาวิชาการทีเ่ นน คณุ ภาพผูเรยี นรอบดานตามหลกั สูตรสถานศึกษาและทกุ กลุมเปาหมาย 4. พฒั นาครูและบุคลากรใหมีความเชีย่ วชาญทางวชิ าชีพ

5. จดั สภาพแวดลอ มทางกายภาพและสงั คมท่ีเออื้ ตอการจัดการเรยี นรอู ยางมคี ณุ ภาพ 6. จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนับสนนุ การบริหารจดั การและการเรียนรู มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นนผเู รยี นเปน สำคญั 1. จดั การเรยี นรผู า นกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ รงิ และสามารถนำไปประยุกตใ ชในชีวิตได 2. ใชส ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง เรียนรูท่เี อ้อื ตอการเรยี นรู 3. มกี ารบรหิ ารจดั การชน้ั เรียนเชงิ บวก 4. ตรวจสอบและประเมินผเู รยี นอยา งเปนระบบ และนำผลมาพฒั นาผูเรียน 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูแ ละใหข อมูลสะทอ นกลบั เพ่ือพฒั นาและปรับปรงุ การจดั การเรียนรู

ประกาศ โรงเรยี นรัตนโกสนิ ทรสมโภชบวรนเิ วศศาลายา ในพระสังฆราชูปถมั ภ เรือ่ ง การกำหนดคาเปาหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานเพือ่ การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา .................................................. โดยที่มีประกาศใชก ฎกระทรวง การประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 นโยบายการปฏริ ปู การศกึ ษา ในทศวรรษที่สองที่กำหนดเปาหมายและยุทธศาสตรในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต ประกอบกับมีนโยบายใหปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอกของทุกระดับ กอนจะมีการประเมินคุณภาพในรอบตอไป และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ใหใชมาตรฐานการศึกษา ระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน เมอ่ื วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 จำเปนตองปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน ใหสอดคลอ งกัน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 9 (3) ไดกำหนดการจัดระบบ โครงสราง และกระบวนการจัดการศึกษาใหยึดหลักที่สำคัญขอหนึ่ง คือ มีการกำหนด มาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดบั และประเภท และมาตรา 48 ใหหนวยงาน ตนสังกัดและสถานศึกษาจัดใหมีระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา และใหถือวาการประกนั คุณภาพภายในเปน สวนหนึ่งของการบริหารการศึกษาที่ตองดำเนินการอยางตอเนื่อง โดยมีการจัดทำรายงาน ประจำปเสนอตอหนวยงาน ตนสังกัดหนวยงานที่เกี่ยวของ และเปดเผยตอสาธารณชน เพื่อนำไปสูการพัฒนา คณุ ภาพมาตรฐานการศกึ ษา และเพอ่ื รองรบั การประกนั คณุ ภาพภายนอก เพื่อใหการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนรัตนโกสินทรสมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ มีคุณภาพและไดมาตรฐาน โรงเรียนจึงไดกำหนดคาเปาหมายในการพัฒนาตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ตามเอกสารแนบทายประกาศนี้ เพื่อเปนเปาหมายในการ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐานและการประเมินคุณภาพภายใน ประกาศ ณ วนั ท่ี 11 เดอื น ตุลาคม พ.ศ. 2562 วา ทีร่ อยตรี (พิษณุพล แตงออน) ผอู ำนวยการโรงเรียนรตั นโกสินทรส มโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชปู ถัมภ

เปาหมายการจดั การศกึ ษาตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐานเพอ่ื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา คา คำอธิบายระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู รียน เปา หมาย ดี 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของ ดี ผเู รยี น ดี ผูเรยี นรอยละ 60-69 มีทักษะในการอาน การเขียน 1) มีความสามารถในการอาน การส่อื สาร และการคดิ คำนวณตามเกณฑท่สี ถานศึกษา การเขียน การสื่อสาร และการคิด กำหนดในแตล ะระดับชั้น คำนวณ ดี ผเู รยี นรอยละ 60-69 มีความสามารถในการคิด 2) มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห คิดอยางมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี น วิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ ความคดิ เหน็ โดยใชเหตุผลประกอบการตดั สนิ ใจ และ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ แกปญหาไดอยา งเปน ระบบในระดับ 2 ข้นึ ไป แกปญหา 3) มีความสามารถในการสรา ง ดี ผเู รียนรอ ยละ 60-69 มีความสามารถนำกระบวนการ นวตั กรรม ดี ในการสรา งนวัตกรรมไปใชใ นการแกปญ หา ผเู รียนรอ ยละ 60-69 มีความสามารถในการใช 4) มคี วามสามารถในการใช เทคโนโลยีสารสารสนเทศและการสอ่ื สารเพอ่ื พัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตนเอง และสงั คมในดานการเรียนรู การสอื่ สาร การ ทำงาน อยา งสรางสรรคแ ละมคี ุณธรรม 5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดี นกั เรยี นรอยละ 60-69 มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตาม ตาม ดี หลักสูตรสถานศกึ ษาสงู กวาเปาหมายที่สถานศึกษา กำหนดในระดบั 3 หลักสูตรสถานศกึ ษา นกั เรยี นรอ ยละ 60-69 มีความรู ทกั ษะพื้นฐาน และ เจตคตทิ ่ดี พี รอ มท่ีจะศึกษาตอ ในระดับชนั้ ที่สูงขนึ้ และ 6) มีความรู ทกั ษะพนื้ ฐาน และ การทำงานหรอื อาชีพ เจตคตทิ ่ดี ตี องานอาชีพ ผเู รยี นรอ ยละ 70-79 ผานการประเมนิ คุณลกั ษณะท่ี 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงคของ ดี พงึ ประสงคตามทสี่ ถานศกึ ษากำหนดในระดบั 3 ข้ึนไป ผเู รยี น ดเี ลิศ ผเู รยี นรอยละ ๗๐-๗9 ผานการประเมนิ คุณลกั ษณะท่ี ดเี ลิศ พงึ ประสงคต ามหลักสูตรในระดบั 3 ข้นึ ไป 1) การมีคณุ ลักษณะและคานยิ ม ท่ีดตี ามที่สถานศึกษากำหนด 2) ความภูมิใจในทองถิ่นและ ความเปน ไทย

มาตรฐาน/ประเดน็ การพจิ ารณา คา คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ เปา หมาย 3) การยอมรับทจ่ี ะอยรู ว มกนั บน ดี ผูเรยี นรอยละ 60-69 ยอมรบั และอยรู ว มกันบนความ ความแตกตางและหลากหลาย แตกตางระหวางบคุ คลในดาน เพศ วยั เชอ้ื ชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี 4) สขุ ภาวะทางรางกาย และจติ ดี ผูเรยี นรอยละ 60-69 ผานการประเมนิ คณุ ลกั ษณะทพี่ ึง สังคม ประสงคต ามหลกั สูตรในระดบั 3 ขนึ้ ไป มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหาร ดีเลิศ และการจดั การ 1) มีเปาหมายวิสัยทัศนและ ดเี ลิศ โรงเรียนกำหนดเปา หมาย วิสัยทัศน พนั ธกจิ และมี พนั ธ รอ งรอยหลักฐานชัดเจน กิจทส่ี ถานศกึ ษากำหนดชดั เจน สามารถตรวจสอบได รอ ยละ 70-79 2) มรี ะบบบรหิ ารจัดการ ดเี ลิศ โรงเรียนมรี ะบบบริหารจดั การคณุ ภาพ โดยมรี องรอย คุณภาพของสถานศึกษา หลกั ฐานปรากฏชัดเจน สามารถตรวจสอบได รอ ยละ 70-79 3) ดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการที่ ดี ดำเนนิ การพัฒนาวิชาการทีเ่ นน คณุ ภาพผเู รียนรอบดาน เนน คุณภาพผูเ รยี นรอบดา นตาม ตามหลักสตู รสถานศึกษาและ ทุกกลุม เปา หมาย รอย หลกั สูตรสถานศกึ ษาและทกุ ละ 60-69 กลมุ เปา หมาย 4) พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม ี ดเี ลิศ ครแู ละบคุ ลากรรอ ยละ 80-89 ไดรบั การพัฒนาใหม ี ความเช่ียวชาญทางวิชาชพี ความเชย่ี วชาญทางวิชาชพี ตามรายการดงั นี้ 1. ไดรบั การพฒั นาใหมีความเช่ยี วชาญทางวชิ าชีพ สอดคลองความตอ งการ 2. มีชมุ ชนการเรียนรูทางวิชาชพี เพอ่ื พฒั นางานและ การเรยี นรูอยเู สมอ 5) จัดสภาพแวดลอมทาง ดีเลิศ จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมที่เออ้ื ตอการ กายภาพและสังคมที่เอื้อตอการจัดการ จัดการเรียนรู รอ ยละ 70-79 เรยี นรูอยางมคี ุณภาพ 6) จดั ระบบเทคโนโลยี ดีเลิศ สถานศกึ ษาไดจัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพื่อ สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหาร สนบั สนุนการบริหารจดั การและการจดั การเรียนรู รอย จัดการและการจดั การเรยี นรู ละ 70-79

มาตรฐาน/ประเดน็ การพิจารณา คา คำอธบิ ายระดับคณุ ภาพ เปา หมาย มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการ ดี เรยี นการสอนทเี่ นนผูเรยี นเปนสำคญั 1) จัดการเรียนรผู า น ดี ครูรอ ยละ 60-69 จดั การเรยี นรูผา นกระบวนการคิด กระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และ และปฏบิ ัติจริง และสามารถนำไป สามารถนำไปประยกุ ตใ ชใ นชีวติ ได ประยกุ ตใชในชวี ิต ตามรายการดงั น้ี 1. ครูจัดกจิ กรรมการเรยี นรูต ามมาตรฐานการเรยี นรู ตวั ช้วี ดั ของหลกั สูตรสถานศกึ ษา 2. ครมู ีแผนการจัดการเรียนรเู ฉพาะบุคคลท่ีสามารถ นำไปปฏบิ ตั กิ จิ กรรมไดจ รงิ 3. ครูมีรปู แบบการจัดการเรียนรเู ฉพาะสำหรบั ผูที่มี ความจำเปนและตองการความชวยเหลือพเิ ศษ 4. ครูออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนทม่ี งุ ใหผูเรยี น ไดรับการฝก ทกั ษะแสดงออก แสดงความคดิ เห็น สรปุ องคค วามรู นำเสนอผลงาน และสามารถนำไป ประยุกตใ ชใ นชีวติ ประจำวัน 2) ใชสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ ดี ครรู อยละ ๖0-๖9 ใชสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ และแหลงเรียนรูท เ่ี ออื้ ตอการเรียนรู แหลงเรยี นรทู เ่ี ออ้ื ตอ การเรียนรู ตามรายการดงั น้ี 1.ครูใชส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง เรียนรู รวมทัง้ ภมู ปิ ญญาทองถน่ิ มาใช ในการจดั การเรียนรู 2.สรา งโอกาสใหผูเรยี นไดแ สวงหาความรูดวยตนเอง จากสื่อที่หลากหลาย 3) มีการบรหิ ารจัดการช้ันเรยี น ดี ครรู อ ยละ 60-69 มีการบรหิ ารจดั การชั้นเรียนเชงิ บวก เชิงบวก ดงั น้ี 1. จดั สภาพแวดลอมภายในและภายนอกหอ งเรียนที่ เอ้ือตอ การเรยี นรู 2. จดั การเรียนรูใ หเดก็ มีปฏสิ มั พันธเชิงบวกใน กจิ กรรมการเรียนรู 3. จัดการชั้นเรยี นใหเกิดความรว มมือ มบี รรยากาศ ของความเปนประชาธปิ ไตย 4. กระตุน และเสริมแรงพฤติกรรมท่ีเหมาะสม

มาตรฐาน/ประเด็นการพจิ ารณา คา คำอธิบายระดบั คณุ ภาพ เปา หมาย 4) ตรวจสอบและประเมิน ดเี ลิศ ครรู อยละ ๗0-๗9 ตรวจสอบและประเมินผเู รียนอยา ง ผูเรียนอยางเปนระบบและนำผลมา เปนระบบและนำผล พัฒนาผเู รียน มาพฒั นาผูเรยี นตามรายการดังนี้ 1. วางแผนการวดั และประเมินผลผูเรียน 2. ใชเครอ่ื งมือ วิธีการวัดและประเมนิ ผลทหี่ ลากหลาย และเหมาะสมกับเปาหมาย ในการจดั การเรียนรู 3. ใหขอมูลยอนกลับแกผเู รียนเพอื่ พัฒนาการเรยี นรู 4. นำผลการวัดและประเมินผลมาพัฒนาการจดั การ เรียนรู 5) มีการแลกเปลยี่ นเรียนรแู ละ ดี ครูรอยละ 60-69 มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรูแ ละให ใหขอมูลสะทอนกลับเพื่อพัฒนาและ ขอมลู สะทอนกลับเพอ่ื พัฒนาและปรบั ปรงุ การ ปรับปรุงการจดั การเรียนรู จัดการเรียนรู ตามรายการดงั น้ี 1. มกี ารวางแผนการจัดชมุ ชนการเรียนรู 2. มีการดำเนินการชุมชนการเรียนรูระหวา งครู 3. มีเอกสารหลักฐานการแลกเปลย่ี นเรียนรูและให ขอ มูลสะทอนกลับ 4. มีการพฒั นาและปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู การกำหนดคาเปาหมาย ๑. ศึกษาขอ มูลเดิม ผลการประเมินตา ง ๆ ที่ผา นมา เพื่อเปนขอมูลฐานในการกำหนดคาเปาหมาย ๒. การกำหนดคาเปาหมาย แตละมาตรฐาน ควรกำหนดเปน ระดับคุณภาพ 5 ระดบั เพือ่ ใหส อดคลอง กับการประเมนิ ดงั นี้ ระดับ ยอดเย่ียม ระดบั ดเี ยี่ยม ระดับ ดี ระดับ ปานกลาง ระดบั กำลงั พัฒนา ๓. การกำหนดคาเปาหมาย ในแตละประเด็นพิจารณา จะกำหนดเปนระดับคุณภาพ หรือ เปน รอ ยละ ตามความเหมาะสมกับบริบทของสถานศกึ ษา

กำหนดการประชุมสัมมนา “สะทอนผลการปฏบิ ตั งิ านและการประเมินคุณภาพภายในสกู ารประมินคณุ ภาพ ภายนอกรอบส”ี่ โดยงานประกันคุณภาพการศกึ ษา กลมุ บรหิ ารวิชาการ วนั ท่ี ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๖๔ ณ หองประชมุ เกีรติยศ โรงเรียนรัตนโกสินทรสมโภชบวนนิเวศศาลายา ในพระสงั ฆราชูปถัมภ ......................................................................................... ๑๒.๓๐-๑๓.๐๐ น. ลงทะเบยี น ๑๓.๐๐-๑๓.๓๐ น. ประธานกลาวเปดงาน ๑๓.๓๐-๑๔.๐๐ น. นำเสนอ/สะทอ นผลการปฏบิ ัตงิ านมาตรฐานที่ ๑ ดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ประเด็น พิจารณา ๑.๑-๑.๖) อภิปราย/ซกั ถาม แสดงความคิดเหน็ การดำเนินงานสกู ารสะทอนผล โดยครู บคุ ลากร และผูทรงคณุ วุฒิ ๑๔.๐๐-๑๔.๓๐น. นำเสนอ/สะทอนผลการปฏิบตั งิ านมาตรฐานที่ ๑ ดา นผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น (ประเด็น พิจารณา๑.๗-๑.๑๐)อภปิ ราย/ซกั ถามแสดงความคดิ เห็นการดำเนินงานสูก ารสะทอ นผล โดยครู บคุ ลากร และผูทรงคณุ วุฒิ ๑๔.๓๐-๑๕.๐๐น. พกั รบั ประทานอาหารวาง ๑๕.๐๐-๑๕.๓๐น. นำเสนอ/สะทอ นผลการปฏิบตั ิงานมาตรฐานท่ี ๒ ดานผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น (ประเดน็ พจิ ารณา ๒.๑-๒.๖) อภิปราย/ซกั ถาม แสดงความคิดเหน็ การดำเนนิ งานสูการสะทอ นผล โดยครู บุคลากร และผทู รงคณุ วุฒิ ๑๕.๓๐-๑๖.๐๐น. นำเสนอ/สะทอนผลการปฏบิ ตั ิงานมาตรฐานท่ี ๓ ดา นผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน (ประเด็น พิจารณา๑.๗-๑.๑๐)อภิปราย/ซกั ถามแสดงความคดิ เหน็ การดำเนินงานสูการสะทอนผล โดยครู บุคลากร และผทู รงคุณวุฒิ ๑๖.๐๐-๑๖.๓๐ ผูทรงคณุ วฒุ ปิ ระเมนิ คณุ ภาพคุณภาพภายในสถานศกึ า ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓ สะทอนผล การดำเนินงานชจี้ ดุ เดน จดุ ควรพัฒนา และคำแนะนำ มอบเกยี รตบิ ัตรครู บคุ ลากรผเู ขารว มประชุมสมั มนา หมายเหตุ กำหนดการเปลย่ี นแปลงไดต ามความเหมาะสม

ที่ ศธ ๐๔๓๐๓.๒๘/๑๖๕ โรงเรยี นรตั นโกสนิ ทรสมโภชบวรนิเวศ ศาลายาในพระสงั ฆราชูปถัมภ ๙๒ ม.๓ ต.ศาลายา อ.พทุ ธมณฑล จงนครปฐม ๗๓๑๗๐ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๔ เรื่อง ขอเรยี นเชญิ เปน กรรมการผทู รงคณุ วุฒกิ ารตรวจประเมนิ คณุ ภาพภายใน จำนวน ๑ เลม เรียน นายสทิ ธิ สริ ิพเิ ดช สง่ิ ทสี่ ง มาดวย รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR)ปการศกึ ษา ๒๕๖๓ ดว ยโรงเรยี นรัตนโกสินทรสมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ ไดกำหนดใหมีการติดตาม ตรวจสอบระบบประกันคณุ ภาพและประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา สูการประมินคุณภาพภายนอกรอบส่ี ประจำปการศึกษา ๒๕๖๓ แตเนื่องจากสถานการณของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กำลังระบาด ไมเ ออ้ื อำนวยตอการจัดการประเมินภายในโรงเรยี น ในการน้ี โรงเรยี นรตั นโกสนิ ทรสมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถมั ภ ไดเลง็ เหน็ วา ทานเปน ผู มคี วามรู ความสามารถ และมปี ระสบการณในการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา จึงใครขออนุญาตเรยี นเชิญ ทานเปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิ เพื่อตรวจประเมินคุณภาพภายในของโรงเรียนโดยการพิจารณาจาก รายงาน การประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR)ปการศึกษา ๒๕๖๓ พรอมเอกสารท่แี นบ และทางโรงเรียนใครขอคำ ช้แี นะเพ่ิมเติมเพื่อปรับปรงุ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR)ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓ เพือ่ ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงานในภาพรวมของแตละมาตรฐาน ตามระบบและกลไกการการประกันคุณภาพ ภายในสถานศกึ ษา ประจำปการศกึ ษา ๒๕๖๓ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา โรงเรียนรัตนโกสนิ ทรสมโภชบวรนเิ วศศาลายา ในพระสังฆรา ชปู ถัมภ หวังเปนอยางย่ิงวาจะไดรบั ความอนุเคราะหจากทานเปน อยา งดี และขอขอบพระคณุ มา ณ โอกาสน้ี ขอแสดงความนบั ถือ วา ที่รอ ยตรี (พิษณุพล แตงออ น) ผูอำนวยการโรงเรยี นรตั นโกสนิ ทรสมโภชบวรนเิ วศศาลายา ในพระสงั ฆราชูปถัมภ

ท่ี ศธ ๐๔๓๐๓.๒๘/๑๖๕ โรงเรยี นรตั นโกสนิ ทรสมโภชบวรนเิ วศ ศาลายาในพระสงั ฆราชปู ถมั ภ ๙๒ ม.๓ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จงนครปฐม ๗๓๑๗๐ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๔ เรื่อง ขอเรยี นเชิญเปน กรรมการผทู รงคุณวุฒิการตรวจประเมินคณุ ภาพภายใน จำนวน ๑ เลม เรียน นายสาทิศ เพ็งนาเรนทร สงิ่ ที่สงมาดว ย รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR)ปการศกึ ษา ๒๕๖๓ ดวยโรงเรียนรัตนโกสินทรสมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ ไดกำหนดใหมีการติดตาม ตรวจสอบระบบประกันคณุ ภาพและประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา สูการประมินคุณภาพภายนอกรอบส่ี ประจำปการศึกษา ๒๕๖๓ แตเนื่องจากสถานการณของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กำลังระบาด ไมเอ้ืออำนวยตอ การจัดการประเมนิ ภายในโรงเรยี น ในการนี้ โรงเรียนรตั นโกสนิ ทรสมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชปู ถมั ภ ไดเล็งเหน็ วาทา นเปน ผู มคี วามรู ความสามารถ และมีประสบการณในการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา จึงใครขออนุญาตเรยี นเชิญ ทานเปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิ เพ่ือตรวจประเมินคุณภาพภายในของโรงเรียนโดยการพิจารณาจาก รายงาน การประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR)ปการศึกษา ๒๕๖๓ พรอมเอกสารท่แี นบ และทางโรงเรียนใครขอคำ ชี้แนะเพ่ิมเตมิ เพอื่ ปรับปรงุ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR)ปการศกึ ษา ๒๕๖๓ เพ่ือตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงานในภาพรวมของแตละมาตรฐาน ตามระบบและกลไกการการประกันคุณภาพ ภายในสถานศกึ ษา ประจำปการศกึ ษา ๒๕๖๓ จงึ เรียนมาเพอ่ื โปรดพิจารณา โรงเรียนรัตนโกสินทรส มโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆรา ชปู ถมั ภ หวังเปนอยางยิ่งวา จะไดรบั ความอนเุ คราะหจากทานเปน อยา งดี และขอขอบพระคณุ มา ณ โอกาสนี้ ขอแสดงความนับถือ วาทร่ี อ ยตรี (พิษณุพล แตงออ น) ผูอำนวยการโรงเรยี นรตั นโกสินทรส มโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชปู ถมั ภ

ท่ี ศธ ๐๔๓๐๓.๒๘/๑๖๕ โรงเรยี นรัตนโกสินทรสมโภชบวรนิเวศ ศาลายาในพระสงั ฆราชูปถมั ภ ๙๒ ม.๓ ต.ศาลายา อ.พทุ ธมณฑล จงนครปฐม ๗๓๑๗๐ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๔ เรอื่ ง ขอเรียนเชิญเปนกรรมการผทู รงคณุ วฒุ กิ ารตรวจประเมินคุณภาพภายใน จำนวน ๑ เลม เรียน นายสุวิทย พง่ึ เกษม สิ่งทส่ี งมาดว ย รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR)ปการศึกษา ๒๕๖๓ ดว ยโรงเรียนรัตนโกสินทรสมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ ไดกำหนดใหมีการติดตาม ตรวจสอบระบบประกันคุณภาพและประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา สูการประมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ประจำปการศึกษา ๒๕๖๓ แตเนื่องจากสถานการณของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กำลังระบาด ไมเ อือ้ อำนวยตอ การจดั การประเมนิ ภายในโรงเรยี น ในการน้ี โรงเรยี นรัตนโกสินทรสมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถมั ภ ไดเล็งเห็นวา ทา นเปนผู มีความรู ความสามารถ และมปี ระสบการณในการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา จึงใครขออนญุ าตเรยี นเชิญ ทานเปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิ เพื่อตรวจประเมินคุณภาพภายในของโรงเรียนโดยการพิจารณาจาก รายงาน การประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR)ปการศึกษา ๒๕๖๓ พรอมเอกสารท่ีแนบ และทางโรงเรียนใครขอคำ ชี้แนะเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR)ปการศึกษา ๒๕๖๓ เพอื่ ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงานในภาพรวมของแตละมาตรฐาน ตามระบบและกลไกการการประกันคุณภาพ ภายในสถานศกึ ษา ประจำปการศึกษา ๒๕๖๓ จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณา โรงเรยี นรัตนโกสนิ ทรส มโภชบวรนเิ วศศาลายา ในพระสังฆรา ชูปถมั ภ หวังเปนอยางยง่ิ วา จะไดรบั ความอนเุ คราะหจากทานเปน อยางดี และขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ ขอแสดงความนับถือ วา ทร่ี อยตรี (พษิ ณุพล แตงออน) ผอู ำนวยการโรงเรียนรัตนโกสินทรสมโภชบวรนเิ วศศาลายา ในพระสงั ฆราชปู ถมั ภ

ภาพประกอบการประเมนิ ภายใน โดยคณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ภายในสถานศกึ ษา ปก ารศกึ ษา 2563


































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook