Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วีรยา แซ่ล่อ

วีรยา แซ่ล่อ

Published by weeraya28742, 2020-10-05 02:55:09

Description: วีรยา แซ่ล่อ

Search

Read the Text Version

จัดทำโดย นำงสำว วรี ยำ แซ่ล่อ ปวส. 2 (สำยตรง) เลขท่ี 9 แผนกพณชิ ยกำร สำขำงำน กำรบัญชี เสนอ นำงสำยฝน สำยประสิทธ์ิ กำรนำเสนอนีเ้ ป็ นส่วนหนงึ่ ของวชิ ำกำรบญั ชีต้นทุน 2 รหัสวชิ ำ 3201 – 2004 วทิ ยำลยั เทคนิคเทิง

1. ประเภทของตน้ ทุนท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การตดั สินจ 2. การตดั สินจ รับคาสงั่ ซ้ือพเิ ศษ 3. การตดั สินจ ทาเองหรือซ้ือ 4. การตดั สินจ ยกเลิกผลิตภณั ฑห์ รือสาขา

1. บอกความหมายของประเภทตน้ ทุนท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การตดั สินจ ได้ 2. เลือกปฏิบตั ิเกี่ยวกบั การตดั สินจ รับคาสั่งซ้ือพเิ ศษได้ 3. เลือกปฏิบตั ิการตดั สินจ ทาเองหรือซ้ือ 4. เลือกปฏิบตั ิการตดั สินจ ยกเลิกผลิตภณั ฑห์ รือสาขาได้

ต้นทุนทเ่ี กยี่ วข้องกบั กำรตัดสินใจ (Relevant Cost for Decision Making) การบริหารธุรกิ จหป้ ระสบความสาเร็ และสามารถอยู่รอดไดผ้ ูบ้ ริหาร ะตอ้ งพิ ารณาถึงการจช้ ทรัพยากรกบั ผลตอบแทนหรือประโยชนท์ ่ีกิ การไดร้ ับ ผบู้ ริหาร ะนาธุรกิ ไปสู่ความสาเร็ ไดน้ ้นั าเป็ นตอ้ งมีขอ้ มูลที่ถูกตอ้ งและทนั เวลาเพียงพอต่อการ ตดั สินจ ผูบ้ ริหาร ะตกั สินจ บริหารธุรกิ โดยจชป้ ระสบการณ์และความรู้สึกแต่เพียงอยา่ งเดียวไม่ได้ าเป็นตอ้ งอาศยั ขอ้ มูลตน้ ทุนท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การตดั สินจ

ขอ้ มูลตน้ ทุนที่เกี่ยวขอ้ งกบั การตดั สินจ (Relevant Cost for Decision Making) เป็ นขอ้ มูลที่ าเป็ นสาหรับการบริหารธุรกิ ดงั น้นั เทคนิควิธีการต่าง ๆ ึงไดถ้ ูกนามาจชจ้ นการพฒั นาระบบ ขอ้ มูลเพื่อการตดั สินจ อยตู่ ลอดเวลา ผูบ้ ริหารท่ีมีขอ้ มูลตน้ ทุนท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การตดั สินจ ที่ดี ะ สามารถทาการวางแผนแลควบคุมดาเนินงานของกิ การจห้เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ตน้ ทุนท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การตดั สินจ มีความสาคญั ต่อการตดั สินจ จนการวางแผน การ ควบคุม การวดั และประเมินผลการดาเนินงานท้งั ระยะส้นั และระยะยาว

ข้อมูลเชิงคุณภำพ (Qualitative Information) เป็นขอ้ มูลท่ีไม่เกี่ยวขอ้ งกบั ตวั เลขไม่สามารถวดั เป็น านวน เงินไดเ้ ช่น สภาวะเศรษฐกิ สังคมการเมือง สภาพของการแข่งขนั ความร่วมมือของพนกั งานความสมั พนั ธ์ ของกิ การกบั ลูกคา้ เป็นตน้ ข้อมูลเชิงปริมำณ (Quantitative Information) เป็นขอ้ มูลท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ตวั เลขสามารถวดั เป็น านวนเงินได้ ากการ ดบนั ทึกทางการบญั ชี เช่น รายไดต้ น้ ทุนต่างๆ เป็นตน้

ประเภทของต้นทุนท่เี กย่ี วข้องกบั กำรตัดสินใจ ต้นทุนที่แตกต่ำง (Differential Cost)หมายถึง ตน้ ทุนที่เกิดการเปลี่ยนแปลงไป ากการตดั สินจ เลือกกระทาอยา่ งจดอยา่ งหน่ึง ซ่ึงอา ะเปลี่ยนแปลงจนทางเพ่ิมข้ึนหรือลดลงก็ได้ โดยปกติตน้ ทุนประเภทน้ี ะเกิดกต็ อ่ เม่ือมีการเปล่ียนแปลงวิธีการปฏิบตั ิแบบเดิม ต้นทุนจม (Sunk Cost) หมายถึง ตน้ ทุนท่ีหลีกเลี่ยงไม่ได้ หรือไม่สามารถท่ี ะทาการเปลี่ยนแปลง ไดไ้ ม่วา่ ผูบ้ ริหาร ะทาการตดั สินจ อยา่ งไร ดงั น้นั ตน้ ทุน ม ึงเป็นตน้ ทุนที่เกิดข้ึน ากการตดั สินจ จนอดีต ซ่ึง ะไม่มีผลกระทบต่อการตดั สินจ จนปั ุบนั เช่น ค่าเช่าที่เป็นสัญญาเช่าระยะยาว ค่าเส่ือมราคาสินทรัพย์ ประ า เป็นตน้ ถึงแมว้ า่ ตน้ ทุน ม ะไม่มีผลตอ่ การตดั สินจ จนปั ุบนั แต่ผูบ้ ริหารก็ควรที่ ะทาการตดั สินจ เลือกทางเลือกที่สามารถจชป้ ระโยชน์ ากตน้ ทุน มจหไ้ ดม้ ากที่สุดเท่าที่ ะเป็นไปได้

ต้นทุนทำงตรง (Direct cost) หมายถึง ตน้ ทุนท่ีฝ่ ายบริหารสามารถท่ี ะระบุไดว้ ่าตน้ ทุนจดเป็น ของหน่วยตน้ ทุน เช่น วตั ถุดิบทางตรงและค่าแรงงานทางตรงที่จชจ้ นการผลิตงานผลิตชิ้นจดชิ้นหน่ึง หรือค่าเส่ือมราคาเคร่ือง กั รจนแผนกประกอบ กค็ ือ ตน้ ทุนทางตรงของแผนกประกอบนนั่ เอง ต้นทุนทำงอ้อม (Indirect cost) หมายถึง ตน้ ทุนร่วม (Common cost) ท่ีเกิดข้ึนโดยไม่สามารถ ระบุไดว้ า่ เกิด ากหน่วยตน้ ทุนจด โดยปกติแลว้ ตน้ ทุนทางออ้ มน้ี ะถูกแบ่งสรรจหแ้ ก่หน่วยตน้ ทุนต่าง ๆ ดว้ ยเทคนิควิธีจนการ ดั สรรตน้ ทุน (Allocation techniques) ซ่ึงโดยทวั่ ไปตน้ ทุนเกี่ยวกบั การผลิตน้ัน ตน้ ทุนทางออ้ มกห็ มายถึงค่าจช้ ่ายการผลิตของสินคา้

ต้นทุนท่ีควบคุมได้ (Controllable cost) หมายถึง ตน้ ทุน หรือ ค่าจช้ ่ายที่สามารถระบุหรือ กาหนดไดว้ ่า หน่วยงานจดหรือบุคคลจดบุคคลหน่ึงเป็ นผูร้ ับผิดชอบโดยตรง กล่าวอีกนัยหน่ึงก็คือ มี อานา หนา้ ที่ หรือมีความสามารถที่ ะทาจหต้ น้ ทุน านวนน้นั เพ่ิมข้ึน หรือลดลง ากการตดั สินจ ของ ตน ซ่ึงถา้ ะพิ ารณาจหม้ ากข้ึนกพ็ อท่ี ะสรุปไดว้ ่า ตน้ ทุนที่ควบคุมไดจ้ นหน่วยงานหรือผบู้ ริหารคนจด คนหน่ึง กอ็ า ะเป็นตน้ ทุนท่ีควบคุมไม่ไดจ้ นอีกหน่วยงานหรือผบู้ ริหารอีกคนหน่ึงกไ็ ด้ ต้นทุนท่ีควบคุมไม่ได้ (Uncontrollable Cost) หมายถึง ตน้ ทุน หรือค่าจช้ ่ายที่ไม่อยู่ภายจต้ อานา หนา้ ท่ี ที่หน่วยงานหรือผูบ้ ริหารจนระดบั น้นั ๆ ะควบคุมไวไ้ ด้ นนั่ คือไม่สามารถที่ ะกาหนด ตน้ ทุนประเภทน้ีจหเ้ พิ่มข้ึนหรือลดลงได้ โดยปกติตน้ ทุนท่ีควบคุมไม่ไดข้ องผูบ้ ริหารระดบั ล่างก็มกั ะ เกิด ากการตดั สินจ ของผบู้ ริหารระดบั สูง

ต้นทุนค่ำเสียโอกำส (Opportunity Cost) คือ ผลประโยชน์หรือผลตอบแทนท่ีกิ การ ะ ได้รับ ากการตดั สินจ เลือกทางเลือกหน่ึงแต่กับต้องสูญเสียไป ากการท่ีเลือกตัดสินจ จนอีก ทางเลือกหน่ึง เช่น ถา้ กิ การมีเงิน านวนหน่ึงและสามารถนาไปฝากธนาคารไดด้ อกเบ้ียปี ละ 20,000 บาท แต่ถา้ กิ การตอ้ งการนาเงินท่ีมีอยนู่ ้ันไปลงทุนทาธุรกิ การที่กิ การเลือกลงทุนทาธุรกิ ทาจห้ สูญเสียดอกเบ้ียที่ ะไดร้ ับ 20,000 บาท ถือว่าถา้ กิ การเลือกทาธุรกิ ก็ ะมีตน้ ทุนเสียโอกาสเกิดข้ึน 20,000 บาท โดยปกติตน้ ทุนเสียโอกาส ะไม่มีการบนั ทึกลงบญั ชีของกิ การเพราะมิไดเ้ ป็ นตน้ ทุนที่ เกิดข้ึน ริง แต่เป็นตน้ ทุนท่ีถูกสมมติเพ่อื การตดั สินจ

ต้นทุนท่ีหลกี เลยี่ งได้ (Avoidable Cost) หมายถึง ตน้ ทุนที่สามารถประหยดั ได้ ากการตดั สินจ เลือกทางจดทางหน่ึง ตน้ ทุนที่หลีกเลี่ยงไดม้ กั ะมีบทบาทที่สาคญั ต่อการตดั สินจ ของผบู้ ริหารเสมอ ต้นทุนท่ีหลีกเลี่ยงไม่ได้ (Unavoidable Cost) หมายถึง ตน้ ทุนหรือค่าจช้ ่ายที่ธุรกิ ยงั คงตอ้ ง ่ายอยแู่ มว้ า่ ะยกเลิกการผลิตหรือการดาเนินงานจนส่วนงานน้นั ๆ แลว้ กต็ าม ต้นทุนเพ่ิมต่อหน่วย (Marginal Cost) หมายถึง ต้นทนุ ที่จะเพิ่มขึน้ จากการผลิตเพ่ิมขึน้ หน่ึง หน่วย ซงึ่ มีลกั ษณะคล้ายคลงึ กบั ต้นทนุ สว่ นเพ่ิม (IncrementalCost)แต่ต้นทนุ สว่ นเพ่ิมต่อหน่วยเป็นการ พิจารณาส่วนท่ีเพ่ิมจากการเพ่ิมของการผลิตเพียง 1 หน่วย ตามที่กล่าวแล้ว ช่วยผู้บริหารเพื่อการ ตดั สนิ ใจได้เชน่ กนั

กำรตัดสินใจรับคำส่ังซื้อพเิ ศษ (Accept or Reject a Special Offer) การตดั สินจ รับคาสั่งซ้ือพิเศษ คาส่ังซ้ือพิเศษเป็ นปัญหาหน่ึงที่ผูบ้ ริหาร ะตอ้ งตดั สินจ ว่า ควรยอมรับหรือปฏิเสธคาสั่งซ้ือพิเศษน้ีเป็ นยอดขาย ส่วนที่นอกเหนือ ากการขายสินคา้ โดยปกติของ กิ การ เม่ือมี คาสง่ั ซ้ือพเิ ศษเขา้ มาจนกิ การ ถา้ ราคาซ้ือเท่ากบั ราคาขายปกติท่ีกิ การขายอยแู่ ละกิ การมี กาลงั การผลิตเหลืออยู่ กิ การสามารถรับคาสั่งซ้ือน้นั ไดท้ นั ที แต่ถา้ ราคาซ้ือของคาสั่งซ้ือพิเศษต่ากว่า ราคาขายปกติ สิ่งที่ตอ้ งพิ ารณาก่อนรับคาสงั่ ซ้ือพเิ ศษมี ดงั น้ี

1. ตรว สอบกาลงั การผลิตที่เหลือวา่ มีพอที่ ะทาการผลิตตามคาส่ังซ้ือพิเศษไดห้ รือไม่ 2. เปรียบเทียบผลประโยชนเ์ ชิงปริมาณที่ไดร้ ับคาส่ังซ้ือพเิ ศษ 3. เปรียบเทียบขอ้ ดี ขอ้ เสียหากไดร้ ับคาส่งั ซ้ือพเิ ศษ 4. ตดั สินจ ทางเลือกท่ีทาจหก้ ิ การไดร้ ับผลประโยชน์ 5. ไม่มีผลกระทบตอ่ ยอดขายปกติของกิ การ 6. มีกาไรส่วนเกินที่เกิด ากผลต่างของราคาขายและตน้ ทุน ผนั แปร ากคาสั่งซ้ือพเิ ศษพเิ ศษ

ตัวอย่ำงท่ี 1 บริษทั กระดาษดี ากดั ทาการผลิตและขายกระดาษถา่ ยเอกสารมีขอ้ มูล เกี่ยวกบั การผลิตและขายดงั น้ี รำยกำร 100,000 จำนวน กาลงั การผลิตปกติ 80,000 หน่วย านวนหน่วยขาย หน่วย ราคาขายตอ่ หน่วย 100 หน่วย ตน้ ทุนผนั แปรต่อหน่วย 60 หน่วย ตน้ ทุนคิดเขา้ งาน ณ ระดบั การผลิตปกติ หน่วยละ 15 หน่วย

บริษทั ไดร้ ับคาสง่ั ซ้ือพิเศษ านวน 15,000 หน่วยจนราคาหน่วยละ 65 บาทผบู้ ริหารเห็นวา่ ขณะน้ีกิ การมีตน้ ทนุ การผลิตท้งั ชิ้นหน่วยละ 15 บาท หากรับคาสง่ั พิเศษคร้ังน้ี บริษทั ตอ้ งรับผลขาดทุนหน่วยละ 10 บาท ึงไมค่ วรรับคาสง่ั พเิ ศษน้ี ผ้อู ำนวยกำรฝ่ ำยบญั ชีให้ข้อมูลเพื่อประกอบกำรตดั สินใจ ดงั น้ี 1. ตรว สอบกาลงั การผลิต กาลงั การผลิตปกติ 100,000 หน่วย กาลงั การผลิตท่ีจช้ 80,000 หน่วย กาลงั การผลิตท่ีวา่ งเปล่า 20,000 หน่วย สรุป กาลงั การผลิตเพยี งพอท่ี ะรับคาสง่ั พิเศษ 2. เปรียบเทียบผลประโยชนเ์ ชิงปริมาณท่ีไดร้ ับหากรับคาสง่ั พิเศษ ราคาขายส่วนเพม่ิ 15,000 หน่วย ๆ ละ 5 บาท = 975,000 บาท ตน้ ทนุ ส่วนเพมิ่ 15,000 หน่วย ๆ ละ 60 บาท = 900,000 บาท กาไรส่วนเพ่มิ = 75,000 บาท สรุป 1) ตน้ ทนุ ส่วนเพิ่มมีเฉพาะตน้ ทนุ ผนั แปร 2) ตน้ ทนุ คงท่ีไม่เพิม่ เพราะมีกาลงั ผลิตวา่ งเปล่าเพียงพอ 3) ถา้ รับคาสงั่ พิเศษ ะไดก้ าไรส่วนเพ่มิ 75,000 บาท 3.เปรียบเทียบขอ้ ดีขอ้ เสียเชิงคุณภาพหลงั รับคาสง่ั พิเศษ 4. พิ ารณาผลกระทบถา้ รับคาสงั่ พิเศษเช่นไม่มีผลกระทบตอ่ ยอดขายเดิม ตัดสินใจรับคำส่ังพเิ ศษ เพราะมีกาไรส่วนเพมิ่ 75,000 บาทและไมก่ ระทบตอ่ ยอดขายเดิม

ตวั อยา่ งท่ี 2 บริษทั ประสบสุข ากดั มีงบประมาณการผลิตและขายสินคา้ ดงั น้ี รำยกำร ยอดรวม (บำท) ต่อหน่วย (บำท) ขาย ตน้ ทุนการผลิต 400,000 10.00 300,000 7.50 กาไรข้นั ตน้ คา่ จช้ ่ายขายและบริหาร 100,000 2.50 50,000 1.25 กาไร ากการดาเนินงาน 50,000 1.25 ตน้ ทุนตน้ ทุนการผลิตไดร้ วมตน้ ทุนการผลิตคงที่ านวน 100,000 บาทและคา่ จช้ ่ายขายและบริหารคงท่ีท้งั หมด านวน 10,000 บาท ะไม่เปล่ียนแปลงหากมีการผลิตและขายเพิ่ม บริษทั ไดร้ ับคาสั่งซ้ือพิเศษ านวน 10,000 หน่วยจนราคา หน่วยละ 6.59 บาท บริษทั มีกาลงั การผลิตเพียงพอที่ ะรับคาสงั่ พิเศษควรรับคา้ สง่ั พิเศษหรือไม่เพราะเหตจุ ด

วเิ ครำะห์ข้อมูลเพ่ือประกอบกำรตดั สินใจ ดงั น้ี 1. ตรว สอบกาลงั การผลิตมีเพียงพอที่ ะรับคาสง่ั พิเศษ 2. เปรียบเทียบผลประโยชนเ์ ชิงปริมาณท่ีไดร้ ับหากรับคาสงั่ พิเศษ ราคาขายส่วนเพ่ิม 10,000 หน่วย ๆ ละ 5.50 บาท = 55,000 บาท ตน้ ทุนส่วนเพ่ิม ผลิต 10,000 หน่วย ๆ ละ 5 บาท = 50,000 ค่าจช้ ่ายขายและบริหาร 10,000 หน่วย ๆ ละ 1 บาท = 10,000 60,000 กาไรส่วนเพิ่ม = (5,000) บาท สรุป ถา้ รับคาสงั่ พิเศษ ะมีผลขาดทุน 5,000 บาท ไม่ควรรับคำสั่งพเิ ศษ

ตวั อยา่ งท่ี 3 หาก บริษทั มีเคร่ือง กั รสาหรับการผลิตชิ้นส่วนชนิดน้ีมีกาลงั การผลิตเตม็ ประสิทธิภาพ 100,000 ชิ้น / ปี แต่ บริษทั จชก้ าลงั การผลิต ริงเพียง 90,000 ชิ้น ขอ้ มูลตามปกติ ตน้ ทุนรวม ตน้ ทุนตอ่ ชิ้น ขาย 270,000 3 ตน้ ทุนผนั แปร 90,000 1 กาไรส่วนเกิน 180,000 2 ตน้ ทุนคงที่ 55,000 กาไรสุทธิ 125,000 เมื่อตน้ ปี ไดร้ ับคาสง่ั ซ้ือพเิ ศษเพม่ิ อีก 10,000 ชิ้นราคาชิ้นละ 1.5 บาท ซ่ึงบริษทั เองกม็ ีกาลงั การผลิตเหลืออยู่ ึงควร นาไปพิ ารณาวา่

ขาย ยอดขายปกติ ยอมรับคาสงั่ พิเศษ ผลต่าง ตน้ ทุนผนั แปร 90,000 ชิ้น 100,000 ชิ้น 15,000 กาไรส่วนเกิน 285,000 ตน้ ทุนคงที่ 270,000 กาไรสุทธิ ากเดิม 90,000 ชิ้นขายชิ้นละ 3 บาท เม่ือมียอดขายเพิ่มอีก 10,000 ชิ้นชิ้นละ 15 บาท

ขาย ยอดขายปกติ ยอมรับคาสง่ั พิเศษ ผลต่าง ตน้ ทุนผนั แปร 90,000 ชิ้น 100,000 ชิ้น 15,000 กาไรส่วนเกิน 270,000 285,000 10,000 ตน้ ทุนคงท่ี 90,000 100,000 กาไรสุทธิ ตน้ ทุนผนั แปรหน่วยละ 1 บาททาจหค้ าสง่ั พเิ ศษที่มี านวนการ สง่ั วนการสง่ั ซ้ือที่มากกวา่ มีตน้ ทุนผนั แปรมากกวา่ ไปดว้ ย

ขาย ยอดขายปกติ ยอมรับคาสง่ั พิเศษ ผลตา่ ง ตน้ ทุนผนั แปร 90,000 ชิ้น 100,000 ชิ้น 15,000 กาไรส่วนเกิน 270,000 285,000 10,000 ตน้ ทุนคงท่ี 90,000 100,000 5,000 กาไรสุทธิ 180,000 185,000 อยา่ งไรกฎตาม จานวนสง่ั ซอื ้ ที่มากกวา่ ก็ทาให้กาไรสว่ นเกินมากกวา่ อยู่

ยอดขายปกติ ยอมรับคาสงั่ พิเศษ ผลตา่ ง 90,000 ชิ้น 100,000 ชิ้น 15,000 ขาย 270,000 285,000 10,000 ตน้ ทุนผนั แปร 90,000 5,000 กาไรส่วนเกิน 180,000 100,000 ตน้ ทุนคงที่ 55,000 - กาไรสุทธิ 125,000 ต้นทนุ ท่ีไม่มี 185,000 5000 ความแตกต่าง 55,000 130,000 ต่อการตดั สนิ ใจ

กำรตัดสินใจผลิตเองหรือซื้อ (Make or Buy) การตดั สินจ ผลิตเองหรือซ้ือ (Make or Buy) การตดั สินจ จนลกั ษณะน้ี ะเกิดข้ึนได้เมื่อกิ การ เป็ นธุรกิ ประเภทอุตสาหกรรมหรือผลิตเพ่ือขาย ซ่ึงอา ะขายสินคา้ ชนิดเดียวกนั หรือหลายชนิดก็ได้และสินคา้ ท่ีผลิต าเป็นตอ้ งจชช้ ิ้นส่วนมาประกอบเป็นสินคา้ สาเร็ รูป ชิ้นส่วนท่ีนามาประกอบกิ การสามารถที่ ะผลิตเองหรือซ้ือ ากบุคคลภายนอกกไ็ ดซ้ ่ึงผบู้ ริหารของกิ การ ะตอ้ งตดั สินจ เลือกหน่ึงทางเลือกท่ีมีตน้ ทุนต่าสุดเสมอ แต่ก่อนที่ ะตดั สินจ เลือกทางเลือกจด กิ การ ะตอ้ งคานึงถึงปั ยั ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ตน้ ทุนที่เกิดข้ึนระหวา่ งผลิตเองและซ้ือ ากบุคคลภายนอกเพ่ือนามาเปรียบเทียบ 2. กิ การมีความรู้ความสามารถจนการผลิตชิ้นส่วนประกอบท่ีมีคุณภาพตามท่ีตอ้ งการหรือไม่ 3. กิ การมีกาลงั การผลิตเพียงพอที่ ะผลิตชิ้นส่วนประกอบเองหรือไม่ 4. การผลิตเองหรือชื่อชิ้นส่วนประกอบ ากบุคคลภายนอก ะตอ้ งมีกาหนดเวลาท่ีแน่นอนท่ีสามารถนามาจช้ ประกอบไดท้ นั เวลากาหนด 5. กิ การจนฐานะผผู้ ลิตควรรักษาไวไ้ ม่ควรกลบั มาเป็นผซู้ ้ืออีกคร้ังเพราะ ะมีภาพพ นท์ ี่ไม่เหมาะสม

ตวั อยา่ งท่ี 4 บริษทั สะดวกดี ากดั ทาการผลิตกระติกน้าร้อน านวน 10,000 หน่วยผลิตชิ้นส่วน “แผน่ ความร้อน” จชเ้ องมีขอ้ มลู ตน้ ทุนการผลิตต่อหน่วยของ“ แผน่ ความร้อนดงั น้ี วตั ถดุ ิบทางตรง 50 บาท แรงงานทางตรง 60 บาท ค่าจช้ ่ายการผลิตผนั แปร 20 บาท คา่ จช้ ่ายการผลิตคงที่ (ปันส่วน) 30 บาท รวม 160 บาท

วเิ ครำะห์ข้อมูลเพ่ือประกอบกำรตดั สินใจ ดงั น้ี 1. เปรียบเทียบตน้ ทุนท่ีเกิดข้ึนจนแต่ละทางเลือก 2 ทางเลือกคือ 1) ผลิตเอง านวน 10,000 หน่วยมีตน้ ทุนดงั น้ี วตั ถดุ ิบทางตรง (10,000 x 50) 500,000 บาท แรงงานทางตรง (10,000 x 60) 600,000 ค่าจช้ ่ายการผลิตผนั แปร (10,000 x 20) 200,000 คา่ จช้ ่ายการผลิตคงท่ี (10,000 x 30) 500,000 300,000 รวม 1,600,000

2) ซ้ือ ากผผู้ ลิตรายอ่ืน านวน 10,000 บาทมีตน้ ทุนดงั น้ี ราคาซ้ือ (10,000 x 140) 1,400,000 บาท ค่าจช้ ่ายการผลิตคงที่คงเหลือ 50% 150,000 รวม 1,550,000 บาท สรุป ควรซื้อ เพราะตน้ ทุนต่ากวา่ ผลิตเอง 50,000 บาท 2. เปรียบเทียบขอ้ มูลเชิงคุณภาพประกอบการตดั สินถา้ เลือกซ้ือ“ แผน่ ความร้อน” ดงั น้ี 1) คุณภาพ“ แผน่ ความร้อน” ไดม้ าตรฐานตามท่ีตอ้ งการหรือไม่ 2) ราคาซ้ือหน่วยละ 140 บาท ะเปลี่ยนแปลงอีกหรือไม่ 3) คนงานฝ่ ายการผลิตท่ีเลิก า้ งเดือดร้อนหรือไม่ 4) กาลงั การผลิตท่ีเหลือ ากการเลิกผลิต“ แผน่ ความร้อน” นาไปผลิตสินคา้ ชนิดอ่ืนเพื่อเพ่ิมกาไรจหก้ ิ การไดอ้ ีกหรือไม่

ากตวั อยา่ งท่ี 4 หากผผู้ ลิตรายอ่ืนเสนอขาย“ แผน่ ความร้อน” ราคาหน่วยละ 155 บาท บริษทั ควรเลือกทางเลือกจด 1. เปรียบเทียบตน้ ทุนที่เกิดข้ึนจนแตล่ ะทางเลือก 2 ทางเลือกคือ 1) ผลิตเอง านวน 10,000 หน่วยมีตน้ ทุนดงั น้ี วตั ถุดิบทางตรง (10,000 x 50) 500,000 บาท แรงงานทางตรง (10,000 x 60) 600,000 คา่ จช้ ่ายการผลิตผนั แปร (10,000 x 20) 200,000 คา่ จช้ ่ายการผลิตคงที่ (10,000 x 30) 300,000 รวม 1,600,000 2) ซ้ือ ากผผู้ ลิตรายอ่ืน านวน 10,000 บาทมีตน้ ทุนดงั น้ี ราคาซ้ือ (10,000 x 155) 1,550,000 บาท คา่ จช้ ่ายการผลิตคงท่ีคงเหลือ 50% 150,000 รวม 1,650,000 บาท สรุป ควรผลติ เอง เพราะตน้ ทุนต่ากวา่ ซ้ือ 50,000 บาท 2. ไม่ตอ้ งเปรียบเทียบขอ้ มูลเชิงคุณภาพ

กำรตัดสินใจยกเลกิ ผลติ ภัณฑ์หรือสำขำ (Dropping Product or Department) การตดั สินจ ยกเลิกผลิตภณั ฑ์หรือสาขา (Dropping Product or Department) ปัญหาน้ีเกิดข้ึนไดจ้ นกรณีท่ีกิ การผลิตและขาย ผลิตภณั ฑห์ ลายชนิดหรือมีหลายแผนกแลว้ มีบางคร้ังท่ีผลิตและขายแลว้ มีผลิตภณั ฑ์บางชนิดขาดแลว้ ขาดทุน หรือมีบางแผนก ท่ีขายแลว้ ขาดทุน การท่ีตดั สินจ ที่ยกเลิกผลิตภณั ฑห์ รือแผนกที่ขายแลว้ ขาดทุนกิ การ ะตอ้ งคานึงถึงปั ยั ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ทางดา้ นตน้ ทุน จนกรณีที่ผลิตภณั ฑ์หรือแผนกงานของกิ การมีการจชต้ น้ ทุนคงท่ีที่หลีกเล่ียงไม่ไดร้ ่วมกนั เช่น ค่าเช่าค่าสาธารณูปโภค ค่าบริหารงานทว่ั ไป เป็ นตน้ การที่ ะยกเลิกผลิตภณั ฑห์ รือแผนกงานจดออกไป ก็ ะเป็ นการผลกั ภาระไปจหก้ บั ผลิตภณั ฑแ์ ละแผนกงานอ่ืนที่ยงั อยซู่ ่ึง ะส่งผลกระทบตอ่ กาไรโดยรวมของกิ การ 2. ความสมั พนั ธ์ทางดา้ นการตลาดหรือการขาย จนกรณีท่ีผลิตภณั ฑท์ ่ีมีความสัมพนั ธ์ทางดา้ นการขาย เช่น แชมพู สระผมกบั ครีมนวดผม เป็นตน้ ถา้ ยกเลิกผลิตภณั ฑท์ ่ี ะมีผลตอ่ อีกชนิดหน่ึง เพราะการขายหรือการจช้ ะสมั พนั ธ์กนั 3. ดา้ นการแข่งขนั การยกเลิกผลิตภณั ฑห์ รือแผนกงาน ะตอ้ งมีผลต่อภาพพ น์ช่ือเสียงของบริษทั ซ่ึงส่งผลตอ่ อานา การแข่งจนตลาดระยะยาว

ตวั อยา่ งท่ี 4 บริษทั อาหารดี ากดั ทาการผลิตผลไมก้ ระป๋ อง 3 ชนิดโดยมีขอ้ มลู เก่ียวกบั สินคา้ ท้งั 3 ชนิด ดงั น้ี รำยกำร สับปะรด ลนิ้ จี่ เงำะ รวมท้ังสิ้น ขาย 1,400,000 900,000 1,700,000 4,000,000 ตน้ ทุนขายผนั แปร 1,000,000 600,000 1,200,000 2,800,000 400,000 300,000 500,000 1,200,000 กาไรส่วนเกิน 100,000 100,000 180,000 380,000 ตน้ ทุนคงท่ี 80,000 60,000 140,000 280,000 คา่ เสื่อมราคา 50,000 80,000 270,000 400,000 เงินเดือน 170,000 60,000 (90,000) 140,000 คา่ จช้ ่ายขาย กาไร (ขาดทุน) ผู้ ดั การโรงงานเห็นว่าถา้ เลิกทาการผลิตและ าหน่ายเงาะกระป๋ องทาจห้ไม่ตอ้ งรับภาระผลขาดทุน ากเงาะ กระป๋ องกิ การ ะมีกาไรเพ่ิม าก 140,000 บาทเป็น 230,000 บาท

ผู้ ดั การฝ่ ายบญั ชีตน้ ทุนจหข้ อ้ มลู เพิ่มเติมวา่ ถา้ ยกเลิกผลิตและ าหน่ายเงาะกระป๋ อง ะทา จหต้ น้ ทุนส่วนของการผลิตและ าหน่ายเงาะกระป๋ องเปลี่ยนแปลงดงั น้ี 1. ตน้ ทุนผนั แปรลดไดท้ ้งั หมด 2. เงินเดือนลดได้ 80,000 บาท 3. คา่ เสื่อมราคาลดไม่ได้ 4. คา่ จช้ ่ายขายลดได้ 200,000 บาท

งบกำไรขำดทุนเปรียบเทียบ เพ่ือประกอบกำรตดั สินใจ ดงั น้ี รำยกำร ก่อนยกเลกิ หลงั ยกเลกิ กำรเปลย่ี นแปลง ขาย 4,000,000 2,300,000 (1,700,000) ตน้ ทุนขายผนั แปร 2,800,000 1,600,000 (1,200,000) 1,200,000 700,000 (500,000) กาไรส่วนเกิน 380,000 380,000 0 ตน้ ทุนคงที่ 280,000 200,000 (80,000) ค่าเสื่อมราคา 400,000 200,000 (200,000) เงินเดือน คา่ จช้ ่ายขาย 140,000 (80,000) (220.000) กาไร (ขาดทุน)

ากความเห็นของผู้ ดั การโรงงานท่ีเห็นวา่ ถา้ เลิกทาการผลิตและ าหน่ายเงาะกระป๋ องแลว้ ะทาจห้กิ การมีกาไรเพ่ิม าก 140,000 บาทเป็น 230,000 บาทซ่ึงเกิด ากความเขา้ จ วา่ หากเลิกทาการผลิตและ าหน่ายเงาะกระป๋ องแลว้ ะทาจห้ ตน้ ทุนที่เกี่ยวขอ้ งกบั การผลิตและขายเงาะกระป๋ องยกเลิกไดห้ มดจนขณะท่ีผู้ ดั การฝ่ ายบญั ชีตน้ ทุนจห้ขอ้ มูลเพิ่มเติมวา่ ถา้ ยกเลิกเงาะกระป๋ อง ะทาจห้ตน้ ทุนคงที่ลดไดบ้ างส่วนเท่าน้นั ากการเปรียบเทียบขอ้ มูลเกี่ยวกบั การผลิตและ าหน่าย ขา้ งตน้ ถา้ ไม่ยกเลิก ะทาจหก้ ิ การมีกาไรรวม 140,000 บาทหากยกเลิกทาจหม้ ีผลขาดทุนรวม 80,000 บาทสรุปวา่ กิ การไม่ ควรยกเลิกทาการผลิตและ าหน่ายเงาะกระป๋ อง ากตวั อยา่ งท่ี 4 สมมติวา่ ถา้ ยกเลิกเงาะกระป๋ อง ะทาจหต้ น้ ทุนตน้ ทุนส่วนของการผลิตและ าหน่ายเงาะ กระป๋ องเปล่ียนแปลงดงั น้ี 1. ตน้ ทุนผนั แปรลดไดห้ มด 2. เงินเดือนลดได้ 100,000 บาท 3. ค่าเสื่อมราคาลดได้ 100,000 บาท 4. คา่ จช้ ่ายขายลดไดท้ ้งั หมด

งบกำไรขำดทุนเปรียบเทยี บ เพื่อประกอบกำรตกั สินใจ ดงั น้ี รำยกำร ก่อนยกเลกิ หลงั ยกเลกิ กำรเปลยี่ นแปลง 4,000,000 2,300,000 (1,700,000) ขาย 2,800.000 1,600,000 (1,200,000) ตน้ ทุนขายผนั แปร 1,200,000 700,000 (500,000) กาไรส่วนเกิน 140,000 280,000 (100,000) 180,000 (100,000) ตน้ ทุนคงท่ี (400,000) ค่าเส่ือมราคา 0 100,000 เงินเดือน 240,000 คา่ จช้ า่ ยขาย กาไร (ขาดทุน) ากการเปรียบเทียบขอ้ มูลขา้ งตน้ ถา้ ทาการผลิตต่อกิ การมีกาไรรวม 140,000 บาทหากยกเลิกทาจหก้ ิ การ มีกาไรรวมเพิ่มข้ึน 100,000 บาทรวมเป็นกาไรท้งั สิ้น 240,000 บาท สรุปว่ำ กิ การควรยกเลิก ข้อสังเกต การยกเลิกแผนกหรือสาขาจชว้ ธิ ีพิ ารณาเช่นเดียวกบั การยกเลิกผลิตภณั ฑ์

บทสรุป การบริหารธุรกิ เพ่ือจห้บรรลุวตั ถุประสงคแ์ ละประสบผลสาเร็ ไดน้ ้นั ผูบ้ ริหาร าเป็ นตอ้ งรู้ กั เลือกทางเลือกที่ดีและแสวงหาโอกาสท่ีสร้างประโยชน์จหก้ บั กิ การการท่ี ะนาธุรกิ ไปสู่ความสาเร็ ผบู้ ริหาร าเป็นตอ้ งมีขอ้ มูลท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การตดั สินจ ท่ีถกู ตอ้ งและทนั เวลา ผูบ้ ริหาร ะจช้ขอ้ มูลตน้ ทุนที่เก่ียวขอ้ งกับการตดั สินจ ตามสถานการณ์ที่แตกต่างกันเช่นการ พิ ารณา เพื่อรับคาส่ังพิเศษหรือไม่พิ ารณาเกี่ยวกบั การตดั สินจ ที่ ะผลิตเองหรือ ะสั่งซ้ือชิ้นส่วน บางอยา่ งหรือพิ ารณาเก่ียวกบั การยกเลิกผลิตภณั ฑ์ ยกเลิกแผนกหรือยกเลิกสาขา

ขอขอบคุณค่ะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook