Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์

Published by preeyanuchnuch285, 2020-03-18 06:00:31

Description: ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์

Search

Read the Text Version

สาระรายวชิ า 1. ความหมายของมนษุ ยสัมพันธใ์ นองคก์ าร 2. แนวคิดพ้ืนฐานเก่ยี วกับมนุษยสมั พนั ธ์ 3. องคป์ ระกอบสาคัญของมนษุ ยสัมพันธ์ 4. คณุ ลักษณะของบุคคลทมี่ มี นษุ ยสมั พนั ธท์ ดี่ ี 5. การสรา้ งมนษุ ยสัมพนั ธ์ในการทางาน 6. ความสาคญั และประโยชนข์ องการมีมนษุ ยสัมพนั ธ์ สมรรถนะรายวชิ า 1. สามารถอธบิ ายความรู้ความเข้าใจในความหมายของมนษุ ยสัมพนั ธใ์ นองคก์ ารได้ 2. สามารถประยุกตแ์ นวคดิ พ้นื ฐานเกย่ี วกับมนษุ ยสัมพนั ธ์ตามหลกั การและกระบวนการได้ 3. สามารถอธบิ ายเกีย่ วกับองคป์ ระกอบสาคัญของมนุษยสมั พันธ์ได้ 4. สามารถอธบิ ายคณุ ลกั ษณะของบคุ คลทม่ี มี นุษยสมั พันธ์ทีด่ ีได้ 5. สามารถอธิบายความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกับการสรา้ งมนษุ ยสมั พันธ์ในการทางาได้ 6. สามารถอธบิ ายความสาคัญและประโยชน์ของการมมี นษุ ยสัมพันธ์ได้

ความรทู้ ัว่ ไปเกีย่ วกับมนุษยสัมพันธ์ในองคก์ าร (Human Relations of Organization) ในการดารงชวี ิตของมนุษย์นนั้ ยอ่ มตอ้ งมีการเก่ียวข้องสมั พันธก์ ัน เป็นความสมั พันธ์ระหวา่ งมนุษย์ ความสัมพันธ์ของมนษุ ยจ์ งึ กลายเปน็ ส่วนหนง่ึ ของวิถชี วี ิตมนษุ ย์ เพื่อส่งเสรมิ ใหม้ นษุ ย์สามารถทางานรว่ มกนั และ ดารงชีวติ ร่วมกันอย่างมีคณุ ภาพและราบร่ืน ดว้ ยธรรมชาติของมนุษยท์ ี่ไม่อาจดารงชีวิตในโลกนไ้ี ดเ้ พยี งลาพงั แตต่ ้อง พึ่งพาและอย่รู ว่ มกันกบั ผู้อืน่ ชว่ ยเหลือเกอ้ื กูลซงึ่ กนั และกนั ดงั นน้ั การตดิ ต่อสมั พนั ธ์กับผูอ้ น่ื จึงเป็นเรอ่ื งทหี่ ลีกเลยี่ ง ไมไ่ ด้ การศกึ ษาให้เข้าใจและฝกึ ปฏิบัติเก่ยี วกับวธิ กี ารสรา้ งมนษุ ยสมั พนั ธ์หรือการสร้างสัมพันธท์ ี่ดกี ับบุคคลอน่ื น้นั ย่อมส่งผลตอ่ สัมพันธภาพอนั ยง่ั ยนื ของมนษุ ย์น้ันเอง มนษุ ยสมั พนั ธ์จงึ มีบทบาทสาคัญ ทีจ่ ะชะลอความคดิ ในดา้ นม่งุ เอาชนะ และทาลายกนั เพียงเพอ่ื ความอยรู่ อดของตน ท้ังยงั ช่วยส่งเสรมิ ความเขา้ ใจและเสริมสรา้ งเจตคตทิ ีด่ ี ในการ สร้างสมั พันธอ์ นั ดตี ่อกัน ความหมายของมนุษยสมั พันธใ์ นองคก์ าร (Human Relations of Organization) การทีม่ นษุ ย์จะอยรู่ ว่ มกนั เพอื่ ดาเนินกจิ กรรมอนั มีเป้าหมายเดยี วกนั หรอื แตกต่างกนั เป็นจาเพาะของกลุ่ม ใน การอยู่ร่วมกันจะต้องมกี ารประสานสัมพันธท์ ั้งในส่วนท่ีเกย่ี วข้องกับหน้าท่ีความรบั ผดิ ชอบและสว่ นทเี่ กยี่ วขอ้ งในดา้ น สว่ นตวั ซ่ึงทัง้ สองลกั ษณะน้ถี ือวา่ จะตอ้ งเปน็ ความสัมพันธท์ ง้ั สน้ิ ทง้ั ระหวา่ งบคุ คลต่อบคุ คล และบคุ คลต่อ องคก์ าร มผี ใู้ ห้ความหมายของคาวา่ “มนษุ ยสมั พนั ธ์” ไว้มากพอสมควร ซง่ึ จะขอยกตวั อยา่ งเพยี งบางประการ ดงั ตอ่ ไปน้ี เดวสี (Davis, 1957: 9 อา้ งถงึ ใน พรรณราย ทรพั ยป์ ระภา, 2548: 45) อธิบายวา่ มนษุ ยสมั พนั ธ์ หมายถงึ กระบวนการจงู ใจคนให้ทางานร่วมกนั อย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยมคี วามพอใจเปน็ พน้ื ฐาน ฟลิปโป (Flippo, 1966: 15 อา้ งถงึ ใน พรรณราย ทรพั ยป์ ระภา, 2548: 45) ให้ความหมายวา่ มนุษยสมั พนั ธ์ หมายถึง การรวมกลุ่มคนให้ทางานร่วมกันในลกั ษณะทม่ี ุ่งเนน้ ใหเ้ กิดความร่วมมอื ร่วมใจกันเพอื่ ให้งานบรรลเุ ปา้ หมาย ตามที่ไดต้ ัง้ ไว้ หรอื เปน็ ความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลในองคก์ าร ทมี่ ุง่ หมายให้เกดิ ความร่วมมือในการทางานอยา่ งมี ประสิทธภิ าพ และความเข้าใจระหวา่ งกันและกัน เกลเลอร์แมน (Gellerman, 1966: 12 อา้ งถึงใน พรรณราย ทรัพย์ประภา, 2548: 45) ใหค้ าจากัดความของ คาวา่ มนุษยสัมพันธ์วา่ หมายถึง ความสมั พนั ธร์ ะหว่างบคุ คลในองค์การใดองคก์ ารหนง่ึ ถ้าเปน็ ความสัมพันธท์ ีด่ กี จ็ ะ ก่อใหเ้ กิดความรู้สกึ รักใครแ่ ละเข้าใจดีระหวา่ งกนั และกัน ซึ่งสง่ ผลใหเ้ กิดสมั ฤทธผิ ลในการทางาน แต่ถ้าเป็น ความสมั พันธ์ท่ีไมด่ ยี ่อมจะกอ่ ให้เกดิ ความไม่เขา้ ใจกนั ความไม่พอใจ หรอื ความขัดแยง้ กนั ซ่งึ สง่ ผลใหเ้ กดิ ความ ลม้ เหลวในการทางาน

ดูบรนิ (Dubrin, 1981: 4 อ้างถึงใน พรรณราย ทรพั ยป์ ระภา, 2548: 45) อธิบายว่า มนุษยสมั พนั ธ์ หมายถงึ ศลิ ปะและการปฏบิ ัตใิ นการนาความร้เู ก่ียวกบั พฤตกิ รรมของมนษุ ยม์ าใช้ในการติดต่อสมั พนั ธ์กัน เพอ่ื ใหบ้ รรลุ วตั ถปุ ระสงค์ของตนเองและของสว่ นรวม พรรณราย ทรพั ยะประภา (2548, 44) ใหค้ วามหมายของมนุษยสมั พนั ธ์ วา่ เปน็ เร่ืองท่ีเกี่ยวกับความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งกันและกนั ของบคุ คลทีอ่ ย่รู ่วมกนั ไมว่ ่าจะเป็นในชวี ิตส่วนตวั ในชีวติ การศกึ ษาเลา่ เรยี น ในชีวติ การงาน และ ในชีวติ สงั คมทั่วไปเปน็ เร่ืองสาคัญอันเปน็ พน้ื ฐานในการทาความเข้าใจซึ่งกนั และกนั ในความตอ้ งการดา้ นตา่ งๆ ไมว่ ่าจะ เป็นทางด้านรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ และสังคม พร้อมทั้งตอบสนองความต้องการตา่ งๆ ดังกลา่ วใหแ้ กก่ นั และกนั อยา่ ง เหมาะสมและอยา่ งน่าพงึ พอใจดว้ ยกันทง้ั สองฝ่าย ซ่ึงสง่ ผลให้การใชช้ วี ิตรว่ มกัน ไมว่ า่ จะเป็นระยะเวลาอนั สั้นหรือ ระยะเวลาอนั ยาวนาน และในบทบาทหน้าที่ตา่ งๆของแตล่ ะคนดาเนนิ ไปอยา่ งมคี วามสขุ มคี วามรกั ความเอือ้ อาทร และช่วยเหลือเก้ือกูลกนั ตามควรแก่อัตภาพ ชะลอ ธรรมศริ ิ (2543, 480) ที่กล่าววา มนษุ ยสมั พันธ์เป็นความสัมพันธ์ระหวา่ งบุคคลท่ีสรา้ งข้นึ เพ่อื ยดึ เหนย่ี วระหว่างกนั ให้เกิดความรักใครชอบพอ ความร่วมมอื ร่วมใจในการทากจิ กรรมให้บรรลุเปา้ หมาย และดาเนิน ชวี ิตใหม้ ีความราบร่นื สมพร สทุ ัศนีย (2544, 5) กลา่ ววา มนษุ ยสัมพนั ธ์ หมายถงึ การตดิ ต่อเก่ยี วของกันระหวา่ งบุคคลเพื่อใหเ้ กดิ ความรักใครชอบพอ ความร่วมมอื ร่วมใจในการทากิจกรรมใหบ้ รรลุเป้าหมาย และการดาเนนิ ชีวติ ให้มคี วามราบร่ืน จากความหมายต่างๆของคาวา่ มนษุ ยสัมพันธด์ ังกลา่ วขา้ งต้น กลา่ วสรปุ ไดว้ า่ มนุ ษยสัมพนั ธ์ หมายถึง กระบวนการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนท้งั ทางร่างกาย จิตใจ และการกระทาของตนทีก่ ระทาต่อบคุ คลอ่นื ใหส้ ามารถครองใจ เขาได้ เพอื่ ให้เกิดความรสู้ กึ ผูกพนั ท่ีดีตอ่ กนั เกิดความพอใจ รกั ใครน่ บั ถือ ซ่งึ ก่อใหเ้ กดิ ความรว่ มมือรว่ มใจกนั ทางาน ทางานด้วยความเต็มใจและมคี วามสขุ ชว่ ยใหเ้ ป้าหมายของหน่วยงานบรรลผุ ลสาเร็จตามจดุ ประสงคอ์ ย่างมี ประสิทธิภาพ แนวคิดพน้ื ฐานเกย่ี วกับมนุษยสมั พันธ์

แนวคิดเกีย่ วกับมนษุ ยสมั พันธน์ ัน้ มีนักวิชาการหลายท่าน ไดเ้ สนอแนวคิดเอาไว้ดงั นี้ สมพร สทุ ัศนยี ์ (2544, 26 - 28) ไดแ้ บ่งแนวคิด เกี่ยวกบั มนุษยสมั พนั ธ์ ออกเปน็ 3 แนวคดิ ดังนี้ 1. แนวคดิ ในเรือ่ งธรรมชาติของมนษุ ย์ ซ่ึงจะต้องคานึงถึง 5 ประการ ดังนี้ 1.1 บคุ คลมีความแตกต่าง (Individual difference) ในแต่ละคนจะมลี กั ษณะพเิ ศษเฉพาะตัวที่ ทาใหแ้ ตกตา่ งจากบุคคลอื่นเปน็ ผลมาจากพันธกุ รรม รูปรา่ งหน้าตา สตปิ ญั ญา ส่งิ แวดล้อม อารมณ์ วฒั นธรรม ทัศนคติ ความคิด ความเช่อื นสิ ัย ความถนัด สขุ ภาพ ซ่ึงเป็นส่ิงที่ยากแกก่ าร เข้าถึงจิตใจคนทุกคนได้ เพราะนานาจิต ตงั ตรงกบั คากล่าวทีว่ า “จิตมนุษย์นไี้ ซร้ ยากแทห้ ยัง่ ถงึ ” 1.2 การคานึงถึงบคุ คลในลักษณะผลรวม (A whole person) ในการสร้างมนษุ ยสมั พนั ธ์จะตอ้ ง คานงึ ถึงวา่ บคุ คลจะมลี กั ษณะหลายๆประการประกอบข้นึ เปน็ ตวั เข้าในเรื่องทางกายภาพ เร่ืองทางจิตใจ เร่อื งของการ งาน เรอื่ งชีวติ สว่ นตวั เรอ่ื งความรูเ้ รือ่ งประสบการณ์ เรอื่ งทักษะงาน ในแตล่ ะเรอ่ื งไม่ไดแ้ ยกจากกนั แต่รวมถงึ การรวม ผสมผสานเปน็ ตัวเขาเองท้งั หมด 1.3 พฤติกรรมของบุคคลนั้นต้องมีสาเหตุ (A behavior is caused) คอื บคุ คลสามารถไดรับการ จงู ใจ (Motivation) ดงั นนั้ จึงจาเป็นต้องเรียนร้ถู งึ สาเหตขุ องพฤตกิ รรม อนั ไดแ้ ก่ เรือ่ งของความต้องการของบคุ คลใน ดา้ นร่างกายและดา้ นจิตใจของตวั บคุ คล 1.4 ศักดิศ์ รขี องความเปน็ มนษุ ย์ (Human dignity) มนุษยท์ กุ คนมีคุณค่า มศี กั ดศ์ิ รี เท่าเทียมกัน ฉะน้ันในการปฏบิ ัติตอ่ ผรู้ ว่ มงานในองคก์ ารจะตอ้ งให้เกียรตดิ ว้ ยความสภุ าพออ่ นน้อม ไม่วางอานาจ หรอื ขบู่ ังคบั 1.5 มนษุ ย์มคี วามซับซ้อน (Human complex) มนษุ ย์เปน็ สัตว์ชัน้ สูงทีม่ ีความซับซอ้ น โดย พฤตกิ รรมจะผันแปรอยูต่ ลอดเวลาตามความต้องการ แรงจูงใจภายใน แรงจูงใจภายนอกเวลา และสถานการณ์ตา่ งๆ ซ่ึงสงิ่ ต่างๆ เหลา่ นี้จะปฏิสัมพันธ์กนั กอ่ ให้เกดิ พฤตกิ รรมที่ซบั ซอ้ นยง่ิ ขึน้ 2. แนวคิดในเร่ืองลักษณะของสงั คมไทย 3 ประการ ดังนี้ 2.1 เปน็ สังคมท่เี น้นตัวบุคคลมากกว่าปญั หา คอื คนไทยจะใหค้ วามสาคญั แกต่ วั บุคคล มากกวา่ หลักการปัญหาหรอื แนวคิด 2.2 เปน็ สังคมที่ให้การยกย่องผู้มีอานาจ คือ สังคมมักจะยกย้องใหเ้ กียรติ ผู้มตี าแหนง่ สงู ไม่กลา้ แสดงความคิดเห็น หรือโต้แยง้ เพราะถอื ว่าเป็นการไม่สุภาพ หรือไม่ควรอย่างยง่ิ การตดั สนิ ใจมกั มาจากเบอ้ื งบน และ มกั ยอมรบั อานาจจากผู้ท่มี ีอานาจเหนอื กวา่ 2.3 เปน็ สงั คมทีช่ อบความอิสระ คนไทยรกั อสิ รภาพและชอบทาส่ิงตางๆตามสบายไมช่ อบมี กฎหมายบังคับ ไมช่ อบใครมาควบคุม มคี วามเป็นตัวของตวั เองสงู 3. แนวคดิ ในเรอ่ื งธรรมชาตขิ ององคก์ าร มลี ักษณะ 2 ประการ ดงั นี้

3.1 องคก์ ารเปน็ ระบบสังคม กิจกรรมทางสงั คมภายในองค์การจึงอยู่ภายใต้กฎของสังคม การแสดง บทบาทและสถานภาพของบุคคลจึงตอ้ งเปน็ ไปตามสงั คม พฤตกิ รรมบางอย่างไดร้ บั อทิ ธิพลจากกลุม่ กลมุ่ บุคคลจึงมี อิทธพิ ลตอพฤติกรรมของบุคคลเป็นอยา่ งย่ิง 3.2 องคก์ ารเป็นศูนยร์ วมความสนใจ องค์การเกิดขน้ึ เพราะคนมคี วามสนใจรว่ มกนั ในขณะท่ี บคุ คลกม็ ีอสิ ระในการเลอื กว่าจะเขา้ รว่ มในองค์การหรอื ไม่ ดงั นนั้ ผ้บู ริหารต้องตระหนักในการจงู ใจใหบ้ ุคคลมีความ สนใจนน้ั คงอย่ตู ลอดไป เรียม ศรีทอง (2540, 11) กลา่ วไวว้ ่า แนวคดิ พ้นื ฐานเกยี่ วกับมนษุ ยสัมพันธม์ หี ลกั ความเช่อื 3 ประการ คอื 1. มนุษยท์ ุกคนมีคุณค่าแห่งความเปน็ คนเท่าเทยี มกันไม่เลือกเพศ วยั วรรณะการศึกษาหรอื ฐานะเศรษฐกจิ มนษุ ยต์ ้องการตดิ ต่อเกีย่ วของกันฉันทม์ ิตรมีความปรารถนาดี ตอ้ งเป็นคนมคี ุณคา่ และมคี วามสาคัญ 2. มนษุ ย์เกี่ยวของกับความตอ้ งการทีไ่ มมีทสี่ ้นิ สดุ เม่ือมนุษยไ์ ดรับการตอบสนองระดบั หนงึ่ ก็ยอมตอ้ งการให้ เกิดสัมพนั ธอ์ นั ดีต่อกันในระดบั หนงึ่ ได้เช่นกนั ระหว่าง ความตอ้ งการทางดา้ นวตั ถุกับจติ ใจแม้บางครงั้ มีความสมบูรณ์ ด้านวตั ถุ แตม่ ไิ ดห้ มายความว่าตอ้ งการทางดา้ นจติ ใจจะสมบูรณ์ไปดว้ ย 3. มนษุ ย์เปน็ เพือ่ นรว่ มทกุ ข์ ฉะนั้นการแสดงออกซง่ึ เมตตาต่อกนั จะนามาซ่งึ การอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งไมเ่ บียดเบียน ก่อใหเ้ กดิ สนั ตสิ ุขร่วมกัน ความสงบสุขของสังคมขนึ้ อยู่กับความสามารถของมนุษย์ในการแสดงความเมตตาต่อกัน กลา่ วโดยสรุป แนวคิดพน้ื ฐานมนษุ ยส์ ัมพันธน์ ้นั ผู้บรหิ ารจะต้องเข้าใจธรรมชาติของมนษุ ย์ในองคก์ ารก่อนว่า ทกุ คนมคี วามต้องการแตกต่างกนั พฤตกิ รรมของบุคคลนนั้ ตอ้ งมีสาเหตุ คนทกุ คนมคี ุณค่าและศักดศิ์ รี มคี วามเทา่ เทียมกนั การเข้าใจธรรมชาตขิ องมนุษย์จะทาใหส้ ามารถสร้าง มนุษยสัมพันธก์ บั ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาได้อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ องค์ประกอบสาคญั ของมนุษยสมั พันธ์ การทมี่ นษุ ยสมั พนั ธ์จะเกิดขนึ้ ได้น้ันตอ้ งมอี งค์ประกอบหลกั ๆ 3 ประการด้วยกัน นนั่ คือ 1. เข้าใจตนเอง : ทกุ คนตอ้ งรู้จักตัวเราเองให้มากที่สดุ รู้ว่าอะไรคือจุดอ่อน จดุ แข็ง ควรจะปรบั แก้จดุ ออ่ น อยา่ งไรให้ดขี ึน้ ควรจะใช้จุดแข็งของตนให้เปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งไร ข้อดี ขอ้ เสยี ของตนเองคืออะไร อะไรทจ่ี ะทาใหก้ าร ทางานไม่เกดิ ปญั หา อะไรที่เราโดดเด่นท่ีจะช่วยเพ่มิ ความสาเรจ็ ของงานได้ดี เมอื่ เรารจู้ กั ตนเองดอี ยา่ งถ่องแทแ้ ล้ว เรา ก็จะสามารถประเมนิ สถานการณต์ ่างๆ ได้อยา่ งเหมาะสมวา่ อะไรควรหรือไมค่ วรทา อะไรทเี่ กิดประโยชน์ อะไรทที่ า แล้วจะสร้างผลกระทบ เป็นต้น 2. เข้าใจผู้อื่น : เมอื่ เรารจู้ กั ตนเองอยา่ งดแี ล้วเรากค็ วรท่ีจะเรียนร้กู ารรูจ้ กั ผู้อน่ื ด้วยเช่นกัน การเรยี นรู้น้ยี งั หมายถึงการใส่ใจ ให้ความสาคัญระหวา่ งกัน รวมไปถึงการเคารพซ่งึ กันและกนั ดว้ ย การรู้จกั ความสามารถ จดุ ออ่ น จดุ

แขง็ ของผู้อ่ืน ทาใหเ้ ราสามารถปรบั ตัวในการทางานร่วมกนั ได้ดี หรือช่วยสนับสนนุ เกือ้ กูลกันได้ ชว่ ยอุดช่องโหว่ใหแ้ ก่ กนั ตลอดจนรู้ข้อบกพร่องทน่ี าไปส่กู ารชว่ ยกนั แก้ปญั หาได้ดี เปน็ ต้น 3. ยอมรบั ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล : เมื่อรูเ้ ขารูเ้ ราแล้ว ก็ควรท่จี ะเรยี นรคู้ วามแตกตา่ งระหว่างบุคคล ไมม่ ีใครในโลกน้ที ่ีเหมอื นกนั ทุกคนยอ่ มมีความคดิ เปน็ ของตวั เอง แต่ทกุ คนกต็ ้องเรียนรู้ทจี่ ะฟังความคิดเหน็ ของผอู้ ่นื และยอมรับในความแตกต่างระหว่างกนั การยอมรบั ความแตกต่างไม่ใชก่ ารทจ่ี ะตอ้ งปรับความคดิ ใหเ้ หมอื นกันหรือไป ในทิศทางเดยี วกันเสียหมด การเห็นตา่ งน้ันไมใ่ ชส่ ิง่ ผิด แตก่ ารยอมรบั ฟงั จะทาใหเ้ ราสามารถเหน็ ขอ้ มูลไดร้ อบด้านข้นึ วเิ คราะห์ไดห้ ลายมิติขน้ึ และอาจได้หนทางการแกป้ ญั หาทด่ี ีทส่ี ดุ กไ็ ด้ แล้วก็ต้องเข้าใจว่าความแตกตา่ งไม่ใชก่ ารแบ่ง พวกแบ่งฝั่งแบ่งฝา่ ย แต่เป็นการแสดงความคดิ เห็นทมี่ เี หตุผลคนละรปู แบบเห็นตา่ งได้ แต่กต็ อ้ งยอมรบั ความเหน็ ต่าง ระหว่างกนั และท้ายท่สี ดุ ตอ้ งยอมรับข้อสรุปสดุ ท้ายรว่ มกนั ใหไ้ ด้ เพ่ือทจี่ ะดาเนินรว่ มกนั ในทิศทางเดียวกนั คุณลกั ษณะของบุคคลท่ีมีมนษุ ยสมั พนั ธ์ทด่ี ี การอยูใ่ นองค์การทเี่ ปน็ ทร่ี วมของบุคลากรเปน็ จานวนมาก มีความแตกต่างในเรือ่ งบคุ ลกิ ภายนอกและ ภายใน อาจเป็นสาเหตุทาให้เกดิ ความขดั แย้ง เพราะสมาชิกทกุ คนมองตา่ งมมุ กนั มวี ิสัยทศั นไ์ ม่เหมอื นกัน การสรา้ ง บรรยากาศของมนุษยสัมพันธท์ ี่ดี จะเปน็ สายใยทพ่ี าทุกคนมาส่เู ส้นทางของไมตรจี ิต ความผกู พัน ความจงรกั ภักดี และ ร่วมมอื รว่ มใจกัน ผ้ทู มี่ ีมนษุ ยสมั พันธท์ ด่ี คี วรมคี ุณลกั ษณะดังนี้ 1. มีทา่ ทางทีดี (Handsome) เชน่ การเขา้ คน กรยิ ามารยาทเรียบร้อย พูดคยุ สนุกสนาน ทาให้ผคู้ บหาดว้ ย ก็มคี วามสบายใจ 2. มีบคุ ลกิ ภาพดี (Personality) หมายถึง รปู รา่ ง หน้าตา การแต่งตัว การเคลือ่ นไหว กรยิ าทา่ ทาง 3. มีความเป็นเพ่ือน (Friendliness) คือ เปน็ กนั เองกับบคุ คลอนื่ ๆ 4. มีความออ่ นน้อม (Modesty) รวมทง้ั กริยา มารยาทสภุ าพ พูดจาออ่ นนอ้ มถอ่ มตน 5. มีนา้ ใจชว่ ยเหลอื (Helpful) คือ เต็มใจช่วยเหลือผู้อ่นื โดยท้ังกาลังกาย กาลังความคิด เป็นตน้ 6. ให้ความร่วมมอื (Cooperation) คอื สามารถให้การช่วยเหลือในการทางานร่วมกับผูอ้ นื่ 7. มคี วามกรณุ า (Kindness) คอื มีน้าใจโอบอ้อมอารีแก่ผไู้ ด้รบั ความทกุ ข์ยาก 8. สร้างประโยชน์ (Contribution) ใหค้ วามชว่ ยเหลือกจิ การแก่คนโดยท่ัวไป โดยมิหวังประโยชนใ์ ดๆ 9. การสรา้ งสรรค์ (Constructive) หมายถึง ความคดิ และการกระทาทส่ี รา้ งสรรค์ ไมใ่ ช่เป็นคนท่คี อยคดิ 10. มอี ารมณ์ดี (Good Emotion) คอื มกี ารควบคมุ และใหอ้ ารมณ์ได้อยา่ งเหมาะสม 11. มคี วามกระตือรอื ร้น (Enthusiasm) คอื ความมีชีวิตจติ ใจไม่เชอ่ื งชา้ 12. มีความรบั ผิดชอบ (Responsibility) ต่อการทางาน คาพดู คามน่ั สัญญา รกั ษาเวลา มีความซือ่ ตรง เป็นตน้

13. มคี วามอดทน (Patient) คือ อดทนตอ่ ความเหน็ดเหนื่อย ความยากลาบาก อดทนตอ่ กรยิ าท่าทาง คาพดู ท่ีไม่สบอารมณ์ เป็นต้น 14. มีความขยัน (Diligent) คอื ขยนั ต่อการทางาน ภาระหน้าที่ ความรับผดิ ชอบ ไมเ่ ปน็ คนเกียจครา้ น 15. มีความพยายาม (Attempt) คือความพยามพากเพียรทจี่ ะฝกึ ฝนตนใหม้ ีคุณสมบัติทางมนษุ ยสมั พนั ธ์ พยายามปรบั ปรงุ ตนเองอยู่เสมอ พยายามแก้ไขปญั หา อุปสรรคต์ ่างๆ อนั จะเป็นหนทางนาไปสูก่ ารสรา้ งมนษุ ยสัมพนั ธ์ กบั คนอน่ื ๆได้ 16. มีปฏิภาณ (Intelligence) หมายถงึ การมไี หวพรบิ ในการสรา้ งบรรยากาศความสมั พนั ธ์กบั ผอู้ นื่ การ พดู คยุ การเสนอความคิดเห็นเป็นต้น จากคุณลักษณะของบุคคลทม่ี มี นษุ ยสมั พนั ธ์ท่ดี ีดงั ที่กลา่ วมาข้างต้น สามารถสรปุ ได้ว่า คนทจี่ ะมีมนุษย สัมพนั ธ์กับผอู้ ่ืนไดน้ นั้ จะตอ้ งมกี ารกระทาตวั ทีด่ เี ปน็ หลกั จะตอ้ งเปน็ คนทเ่ี ข้าหาผู้อ่ืน มคี วามเป็นมติ ร ยอมเสยี สละ ประโยชน์ส่วนตนเพ่ือประโยชนส์ ่วนร่วมเพอ่ื สรา้ งสงบความสุขใหเ้ กิดขน้ึ แกท่ ั้งสองฝา่ ยนนั้ เอง การสรา้ งมนุษยสมั พันธ์ในการทางาน การสรา้ งมนษุ ยสมั พันธก์ ับเพอื่ นรว่ มงานทกุ ฝ่ายเป็นส่งิ จาเปน็ สาหรบั ผู้บรหิ าร เพราะเป็นการจงู ใจให้ คนทางานรว่ มกนั เพ่ือใหง้ านดาเนนิ ไปด้วยดีและบงั เกดิ ผลสาเร็จ ทาให้ทกุ คนมคี วามสุขความสบายท่จี ะทางานด้วยกนั กอ่ นทจ่ี ะกลา่ วถงึ เทคนคิ การสร้างมนุษยสัมพันธก์ ับผ้รู ว่ มงาน ควรจะได้ทาความเขา้ ใจประเภทของผรู้ ว่ มงานเสยี ก่อน ดังนี้ ประเภทของผรู้ ว่ มงาน ในการบริหารงานทกุ หนว่ ยงาน ไม่ว่าจะเป็นกระทรวง ทบวง กรม องคก์ าร หรือรัฐวิสาหกจิ ตลอดจนบรษิ ทั เอกชน ซ่งึ เรียกรวมๆวา่ “องคก์ าร” หรือ “หนว่ ยงาน” ตั้งแตร่ ะดบั สูงสดุ จนถงึ ระดบั ตา่ สดุ ระดับสงู สดุ ก็จดั เป็นผู้บริหารหรือ ผู้อานวยการ ซึ่งเปน็ ฝา่ ยกาหนดนโยบายหรอื อวางแผน เพ่ือให้งานดาเนินไปสู่จดุ มงุ่ หมายทีต่ ง้ั ไว้ สว่ นผ้บู รหิ ารระดับ ลองลงไปก็จะเป็นผู้คอยควบคุมดูแลผปู้ ฏบิ ัติงานหรือคนงานในหนว่ ยงานท่ีตนรับผิดชอบใหป้ ฏิบตั งิ านให้สาเร็จลุลว่ ง ตามเปา้ หมายหรอื นโยบายท่วี างไว้ และผปู้ ฏิบัตงิ านหรอื คนงานกจ็ ะทางานท่ไี ดร้ บั มอบหมายให้เสร็จส้ินตามกาหนด บุคคลเหล่าน้ีในองค์การถือวา่ เปน็ ผรู้ ่วมงานกนั แมว้ ่าบางคนอาจจะทาหนา้ ท่เี ป็นหวั หน้าหรอื ผบู้ ังคบั บญั ชา บางคนจะ ทาหน้าท่ีเป็นลูกน้องหรอื ผใู้ ต้บงั คับบญั ชา กเ็ ปน็ เพยี งบทบาทหน้าท่ที ่ีถูกกาหนดขน้ึ ตามกฎ ระเบียบหรือโครงสรา้ ง ขององค์การ แต่ทกุ ฝา่ ยมคี วามสาคัญไมย่ ่งิ หย่อนกวา่ กนั บคุ ลากรในหนว่ ยงานหรือองค์การ จะมอี ยู่ 3 ประเภท คอื 4.1 ผู้บังคบั บัญชา หมายถงึ หวั หน้าหรอื ผู้บรหิ ารทกุ ระดับตัง้ แต่ระดับสูงสดุ ของหนว่ ยงานจนถงึ ผู้บรหิ าร ระดบั ลา่ งสุดของหนว่ ยงาน ผบู้ ังคบั บญั ชาจะมีลูกนอ้ งหรอื มีผู้ใต้บงั คับบัญชาทต่ี ้องดูแลรับผดิ ชอบ 4.2 ผใู้ ต้บงั คับบญั ชา หมายถึง ผูท้ ่อี ยูภ่ ายใตก้ ารดูแลบงั คบั บัญชาของหวั หนา้ หรือผู้บรหิ าร สว่ นใหญจ่ ะเป็น ผู้นอ้ ยหรือผู้ปฏบิ ัติงานหรือเป็นคนงานน่ันเอง อย่างไรก็ตามผู้ใต้บังคบั บัญชาบางคนอาจจะเปน็ ผ้บู ังคับบญั ชาดว้ ยก็ได้

ถา้ บุคคลผูน้ ั้นเป็นผ้บู ริหารระดบั กลาง กจ็ ะมีท้งั ผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้บังคบั บญั ชา และขณะเดยี วกนั กม็ ีลูกน้องที่ จะต้องควบคมุ ดูแลอีกดว้ ย 4.3 เพื่อนรว่ มงาน หมายถึง บุคคลทที่ างานในระดับเดียวกนั มีฐานะตาแหน่งหรอื หน้าทีก่ ารงานอย่าง เดียวกัน สาหรบั ในองคก์ ารหรือหน่วยงานทว่ั ไป หมายถงึ เจา้ หน้าที่ผปู้ ฏบิ ตั ิงานหรือคนงานท่ที างานในแผนกเดียวกัน และทางานเหมือนกนั น่นั เอง จากท่ไี ดก้ ลา่ วมาข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ในการทางานนน้ั ผ้บู ริหารหนว่ ยงานหรอื ผู้นาองคก์ ารจะต้องรู้ เทคนิควธิ ใี นการสรา้ งความสมั พันธก์ ับผรู้ ว่ มงานทุกคนทกุ ระดบั ต้ังแต่ผ้บู งั คบั บญั ชาระดบั สงู ผู้ใตบ้ ังคบั บญั ชาและ เพอื่ นร่วมงานโดยอาศยั การสร้างความสมั พันธ์เป็นรายบุคคลหรอื เปน็ กลุ่มก็เปน็ ได้ การสร้างมนุษยสัมพนั ธร์ ะหว่างผู้บงั คับบัญชากบั ผใู้ ตบ้ ังคบั บญั ชา ในฐานะทเ่ี ป็นผบู้ ังคับบญั ชา การมีมนุษยสัมพันธก์ ับผใู้ ตบ้ งั คับบัญชาเปน็ เรอ่ื งสาคัญ เพราะทาใหไ้ มต่ อ้ งทางานคน เดยี วอยา่ งโดดเด่ยี ว แตจ่ ะได้ผูร้ ่วมงานท่ีดีมีความรักและผูกพันกบั งาน มีความต้องการท่ีจะชว่ ยดาเนินงานให้ไปสู่ จดุ หมายปลายทาง ผลพลอยได้ทส่ี าคญั ก็คอื ทาให้เกดิ ความสามัคคขี ึน้ ในหมู่คณะและได้รับการยอมรับนับถือจาก ผใู้ ต้บังคบั บญั ชาอกี ดว้ ย (นพพงษ์ บญุ จติ ราดลุ ย , 2536) ไดร้ ะบุเก่ียวกับมนุษยสัมพันธ์ในทางการบรหิ ารและองค์ประกอบที่ เกยี่ วกับการสรา้ งมนุษย์สมั พนั ธไ์ ว้พอสรปุ ได้ดังน้ี มนษุ ยสมั พนั ธใ์ นทางบริหารสรา้ งข้ึนจากพน้ื ฐานของความนับถือซึ่งกันและกัน ท่ีม่นั คง มีไมตรีจิต ศรัทธา จรงิ ใจในศักดศิ์ รี และคุณค่าของมนุษยด์ ว้ ยกนั จึงต้องพัฒนาทักษะทีจ่ ะสมั พนั ธต์ นเองกบั บุคคลอน่ื ๆ กับสถานการณ์ ทางสงั คมทตี่ นอย่ไู ดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม องคป์ ระกอบที่เก่ียวพันกบั การสร้างมนุษยสมั พันธ์ในการทางาน มีขอควร พิจารณา ดงั น้ี 1. การสอื่ สาร หรอื การสอ่ื ความหมายที่ดี (Communication) การสอื่ สารเป็นการส่งข่าว 160 สาร ขอ้ เท็จจริงใหค้ นในหนว่ ยงานทราบความจริง ทราบความเคล่ือนไหวของงาน การสื่อสารทดี่ จี ะชว่ ยสรา้ งความเข้าใจ ความร่วมมอื และการประสานงานท่ีดีข้นึ ในหน่วยงานเกิดทัศนคตทิ ด่ี แี ละเป็นแรงกระตนุ จูงใจใหค้ นอยากทางาน ช่วย สรา้ งความสมั พันธท์ ี่ดีต่อกัน การใช้ภาษาท่าทางในการส่อื สารกนั ควรจะต้องเลือกใชใ้ ห้ถกู ใหเ้ หมาะกับคน สถานที่ บรรยากาศและเวลา เพื่อปอ้ งกนั การแปลความหมายผิดๆไป 2. การรับรู้ (Perception) การรบั ร้โู ดยบุคคลตา่ งกัน ย่อมเกดิ ผลแตกตา่ งกนั ถ้าภมู หิ ลังประสบการณ์ ความตอ้ งการ ความใกลช้ ดิ กับหนว่ ยงาน ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของคนในตาแหน่งต่างๆ กนั ย่อมก่อใหเ้ กดิ ขอ้ ขัดแย้งขึ้นได้ คนเรามกั จะเข้าขา่ งตนเองว่าดี ว่าถูกต้อง แตค่ นอน่ื อาจมองเราไปอกี ในแงอ่ น่ื ๆกไ็ ด้ โดยเฉพาะ บุคลกิ ภาพของคนก็เปน็ ส่วนหนง่ึ ที่ก่อใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ ในการรบั รู้ของคนอ่ืนๆกไ็ ด้ ดังนน้ั การรับรู้โดยการเขา้ ใจ พ้ืนฐานซงึ่ กันและกันก็จะช่วยลดความขดั แย้งกนั ได้มาก

3. การใช้อานาจโดยตาแหนง่ (Authority) อานาจโดยตาแหนง่ สว่ นใหญ่ หมายถงึ ผมู้ ีตาแหนง่ สูงกว่า จะ ใช้อานาจทางตาแหน่งกับบคุ คลทีอ่ ยูต่ า่ กวา่ พฤตกิ รรมการใช้ของแตล่ ะบุคคลทม่ี ีตาแหนง่ สูงจะมคี วามแตกต่างกัน บางคนใช้อานาจไปตามประเพณี บางคนใชด้ ้วยเหตุผล บางคนใชโ้ ดยอาศยั บคุ ลกิ ภาพสว่ นตัว การจะทางานใน หน่วยงานด้วยกนั ใหไ้ ด้ผลดจี ึงจาเปน็ ต้องมีความเขา้ ใจกนั ถึงอานาจหนา้ ท่ี มกี ารอธิบายชีแ้ จงให้เกดิ การยอมรบั นับถือ ในอานาจนน้ั และไม่ยอมรบั ในพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกของผู้ใช้อานาจเกนิ ขอบเขตการใช้อานาจทีผ่ ดิ พลาดย่อมเปน็ อันตรายตอ่ ความสมั พนั ธข์ องคนทจี่ ะทางานรวมกันได้ 4. ภาวะผ้นู า (Leadership) เป็นองคป์ ระกอบอกี แบบหนึ่ง ทมี่ ีผลกระทบตอ่ การปฏบิ ัติงานร่วมกันของ บคุ ลากร ผู้นา คือผ้ทู ี่มอี ทิ ธิพลต่อการทางานของบคุ ลากรในหนว่ ยงาน จะต้องรักษาเป้าหมายและวตั ถุประสงคข์ อง หน่วยงาน อานวยความสะดวกในการใหบ้ คุ ลากรมีปฏิสมั พนั ธก์ นั และรกั ษาความสามคั คกี ลมเกลียวของบุคคลใน หน่วยงาน ผนู้ าจะเปน็ ผู้ชแ้ี นะบงั คับบัญชาและสอ่ื สารงานใหค้ นไดม้ ีความเข้าใจในแผนงาน วิธีการปฏบิ ตั งิ านแสวงหา ความรว่ มมอื และตีความหมายบทบาทของแต่ละคนใหเ้ ข้าใจความสาเร็จของงานขึน้ อย่กู บั ความสามารถและรูปแบบ ของความเป็นผนู้ าการตัดสนิ ใจ ผู้นามอี ทิ ธิพลตอ่ การปฏิบัตงิ านของบคุ คลในหนว่ ยงาน การร้จู ักใช้สิ่งจูงใจเป็น เครอื่ งกระตุน้ ในการทางานของผู้ใตบ้ ังคับบญั ชาเป็นเทคนิคอย่างหน่ึงที่ผู้นาจะตอ้ งศกึ ษาและจะตอ้ งเลือกใช้ใหเ้ หมาะ กับคน 5. การจงู ใจ (Motivation) สิ่งจงู ใจมอี ทิ ธิพลต่อการทางานของบคุ คลและสิ่งจูงใจที่จะใหก้ บั คนแตล่ ะคนน้นั อาจมีความแตกต่างกันไป ความตอ้ งการและลกั ษณะประเภทของบุคคล สง่ิ จงู ใจอาจจะเปน็ ในดา้ นวตั ถุ ได้แก่ เงนิ ส่ิงของ เป็นโอกาสในการทางานใหญ่ๆ สภาพทางกาย อันเป็นสง่ิ ทีพ่ ่งึ ปรารถนาบรรยากาศแหง่ ความเป็นมติ ร งานท่ที ้า ทายให้อยากทา สง่ิ เหลา่ นีจ้ ะตอ้ งมีการศกึ ษาและสารวจลักษณะบคุ ลิกของแตล่ ะคนทร่ี ่วมกันทางานและนามากระตุ้น มอบให้แตล่ ะคนตามความต้องการ บคุ ลากรทที่ างานร่วมกันก็ควรศกึ ษาให้เข้าใจและรู้จกั เสยี สละและเลอื กใชก้ บั เพือ่ นรว่ มงานของตน เพอ่ื ก่อใหเ้ กดิ บรรยากาศของการทางานร่วมกนั ใหไ้ ด้ 6. การบารงุ ขวัญ (Morale) เปน็ การแสดงออกทางสภาวะจติ ใจ หรอื ความรู้สกึ ทศั นคตขิ องคนใน หนว่ ยงานท่ีมีตอ่ งาน ตอ่ บุคคล หรอื เพอ่ื นรว่ มงาน ต่อองคก์ ารที่ตนปฏบิ ัตงิ านอยู่ ตอ่ ความสาเร็จตามความมงุ่ หมาย ขององคก์ าร ต่อความเชือ่ ม่นั ในตวั ผู้นาขวัญของคนในหนว่ ยงานจงึ เปน็ สง่ิ จาเป็นทจ่ี ะต้องตรวจสอบอยเู่ สมอ ขวญั ใน หน่วยงานจะมองได้จากทศั นคติของคนทีม่ ตี ่อหน่วยงานความกระตือรอื ร้นของคนทางาน ความสามคั คกี ลมเกลียวของ คนในหน่วยงาน การมีส่วนร่วมช่วยเหลือในกจิ กรรมตา่ งๆที่มีขนึ้ ในหนว่ ยงาน ดงั นน้ั ในหนว่ ยงานจึงมีความจาเป็น จะต้องมีการบารุงขวัญเพื่อให้คนทางานร่วมกันด้วยดแี ละทางานให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ของหน่วยงาน ( เพญ็ นภา สังขส์ ุวรรณ (2547, 29 - 30) มนษุ ยสมั พนั ธ์เป็นพืน้ ฐานของการทากิจกรรมร่วมกันของมนุษย์ มนุษยสมั พันธเ์ ร่ิมต้นจากการท่ีบุคคลเห็นความจาเปน็ ทตี่ อ้ งพ่งึ พาซึง่ กนั และกัน และเร่มิ สร้างมนุษยสัมพันธ์ดว้ ยการ สารวจหรอื ประเมินตนเองและปรบั ปรุงตนเอง การเสริมสร้างสมั พันธภาพทดี่ ีระหว่างบุคคลจาเปน็ ต้องทราบและทา ความเข้าใจให้ถ่องแท้ในบคุ คล สองฝา่ ยคอื ผูอ้ ่ืนและตัวเราการวัดและประเมินมนษุ ยสมั พันธ์เป็นการศกึ ษาเกยี่ วกับ

กลุ่มคนเพ่อื ใหไ้ ด้ ข้อมูลทจ่ี ะนาไปใช้ในการปรบั ปรงุ หรอื เปล่ยี นแปลงทศั นคติและพฤตกิ รรมของคนอันจะเป็น ประโยชนใ์ นด้านการเสริมสร้างความสมั พนั ธ์ และการปรับปรงุ การทางานของกลุ่มใหม้ ีประสทิ ธิภาพยงิ่ ขน้ึ มนุษย สัมพันธเ์ ป็น คณุ ลักษณะทส่ี าคัญสาหรบั ผทู้ เี่ กย่ี วของกบั บุคคลอ่นื ๆ การพัฒนาตนเองเกี่ยวกบั มนุษยสัมพันธ์มี 2 ลักษณะ คือ การพฒั นาลักษณะทแี่ สดงออกภายนอก เช่น การยม้ิ แยม้ การทกั ทายผูอ้ นื่ การแต่งกาย กิรยิ ามารยาท ต่างๆ เป็นตน้ และการพฒั นาด้านจติ เช่น การรูจ้ กั เคารพในสทิ ธิของผ้อู ่นื การมคี วามจรงิ ใจ เป็นต้น มนุษยสมั พนั ธ์จึง ควรเกิดจากระดับสภาพหรือสภาวะของจติ ใจท่ีพร้อมท่จี ะปรบั ปรงุ ตนเองโดยมคี วามเข้าใจตนเองและผอู้ ่นื สามารถท่ี จะตอบสนองในเรอ่ื งความแตกต่างระหว่างบคุ คลและความต้องการของบคุ คลอ่ืน ซ่งึ จะทาให้เกิดการติดต่อสัมพันธ์ ดว้ ยความพอใจท่ามกลางบรรยากาศของความเข้าใจซง่ึ กนั และกนั ดังนนั้ มนษุ ยสัมพันธจ์ งึ เปน็ เรื่องของการสร้างความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลต่อบคุ คล ระหว่างบคุ คลต่อกลมุ่ ให้ มปี ระสทิ ธภิ าพในการอยรู่ ว่ มกนั ดว้ ยความพอใจของทกุ ฝ่าย สรปุ การสรา้ งมนษุ ยสัมพนั ธท์ ดี่ ี คือ 1. การให้ความรัก ความปรารถนาดีต่อผู้อ่นื 2. การให้ความจรงิ ใจ ความสนใจตอ่ ผอู้ นื่ 3. การใหก้ ารยกย่องและใหเ้ กียรติ ใหค้ วามเคารพตอ่ ผู้อื่น 4. การให้อภัย ใหค้ วามร้ใู ห้ความคดิ ให้สติตอ่ ผู้อืน่ 5. การให้น้าใจ และความจรงิ ใจ การใหค้ วามดีตอ่ ผู้อ่นื 6. การใหม้ ิตรภาพ และการให้บริการผูอ้ ื่น 7. การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตามควรแกผ่ ู้อืน่ 8. การใหค้ วามเป็นธรรมแก่ผ้อู ืน่ 9. การใหโ้ อกาส ให้ขวัญ และให้กาลังใจ ให้การชมเชย ให้การสนับสนุนแกผ่ ้อู น่ื 10. การให้การยม้ิ แยมแจ่มใสตอ่ กันให้ การทกั ทายทีด่ ี การวดั และประเมนิ มนุษยสมั พันธ์ ความสาคญั และประโยชนข์ องการมมี นุษยสมั พนั ธ์ มนุษย์สัมพันธ์เปน็ เร่ืองเกีย่ วกบั การติดตอ่ ระหวา่ งบุคคลตง้ั แต่ 2 คนขน้ึ ไป ฉะนน้ั ในชวี ติ ประจาวนั ของทุกๆ คน จาตอ้ งใช้มนุษยสมั พันธ์เพราะมนุษยสัมพันธ์เปน็ สอ่ื เชอื่ มความรกั ความเข้าใจอนั ดตี ่อกัน เพื่อใหม้ นษุ ยสัมพนั ธ์อยู่ ร่วมกันอยา่ งเปน็ สขุ ไดร้ บั ความสาเร็จในการทางานรว่ มกบั บุคคลอ่ืน ขจดั ปญั หาขดั แย้งด้วยสันติวิธี มนุษยสัมพนั ธ์เปน็ สง่ิ ท่ีมีความสาคญั มาก ทัง้ ในการดาเนนิ ชวี ิตประจาวันและการปฏิบัตงิ าน เพราะคนเราไม่สามารถจะอยโู่ ดยลาพังคน เดียวได้ ต้องติดต่อกบั คนอ่นื ทกุ ระยะเวลาตลอดชีวิต

ดงั นั้น การท่จี ะสามารถดาเนินชีวติ อยูใ่ นสังคมไดอ้ ยา่ งเปน็ สขุ นั้น จาเปน็ จะต้องมมี นษุ ยสมั พันธท์ ่ดี ดี ว้ ย ส่วน ในการปฏิบตั งิ านนั้น มนุษยสมั พนั ธก์ ็มีความสาคญั และจาเปน็ สาหรับทกุ คน โดยเฉพาะอย่างยง่ิ บุคคลทเี่ ป็นหวั หน้า หนว่ ยงาน หรือผูบ้ ริหาร เพราะหัวหน้าหนว่ ยงานหรอื ผ้บู รหิ ารจาเปน็ จะต้องอาศัยความรว่ มมือรว่ มใจจากเพือ่ น ร่วมงาน หรือบุคคลอน่ื จึงจะสามารถบริหารงานใหบ้ รรลุเปา้ หมายอย่างมีประสิทธิภาพได้ ซงึ่ มนุษยสัมพันธ์กจ็ ะช่วย ได้เปน็ อยา่ งดียงิ่ ในปจั จบุ ันน้ีการบรหิ ารงานโดยการใช้อานาจ โดยไม่คานงึ ถึงจติ ใจของผู้ทางานนั้น แม้จะเปน็ ผลดใี น บางครงั้ กถ็ ือวา่ เป็นสงิ่ ลา้ สมัยไมน่ ยิ มปฏบิ ตั ิกนั (วิทยา เทพยา, 2542,) ดงั นัน้ นักบริหารทปี่ รารถนาความสาเร็จในการบริหารงาน จึงจาเปน็ ตอ้ งมมี นษุ ยสัมพันธ์กบั เพอ่ื นร่วมงาน นักบรหิ ารหรือหวั หน้างานจะต้องตระหนกั ว่า มนุษยสัมพันธเ์ ป็นปจั จัยท่สี าคัญยงิ่ ต่อความสาเร็จของงานทีต่ น รับผดิ ชอบอยู่ รวมทงั้ มนษุ ยสัมพนั ธ์จะเป็นเครอื่ งมือท่ชี ่วยสรา้ งน้าใจในการทางานให้บุคคลทางานให้ด้วยความเต็มใจ ให้เกดิ ความสามคั คีร่วมแรงร่วมใจ กอ่ ใหเ้ กิดพลังอย่างมหาศาล อาจกลา่ วได้วา่ มนุษยสัมพันธเ์ ปรยี บเสมือน “นา้ ” อนั เปน็ เครือ่ งเสรมิ สร้างให้ อิฐ กรวด ทราย เหลก็ หนิ เกาะตัวกันเปน็ กาแพงได้ฉนั ใด “นา้ ใจ” ก็ยอมเป็นเครอื่ งเช่อื มโยง มนษุ ยท์ ้ังหลายให้เขา้ กนั ได้ เห็นอกเห็นใจกนั ร่วมมอื กันด้วยดี ฉะนนั้ มนษุ ยสมั พันธ์ จะชว่ ยกระต้นุ ใหบ้ ุคคลทางาน ช่วยปลดปลอ่ ยและชกั นาแรงขับดันภายในซ่ึงทกุ คนมอี ย่แู ลว้ อย่างมหาศาล นอกจากทักษะด้านมนุษยสมั พนั ธ์เป็นสิง่ จาเปน็ สาหรบั ผ้บู รหิ ารแลว้ ยังก่อให้เกดิ ประโยชน์หลายประการ ดังท่ีนกั การศึกษาหลายท่านไดก้ ลา่ วไว้ ดงั นี้ สมพร สุทศั นีย์ (2544, 24) สรุปว่า ผบู้ รหิ ารท่มี มี นุษยสัมพันธ์จะก่อให้เกิดประโยชนไ์ ด้อยา่ งมากใน องคก์ าร ดงั นี้ 1. ทาใหเ้ ข้าใจธรรมชาติด้านต่างๆ ของมนุษย์ 2. ทาให้เขา้ ใจความตอ้ งการพน้ื ฐานของมนษุ ย์และสามารถสนองความตอ้ งการพืน้ ฐานท่เี หมอื นกันและ แตกตา่ งกันได้ 3. ทาใหเ้ กดิ ความราบร่นื ในการคบหาสมาคมกบั คนอื่น 4. ทาใหเ้ กดิ ความรักใคร เชื่อถอื ศรทั ธา จากบุคคลในองค์การ และสังคมได้ 5. ทาให้เกดิ ความรว่ มมือรว่ มใจในการทางานให้บรรลเุ ป้าหมายได้ 6. ชว่ ยลดปัญหาความขดั แย้งในการทางาน 7. ทาให้เกิดความรู้จกั คนุ้ เคย ยอมรบั นบั ถือกนั ในหมู่สมาชิก ซงึ่ เป็นจดุ เรม่ิ ต้นของพลังกลมุ่ และชว่ ยใหก้ ารคบ หาสมาคมเปน็ ไปโดยราบรนื่ 8. ทาใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจอนั ดแี ละอยรู่ ว่ มกนั ไดด้ ว้ ยความสามคั คี

9. ทาใหบ้ รรยากาศในการทางานราบรื่น สามารถรว่ มงานกนั ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ทาใหก้ ารตดิ ตอ่ สื่อสาร ถงึ กันงา่ ยและเปน็ ผลดี 10. ทาใหเ้ กดิ ความรู้สกึ เป็นพวกเดยี วกัน และใหค้ วามร่วมมือในการทางานและทาให้ปญั หาความขัดแยง้ ลด น้อยลง บรหิ ารงานได้ง่ายข้ึน 11. รจู้ ักอภยั และชนะใจผอู้ ื่น สรา้ งความแชม่ ช่ืนในการทางานรว่ มกันอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ไดร้ ับผลตอบแทน ทงั้ ทางด้านเศรษฐกิจและจิตใจคนในสงั คม 12. เปน็ การสร้างความมงั่ คั่งและมน่ั คงให้แก่สังคม และการทาใหม้ คี วามสามัคคี ความสมั พนั ธ์อันดใี นกล่มุ ของบุคคลก่อใหเ้ กิดสามัคคีธรรมและความรว่ มมอื รว่ มใจในการทางานของหมคู่ ณะ

สรปุ องค์กร คือ สงั คมรปู แบบหนง่ึ ของมนษุ ย์ การทมี่ นุษย์จะอย่ใู นสังคมน้นั ไดอ้ ย่างมีความสขุ กต็ ้องอาศัยการมี มนษุ ยสัมพันธท์ ีด่ ีระหวา่ งกันดว้ ย องคก์ รในยุคปจั จุบันจงึ หนั มาใหค้ วามสาคัญและใสใ่ จในการสรา้ งมนุษยสมั พนั ธ์ที่ดี มากขึ้นเรอ่ื ยๆ ถงึ แม้ว่าสง่ิ เหลา่ นจี้ ะไม่ได้เก่ยี วข้องโดยตรงอะไรกบั การทางาน แตม่ นุษยสัมพันธท์ ่ีดนี ก้ี ลบั กลายเป็นตัว ชว่ ยสาคัญทีส่ ามารถทาให้องคก์ รประสบความสาเรจ็ ได้งดงามอย่างไม่นา่ เช่อื ทเี ดียว และทายทสี่ ุดองค์กรทีป่ ระกอบไป ดว้ ยคนทีม่ ีมนษุ ยสัมพันธ์ดมี าทางานร่วมกนั ยอ่ มทาให้สังคมการทางานน้ันๆ เกดิ ความสขุ เมอ่ื คนมคี วามสขุ ก็ยอ่ มทา ใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพในการทางานท่ดี ขี ึน้ สรา้ งผลผลติ ทม่ี ีประสทิ ธผิ ลขึ้น และทาใหอ้ งคก์ รมีศกั ยภาพเพม่ิ ข้ึนด้วย เม่ือ องค์กรมศี กั ยภาพแล้วกย็ ่อมทาให้บคุ ลากรเกดิ ความภักดีตอ่ งานและองค์กร ในขณะเดยี วกันก็เป็นเสมอื นแม่เหลก็ ดงึ ดดู คนท่มี ีศักยภาพใหอ้ ยากมารว่ มงานกบั องค์กรเพมิ่ มากข้นึ ไดอ้ ีกด้วย

เอกสารอ้างองิ www.g-tech.ac.th https://hcm-jinjer.com

คาถามทา้ ยบท 1. ขอ้ ใดคือความหมายมนุษยสมั พนั ธใ์ นองคก์ าร ก. การรวมกลุม่ คนใหท้ างานรว่ มกนั ในลักษณะทีม่ งุ่ เนน้ ใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื รว่ มใจกนั เพอ่ื ให้งาน บรรลุเป้าหมายตามทไี่ ด้ตงั้ ไว้ ข. กระบวนการจูงใจคนให้ทางานรว่ มกนั อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีความพอใจเป็นพืน้ ฐาน ค. กระบวนการประพฤติปฏิบตั ติ นทง้ั ทางรา่ งกาย จิตใจ และการกระทาของตนท่กี ระทาตอ่ บุคคล อนื่ ให้สามารถครองใจเขาได้ ง. ถกู ทุกข้อ 2. ข้อใดคอื แนวคิดพ้ืนฐานเกี่ยวกบั มนุษยสมั พันธ์ ก. แนวคิดในเรือ่ งธรรมชาตขิ องมนุษย์ ข. แนวคดิ ในเรือ่ งลกั ษณะของสงั คมไทย ค. แนวคิดในเรื่องธรรมชาติขององค์การ ง. ถกู ทุกข้อ 3. ขอ้ ใดคือองค์ประกอบสาคญั ของมนุษยสัมพันธ์ ก. เข้าใจตนเอง ข. เข้าใจผ้อู ่ืน ค. ยอมรับความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล ง. ถกู ทุกข้อ 4. การสรา้ งมนุษยสัมพันธ์ในการทางาน มีขอควรพิจารณา อะไรบ้าง ก. ภาวะผู้นา ข. องค์กร ค. หนว่ ยงาน ง. ความกดดัน

5. ขอ้ ใดคอื ความหมายผ้บู งั คับบัญชาทถี่ ูกตอ้ งทสี่ ดุ ก. หัวหนา้ หรอื ผูบ้ รหิ ารทุกระดับต้งั แต่ระดบั ล่างของหนว่ ยงานจนถึงผู้บรหิ ารระดบั บนสดุ ขององคก์ ร หน่วยงาน ข. ผูน้ า ค. หวั หนา้ หรือผ้บู ริหารทกุ ระดบั ตงั้ แต่ระดบั สูงสุดของหน่วยงานจนถึงผู้บรหิ ารระดบั ล่างสดุ ของ หนว่ ยงาน ผู้บังคับบัญชาจะมลี กู นอ้ งหรอื มผี ้ใู ต้บังคบั บัญชาท่ีต้องดแู ลรับผิดชอบ ง. ผ้ทู ี่อย่ภู ายใต้การดูแลบงั คับบญั ชาของหัวหน้าหรือผู้บรหิ าร ส่วนใหญ่จะเป็นผ้นู ้อยหรอื ผู้ปฏบิ ัติงานหรือเป็นคนงานนั่นเอง 6. ข้อใดคือความหมายผใู้ ต้บังคบั บัญชาทีถ่ กู ต้องทสี่ ุด ก. หวั หน้าหรือผบู้ ริหารทุกระดับตั้งแตร่ ะดับล่างของหน่วยงานจนถึงผบู้ รหิ ารระดบั บนสุดของ องคก์ รหน่วยงาน ข. ผูน้ า ค. หวั หน้าหรือผบู้ รหิ ารทกุ ระดับตง้ั แตร่ ะดบั สูงสดุ ของหน่วยงานจนถึงผบู้ รหิ ารระดบั ล่างสดุ ของ หน่วยงาน ผบู้ ังคับบัญชาจะมลี ูกน้องหรอื มีผใู้ ต้บังคับบัญชาทีต่ ้องดูแลรับผิดชอบ ง. ผทู้ ีอ่ ยู่ภายใต้การดแู ลบงั คับบัญชาของหวั หน้าหรือผู้บริหาร สว่ นใหญ่จะเป็นผนู้ ้อยหรอื ผปู้ ฏบิ ัติงานหรือเปน็ คนงานนนั่ เอง 7. ข้อใดคอื ภาวะผูน้ า ก. Perception ข. Leadership ค. Motivation ง. Morale 8. คุณลกั ษณะที่สาคญั สาหรบั ผู้ที่เก่ยี วของกับบคุ คลอน่ื ๆ การพัฒนาตนเองเกย่ี วกบั มนุษยสัมพนั ธ์มีอะไรบ้าง ก. การพฒั นาลักษณะท่ีแสดงออกภายนอก ข. การพัฒนาลักษณะทแ่ี สดงออกภายใน ค. การพฒั นาด้านจติ ใจ ง. ขอ้ ก. และข้อ ค. ถกู

9. ข้อใดคอื ความหมายการจูงใจ (Motivation) ก. สงั คมรูปแบบหนง่ึ ของมนุษย์ การท่ีมนุษยจ์ ะอยู่ในสงั คมนัน้ ได้อยา่ งมคี วามสขุ กต็ อ้ งอาศัยการมี มนษุ ยสัมพันธท์ ด่ี ีระหวา่ งกันดว้ ย ข. บคุ คลท่ีทางานในระดับเดยี วกัน มีฐานะตาแหนง่ หรือหน้าท่กี ารงานอยา่ งเดยี วกัน สาหรับใน องคก์ ารหรอื หน่วยงานท่วั ไป ค. ส่งิ จูงใจมอี ิทธิพลต่อการทางานของบคุ คลและส่ิงจูงใจที่จะใหก้ ับคนแต่ละคนน้ันอาจมีความ แตกตา่ งกันไป ความต้องการและลกั ษณะประเภทของบคุ คล ส่งิ จงู ใจอาจจะเปน็ ในดา้ นวตั ถุ ได้แก่ เงนิ ส่งิ ของ ง. ผูท้ ีอ่ ยู่ภายใตก้ ารดแู ลบังคับบัญชาของหัวหนา้ หรือผ้บู รหิ าร สว่ นใหญ่จะเป็นผนู้ อ้ ยหรอื ผ้ปู ฏิบัติงานหรอื เปน็ คนงานน่ันเอง 10. ผู้ทีม่ มี นุษยสัมพนั ธท์ ่ีดีควรมคี ณุ ลกั ษณะอยา่ งไรบา้ ง ก. มที า่ ทางทีดี (Handsome) ข. มีความรบั ผิดชอบ (Responsibility) (Handsome) ค. มกี ารใชอ้ านาจโดยตาแหนง่ (Authority) ง. ขอ้ ก. และขอ้ ข. ถูก

คาตอบ 1. ตอบ ง. ถูกทกุ ขอ้ 2. ตอบ ง. ถกู ทกุ ขอ้ 3. ตอบ ง. ถกู ทกุ ข้อ 4. ตอบ ก. ภาวะผนู้ า 5. ตอบ ค. หวั หนา้ หรอื ผ้บู ริหารทุกระดับตง้ั แต่ระดับสูงสุดของหนว่ ยงานจนถงึ ผ้บู รหิ ารระดบั ลา่ งสดุ ของ หน่วยงาน ผบู้ ังคับบญั ชาจะมลี กู น้องหรอื มผี ใู้ ตบ้ งั คบั บัญชาที่ตอ้ งดแู ลรบั ผิดชอบ 6. ตอบ ง. ผู้ทีอ่ ยู่ภายใต้การดูแลบงั คบั บัญชาของหวั หนา้ หรอื ผู้บรหิ าร ส่วนใหญ่จะเปน็ ผนู้ อ้ ยหรอื ผปู้ ฏบิ ัติงานหรอื เปน็ คนงานนั่นเอง 7. ตอบ ข. Leadership 8. ตอบ ง. ข้อ ก. และข้อ ค. ถกู 9. ตอบ ค. สงิ่ จงู ใจมีอทิ ธพิ ลต่อการทางานของบคุ คลและส่งิ จูงใจที่จะให้กบั คนแต่ละคนน้ันอาจมคี วาม แตกตา่ งกันไป ความต้องการและลกั ษณะประเภทของบคุ คล สง่ิ จูงใจอาจจะเป็นในด้านวตั ถุ ได้แก่ เงนิ ส่งิ ของ 10. ตอบ ง. ข้อ ก. และข้อ ข. ถูก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook