Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปผลการดำเนินงานโครงการจิตอาสา ร่วมใจพัฒนาป่าชุมชน

สรุปผลการดำเนินงานโครงการจิตอาสา ร่วมใจพัฒนาป่าชุมชน

Published by wannipa6803, 2022-07-26 09:04:01

Description: สรุปผลการดำเนินงานโครงการจิตอาสา ร่วมใจพัฒนาป่าชุมชน ปีงบประมาณ 2565

Search

Read the Text Version

สรุปผลการดาเนินงาน โครงการจิตอาสา ร่วมใจพัฒนาป่าชุมชน ประจาปีงบประมาณ 2565 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอโชคชัย สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จงั หวดั นครราชสีมา

คำนำ ก เอกสารสรุปผลโครงการเล่มน้ี จัดทาขึ้นเพื่อสรุปผลการดาเนินงานปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ จากการจัดกิจกรรมในโครงการจิตอาสา ร่วมใจพฒั นาป่าชมุ ชน ของ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอโชคชัย เพอ่ื เป็นข้อมูลสาหรับใชใ้ นการพัฒนาการดาเนนิ งานในคร้ังต่อไป คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารเล่มน้ี จะเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม และพฒั นา งานการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง อืน่ ๆ ต่อไป กศน.อาเภอโชคชัย กรกฎาคม 2565

สำรบญั ข คำนำ หนำ้ สำรบัญ บทท่ี 1 บทนำ ก ข  หลักการและเหตผุ ล 1  วตั ถปุ ระสงค์ 1  เป้าหมาย 1  ผู้รับผดิ ชอบโครงการ 1  เครือขา่ ยทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 2  ผลลพั ธ์ (Outcome) 2  ดัชนชี ี้วัดผลของโครงการ 2  การตดิ ตามและประเมนิ ผล 2 บทที่ 2 เอกสำรกำรศกึ ษำและงำนวจิ ยั ท่ีเก่ยี วขอ้ ง 2  ความหมายของจติ อาสา 4  ความหมายของการอนุรกั ษ์ส่งิ แวดลอ้ ม 4  หลกั การและวธิ ีการอนรุ กั ษ์สงิ่ แวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติ 5  แนวทางอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม 5 บทท่ี 3 วิธีกำรดำเนนิ งำน 6 บทที่ 4 ผลกำรวิเครำะห์ขอ้ มลู 9 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรำยผล และขอ้ เสนอแนะ 12 บรรณนกุ รม 18 ภำคผนวก  ภาพกิจกรรม  รายช่อื ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการจิตอาสา ร่วมใจพฒั นาปา่ ชมุ ชน  ตารางวเิ คราะหข์ อ้ มลู โครงการจิตอาสา รว่ มใจพฒั นาป่าชุมชน โดยใช้โปรแกรม Google sheet  แบบประเมินโครงการจติ อาสา รว่ มใจพัฒนาป่าชมุ ชน  โครงการจติ อาสา รว่ มใจพัฒนาปา่ ชุมชน ผู้จดั ทำ ข

บทที่ 1 บทนำ หลกั กำรและเหตผุ ล เนื่องจากปัจจุบันน้ีความเจริญทางด้านวัตถุได้เพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็ว ทาให้สังคมเกิดค่านิยมที่ให้ ความสาคัญกับอานาจเงินทองมากกว่าท่ีจะให้ความสาคัญกับจิตใจและละเลยการปฏิบัติหน้าที่ท่ีเป็นจิตสาธารณะ ส่งผลให้สังคมเกิดความเสื่อมโทรม การปลูกจิตสานึกด้านจิตสาธารณะหรือจิตอาสา คือการปลูกฝังจิตใจให้ ประชาชนมีความรบั ผิดชอบต่อตนเองและสังคม เป็นการสร้างคุณธรรม จริยธรรมให้ ประชาชน รู้จักเสียสละ ร่วม แรงรว่ มใจและร่วมมือในการทากิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์เพื่อส่วนรวมหรือกิจกรรมที่ช่วยลดปัญหาที่เกิดข้ึนในสังคม เพื่อพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตและสร้างประโยชน์สุขของคนในสงั คมร่วมกนั การปลกู จติ สานึกด้านจติ สาธารณะ หรือ การสร้างจิตอาสาเพ่ือพัฒนาชุมชนจะมีส่วนสาคัญที่จะทาให้ ประชาชน ได้พัฒนาสติปัญญา ร่างกาย อารมณ์และ สังคม จะเป็นประโยชน์แก่ตนเองและชุมชน เช่น กิจกรรม การทาความสะอาดพ้ืนที่ต่าง ๆ ภายในบริเวณศาลา ประชาคมหมู่บ้าน ป่าชุมชน และทรัพยากร ส่ิงแวดล้อมในชุมชน การปลูกผักสวนครัวในชุมชน เป็นการปรับ กระบวนทัศน์การใช้ชีวิตแบบพ่ึงพาตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กับประชาชน รับมือกับวิกฤต เศรษฐกิจให้กับคนในพ้ืนที่ จากสถานการณ์โควิด-19 หากเราสามารถพ่ึงพาตนเองได้จากการมีอาหารเพียงพอใน ครัวเรอื น ส่วนทเี่ หลอื สร้างรายได้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโชคชัย ได้นานโยบายสู่การปฏิบัติ โดยวางแผนรว่ มกับผู้นาชุมชน องค์กรนักศึกษา คณะกรรมการ กศน.ตาบล และจิตอาสา กศน.อาเภอโชคชัย เพื่อ สนองนโยบาย ดังกล่าว จึงจัดโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาป่าชุมชน เพ่ือคนในชุมชนควรที่จะช่วยกันดูแล และสภาพแวดลอ้ มในชุมชนให้มคี วามสะอาด รม่ รนื่ น่าอยู่ น่ามอง นา่ อาศัย กจิ กรรมโครงการนีส้ ามารถสร้างความสมั พนั ธ์ของคนในชมุ ชนให้ร่วมแรงร่วมใจ ชว่ ยกนั พัฒนา บ้านเกดิ และอยู่ในสังคมอยา่ งมคี วามสุขเพื่อสนองนโยบาย ดังกล่าวจึงจัดโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาป่าชุมชน ให้กลับมามสี ภาพแวดลอ้ มทดี่ ี วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือสรา้ งจิตสานกึ ใหป้ ระชาชนเกิดความรัก ความสามคั คี ในชุมชนและพฒั นาชุมชนให้มี สภาพแวดลอ้ มท่ดี ี เป้ำหมำย เชงิ ปรมิ ำณ ประชาชนทวั่ ไป จาก 10 ตาบล ของเขตพ้ืนท่ีอาเภอโชคชัย จงั หวัดนครราชสีมา จานวน 30 คน เชิงคุณภำพ ประชาชนท่ัวไป จาก 10 ตาบล ของเขตพ้ืนที่อาเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา ท่ีเข้าร่วม โครงการฯ ร้อยละ 100 มีส่วนรว่ มในการพัฒนาป่าชมุ ชน และเกิดความรัก ความสามัคคีของคนในชุมชน และทา ให้ชุมชนสะอาด นา่ อยู่ น่าอาศยั สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการจิตอาสา รว่ มใจ พัฒนาป่าชุมชน ปงี บประมาณ 2565 1

ผรู้ บั ผิดชอบโครงกำร มโี ชค ครู กศน.ตาบล 1.นายสาคร สทิ ธเิ จริญยศ ครู กศน.ตาบล 2. นางสาววรรณนภิ า ขาวงาม ครู กศน.ตาบล 3. นางปราณตี ปรือทอง ครู กศน.ตาบล 4. นางสาววพรรณี เจียร์สุคนธ์ ครู กศน.ตาบล 5. นายดนุพล สาสังข์ ครู กศน.ตาบล 6. นายนตรี นกกระโทก ครู กศน.ตาบล 7. นางนุธี ทาสภี ู ครู กศน.ตาบล 8. นางลาเพยี ร เพราะกระโทก ครู กศน.ตาบล 9. นายเชาวฤทธ์ิ ซ่ึงพรหม ครู กศน.ตาบล 10.นายวตั ชรพล ม่งุ ภกู่ ลาง ครู อาสาสมัคร กศน. 11. นายสมชาย เครือขำ่ ย 1. เทศบาลตาบลทา่ เยยี่ ม 2. ผู้นาชุมชนตาบลทา่ เย่ียม 3. ผนู้ าชมุ ชนตาบลทา่ ลาดขาว 4. ผนู้ าชุมชนตาบลละลมใหมพ่ ฒั นา 5. ผนู้ าชุมชนตาบลพลบั พลา 6. ผนู้ าชุมชนตาบลทุ่งอรุณ 7. ผู้นาชุมชนตาบลกระโทก 8. ผนู้ าชุมชนตาบลโชคชัย 9. ผูน้ าชมุ ชนตาบลดา่ นเกวยี น 10. ผนู้ าชุมชนตาบลท่าอ่าง 11. ผูน้ าชมุ ชนตาบลท่าจะหลงุ 12. อาสาสมัคร กศน. โครงกำรที่เก่ียวข้อง โครงการจติ อาสาพัฒนาสงิ่ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาตใิ นชุมชน ผลลัพธ์ (Outcome) ประชาชนที่เข้ารว่ มโครงการฯ มีส่วนรว่ มในการพฒั นาชุมชน เกิดความรกั ความสามัคคขี องคนในชุมชน สรุปผลการดาเนินงานโครงการจิตอาสา รว่ มใจ พฒั นาป่าชมุ ชน ปีงบประมาณ 2565 2

ดชั นชี ว้ี ดั ควำมสำเรจ็ ของโครงกำร ตัวช้ีวัดผลผลิต (Output) ประชาชนทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการฯ จานวน 30 คน มสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาปา่ ชมุ ชน และเกดิ ความรกั ความสามคั คขี องคนในชุมชน และทาให้ชุมชนสะอาด นา่ อยู่ นา่ อาศัย ตัวช้ีวดั ผลลพั ธ์ (Outcome) ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ร้อยละ 100 มี ส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน เกิดความรัก ความสามัคคีของคนในชมุ ชน กำรติดตำมและประเมนิ ผลโครงกำร -สงั เกตการมีสว่ นร่วม -แบบประเมินโครงการ สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการจิตอาสา รว่ มใจ พฒั นาปา่ ชมุ ชน ปงี บประมาณ 2565 3

บทท่ี 2 เอกสำรกำรศกึ ษำและงำนวิจัยทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ในการจัดทารายงานครง้ั นไี้ ดท้ าการศกึ ษาคน้ ควา้ เน้อื หาจากเอกสารการศกึ ษาและงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วข้อง ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ความหมายของจิตอาสา 2. ความหมายของการอนรุ ักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม 3. หลักการและวิธกี ารอนุรักษ์สงิ่ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ 4. แนวทางอนุรกั ษส์ ่ิงแวดลอ้ ม 1. ควำมหมำยของจิตอำสำ (Volunteer Spirit) จิตอาสา หรือ จิตสาธารณะ (public consciousness หรือ Public mind) หมายถึง จิตสานึกเพ่ือ สว่ นรวมเพราะคาวา่ \"สาธารณะ\" คอื ส่งิ ทม่ี ไิ ด้เปน็ ของผู้หน่ึงผูใ้ ด จติ สาธารณะจึงเป็นความรูส้ กึ ถงึ การเปน็ เจ้าของใน สง่ิ ที่เปน็ สาธารณะ ในสทิ ธิและหน้าทที่ ่จี ะดูแล และ บารงุ รักษารว่ มกนั จติ อาสา หรือ มจี ติ สาธารณะ\" ยงั หมายรวมถึง จิตของคนทร่ี ูจ้ ักความเสียสละ ความร่วมมอื ร่วมใจ ในการทาประโยชนเ์ พื่อสว่ นรวม จะชว่ ยลดปัญหาท่ีเกดิ ขนึ้ ในสังคม ชว่ ยกนั พฒั นาคณุ ภาพชีวติ เพ่ือ เป็นหลักการในการดาเนินชีวิต ช่วยแก้ปัญหาและสร้างสรรค์ใหเ้ กิดประโยชนส์ ขุ แก่สงั คม เช่น การชว่ ยกันดแู ล รักษาส่งิ แวดล้อม โดยการไมท่ ้งิ ขยะลงในแหลง่ น้า การดแู ลรกั ษาสาธารณสมบตั ิ เช่น โทรศัพท์สาธารณะ หลอดไฟฟ้าทีใ่ ห้ความสวา่ งตามถนนหนทาง แมแ้ ต่การประหยัดนา้ ประปา หรือไฟฟา้ ท่ีเป็นของส่วนรวม โดย ใช้ให้เกดิ ประโยชน์อยา่ งคุม้ คา่ ตลอดจนชว่ ยกนั ดูแลรกั ษา ใหค้ วามชว่ ยเหลือผ้ตู กทกุ ขไ์ ด้ยาก หรอื ผู้ท่ีรอ้ งขอ ความช่วยเหลอื เท่าที่จะทาได้ ตลอดจนร่วมมอื กระทาเพ่อื ไมใ่ ห้เกิดปญั หา หรือช่วยกันแกป้ ญั หา แตต่ อ้ งไมข่ ัด ต่อกฎหมาย เพ่ือรักษาประโยชน์สว่ นรวมบัณทติ ยสถาน ได้ใหค้ วามหมายของ จติ สานึกทางสงั คม หรือจติ สานึก สาธารณตระหนกั ร้แู ละคานึงถึงสว่ นรวมร่วมกนั หรือการคานึงถงึ ผอู้ ื่นทรี่ ่วมสัมพันธเ์ ปน็ กลุ่มเดยี วกนั สานักงานคณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาติ ไดใ้ ห้ความหมายวา่ การร้จู ักเอาใจใส่เปน็ ธรุ ะและเข้ารว่ ม ในเรอ่ื งของสว่ นรวมที่เป็นประโยชน์ต่อ ประเทศชาติ มี ความสานกึ และยึดมน่ั ในระบบคณุ ธรรม และจรยิ ธรรม ที่ดงี าม ละอายตอ่ ส่ิงผดิ เน้นความเรียบร้อย ประหยดั และมคี วามสมดลุ ระหว่างมนษุ ย์กับธรรมชาติ สรปุ จติ อาสา หรือจติ สาธารณะ หรือจติ สานึกสาธารณะ คือ จิตสานกึ (Conscious) เป็นการ ตระหนักรู้ตัว หรือเป็นจิตส่วนท่ีรู้ตัว รู้ว่าทาอะไร อยู่ท่ีไหน เป็นอย่างไรขณะท่ีตื่นอยู่น่ันเอง ส่วน คาว่า สาธารณะ (Public) เป็น การแสดงออกเพ่อื สังคมสว่ นรวม เป็นการบริการชุมชน ทาประโยชน์เพ่ือสังคม ถ้าเป็นสิ่งของก็ต้องใช้ ประโยชนร์ ่วมกัน เม่อื นาสองคามารวม หมายถงึ การตระหนักรตู้ นที่จะทาสงิ่ ใดเพอ่ื เหน็ แก่ประโยชนส์ ่วนรวม สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการจติ อาสา ร่วมใจ พฒั นาป่าชุมชน ปีงบประมาณ 2565 4

2. ควำมหมำยของกำรอนุรกั ษ์สิ่งแวดล้อม การอนรุ กั ษ์สิง่ แวดลอ้ ม (Environmental Conservation) หมายถึงการใช้ส่ิงแวดลอ้ ม อยา่ งมเี หตผุ ล เพื่อ อานวยใหม้ ีคุณภาพชีวติ ท่ดี ีตลอดไปแกม่ นุษย์ โดยมีแนวความคดิ ทจี่ ะอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล้อมใหเ้ กิดผลอยู่ 6 ประการคือ 1) ต้องมีความรูใ้ นการทจ่ี ะรักษาทรัพยากรธรรมชาตทิ จ่ี ะใหผ้ ลแกม่ นษุ ย์ท้ังที่ เป็นประโยชน์และโทษ และ คานึงถงึ เรอื่ งความสูญเปล่าในการจะนาทรพั ยากรธรรมชาตไิ ปใช้ 2) รกั ษาทรัพยากรธรรมชาติทจี่ าเป็นและหายากด้วยความระมดั ระวงั ตระหนักเสมอ ว่าการใช้ทรพั ยากร มากเกินไปจะเป็นการไมป่ ลอดภยั ต่อสภาพแวดลอ้ ม ฉะน้นั ตอ้ งทาให้อยใู่ นสภาพเพ่มิ พูนทง้ั ด้านกายภาพและ เศรษฐกิจ 3) รักษาทรัพยากรที่ทดแทนได้ให้มีสภาพเพิ่มพนู เท่ากับอตั ราทตี่ อ้ งการใช้เปน็ อย่างนอ้ ย 4) ประมาณอตั ราการเปลยี่ นแปลงของประชากรได้ พจิ ารณาความตอ้ งการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติเปน็ สาคญั 5) ปรบั ปรุงวิธีการใหม่ ๆ ในการผลติ และใช้ทรพั ยากรอยา่ งมีประสทิ ธิภาพและพยายามคน้ ควา้ ส่ิงใหม่ ๆ ทดแทนการใช้ทรัพยากรจากแหล่งธรรมชาตใิ ห้เพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการใชข้ องประชากร 6) ให้การศกึ ษาแก่ประชาชนเพื่อเข้าใจถงึ ความสาคญั ในการรักษาสมดลุ ธรรมชาติ ซึ่งมีผลตอ่ การทาให้ ส่งิ แวดลอ้ มอยูใ่ นสภาพทดี่ ี โดยปรับความรทู้ ีจ่ ะเผยแพร่ใหเ้ หมาะแกว่ ยั คณุ วุฒิ บคุ คล สถานทห่ี รอื ท้องถนิ่ ท้งั ใน และนอกระบบโรงเรียน เพ่อื ให้ประชาชนเข้าใจในหลกั การอนรุ กั ษ์สิ่งแวดลอ้ ม อนั จะเป็นหนทางนาไปสอู่ นาคตท่ี คาดหวังวา่ มนุษยจ์ ะได้อาศยั ในสิ่งแวดลอ้ มทด่ี ไี ด้ 3. หลกั กำรและวิธีกำรอนุรักษ์สง่ิ แวดลอ้ มและทรพั ยำกรธรรมชำติ การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ คือ การใช้ส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติอย่างชาญ ฉลาดและใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ หลกั การและวธิ ีการอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติ มีดังน้ี 1. กำรถนอมรกั ษำคือ การอนรุ ักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติให้คงสภาพทั้งปริมาณและคุณภาพ เอาไว้ โดยใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ท่ีมีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น กรณีแร่เหล็กแทนท่ีจะนามาใช้โดยตรงก็นาไป ผสมกับแร่ธาตุอ่ืน ๆ เพ่ือใช้เป็นเหล็กกล้า ซ่ึงนอกจากจะลด ปริมาณการใช้เน้ือเหล็กให้น้อยลงแล้วยังช่วยยืดอายุ การใช้งานให้ยาวนานออกไปอีกด้วย เป็นต้น 2. กำรบูรณะฟื้นฟูคือ การทาให้ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมกลับคืนมาใช้ประโยชน์ได้เหมือนเดิม เช่น ดินท่นี ามาใช้เพื่อการเพราะปลกู พชื ชนิดเดียวกันตดิ ต่อกันเปน็ เวลานานจะทาใหค้ ุณภาพของดนิ เสื่อมลง การบรู ณะฟื้นฟูจะทาได้โดยการใสป่ ยุ๋ ปลูกพชื คลุมดนิ หรือพักหนา้ ดนิ ไวส้ กั ชว่ งระยะหนึ่ง เป็นตน้ 3. กำรนำกลับมำใช้ใหม่ หรือที่เรียกว่า รีไซเคิล นอกจากการถนอมรักษาและการบูรณะฟื้นฟูส่ิงแวดล้อม และทรพั ยากรธรรมชาติแล้ว การนาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มที่ใชไ้ ปแล้วกลับมาใช้ใหมถ่ ือเปน็ การอนรุ กั ษ์ อีกวิธีหนึ่ง ซึ่งการอนุรักษ์ชนิดนี้จะทาได้ดีกับทรัพยากรน้าและแร่ธาตุบางชนิด เช่น การนาเศษกระดาษ พลาสติก อลูมิเนยี ม สงั กะสี ตะก่วั ทองแดง และเหลก็ ท่ีท้ิงแลว้ กลับมาหลอมหรอื เปลีย่ นสภาพ ใหน้ ากลบั มาใช้ไดอ้ กี เปน็ ต้น สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการจติ อาสา ร่วมใจ พัฒนาป่าชุมชน ปีงบประมาณ 2565 5

4. กำรเพิม่ ประสิทธิภำพในกำรใช้งำนส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติบางชนิดจะไม่สามารถนามาใช้ ประโยชน์ได้มาก เช่น น้าท่ีไหลลงมาตามลาน้า ถ้าหากสร้างเขื่อนขวางก้ันลาน้าเพื่อยกระดับของน้าให้เขื่อนสูงข้ึน แล้วนาพลงั งานนา้ นั้นมาใช้ผลิตกระแสไฟฟา้ ซ่งึ เปน็ การเพ่ิมประสิทธิภาพในการใชง้ านอกี วิธีหน่งึ 5. กำรนำสิ่งอื่นมำใช้ทดแทนการนาส่ิงอื่นมาใช้ทดแทนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมบางชนิดอาจ ทาได้ เช่น การนาก๊าซธรรมชาติ มาใช้ทดแทนนา้ มนั เชือ้ เพลงิ ในรถยนต์ การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ทดแทนพลังงาน ไฟฟ้า ซึ่งทาใหป้ ระหยัดคา่ น้ามนั เชือ้ เพลงิ ในการผลติ กระแสไฟฟา้ เปน็ ตน้ 6. กำรสำรวจแหล่งทรัพยำกรเพ่ิมเติมเป็นการค้นหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ให้เกิด ประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจและสังคม เช่น การใช้เครื่องตรวจสอบรังสีในการสารวจแร่ยูเรเนียม การใช้ระบบคล่ืน แผน่ ดนิ ไหวเทียมเพ่อื สารวจหาน้ามนั และก๊าซธรรมชาติ เปน็ ต้น 7. กำรประดษิ ฐข์ องเทียมขนึ้ ใช้ ความเจรญิ ก้าวหน้าดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้มนุษย์สามารถ ผลิตของเทียมข้ึนใชแ้ ทนการใชท้ รัพยากรธรรมชาติ เช่น ยางเทียม ไหมเทียม เป็นต้น ความสามารถดังกล่าวจึงช่วย ลดปริมาณการใชท้ รพั ยากรธรรมชาตบิ างชนิดใหน้ ้อย 4. แนวทำงอนรุ ักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมจะได้ผลยั่งยืนข้อมูลนั้น ตลอดจนต้องใช้มาตรการทางกฎหมายควบคุมแนวทางใน การอนรุ ักษ์อยา่ งย่ังยนื มี 3 แนวทางดงั น้ี 1.การให้การศึกษาคือการสอนให้เข้าใจถึงหลักการ วิธีการอนุรักษ์ มีจริยธรรมเกิดสานักและร่วมในการ อนรุ ักษ์ 2.การใช้เทคโนโลยใี นการนาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมมาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ 3.การใชก้ ฎหมายควบคุมเป็นวิธกี ารสุดท้ายในการดาเนินการ กำรอนรุ ักษ์บรรยำกำศ มหำสมุทรและระบบนิเวศบก การใชท้ รพั ยากรเพ่อื สนองความต้องการของมนษุ ย์ ไมว่ ่าจะเป็นทรัพยากรป่าไม้ การเกษตร การประมง แร่ ธาตุ หิน ฯลฯ จะมีของเสียเกิดข้ึน ของเสียอาจจะอยู่ในรูปของของแข็ง (ขยะมูลฝอย กากสารพิษอันตราย) ของเหลว (น้าเสีย น้ามันและไขมัน) ก๊าซ (ฝุ่นละออง ก๊าซพิษ หมอกควัน ละอองสารพิษ) มลพิษทางฟิสิกส์ (เสียง แสง ความร้อน ความสั่นสะเทือน) ของเสียและมลพิษเหล่าน้ีย่อมหมุนเวียนอยู่ท้ังบนบก มหาสมุทร และบรรยากาศ เฉกเช่นเดียวกับวัฎจักรของน้าของเสียและมลพิษ สิ่งแวดล้อมท่ีเป็นฝุ่นละออง แก๊สพิษ หมอกควัน ละอองสารพิษ จะลอยปนเปือ้ นในบรรยากาศ ส่วนมากแลว้ จะเป็นก๊าซเรือนกระจก (greenhouse gases) ของเสียท่ีเป็นขยะมูลฝอย กากสารพิษ และน้าเสีย จะไหลลงสู่ลาน้า สุดท้ายลงสู่ทะเลและมหาสมุทร อาจจะทาให้ ส่งิ มีชวี ิตในนา้ บางชนดิ สญู พันธุ์ไปจากแหลง่ น้าได้ การอนุรักษ์ระบบนเิ วศบก ทเ่ี ป็นแหล่งปญั หามีความสาคัญย่งิ เน่ืองจากเป็นแหล่งท่ีอยู่อาศัยของมนุษย์ ที่มี ทรพั ยากรธรรมชาติมากมายที่สามารถตอบสนองต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ได้ การจัดการควบคุมการอนุรักษ์หรือ การใชท้ รัพยากรธรรมชาติ ของระบบบนบกจงึ ควรตอ้ งประยกุ ตว์ ิธกี ารอนุรกั ษ์เขา้ มาช่วยจัดการ โดยเฉพาะการแบ่ง สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พฒั นาป่าชุมชน ปงี บประมาณ 2565 6

เขตพน้ื ทีผ่ วิ โลก เพอ่ื ที่จะไดท้ ราบว่าพืน้ ทผ่ี วิ โลกส่วนใดท่คี วรสงวนเกบ็ กกั เอาไว้ พนื้ ทีส่ ่วนใดทมี่ ศี กั ยภาพในการฟืน้ ฟู พน้ื ทส่ี ว่ นใดท่เี หน็ ควรจะตอ้ งมีการฟนื้ ฟู รักษา/ซ่อมแซมใหม้ ศี ักยภาพดขี ้นึ กำรปลูกป่ำ 3 อยำ่ ง ไดป้ ระโยชน์ 4 อย่ำง มีดังน้ี “การปลกู ป่าถ้าจะใหร้ าษฎรมีประโยชน์ให้เขาไดใ้ หใ้ ช้วธิ ปี ลูกไม้ 3 อย่าง แตม่ ปี ระโยชน์ 4 อย่าง คอื ไมใ้ ช้สอย ไมก้ นิ ได้ ไมเ้ ศรษฐกิจ โดยปลูกรองรบั การชลประทาน ปลูกรบั ซับน้า และปลูกอดุ ช่วงไหลต่ ามรอ่ งห้วยโดย รบั นา้ ฝนอยา่ งเดียว ประโยชน์อยา่ งท่ี 4 คอื สามารถช่วยอนุรักษ์ดนิ และนา้ ”แปลความสรุปอย่างเขา้ ใจง่าย ปลูกไม้ให้พออยู่ พอกิน พอใช้ และระบบนเิ วศน์ พออยู่ หมายถึง ไม้เศรษฐกจิ ปลกู ไวท้ าท่อี ยู่อาศยั และจาหนา่ ย พอกิน หมายถึง ปลกู พืชเกษตรเพื่อการกินและสมุนไพร พอใช้ หมายถึง ปลูกไม้ไว้ใช้สอยโดยตรงและพลังงาน เชน่ ไมฟ้ ืน, และไมไ้ ผ่ เปน็ ต้น ประโยชน์ต่อระบบนเิ วศน์ สรา้ งความสมบรู ณ์และกอ่ ใหเ้ กดิ ความหลากหลายทางชวี ภาพในพน้ื ทปี่ า่ โครงกำรปลูกป่ำ 3 อย่ำงประโยชน์ 4 อย่ำง ตำมแนวปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพียง หลกั กำรและเหตผุ ล วัตถปุ ระสงค์ 1. ใหป้ ระชาชนปลูกต้นไมต้ ามแนวคดิ ป่า 3 อยา่ งประโยชน์ 4 อย่าง 2. จดั รูปแบบการปลูกใหเ้ กิดคุณค่าและบรู ณาการในพื้นท่ที ากินเดมิ ให้มีสภาพใกลเ้ คียงกับป่า 3. สร้างมูลค่าตน้ ไมท้ ปี่ ลกู ทาใหเ้ ป็นทรพั ย์ เพื่อออมทรพั ย์และใช้แกป้ ัญหาความยากจน วิธีกำรดำเนินกำร 1. กำรจัดแบ่งทีด่ ินทำกนิ เพอ่ื ใชป้ ลกู ป่ำ 3 อยำ่ ง ประโยชน์ 4 อยำ่ ง จากพ้ืนท่ที ากนิ อยู่เดมิ ที่ เปน็ พ้นื ท่สี วน ไร่หรอื นา แบ่งพน้ื ทอี่ อกมา ร้อยละ 30-50 โดยมีรูปแบบการจดั แบ่ง 3 รปู แบบ ดงั นี้ 1.1 พ้ืนทจ่ี ัดแบ่งปลูกป่ำ 3 อยำ่ งประโยชน์ 4 อยำ่ ง จัดแบ่งโดยใช้พ้นื ท่ีรอบแนวเขต พนื้ ทีท่ ากิน ปลูกในพื้นทรี่ ้อยละ 30-50 ตามแนวเขตแดนพ้ืนที่ ทากนิ 1.2 พ้นื ท่จี ดั แบง่ ปลกู ปำ่ 3 อย่ำงประโยชน์ 4 อยำ่ ง จดั แบง่ ออกมาชดั เจนเป็นส่วน ปลกู ในพื้นท่ีรอ้ ยละ 30-50 โดยจดั ส่วนอยดู่ า้ นหนง่ึ ของพื้นที่ จดั แบง่ เป็นรวิ้ หรอื แถบตามความเหมาะสม 1.3 พืน้ ทจ่ี ดั แบง่ ปลูกป่ำ 3 อยำ่ งประโยชน์ 4 อยำ่ ง 2. กำรจดั องคป์ ระกอบ พนั ธ์ุไม้ตำมวตั ถปุ ระสงค์ โดยการปลูกพันธไ์ุ ม้ในพน้ื ท่ตี ามความเหมาะสม แต่ใหไ้ ด้องค์ประกอบซงึ่ ใหเ้ กดิ ความพออยู่ พอกิน พอใช้ ดังนี้ 2.1 ปลกู เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเพียงพอในด้านพออยู่ เชน่ การปลูกตน้ ไมส้ าหรบั ใชเ้ นอื้ ไม้มา ปลูกสร้างอาคารบา้ นเรือนที่อยู่อาศัย เชน่ ไมต้ ะเคยี นทอง, สัก, ยางนา, มะฮอกกาน,ี กระทนิ เทพา, จาปาทอง ฯลฯ 2.2 ปลกู เพื่อให้เกิดความเพยี งพอในดา้ นการพอกนิ เชน่ การปลูกตน้ ไม้สาหรับใชก้ ิน เป็น อาหาร เป็นยาสมุนไพร เปน็ เครอื่ งดืม่ ตลอดจนพชื ทป่ี ลูกเพอ่ื การค้าขายผลผลติ เพ่อื ดารงชพี เช่น ไม้ผลตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ เงาะ, ทุเรยี น, มงั คดุ , ลองกอง, มะมว่ ง ฯลฯ ไมท้ ใี่ ห้ผลผลติ เพือ่ ขาย เชน่ ปาลม์ , มะพรา้ ว, ยางพารา ฯลฯ สรุปผลการดาเนินงานโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พฒั นาป่าชมุ ชน ปงี บประมาณ 2565 7

2.3 ปลูกเพื่อให้เกดิ ความเพียงพอในดา้ นการพอใช้ เชน่ ปลกู ต้นไมส้ าหรบั ใช้สอย ใน ครัวเรอื น ใช้พลงั งาน ใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื ตา่ ง ๆ ในการประกอบอาชพี ไดแ้ ก่ ไม้ไผ่,หวาย สาหรบั จักสานเป็นเครอ่ื ง เรือน ของใช้ ฯลฯ ไมโ้ ตเรว็ บางชนิดทใี่ ช้เป็นไม้ฟืน,ถา่ น ไม้พลงั งาน เช่น สบดู่ า, ปาลม์ ฯลฯ ไม้ทาเครอื่ งมือ การเกษตร ไดแ้ ก่ การทาด้ามจอบ, มีด, ขวาน, ทารถเข็น, โตะ๊ , เกา้ อี้, ตู้ ฯลฯ 3. องคป์ ระกอบตำมวัตถุประสงค์ ป่ำ 3 อยำ่ ง ประโยชน์ 4 อย่ำง จัดโครงสร้ำงและลำดบั ชัน้ ตน้ ไม้ในปำ่ 3 อยำ่ งประโยชน์ 4 อยำ่ ง เป็นการจดั โครงสร้าง พนั ธไุ์ มใ้ หม้ สี ภาพใกล้เคยี งกบั ป่า เพือ่ เป็นประโยชนต์ อ่ ความสมดุลของระบบนิเวศ โดยให้มชี ้ันเรือนยอด 3 ช้ัน ได้แก่ เรือนยอดชน้ั บน เรือนยอดชนั้ กลาง เรอื นยอดชัน้ ลา่ ง และหากจัดโครงสรา้ งดา้ นการใชป้ ระโยชน์จะเป็น 4 ระดบั คอื ช้ันบน ชั้นกลาง ชั้นล่างและช้ันใต้ดนิ ตามรปู แบบเกษตร 4 ชัน้ , สวนโบราณ, สวนสมรม -ไม้เรอื นยอดชน้ั บนไดแ้ ก่ ไม้ทีป่ ลูกใชเ้ น้ือไมท้ าทอี่ ยู่อาศัย เชน่ ตะเคียนทอง, สัก ยางนา, สะเดา, จาปาทอง ฯลฯ และไม้ท่ีลาตน้ สูงและทลี่ ูกเป็นอาหารได้ เชน่ สะตอ, เหรยี ง, กระทอ้ น, มะพร้าว หมาก ฯลฯ -ไม้ เรือนยอดชน้ั กลางสว่ นใหญ่เปน็ ไม้เพอื่ การกนิ , การขาย, การใช้เป็นอาหารและ สมนุ ไพร เช่น มะมว่ ง, ขนนุ , ชมพ,ู่ มังคดุ , ไผ่, ทเุ รยี น, ลองกอง, ปาล์ม ฯลฯ -ไมท้ ป่ี กคลุมผิวดิน ทงั้ ทเี่ ป็นอาหาร,สมุนไพรและของใช้ เช่น กาแฟ ผักป่าชนิดต่าง ๆ ชะพูล, มะนาว, หวาย, สบดู่ า ฯลฯ -พนั ธพ์ุ ืชท่ใี ชป้ ระโยชนจ์ ากส่วนทอ่ี ยูใ่ ต้ดิน (พืชหวั )เป็นพืชท่ีปลกู เพอ่ื ความพอเพียงในด้าน การกนิ ได้แก่ กลอย, ขงิ ข่า, กระชาย, กระทือ ฯลฯ ซ่งึ กระบวนการปลกู ในรปู แบบดังกล่าวจะไดพ้ นั ธไุ์ มท้ เี่ กดิ ป่า 3 อยา่ ง คือ ปา่ เพอ่ื พออยู่ ปา่ เพอื่ พอกนิ และป่าเพ่อื พอใช้ และจะได้ประโยชนเ์ พิ่มในด้านการรักษาสมดลุ ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม -เรอื นยอดช้ันบน -เรือนยอดช้ันกลาง -เรือนยอดชั้นลา่ ง -ใตด้ นิ กระบวนกำรสร้ำงมลู คำ่ ตน้ ไม้ ในโครงกำรปลูกปำ่ 3 อยำ่ งประโยชน์ 4 อย่ำง เป็นการใหค้ ณุ ค่า ไม้ ให้เปน็ มูลค่าเพื่อเกิดการพออย่ตู ามนัยท่ี ใหพ้ อรกั ษาทดี่ นิ ทากินให้อยู่กบั เจา้ ของผู้ทากิน ใหเ้ ป็นมลู คา่ เพอื่ การศกึ ษาเรียนรู้ ในการลดคา่ ใช้จา่ ยจากพืชท่ีปลกู ไวบ้ รโิ ภคเอง พนื้ ท่ีปลูกป่ำ 3 อยำ่ ง ประโยชน์ 4 อยำ่ ง -ในพ้ืนทที่ ากนิ ของประชาชนในชมุ ชนทีอ่ ยู่ในหรอื รอบแนวเขตป่า -ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงตามความเหมาะสม -ในพนื้ ทีใ่ ช้ประโยชน์ร่วมกนั ของชุมชน สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการจติ อาสา รว่ มใจ พัฒนาป่าชมุ ชน ปงี บประมาณ 2565 8

บทท่ี 3 วธิ ีกำรดำเนินงำน การดาเนินงานโครงการจติ อาสา รว่ มใจ พัฒนาป่าชมุ ชน คณะทางานได้ดาเนนิ งาน ดังน้ี 1. สารวจกลมุ่ เป้าหมาย ประชาชน จานวน 30 คน 2. ประชุม/ชี้แจงวางแผนการดาเนินงาน แก่บุคลากร กศน.อาเภอโชคชัย เพ่ือกาหนด รูปแบบและวางแผนการดาเนนิ งาน ในเดอื นมถิ ุนายน 2565 ณ ห้องประชุม กศน.อาเภอโชคชัย 3. จัดเตรียมเอกสาร/วัสดุอุปกรณ์ และประสานสถานที่ เพื่อเตรียมความพร้อมด้าน เอกสารวัสดอุ ุปกรณ์ และสถานท่ี ในวันท่ี 27 มิถนุ ายน 2565 ณ ทสี่ าธารณะประโยชน์ บา้ นโจด หม่ทู ี่ 4 ตาบลท่าเยยี่ ม อาเภอโชคชัย จังหวดั นครราชสีมา 4. ดาเนินการจัดโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาป่าชุมชน ดาเนินการ ในวันท่ี 28 มถิ นุ ายน 2565 ณ ณ ที่สาธารณะประโยชน์ บ้านโจด หม่ทู ี่ 4 ตาบลทา่ เย่ยี ม อาเภอโชคชยั จงั หวดั นครราชสีมา กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ตำมโครงกำรจติ อำสำ รว่ มใจ พฒั นำป่ำชุมชน พธิ เี ปดิ กลา่ วเปิดโดยนายสุนทร หาญสงู เนนิ นายกเทศมนตรีตาบลทา่ เย่ียม กล่าวรายงาน โดย นายสมชาย ม่งุ ภู่กลาง ครู อาสาสมคั ร กศน. เวลำ 09.00 - 10.45 น. - วิทยำกรบรรยำยใหค้ วำมรู้ โดย นำยลำดวน เพช็ รก์ ระโทก นายลาดวน เพ็ชร์กระโทก วทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรู้เรอื่ งจติ อาสาพฒั นาชมุ ชนเกิดความรัก ความสามคั คขี องคนในชุมชน ปา่ ชมุ ชนสร้างรายได้ จิตอาสา คือ ผู้ทม่ี จี ิตใจท่เี ปน็ ผใู้ ห้ เชน่ ใหส้ ง่ิ ของ ใหเ้ งิน ใหค้ วามชว่ ยเหลือดว้ ยกาลังแรงกาย แรงสมอง ซงึ่ เป็นการเสยี สละ สง่ิ ทต่ี นเองมี แมก้ ระทัง่ เวลา เพอ่ื เผ่อื แผ่ ใหก้ บั สว่ นรวม...อีกท้งั ยงั ชว่ ยลด \"อตั ตา\" หรือความเปน็ ตัว เป็นตน ของตนเองลงได้บ้าง จติ อาสา คอื จติ แหง่ การใหค้ วามดีงามท้งั ปวงแกเ่ พื่อนมนุษย์ โดยเต็มใจ สมคั รใจ อ่ิมใจ ซาบซึง้ ใจ ปีตสิ ขุ ที่พร้อมจะเสยี สละเวลา แรงกาย และสตปิ ัญญา เพอื่ สาธารณประโยชน์ ในการทากิจกรรม หรือสง่ิ ทเ่ี ป็นประโยชน์ แก่ผ้อู ่นื โดยไม่หวงั ผลตอบแทน และมคี วามสุขทีไ่ ดช้ ว่ ยเหลือผู้อ่ืน เป็นจิตทไ่ี ม่นิ่งดดู าย เมอื่ พบเหน็ ปญั หา หรือความ ทกุ ข์ยากท่เี กิดข้ึนกับผู้คน เปน็ จิตที่มีความสขุ เมือ่ ไดท้ าความดี และเห็นน้าตาเปลี่ยนเป็นรอยยมิ้ เป็นจิตทีเ่ ปย่ี มด้วย \"บุญ\" คอื ความสงบเยน็ และพลังแหง่ ความดี อกี ทง้ั ยงั ช่วยลด \"อตั ตา\" หรอื ความเป็นตวั เป็นตนของตนเองลงได้ รวมถงึ ใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ แสดงออกถึงพฤตกิ รรมการช่วยเหลือสงั คม มีความสามคั คใี หห้ มคู่ ณะ ไดเ้ สริมสรา้ งความรู้ คณุ ธรรม จริยธรรมและปฏิบัตติ นตามหลกั พระพทุ ธศาสนาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ปลกู ฝังสรา้ ง จิตสานึกทดี่ ีกบั จิตอาสา ซงึ่ เป็นการขัดเกลาทางจติ ใจใหก้ ับสมาชกิ ให้เหน็ คุณค่าของการช่วยเหลอื ผอู้ ่นื มีสว่ นรว่ มใน การพฒั นาชมุ ชน และเกดิ ความรกั ความสามัคคขี องคนในชมุ ชน และทาให้ชุมชนสะอาด นา่ อยู่ นา่ อาศยั สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาปา่ ชมุ ชน ปงี บประมาณ 2565 9

ปำ่ ชุมชนสร้ำงรำยได้ โดยปกติแล้ว “ป่าชุมชน” ก็คือพ้ืนที่ป่าไม้ท่ีคนในชุมชนมีส่วนร่วมต่อการจัดการเพื่อให้ตอบสนอง วัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้ ดังน้ัน ป่าชุมชนจึงสามารถพบเห็นได้ท่ัวไปในท่ีดินประเภทต่างๆ เพียงแต่ระดับการ มีส่วนร่วมและการจัดการอาจมีความเข้มข้นและความหลากหลายที่แตกต่างกันออกไป ข้ึนอยู่กับกฎหมาย ของท่ีดินผืนนั้นเป็นประการสาคัญ สาหรับวัตถุประสงค์ในการดาเนินงานป่าชุมชนของแต่ละแห่ง ก็ย่อมขึ้นอยู่กับความจาเป็นหรือความ ต้องการของชุมชนท่ีมุ่งหวังได้รับจากป่าชุมชน หรืออาจจะกล่าวได้ว่าประโยชน์จากป่าชุมชนน่ันเอง หากป่า ชุมชนไม่สามารถเอ้ืออานวยประโยชน์ให้ชุมชนได้ตามต้องการก็จะไม่บังเกิดความย่ังยืน ท้ังนี้ ประโยชน์จาก ป่าชุมชนในประเทศไทยอาจกล่าวได้ว่ามี 3 ด้าน ดังนี้ 1.ประโยชน์ทางด้านส่ิงแวดล้อม เป็นประโยชน์ที่พบว่าชุมชนประสงค์ได้รับจากการดาเนินงาน ป่าชุมชนในระยะแรกๆต่อเน่ืองมาจนปัจจุบัน เพื่อแก้ไขหรือบรรเทาปัญหาที่เกิดข้ึน ท่ีสาคัญได้แก่ การ เป็นแหล่งต้นนา้ ลาธารอันส่งผลต่อการประกอบอาชีพทางการเกษตร การอุปโภค และการบริโภคใน ครัวเรือน การเป็นแหล่งป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านไฟป่าท่ีคุกคามสุขภาพและทรัพยากรของ ชุมชน การช่วยบรรเทาการกัดเซาะและพังทลายของหน้าดินโดยเฉพาะในบริเวณท่ีเป็นภูเขาและชายฝ่ัง ทะเล การอนุรักษ์และคุ้มครองสัตว์ป่าและความหลากหลายทางชีวภาพให้มีความอุดมสมบูรณ์ ฯลฯ 2. ประโยชน์ทางด้านสังคม หลายชุมชนได้รับผลประโยชน์จากป่าชุมชนทางด้านสังคมใน รูปแบบต่างๆกันไป ที่สาคัญท่ีสุดก็คือการสร้างความร่วมมือกันดาเนินกิจกรรมจัดการป่าไม้อันเป็นการ ทางานเพ่ือส่วนรวม อันส่งผลต่อความรักสามัคคีท่ีสามารถส่งผลต่อการดาเนินกิจกรรมอื่นๆร่วมกันใน ชุมชน ท้ังในด้านศาสนาหรือความเช่ือ การประกอบอาชีพ การรวมกลุ่มกันเป็นวิสาหกิจชุมชนหรือ สหกรณ์ตามความเหมาะสม กับท้ังอาจส่งผลต่อการพัฒนาอาชีพตามศักยภาพของชุมชนตามมา การ ใช้เป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงนิเวศ การเป็นแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติและแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ ในบางแห่ง อาจมีการสร้างเครือข่ายโดยป่าชุมชนที่เชื่อมโยงความร่วมมือกับหมู่บ้านอ่ืนท้ังในระดับตาบล อาเภอ ภูมิภาค และประเทศอีกด้วย 3. ประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ เท่าที่ผ่านมาดูเหมือนว่าชุมชนได้รับประโยชน์ในด้านนี้จากป่า ชุมชนไม่สูงเท่าท่ีควร เนื่องจากข้อจากัดของสถานภาพทางกฎหมายป่าไม้ท่ีเก่ียวข้อง ทาให้ได้รับใน รูปแบบจากการเก็บหาของป่าและสมุนไพรตามที่กฎหมายเอ้ืออานวยให้เพ่ือการบริโภค และอุปโภคใน ครัวเรือน ซึ่งเท่ากับว่าเป็นการลดค่าใช้จ่ายได้ในระดับหน่ึง ในกรณีท่ีมีจานวนมากอาจมีการรวบรวม จาหน่ายซ่ึงอาจมีการแปรรูปผลผลิตเพ่ือสร้างมูลค่าเพ่ิม ท่ีเป็นการสร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชนได้อีก ทางหน่ึง สาหรับป่าชุมชนท่ีอยู่ในท่ีดินบางประเภทก็สามารถตัดฟันไม้ยืนต้นท่ีมีอยู่จาหน่ายอันเป็นการ สร้างรายได้ให้เป็นอย่างดี สรุปผลการดาเนินงานโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาป่าชมุ ชน ปงี บประมาณ 2565 10

-ประชาชน รว่ มกนั แลกเปลย่ี น เรยี นรู้หาแนวทางการอนรุ ักษ์ ธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม การดแู ลรกั ษาปา่ ไม้ชมุ ชน ประชาชนท่เี ขา้ ร่วมโครงการรว่ มพฒั นาปา่ ไมช้ ุมชน ดาเนินกจิ กรรมพฒั นา ทาความสะอาด /กาจดั วัชพืช ตัดแตง่ ก่ิงไม้ สรุปผลการจดั กิจกรรมโครงการ ครู กศน.ตาบล ผนู้ าชมุ ชน และประชาชน ปรึกษาหารอื ระดม ความคดิ ให้มีการจดั กกิ รรม อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง สรุปผลการดาเนินงานโครงการจติ อาสา ร่วมใจ พัฒนาปา่ ชุมชน ปงี บประมาณ 2565 11

บทที่ 4 ผลกำรวิเครำะหข์ อ้ มูล การวเิ คราะห์ขอ้ มูลครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินผลกิจกรรมโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาป่าชุมชน จากผตู้ อบแบบประเมินโครงการ จานวน 39 คน เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมลู คือ แบบประเมินโครงการ ได้นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในแบบตารางความถี่ ค่าเฉลี่ย และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ซ่ึงใชโ้ ปรแกรม Google sheet เพ่อื วิเคราะห์คา่ สถิติท้ังหมด ดังมีรายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี ตอนท่ี 1 วิเคราะห์ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบประเมินโครงการ โดยการแจกแจงความถ่ีและค่าร้อยละ ของตัวแปร ตอนที่ 2 วิเคราะห์ผลการประเมินกิจกรรมโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาป่าชุมชน โดยการแจกแจง คา่ เฉล่ยี คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน ตอนที่ 3 วเิ คราะหค์ วามคิดเหน็ และข้อเสนอแนะอนื่ ๆ ตอนท่ี 1 วิเครำะห์ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบประเมินโครงกำร โดยกำรแจกแจงควำมถ่ีและค่ำร้อยละของ ตัวแปร ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบประเมินโครงการ ที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาป่า ชุมชน โดยการแจกแจงความถแ่ี ละคา่ ร้อยละของตัวแปร ดังตารางท่ี 1 ตำรำงท่ี 1 จำนวน และคำ่ รอ้ ยละ ของผ้ตู อบแบบประเมินโครงกำร จำแนกตำมเพศ อำยุ ระดบั กำรศกึ ษำ และอำชพี (N=39) ข้อมลู สว่ นตวั จำนวน ร้อยละ 1. เพศ ชาย 19 48.71 หญิง 20 51.28* 2. อำยุ 15 – 39 ปี รวม 39 100 40 – 59 ปี รวม 11 28.20 60 ปีขน้ึ ไป 26 2 66.66* 5.12 39 100 สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการจติ อาสา ร่วมใจ พฒั นาป่าชมุ ชน ปงี บประมาณ 2565 12

3. ระดบั ข้อมลู ส่วนตวั จำนวน ร้อยละ กำรศึกษำ ประถมศึกษา 2 5.12 มธั ยมศึกษาตอนต้น 19 48.71* มัธยมศึกษาตอนปลาย 18 46.15 4. อำชีพ เกษตรกรรม 39 100 20 51.28* ค้าขาย 5 12.82 รบั จ้าง 6 15.38 ธรุ กิจสว่ นตวั 5 12.82 พนกั งานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ 3 7.69 รวม 39 100 หมายเหตุ : * หมายถึง ข้อมูลส่วนใหญ่ จากตาราง ที่ 1 พบวา่ ผ้ตู อบแบบประเมนิ โครงการ จานวน 39 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 51.28 เพศชาย จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 48.71 ส่วนใหญ่มีอายุ 40 – 59 ปี จานวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 66.66 รองลงมา คือ อายุ 15 – 39 ปี จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 28.20 และอายุ 60 ปีขึ้นไป จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 5.12 ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 48.71 รองลงมา คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 46.15 และประถมศึกษา จานวน 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 5.12 สาหรับอาชีพ ส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 51.28 รองลงมา คือ รับจ้าง จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15.38 อาชีพค้าขาย จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.82 อาชีพธุรกิจส่วนตัว จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.82 และอาชีพพนักงานของรัฐ รฐั วิสาหกจิ จานวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 7.69 ตามลาดบั ตอนที่ 2 วิเครำะหผ์ ลกำรประเมนิ กจิ กรรมโครงกำรจิตอำสำ ร่วมใจ พฒั นำปำ่ ชุมชน โดยกำรแจกแจงคำ่ เฉล่ีย ค่ำเบี่ยงเบนมำตรฐำน การจาแนกระดบั ผลการประเมินโครงการ แบบมาตรฐานประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับ ดงั นี้ 5 คะแนน คอื ระดบั ผลการประเมินมากทสี่ ดุ 4 คะแนน คอื ระดับผลการประเมนิ มาก 3 คะแนน คือ ระดบั ผลการประเมินปานกลาง 2 คะแนน คอื ระดบั ผลการประเมินน้อย 1 คะแนน คือ ระดับผลการประเมินน้อยทีส่ ุด N คือ จานวนผู้ตอบแบบประเมิน ̅ คอื ระดับค่าเฉลี่ยผลการประเมิน S.D. (Standard deviation) คอื ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการจติ อาสา ร่วมใจ พฒั นาปา่ ชมุ ชน ปีงบประมาณ 2565 13

ค่าเฉลย่ี ระดบั ผลการประเมนิ ของผู้ตอบแบบประเมินโครงการ คา่ เฉลี่ย 4.50 – 5.00 คะแนน หมายถึง มผี ลการประเมนิ อย่ใู นระดับมากทีส่ ดุ ค่าเฉล่ยี 3.50 – 4.49 คะแนน หมายถึง มผี ลการประเมนิ อยใู่ นระดับมาก คา่ เฉล่ีย 2.50 – 3.49 คะแนน หมายถึง มีผลการประเมนิ อยู่ในระดับปานกลาง คา่ เฉลย่ี 1.50 – 2.49 คะแนน หมายถงึ มีผลการประเมนิ อยู่ในระดับนอ้ ย ค่าเฉลยี่ 1.00 – 1.49 คะแนน หมายถึง มีผลการประเมินอยใู่ นระดบั นอ้ ยท่ีสดุ ตำรำงที่ 2.1 คำ่ เฉล่ีย ค่ำเบ่ียงเบนมำตรฐำน และระดบั ผลกำรประเมนิ กจิ กรรมโครงกำรจติ อำสำ ร่วมใจ พฒั นำปำ่ ชุมชน ของผ้ตู อบแบบประเมินโครงกำร ในภำพรวม และจำแนกรำยดำ้ น ดังนี้ รำยกำร N = 39 ระดบั ผลกำรประเมิน ̅ S.D. 1. ด้ำนหลกั สตู ร 4.37 0.03 มำก 2. ด้ำนวิทยำกร 4.43 0.00 มำก 3. ดำ้ นสถำนที่ ระยะเวลำ และควำมพงึ พอใจ มำกท่ีสุด 4.67 0.03 มำก รวม 4.49 0.02 จากตารางที่ 2.1 พบว่าโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาป่าชุมชน มีผลการประเมินโครงการในภาพรวม อยู่ในระดับมาก (̅= 4.49) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านสถานที่ ระยะเวลา และความพึงพอใจ มีผลการ ประเมิน อยู่ในระดับมากท่ีสุด (̅=4.67) รองลงมาคือ ด้านวิทยากร มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก(̅=4.43) และด้านหลกั สูตร มผี ลการประเมิน อยู่ในระดบั มาก (̅=4.37 ) ตามลาดบั สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พฒั นาปา่ ชุมชน ปีงบประมาณ 2565 14

ตำรำงที่ 2.2 ค่ำเฉล่ยี ค่ำเบ่ียงเบนมำตรฐำน และระดับผลกำรประเมนิ กิจกรรมโครงกำรจติ อำสำ รว่ มใจ พฒั นำปำ่ ชุมชน ของผตู้ อบแบบประเมินโครงกำรดำ้ นหลกั สตู ร โดยจำแนกเป็นรำยขอ้ ดังน้ี รำยกำร N = 39 ระดับผลกำรประเมนิ ̅ S.D. ด้ำนหลกั สูตร มาก 1. กิจกรรมสอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงคข์ องหลกั สตู ร 4.36 0.49 มาก 4.23 0.43 มาก 2. เนอื้ หาของหลักสตู รตรงกบั ความตอ้ งการผู้รว่ มกิจกรรม 4.41 0.50 มาก 3. การจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ ให้ผ้รู ่วมกิจกรรมสามารถ คดิ เปน็ 4.41 0.50 ทาเป็น แก้ปญั หาเปน็ มาก 4. ผู้รว่ มกจิ กรรมมสี ว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ ตอ่ การ 4.44 0.50 มำก จัดทาหลักสตู ร 5. ผ้รู ว่ มกจิ กรรมสามารถนาความรไู้ ปปรบั ใช้ในการ 4.37 0.03 ปฏบิ ัตงิ าน รวม จากตารางท่ี 2.2 พบว่าโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาป่าชุมชน มีผลการประเมินโครงการในด้าน หลกั สตู ร อยู่ในระดับมาก (̅= 4.37) เมอื่ พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ พบวา่ ผ้รู ว่ มกิจกรรมสามารถนาความรู้ไปปรับใช้ใน การปฏิบตั งิ าน มผี ลการประเมิน อยใู่ นระดบั มาก (̅=4.44) รองลงมาคือ การจัดกจิ กรรมสง่ เสริมใหผ้ รู้ ่วมกจิ กรรม สามารถ คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น ผู้ร่วมกิจกรรมมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่อการจัดทาหลักสูตรมี ผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.41) กิจกรรมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.36) เนื้อหาของหลักสูตรตรงกับความต้องการผู้ร่วมกิจกรรม มีผลการประเมิน อยู่ในระดับ มาก (̅=4.23) ตามลาดบั สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการจิตอาสา รว่ มใจ พัฒนาป่าชมุ ชน ปีงบประมาณ 2565 15

ตำรำงที่ 2.3 คำ่ เฉลีย่ คำ่ เบ่ยี งเบนมำตรฐำน และระดับผลกำรประเมนิ กจิ กรรมโครงกำรจิตอำสำ ร่วมใจ พฒั นำปำ่ ชุมชน ของผูต้ อบแบบประเมินโครงกำรด้ำนวิทยำกร โดยจำแนกเป็นรำยขอ้ ดังน้ี รำยกำร N = 39 ระดับผลกำรประเมิน ̅ S.D. ดำ้ นวทิ ยำกร 6. วทิ ยากรมคี วามรคู้ วามสามารถในการถ่ายทอดองค์ 4.41 0.50 มาก ความรู้ 7. วิทยากรมีเทคนิค วธิ กี ารในการจัดการถา่ ยทอดองค์ 4.41 0.50 มาก ความรู้ 8. วทิ ยากรมกี ารใชส้ ่อื ทสี่ อดคล้องและเหมาะสมกับ 4.46 0.50 มาก กิจกรรม มาก 9. บุคลิกภาพของวทิ ยากร 4.44 0.50 มำก 4.43 0.00 รวม จากตารางท่ี 2.3 พบว่าโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาป่าชุมชน มีผลการประเมินฯ ในด้านวิทยากร อยู่ในระดับมาก (̅=4.43 ) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า วิทยากรมีการใช้สื่อท่ีสอดคล้องและเหมาะสมกับ กิจกรรม มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.46) รองลงมาคือ บุคลิกภาพของวิทยากร มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.44) วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดองค์ความรู้ และวิทยากรมีเทคนิค วธิ กี ารในการจดั การถา่ ยทอดองค์ความรู้ มีผลการประเมิน อยู่ในระดบั มาก (̅=4.41) ตามลาดับ สรุปผลการดาเนินงานโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาป่าชุมชน ปงี บประมาณ 2565 16

ตำรำงที่ 2.4 ค่ำเฉลี่ย ค่ำเบ่ียงเบนมำตรฐำน และระดบั ผลกำรประเมินกิจกรรมโครงกำรจติ อำสำ รว่ มใจ พัฒนำ ปำ่ ชมุ ชน ของผู้ตอบแบบประเมนิ โครงกำร ดำ้ นสถำนท่ี ระยะเวลำ และควำมพงึ พอใจ โดยจำแนกเปน็ รำยข้อ ดงั นี้ รำยกำร N = 39 ̅ S.D. ระดับผลกำรประเมนิ ดำ้ นสถำนที่ ระยะเวลำ และควำมพงึ พอใจ 10. สถานทใี่ นการจดั กจิ กรรมเหมาะสม 4.72 0.46 มากท่ีสดุ 11. ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมเหมาะสม 4.51 0.51 มากที่สดุ 12. ความพึงพอใจในภาพรวมของผูร้ ว่ มกจิ กรรมต่อการเขา้ 4.74 0.44 มากทสี่ ุด ร่วมกิจกรรม 13. ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั จากการเข้ารว่ มกจิ กรรมตามหลกั สตู ร 4.72 0.46 มากทส่ี ดุ รวม 4.67 0.03 มำกทส่ี ุด จากตารางที่ 2.4 พบว่าโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาป่าชุมชน มีผลการประเมินฯ ในด้านสถานท่ี ระยะเวลา และความพงึ พอใจ อย่ใู นระดับมาก (̅=4.67) เมอื่ พจิ ารณาเปน็ รายข้อพบวา่ ความพงึ พอใจในภาพรวม ของผู้ร่วมกิจกรรมต่อการเข้าร่วมกิจกรรม มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมากที่สุด (̅=4.74) รองลงมาคือ สถานท่ี ในการจัดกิจกรรมเหมาะสม ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมตามหลักสูตร มีผลการประเมิน อยู่ในระดับ มากที่สดุ (̅= 4.72) และระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสม มีผลการประเมนิ อยู่ในระดับมากที่สุด (̅=4.51) ตามลาดับ ตอนที่ 3 วเิ ครำะห์ควำมคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะอื่น ๆ ควรจดั กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ (กพช.) เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รียนมีความรับผิดชอบแบ่งกลุ่มนกั ศึกษา และประชาชน ติดตามดแู ลต้นไมอ้ ย่างต่อเนื่อง สรุปผลการดาเนินงานโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาป่าชมุ ชน ปีงบประมาณ 2565 17

บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รำยผล และขอ้ เสนอแนะ สรุปผล การวิเคราะห์ สามารถสรุปไดด้ ังนี้ ตอนท่ี 1 วิเคราะหข์ อ้ มลู สว่ นตัวของผตู้ อบแบบประเมนิ ในภาพรวม ตอนที่ 2 วิเคราะห์ผลการประเมนิ กิจกรรมโครงการจติ อาสา รว่ มใจ พัฒนาป่าชมุ ชน ตอนที่ 3 วิเคราะหค์ วามคิดเหน็ และข้อเสนอแนะอนื่ ๆ ตอนที่ 1 วิเครำะห์ข้อมูลสว่ นตัวของผู้ตอบแบบประเมินในภำพรวม ตาราง ที่ 1 ผู้ตอบแบบประเมินโครงการ จานวน 39 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 20 คน คิดเป็น ร้อยละ 51.28 เพศชาย จานวน 19 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 48.71 สว่ นใหญ่มอี ายุ 40 – 59 ปี จานวน 26 คน คิด เป็นร้อยละ 66.66 รองลงมา คือ อายุ 15 – 39 ปี จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 28.20 และอายุ 60 ปีข้ึนไป จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 5.12 ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 48.71 รองลงมา คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 46.15 และประถมศกึ ษา จานวน 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 5.12 สาหรับอาชีพ ส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 51.28 รองลงมา คือ รับจ้าง จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15.38 อาชีพค้าขาย จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.82 อาชีพธุรกิจส่วนตัว จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.82 และอาชีพพนักงานของรัฐ รฐั วิสาหกจิ จานวน 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.69 ตามลาดบั ตอนที่ 2 วเิ ครำะห์ผลกำรประเมินกิจกรรมโครงกำรจติ อำสำ พฒั นำชมุ ชน ตารางที่ 2.1 พบว่าพบว่าโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาป่าชุมชน มีผลการประเมินโครงการใน ภาพรวม อยใู่ นระดับมาก (̅= 4.49) เมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายดา้ นพบวา่ ดา้ นสถานที่ ระยะเวลา และความพึงพอใจ มี ผลการประเมิน อยู่ในระดับมากท่ีสุด (̅=4.67) รองลงมาคือ ด้านวิทยากร มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.43) และด้านหลักสูตร มผี ลการประเมนิ อยู่ในระดับมาก (̅=4.37 ) ตามลาดับ ตารางที่ 2.2 พบว่าโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาป่าชุมชน มีผลการประเมินโครงการในด้าน หลกั สูตร อยู่ในระดบั มาก (̅= 4.37) เม่อื พิจารณาเป็นรายข้อพบวา่ ผู้ร่วมกิจกรรมสามารถนาความรู้ไปปรับใช้ใน การปฏิบัติงาน มีผลการประเมิน อยใู่ นระดับมาก (̅=4.44) รองลงมาคอื การจดั กจิ กรรมส่งเสริมให้ผรู้ ว่ มกจิ กรรม สามารถ คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น ผู้ร่วมกิจกรรมมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่อการจัดทาหลักสูตรมี ผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.41) กิจกรรมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.36) เนื้อหาของหลักสูตรตรงกับความต้องการผู้ร่วมกิจกรรม มีผลการประเมิน อยู่ในระดับ มาก (̅=4.23) ตามลาดบั สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาป่าชมุ ชน ปีงบประมาณ 2565 18

ตารางท่ี 2.3 พบว่าโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาป่าชุมชน มีผลการประเมินฯ ในด้านวิทยากร อยู่ในระดับมาก (̅=4.43 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า วิทยากรมีการใช้สื่อท่ีสอดคล้องและเหมาะสมกับ กิจกรรม มผี ลการประเมนิ อยใู่ นระดับมาก (̅=4.46) รองลงมาคือ บุคลิกภาพของวิทยากร มีผลการประเมิน อยู่ ในระดับมาก (̅=4.44) วิทยากรมีความรคู้ วามสามารถในการถา่ ยทอดองค์ความรู้ และวทิ ยากรมเี ทคนิค วิธกี ารใน การจดั การถ่ายทอดองค์ความรู้ มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.41) ตามลาดบั ตารางที่ 2.4 พบว่าโครงการจิตอาสา รว่ มใจ พัฒนาป่าชุมชน มีผลการประเมินฯ ในด้านสถานท่ี ระยะเวลา และความพึงพอใจ อยูใ่ นระดบั มาก (̅=4.67) เมือ่ พจิ ารณาเป็นรายข้อพบวา่ ความพึงพอใจในภาพรวม ของผู้ร่วมกิจกรรมต่อการเข้าร่วมกิจกรรม มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมากท่ีสุด (̅=4.74) รองลงมาคือ สถานที่ ในการจัดกิจกรรมเหมาะสม ประโยชน์ท่ีได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมตามหลักสูตร มีผลการประเมิน อยู่ในระดับ มากทส่ี ดุ (̅= 4.72) และระยะเวลาในการจดั กิจกรรมเหมาะสม มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมากที่สุด (̅=4.51) ตามลาดบั ตอนท่ี 3 วเิ ครำะห์ควำมคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะอ่ืน ๆ ควรจดั กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นมคี วามรบั ผดิ ชอบแบ่งกลุม่ นักศกึ ษา และประชาชน ติดตามดูแลตน้ ไม้อยา่ งตอ่ เนือ่ ง อภิปรำยผล จากการสรุปผลการประเมินโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาป่าชุมชน มีผลการประเมินโครงการ ในภาพรวม อย่ใู นระดับมาก (̅=4.49) พบวา่ ผทู้ ี่เข้าร่วมโครงการเห็นความสาคัญของจิตอาสาในการพัฒนาชุมชน ทั้งนี้เป็นเพราะคณะทางาน ได้ประชุม/ช้ีแจงวางแผนการดาเนินงาน แก่บุคลากร กศน.อาเภอโชคชัย กาหนด รูปแบบ และแผนการดาเนินงาน การจัดเตรียมวัสดุ สถานที่ และประสานภาคีเครือข่าย เพื่อให้คนในชุมชน มีส่วน รว่ มและเห็นคณุ ค่าและมีจติ สานึก ทีจ่ ะช่วยกนั ดแู ลรักษาป่า และอนุรักษ์สภาพแวดล้อมในชุมชนใหก้ ลบั มามสี ภาพท่ี สมบรู ณ์ดังเดิม จากผลการประเมนิ ดังกลา่ ว มปี ระเดน็ ทนี่ ่าสนใจนามาอภิปรายผล ดังนี้ ประโยชน์จากการเข้าร่วมกิจกรรม ตามหลกั สูตร อยใู่ นระดับมากท่ีสุด (̅=-4.72) ซ่ึงผู้เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน และเกิดความ รกั ความสามัคคีของคนในชมุ ชน และทาให้ชุมชนสะอาด น่าอยู่ น่าอาศัย รวมถึงการดูแลป่าชุมชน กิจกรรมพัฒนา ทาความสะอาด /กาจัดวัชพืช ตัดแต่งก่ิงไม้ สรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการ ครู กศน.ตาบล ผู้นาชุมชน และ ประชาชน ปรึกษาหารือ ระดมความคิด ให้มีการจัดกิกรรมอย่างต่อเน่ือง ในพ้ืนที่ป่าสาธารณะประโยชน์ ทาให้ ประชาชนได้รับผลประโยชน์ สร้างความม่ันคงทางอาหาร ด้านการปลูกผักสวนครัว และรับมือกับวิกฤตเศรษฐกิจ ให้กับคนในพื้นท่ีพึ่งพาตนเองได้จากการมีอาหารเพียงพอในครัวเรือน ส่วนท่ีเหลือสร้างรายได้ ซ่ึงสอดคล้องกับ หนังสือ แนวทางการดาเนินงาน โครงการสร้างป่าสร้าง รายได้ ตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สาหรับสถานศึกษา สานักงาน กศน. ของสานักงาน กศน. กศน. สานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). ซ่ึงกล่าวไว้ว่า ผู้เข้าร่วมโครงการจะได้รับประโยชน์จากป่า และมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น โดยส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มทากิจกรรมลดรายจ่าย สร้างรายได้ เพื่อให้มีการจัดการ สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการจิตอาสา รว่ มใจ พัฒนาป่าชมุ ชน ปงี บประมาณ 2565 19

ผลผลิต จากโครงการสอดคล้องความต้องการของตลาด และมีอาชีพเสริมท่ีช่วยสร้างรายได้ในครัวเรือน เพ่ือให้คน สามารถอยู่ร่วมกับป่าอย่างกลมกลืน และเกื้อกูลซึ่งกันและกัน มีที่ทากินเป็นหลักแหล่งไม่ลุกทาลายพ้ืนท่ีอ่ืน จึงสง่ ผลใหโ้ ครงการจติ อาสา รว่ มใจ พัฒนาปา่ ชมุ ชน ประสบผลสาเร็จตามวตั ถุประสงค์ท่กี าหนด ข้อเสนอแนะในกำรพัฒนำครั้งตอ่ ไป 1.ควรจดั กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ิต(กพช.) เพอ่ื ให้ผู้เรยี นมสี ่วนรว่ มและมีความรบั ผดิ ชอบ เชน่ การจดั กระบวนการรใู้ นรปู แบบฐานเรียนรู้ 2. ควรจดั การทาปา้ ยองค์ความรู้ สรรพคณุ ประโยชน์ของตน้ ไม้ เป็นต้น สรุปผลการดาเนินงานโครงการจติ อาสา ร่วมใจ พัฒนาป่าชุมชน ปงี บประมาณ 2565 20

บรรณานุกรม สำนกั งำน กศน. สำนกั งำนปลัดกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร กระทรวงศึกษำธกิ ำร. (2559). แนวทาง ดาเนินงาน โครงการสรา้ งปา่ สรา้ งรายได้ ตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราช กมุ ารี สาหรับสถานศึกษา สานกั งาน กศน. กรงุ เทพมหำนคร ฯ : รงั สีกำรพมิ พ์ สำนกั งำน กศน (2564). ยทุ ธศำสตร์และจดุ เน้นกำรดำเนนิ งำน สำนกั งำน กศน. ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2565. [ออนไลน์]. เข้ำไดถ้ งึ จำก http://ubon.nfe.go.th/Joomla/index.php/10-2016-03-15-13-48- 23/2016.../80-2561( วนั ทค่ี ้นข้อมูลวันที่ 17 กรกฎำคม 2565)

ภาคผนวก

ภาพกิจกรรมโครงการจติ อาสา ร่วมใจ พฒั นาปา่ ชมุ ชน วันที่ 28 มถิ ุนายน 2565 นางจีระภา วฒั นกสกิ าร ผู้อานวยการกศน.อาเภอโชคชยั มอบหมายให้คณะ ครู จดั กิจกรรมโครงการจิตอาสา รว่ มใจ พัฒนาปา่ ชุมชน โดยมนี ายสนุ ทร หาญสูงเนนิ นายกเทศมนตรีตาบล ท่าเยีย่ ม ประธานในพธิ ี นายลาดวน เพชรกระโทก วิทยากรให้ความรู้ ณ ทีส่ าธารณประโยชน์ บ้านโจด หมทู่ ่ี 4 ตาบลท่าเยย่ี ม อาเภอโชคชัย จงั หวดั นครราชสีมา

รายชอื่ ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการจติ อาสา ร่วมใจ พฒั นาป่าชมุ ชน วันที่ 28 มิถนุ ายน พ.ศ. 2565 ณ ป่าสาธารณประโยชน์ หมู่ท่ี 4 บา้ นโจด ตาบลทา่ เยยี่ ม อาเภอโชคชัย จังหวดั นครราชสีมา ลาดบั ท่ี ชือ่ – สกุล เลขบตั รประจาตัวประชาชน 1 นางสาวสุภาวดี ศรีเมอื ง 1308400019429 3300700521242 2 นางราตรี เลขะวัฒนะ 3300700521191 3300700524152 3 นางยุภนิ พลยทุ ธภูมิ 3300700523539 3300700522435 4 นางส้มเกลียง แมน้ ประโคน 3300700551139 3300700525833 5 นางสุดใจ แซ่หลู 3300200267894 3300700241103 6 นางแจ๋ว พองกระโทก 3300700531957 3300700546903 7 นายสรุ สิทธ์ิ จา่ นาค 3300700062582 3300700551079 8 นางนกเขา พบกระโทก 3300700536681 3300300197171 9 นายสมชาย สนกระโทก 3320901177751 1308400034509 10 นายประกอบ ร้งั กระโทก 3300700241584 3300700563867 11 นายประจวบ กลางกระโทก 3300700384458 3300200594224 12 นายบุญร่วม บองกระโทก 3300700531078 3300200742011 13 นางจวน ดอนกระโทก 3300700531298 3300700535631 14 นายหงษ์ มวั กระโทก 3300200636580 15 นางสาวปนดั ดา คู่กระโทก 16 นางสมมาต ดาราธรรม 17 นางสาวนงคราญ วังสะอาด 18 นางสาวอารียา ไฟกระโทก 19 นายสวงษ์ ทติ ตวรางกูร 20 นายฉตั รชยั แพงกระโทก 21 นายถวลิ ชุ่มกระโทก 22 นายสทิ ธชิ ัย มาศรตั น์ 23 นายชานาญ การมนี 24 นางสาวกฤษณา ชาพล 25 นายสมโภช กรุยกระโทก 26 นายหลง พลนุ กระโทก 27 นางฉววี รรณ สรอ้ ยกระโทก

รายชือ่ ผเู้ ข้ารว่ มโครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาปา่ ชุมชน วนั ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2565 ณ ปา่ สาธารณประโยชน์ หมทู่ ี่ 4 บ้านโจด ตาบลทา่ เยยี่ ม อาเภอโชคชยั จงั หวดั นครราชสมี า ลาดบั ที่ ช่ือ – สกุล เลขบัตรประจาตวั ประชาชน 28 นางนดั ารตั น์ นชุ ใจ 3300200636598 3300700537394 29 นางสทุ ี คู่กระโทก 3300700099206 1300201272216 30 นายประนอม กวดกระโทก 1309903399320 3300700535367 31 นายศรายุ ถาดสาโรง 3300700557010 3300700530139 32 นายนงสทิ ธิ์ ขนุ สาโรง 3300200819994 3300200787201 33 นางสาวธติ ิกาญจน์ สกลุ อสิ รศกั ดิ์ 3300200535129 3300700819115 34 นางเกศสุดา ยุทธโยธิน 35 นายปัง้ ปรกึ กระโทก 36 นางสาววลิ าศ แยบกระโทก 37 นางจู ใจงาม 38 นายมิ่ง ไผจ่ ังหรีด 39 นายประนติ ย์ คดิ การ

ตารางวิเคราะหข์ อ้ มูล Google sheet โครงการจิตอาสา รว่ มใจ พัฒนาป่าชมุ ชน วันที่ 28 มิถนุ ายน พ.ศ 2564 ณ ท่สี าธารณประโยชน์ บ้านโจด หม่ทู ี่ 4 ตาบลทา่ เยย่ี ม อาเภอโชคชัย จงั หวดั นครราชสมี า

ตารางวเิ คราะหข์ อ้ มลู Google sheet โครงการจติ อาสา รว่ มใจ พฒั นาป่าชมุ ชน วันท่ี 28 มิถนุ ายน พ.ศ 2564 ณ ท่สี าธารณประโยชน์ บา้ นโจด หมู่ท่ี 4 ตาบลทา่ เยยี่ ม อาเภอโชคชัย จงั หวดั นครราชสมี า

ตารางวิเคราะห์ขอ้ มูล Google sheetโครงการจติ อาสา รว่ มใจ พฒั นาปา่ ชุมชน วนั ที่ 28 มถิ นุ ายน พ.ศ 2564 ณ ที่สาธารณประโยชน์ บา้ นโจด หมูท่ ่ี 4 ตาบลท่าเยี่ยม อาเภอโชคชัย จงั หวดั นครราชสมี า

ตารางวิเคราะห์ขอ้ มูล Google sheetโครงการจติ อาสา รว่ มใจ พฒั นาปา่ ชุมชน วนั ที่ 28 มถิ นุ ายน พ.ศ 2564 ณ ที่สาธารณประโยชน์ บา้ นโจด หมูท่ ่ี 4 ตาบลท่าเยี่ยม อาเภอโชคชัย จงั หวดั นครราชสมี า

แบบประเมนิ โครงการจิตอาสา ร่วมใจ พัฒนาป่าชุมชน วันท่ี 28 มิถุนายน พ.ศ 2564 ณ ท่ีสาธารณะประโยชน์ บา้ นโจด หมู่ที่ 4 ตาบลทา่ เยี่ยม อาเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา ………………………………………………………………………………… คาชีแ้ จง แบบประเมนิ นม้ี ีวัตถปุ ระสงค์ เพือ่ ทราบผลการดาเนนิ กิจกรรม และจะได้นาขอ้ มลู มาใช้ประโยชน์ในการ พฒั นาการดาเนินงานต่อไป ตอนท่ี 1 ข้อมูลทวั่ ไป  ชาย  หญิง 1.1 เพศ 1.2 อายุ  15 – 29 ปี  30 – 49 ปี  50 ปขี ึ้นไป 1.3 ระดบั การศกึ ษา  ประถมศึกษา  มัธยมศึกษาตอนตน้  มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย  อ่นื ๆ (ระบุ)......................... 1.4 อาชีพ  เกษตรกรรม  คา้ ขาย  รบั ราชการ  พนกั งานของรัฐ รัฐวิสาหกจิ  ธุรกจิ สว่ นตัว  รับจา้ ง  อนื่ ๆ (ระบุ)............................ ตอนท่ี 2 ด้านความพงึ พอใจผ้รู ่วมกิจกรรม คาช้ีแจง โปรดทาเครอื่ งหมาย  ลงในช่องทีต่ รงกบั ความคดิ เหน็ ของทา่ นเพยี งขอ้ เดียว ระดบั การประเมนิ /ความรทู้ ี่ได้รบั /การนาไปใช้ประโยชน์ ท่ี รายการ มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยท่สี ดุ 543 21 ด้านหลกั สูตร 1 กิจกรรมสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงค์ของโครงการ 2 เนือ้ หาของหลักสูตรตรงกบั ความตอ้ งการผรู้ ่วมกิจกรรม 3 การจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้ร่วมกิจกรรมสามารถ คิดเปน็ ทาเปน็ แกป้ ญั หาเป็น 4 ผรู้ ่วมกจิ กรรมมสี ว่ นร่วมในการแสดงความคิดเหน็ ต่อเนื้อหา กจิ กรรม 5 ผรู้ ว่ มกิจกรรมสามารถนาความรู้ไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ ด้านวิทยากร 6 วทิ ยากรมคี วามรู้ความสามารถในการถา่ ยทอดองค์ความรู้ 7 วทิ ยากรมีเทคนิค วธิ กี ารในการจัดการถา่ ยทอดองค์ความรู้ 8 วทิ ยากรมกี ารใช้สือ่ ท่สี อดคลอ้ งและเหมาะสมกับกจิ กรรม 9 บคุ ลิกภาพของวทิ ยากร ดา้ นสถานท่ี ระยะเวลา และความพงึ พอใจ 10 สถานที่ในการจดั กิจกรรมเหมาะสม 11 ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมเหมาะสม 12 ความพึงพอใจในภาพรวมของผรู้ ่วมกจิ กรรมต่อการเข้าร่วมกจิ กรรม 13 ประโยชน์ท่ไี ดร้ ับจาการเขา้ รว่ มกิจกรรมตามหลักสูตร ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………แ……บ……บ……ป……ร……ะเ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอบคุณทใ่ี หค้ วามรว่ มมือตอบแบบสอบถาม

















คณะทำงำน ที่ปรกึ ษำ วัฒนกสิการ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอโชคชยั หาญกล้า บรรณารักษ์ชานาญการพิเศษ นางจีระภา มุ่งภ่กู ลาง ครูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน นางสวุ มิ ล เชอื่ ปัญญา ครอู าสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรยี น นายสมชาย นางจงรักษ์ ครู กศน.ตาบล ครู กศน.ตาบล ข้อมลู /ภำพกิจกรรม สิทธิเจรญิ ยศ ครู ศรช. สาสงั ข์ นางสาววรรณนภิ า คูณพ่ิมพูนทอง ครู กศน.ตาบล นายมนตรี ครู กศน.ตาบล นางสาวอณัญญา ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอโชคชัย วเิ ครำะหข์ อ้ มูลเรียบเรียงและทำตน้ ฉบบั เจา้ หน้าท่ธี รุ การ นางสาววรรณนภิ า สิทธเิ จรญิ ยศ นายมนตรี สาสงั ข์ บรรณำธิกำร วัฒนกสิการ เน่ืองกระโทก นางจรี ะภา นางสาวอรอนงค์

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโชคชัย สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดนครราชสีมา