Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 17K46M15k0tsR06mKRRg

17K46M15k0tsR06mKRRg

Published by Sasitorn Songprasoet, 2023-07-06 03:23:23

Description: 17K46M15k0tsR06mKRRg

Search

Read the Text Version

92 1.4 ความนา่ เชอื่ ถอื วิเคราะห์ได้ดังนี้ 1)เป็นการเขียนในรูปแบบของบทความซ่ึงเนื้อหาเป็นวิชาการ เป็นความจริง 2)ผู้เขียนเป็นบุคคลท่ีมีความรู้ และ3)เร่ืองราวเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นจริงในสังคม ดังน้ัน บทอา่ นจงึ มคี วามนา่ เชอ่ื ถือ และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ 1.5 ประโยชนท์ ี่ได้รับ สามารถเก็บเป็นข้อคิดในเร่ืองของการใช้ภาษาต้องใช้ให้เหมาะสม ใช้คาสุภาพ รูก้ าลเทศะจงึ จะถอื ว่าเป็นผู้มีวัฒนธรรม 2. เรอื่ ง แดค่ วามอาย ดฟู ลอโชว์โกแ้ ท้อุแมเ่ จ้า หญงิ ร้อนเร่าคนนนั้ อืย...ย...ย ขวญั หนี ย้ายสะโพกโยกทรวงดูพ่วงพี ทา้ ตาทจี่ ้องวาวสาวไม่แคร์ เตะความอายใส่ปีบ๊ แลว้ ถีบสง่ เอนเอ้องคเ์ อาผา้ ออกมาแก้ คนชมกราว “ดาวฟลอโชว์” โก้แท้แท้ ดใู นแงศ่ ลี ธรรมแลว้ ชา้ ใจ “อาชพี น้ีสุจริตหนผู ิดหรือ” หลอ่ นพดู ซ่ือเม่ือเราเข้าถามไถ่ “ไม่คดิ อายชายม่งั หรือยังไง?” หล่อนยกั ไหล่ “ขืนอายอดตายคะ่ หนมู ีแม่แกห่ งาซา้ น้องห้า ไมแ่ กผ้ ้าเลีย้ งเขาก็เน่าหละ จบ ป.๔ ใครทไี่ หนสนใจนะ ทไ่ี ม่พะโสเภณีก็ดแี ล้ว แต่น่ันแหละแมว้ า่ หนหู น้าดา้ น กล้าทาร่านอวดใครไดช้ ดั แจ๋ว กเ็ พราะความจาเป็นมนั เนน้ แนว แต่เชอ้ื แถวหนูไม่มีใครโกง หนูไม่อายหรอกคะ่ สมยั นี้ คนดดี ีคอรัปชัน่ กันออกโผง ไม่อายใครใจชวั่ ตัวชโู รง ถกู เปิดโปงเข้ามั่งยงั ไม่กลัว คนอย่างหนูถ้ารู้อายชายคงเหงา คนอย่างเขาถ้ารอู้ ายคงหายชั่ว ตราบคน “ใหญ”่ ไมย่ น่ั กินกันนัว หนเู ผยตวั อวดชายจะอายใคร?” (จินตนา ปน่ิ เฉลียว อา้ งถงึ ใน เอกรัตน์ อุดมพร, 2549: 42-43) จากการอ่านบันเทิงคดีเร่ืองแด่ความอาย นามาสู่การวิเคราะห์เพ่ือการนาไปใช้ประโยชน์ได้ ดงั น้ี 2.1 จุดประสงคข์ องผู้เขยี น สะทอ้ นและเสยี ดสีเร่ืองราวในสังคม 2.2 ใจความสาคญั เป็นการสะทอ้ นความคิดขาดศีลธรรมความอายของคนในสังคมบางกลุ่ม โดยเลือกที่ จะเล่าผา่ นอาชพี ดาวฟลอโชว์ ท่สี ามารถทาทกุ อย่างไดเ้ พอื่ เงินและก็มักมเี หตุผลให้กับการกระทาแย่ๆ โดยท่ีไม่คานึงถึงความถูกต้อง นอกจากน้ันยังกระทบถึงกลุ่มนักการเมืองท่ีทุจริตต่อหน้าที่ว่าก็เป็น

93 คนไม่รู้จักอายเช่นกัน สะท้อนให้เห็นถึงความเส่ือมศีลธรรมของคนในสังคมท่ีมีอยู่ในคนทุกกลุ่มทุก ระดบั 2.3 นา้ เสยี ง ดูถูกและสังเวชบุคคลที่ไร้ซ่ึงความอายสามารถทาทุกอย่างได้เพื่อเงิน เช่น “เตะความอายใส่ปี๊บแล้วถีบส่ง เอนเอ้องค์เอาผ้าออกมาแก้ คนชมกราว “ดาวฟลอโชว์” โก้แท้แท้ ดูในแง่ศีลธรรมแล้วช้าใจ” นอกจากน้ียังประชดประชันถึงอาชีพนักการเมืองว่าไม่มีความอายใน การทุจริตโดยผ่านการพูดของตัวละครคือ ดาวฟลอโชว์ เช่น “ตราบคน “ใหญ่” ไม่ยั่นกินกันนัว หนเู ผยตัวอวดชายจะอายใคร?” 2.4 ความนา่ เช่ือถือ บทอ่านข้างต้นแม้จะเป็นเร่ืองราวที่สร้างข้ึนเพ่ือสะท้อนสังคม ไม่มีการอ้างอิงใคร เป็นพิเศษแต่ก็เป็นเร่ืองราวที่เกิดขึ้นจริงในสังคมไทย จึงไม่จาเป็นต้องระบุว่าถูกหรือผิด ใช่หรือไม่ใช่ เพราะข้อคิดท่ไี ดถ้ ือเปน็ ประโยชน์ต่อสงั คม ช่วยเปิดมุมมองให้กบั ผูอ้ ่าน 2.5 ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั เป็นข้อคิดในการใช้ชีวิตให้ทาในส่ิงที่ถูกต้องเป็นประโยชน์และถูกศีลธรรม ไม่อ้าง ความจาเป็นเพื่อจะทาความผิด และได้ข้อพึงระวังในการเลือก ส.ส. เข้าไปทาหน้าที่แทนให้เลือกคนดีที่ มีความสามารถ และเราเองกต็ ้องทาหน้าทข่ี องตนเองใหด้ ที สี่ ุด เหน็ ไดว้ ่า ผู้ท่สี ามารถนาประโยชน์จากสิ่งท่ีอา่ นออกมาใชไ้ ด้นั้นต้องมีความเข้าใจในเร่อื งราวที่ อ่าน หรือท่ีเรียกว่าจับใจความสาคัญของเร่ืองได้ หากเรื่องท่ีอ่านผู้เขียนไม่ได้บอกความรู้สึกออกมา ตรงๆ ผู้อ่านก็ต้องวิเคราะห์ จุดประสงค์และน้าเสียงของผู้เขียนร่วมจึงจะสามารถตีความ และเข้าใจ เร่ืองราวที่แท้จริง เม่ือเข้าใจสาระท่ีผู้เขียนต้องการส่ือแล้ว ประเด็นต่อมาคือการพิจารณา ความน่าเช่ือถือ การอ้างอิงเน้ือหา ประสบการณ์ และคุณค่าของงานเขียน แล้วจึงนาข้อคิด หรือ ความรู้ทไี่ ดร้ บั นนั้ ไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจาวนั ดังนั้นไม่ว่างานเขียนที่อ่านน้ันจะเป็นประเภทสารคดีหรือบันเทิงคดี หรือมีจุดประสงค์ และ รูปแบบที่ต่างกันเพียงใดก็ตาม หากผู้อ่านเข้าใจเรื่องราวและพิจารณาคุณค่าและความน่าเชื่อถือดังท่ี ได้กล่าวแลว้ ก็ย่อมได้รบั ประโยชนจ์ ากการอ่านงานน้นั ๆ เชน่ กนั

94 สรปุ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณคือ การอ่านข้ันสูงท่ีต้องใช้ความคิดในการพิจารณาอย่าง ไตร่ตรอง รอบคอบ เพ่ือตัดสินคุณค่าสิ่งที่อ่าน ว่ามีประโยชน์ มีคุณค่าน่าเช่ือถืออย่างไร โดยต้อง พิจารณาใน 4 ประเด็น ดังน้ี 1)นัยของเรื่อง 2)สาระ 3)ความน่าเชื่อถือ และ 4)การนาไปใช้ประโยชน์ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณนับเป็นการอ่านที่มีความจาเป็นอย่างมากในปัจจุบันท่ีเป็นยุคแห่งข้อมูล ข่าวสาร ผู้อ่านจึงต้องฝึกฝนการอ่านอย่างมีวิจารณญาณให้เกิดเป็นทักษะ เพ่ือให้สามารถพิจารณา และเลือกรบั สงิ่ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์จากการอา่ นไปใชก้ ับตนเองและผู้อนื่ ได้

95 คาถามท้ายบทท่ี 5 การอา่ นอย่างมวี จิ ารณญาณ ตอนท่ี 1 คาชี้แจง จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. การอ่านอย่างมีวิจารณญาณหมายถงึ อะไร 2. การอา่ นอยา่ งมวี ิจารณญาณมีความจาเปน็ อย่างไร 3. การจาแนกสารทีเ่ ปน็ ข้อเทจ็ จรงิ ข้อคิดเหน็ ความรู้สึก มีความสาคัญอย่างไร 4. พฤติกรรมที่แสดงออกถงึ การเป็นผ้มู ีความสามารถในการอ่านอย่างมวี จิ ารณญาณมีอะไรบ้าง 5. นักศึกษาคดิ วา่ การอ่านสารประเภทใดท่ีตอ้ งใชค้ วามสามารถในการอ่านอย่างมีวจิ ารณญาณมาก และเพราะเหตุใด ตอนที่ 2 คาชแี้ จง จงใช้วิจารณญาณในการอา่ นขอ้ ความต่อไปนี้ โดยบอกสาระสาคัญ ความน่าเชือ่ ถือ และ การนาไปใชป้ ระโยชน์ 1. “ลกู เอ๋ยยังไม่เคยร้ฤู ทธร์ิ ้าย เมอ่ื ความรกั กลับกลายแลว้ หน่ายหนี อันเจบ็ ปวดยวดยิ่งทกุ ส่ิงมี ไม่เทา่ ทเี่ จ็บชา้ ระการักฯ” พอ่ แผนสอนลกู ชายเจา้ พลายงาม ทกุ เม่ือยามจากกันนัน้ ทกุ ข์หนกั ทกุ ข์เม่อื รักไมส่ มขน่ื ขมนัก ทุกประจักษแ์ จ้งในใจผู้ทุกข์ ทุกข์ทกึ ทักศักดิ์ศรีถึงชวี ติ ทุกขเ์ พราะคิดยึดม่ันสาคัญสขุ ทุกข์ทรุ นทุรายในทุรยคุ ทกุ ขเ์ พราะเห็นแก่สนุกต้องทุกข์ทน ทกุ ขว์ ยั ลูกวัยรุน่ เพราะหุนหนั ตงั้ สตไิ มท่ นั ตีกันป่น เพราะยึดม่ันสาคัญหมายในตัวตน ยดึ บคุ คลยึดคา่ สถาบัน เปน็ ความทกุ ขร์ ่วมสมยั ของวยั รุ่น แสวงคุณแสวงค่ามายดึ มนั่ ตอ้ งการหวังพลังใจให้แก่กัน ต้องการความสาคัญการยอมรับ หนงึ่ ตอ้ งการความรักจากทุกคน จึงรักตนรักแต่งรกั แปลงปรับ อยากรักและผูกพนั กระชน้ั กระชบั อยากถกู นบั เปน็ หน่ึงในใจเธอ สองตอ้ งการความรูอ้ ย่ใู นตน จึงด้นิ รนแสวงรอู้ ย่เู สมอ รู้เพ่อื ชอบชอบเพื่อร้รู ู้ลา้ เลอ รเู้ พ่อื เจอความจรงิ ในสิ่งนั้น สามต้องการเป็นตัวของตัวเอง จึงชอบเพลงชอบแสดงชอบแขง่ ขนั ชอบมกี ลุ่มมนี ามความสาคัญ ทกุ ขแ์ ห่งวันวัยเยาวอ์ นั เร่าร้อน (เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์, ม.ป.ป.: 86-90)

96 2. ดอกไมป้ ระจาชาติของอินเดียคือดอกบวั ดอกบัวเปน็ ดอกไม้ศักดิ์สทิ ธข์ิ องศาสนาฮินดู ซึ่งเป็น ศาสนาท่ีคนส่วนใหญ่ในประเทศอินเดียนับถือ ใช้ในการสักการบูชาตามพิธีกรรมต่างๆ เชื่อกันว่า ดอกบัวเป็นท่ีประทับของเทพเจา้ หลายๆ องค์ อย่างตามภาพในตานานท่ีเห็นกันได้บ่อยๆ ก็มีภาพของ พระแม่สุรัสวดี เทพแห่งการเรียนรู้ น่ังอยู่บนดอกบัว นอกจากนี้ดอกบัวยังอยู่ในภาพวาดโบราณ ของเก่าต่างๆ เคร่ืองใช้โบราณ และตามภาพเขียนในสถานที่สาคัญอีกด้วย สาเหตุที่อินเดียเลือก ดอกบัวเป็นดอกไม้ประจาชาติน้ันก็เพราะเป็นดอกไม้ท่ีสวยงามเป็นสัญลักษณ์ของความสงบ การปล่อยวางไม่ยึดติด ความอยู่รอดและความบริสุทธิ์ เป็นดอกไม้ท่ีเจริญเติบโตตามบ่อน้าหรือ หนองน้าซงึ่ เตม็ ไปด้วยโคลน ตะไคร่น้า และวชั พืช แต่ดอกบัวก็ยังสามารถเจริญงอกงามขน้ึ มาเหนือน้า อย่างสวยงาม มีกล่ินหอม โดยปราศจากครบโคลนหรือส่ิงสกปรกใดๆ เปรียบเสมือนคนอินเดียท่ีมี ความสามารถในการเอาตัวรอด มีความบริสุทธ์ิทั้งทางร่างกาย จิตใจ และวิญญาณ ไม่ว่าจะอยู่ใน สภาพแวดลอ้ มแบบใดกต็ าม (พทั ธมญส์ กาญจนพนั ธุ์, 2559: 147)

97 เอกสารอา้ งองิ ทิศนา แขมมณ.ี (2554). ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ สรา้ งสรรค์ และการคดิ อย่างมี วจิ ารณญาณ: การบูรณาการในการจดั การเรยี นร.ู้ ราชบัณฑติ ยสถาน, 36(2), 188-204. นิตยา กาญจนะวรรณ. (2544). ภาษาไทย 2001. กรงุ เทพฯ: มติชน. เนาวรัตน์ พงษ์ไพบลู ย.์ (ม.ป.ป.). พ่อสอนลูก. กรงุ เทพฯ: เกี้ยว-เกล้าพิมพการ. บนั ลือ พฤกษะวนั . (2557). แนวพัฒนาการ อา่ นเร็ว-คิดเป็น. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. ประเทิน มหาขนั ธ.์ (2530). การสอนอา่ นเบอื้ งต้น. กรงุ เทพฯ: โอเดียนสโตร.์ พัทธมญส์ กาญจนพนั ธุ.์ (2559). FLOWERS. a day, 16(186), 147. มณีรตั น์ สกุ โชติรัตน์. (2548). อ่านเปน็ : เรยี นก่อนสอนเก่ง. กรงุ เทพฯ: นานมบี ุค๊ สพ์ ับลิเคชน่ั ส์. ลนิ จง จนั ทรวราทิตย.์ (2542). เอกสารคาสอน รายวิชา การอา่ นเพ่ือชวี ิต. ภาควชิ าภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ สถาบนั ราชภฏั นครปฐม. สนทิ ตง้ั ทว.ี (2526). อา่ นไทย. กรุงเทพฯ: โอเดยี นสโตร.์ สมบัติ จาปาเงนิ และสาเนยี ง มณกี าญจน.์ (2548). กลเม็ดการอา่ นใหเ้ ก่ง. พิมพค์ รั้งท่ี 3. กรุงเทพฯ: สถาพรบุ๊คส.์ สุพรรณี วราทร. (2545). การอ่านอยา่ งมีประสิทธภิ าพ. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพรผ่ ลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. เอกรตั น์ อุดมพร. (2549). เกรด็ กวี บทกวดี ีเด่นเปน็ ท่ีประทบั ใจ. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา. เอมอร เนยี มนอ้ ย. (2551). พัฒนาการอ่านอย่างมวี ิจารณญาณ. กรงุ เทพฯ: สุวรี ยิ สาสน์ .

99 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 6 การอา่ นงานเขียนเบือ้ งต้น เวลาเรยี น 6 ช่ัวโมง เน้ือหา 1. ประเภทของการเขยี น 2. การเขียนเชงิ วิชาการ : บทความ 3. การเขียนเพอ่ื ส่ือมวลชน : ขา่ ว 4. การเขียนเชงิ สร้างสรรค์ : สารคดี เรือ่ งส้ัน และร้อยกรอง วัตถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรม หลังจากศกึ ษาบทเรียนนี้แลว้ นักศกึ ษาควรมีพฤติกรรมดังนี้ 1. บอกลักษณะเฉพาะของงานเขียนแต่ละประเภท อาทิ จุดประสงค์ รปู แบบ การใช้ภาษา ประโยชน์ท่ผี ูอ้ ่านควรไดร้ ับ 2. จาแนกประเภทงานเขียนได้ 3. บอกคุณค่าทไี่ ด้รับจากการอ่าน วธิ ีการสอนและกจิ กรรม กิจกรรมการเรียนการสอนในบทที่ 6 การอ่านงานเขยี นเบ้อื งตน้ มดี งั น้ี 1. ทดสอบความรู้ด้วยการให้ผู้เรียนบอกประเภทของงานเขียนท่ียกตัวอย่างมาให้ พร้อมกับ ให้เหตุผลว่าทาไมจงึ คิดวา่ เปน็ งานเขียนประเภทนี้ ใหผ้ ้เู รียนคาดการณ์สิ่งทีค่ วรได้รบั จากการอา่ น 2. ให้ผู้เรียนจัดประเภทงานเขียนโดยศึกษาจากเอกสารด้วยตนเอง หลังจากน้ันจัดประเภท งานเขียนช่วยกันอีกครั้ง โดยทาเป็นกลุ่มละ 5-6 คน พร้อมทั้งเขียนอธิบายเหตุผล และคุณค่าท่ีได้รับ จากการอ่าน 3. ผเู้ รียนร่วมกนั สรุปสง่ิ ทีเ่ รียน โดยมผี ูส้ อนใหค้ าแนะนา 4. ทาแบบฝึกจาแนกประเภทงานเขยี น และบอกคณุ ค่าที่ได้รบั ส่อื การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวชิ า การพฒั นาทักษะการอา่ น 2. งานเขียน 5 ประเภท คอื ข่าว บทความ สารคดี เรอ่ื งส้ัน และร้อยกรอง 3. สไลดน์ าเสนอความรู้ด้วย Microsoft Power Point “บทท่ี 6 การอ่านงานเขียน เบอ้ื งตน้ ” 4. แบบฝึก การวดั ผลและการประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมการตอบคาถามและการนาเสนองานกลุ่ม 2. ตรวจแบบฝึก

101 บทที่ 6 การอ่านงานเขียนเบ้อื งต้น การที่ผอู้ ่านมีความรเู้ กีย่ วกับงานเขียน อาทิ สามารถแบ่งประเภทงานเขียน รู้รปู แบบของงาน การใชภ้ าษา และจุดประสงค์ของผเู้ ขียน ความรแู้ ละความเขา้ ใจเหล่านจี้ ะส่งผลดีต่อความสามารถใน การอ่าน เช่น ความเข้าใจต่อเร่ืองที่อ่าน ความสามารถในการอ่านวิเคราะห์ จนถึงสามารถพิจารณา ถึงความน่าเชอ่ื ถือและประโยชน์ทีค่ วรจะไดร้ ับจากงานเขยี นน้ันๆ เพราะการที่ผ้อู ่านมีความเข้าใจใน รูปแบบของงานเขียน เช่น งานเขียนประเภทบทความ ผู้อ่านก็สามารถคาดเดาได้ว่า การอ่านงาน ประเภทน้ีผู้เขียนจะให้ความสาคัญกับการแสดงทัศนะต่อเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงดังน้ันผู้อ่านจะต้องอ่าน อย่างรอบคอบ พจิ ารณาความน่าเช่ือถือและประโยชน์จากสง่ิ ที่อ่านไมใ่ ช่เชือ่ ทงั้ หมด เพราะไม่ใช่งาน เขียนประเภทสารคดีท่ีมุ่งให้ข้อเทจ็ จริง ดงั นั้นความเข้าใจเกีย่ วกับงานเขียนก็จะเป็นแนวทางในการอ่านและคาดเดาสิง่ ที่ควรจะได้รับ จากบทอ่านแตล่ ะประเภท ท่ีมีรปู แบบการเขยี น และจดุ ประสงคท์ ่ีแตกต่างกัน ประเภทของการเขยี น สามารถแบ่งประเภทของงานเขียนได้เป็น 3 ประเภท คือ 1)การเขียนเชิงวิชาการ 2)การเขียนเพอื่ การส่อื สารมวลชน และ 3)การเขียนเชิงสรา้ งสรรค์ ท้ัง 3 ประเภทมคี วามแตกตา่ งกัน ดงั นี้ 1. การเขียนเชิงวชิ าการ การเขียนเชิงวิชาการเป็นการถ่ายทอดความรู้ ความคิดเห็น ทัศนคติ ฯลฯ ของผู้เขียนใน เรื่องใดเร่ืองหน่ึงอย่างมีระบบ แล้วนามาเรียบเรียงเป็นข้อความที่มีการอ้างอิงอย่างน่าเชื่อถือ อาจมี การวิเคราะห์ขอ้ มลู และเสนอแนะอยา่ งน่าสนใจและเป็นประโยชน์ ในการเขียนเชิงวชิ าการผู้เขียนจะ ใช้ภาษาเป็นทางการ (มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชา ภาษาไทยและภาษาตะวันออก, 2553: 65) เช่น การเขียน ตารา บทความ และหนงั สือราชการ เป็น ตน้ 2. การเขียนเพ่ือการสื่อสารมวลชน สื่อสารมวลชนคือการติดต่อส่ือสารกับคนจานวนมากในเวลาเดียวกัน โดยใช้ส่ือ เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร วิทยุ โทรทัศน์ และอินเทอร์เน็ต เป็นต้น รูปแบบการเขียนเพื่อ การสื่อสารมวลชลมีหลากหลายประเภทด้วยกัน เช่น ข่าว โฆษณา บทรายการวิทยุ บทรายการ โทรทัศน์ และบทละคร เป็นตน้

102 3. การเขียนเชงิ สรา้ งสรรค์ งานเขียนเชิงสร้างสรรค์เป็นงานท่ีไม่มีรูปแบบตายตัว ผู้เขียนได้สร้างสรรค์และเลือกใช้ ถ้อยคาท่ีเป็นศิลปะ ก่อให้เกิดความรู้สึก อารมณ์ร่วม ความสะเทือนใจ และเน้ือหาที่ได้รับอาจไม่ใช่ เพียงความบนั เทงิ แต่อาจประกอบด้วย ความรู้ และการแสดงความคิดเห็นอยู่ควบคู่กัน งานเขียนเชิง สรา้ งสรรคแ์ บ่งออกเปน็ 3 ประเภท คือ 3.1 บนั เทิงคดี ไดแ้ ก่ เรอ่ื งสน้ั และนวนิยาย 3.2 สารคดี ได้แก่ สารคดีท่องเท่ียว สารคดีบุคคล สารคดีธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สารคดีวถิ ีชีวติ สารคดีประวัติศาสตร์ สารคดีเด็กและสตรี เปน็ ตน้ 3.3 รอ้ ยกรอง มที ้งั แบบยดึ ฉันทลักษณ์ เชน่ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน รา่ ย และแบบท่ไี ม่ยึด ฉนั ทลกั ษณ์ซ่ึงเปน็ รปู แบบงานเขยี นสมยั ใหม่ เรยี กว่า กลอนเปล่า เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านผู้อ่านควรจะมีความรู้เรื่องรูปแบบของงานเขียนโดยฝึกการอ่าน จากงานเขียนทั้ง 3 ประเภท ซึ่งจะขอยกเปน็ ตัวอย่างเพ่ือใช้ในการศึกษาดังนี้ 1)การเขียนเชิงวิชาการ ศกึ ษาจากบทความ 2)การเขียนเพือ่ การสื่อสารมวลชน ศึกษาจากข่าว และ3)การเขยี นเชิงสร้างสรรค์ ศกึ ษาจากสารคดี เรื่องสน้ั และรอ้ ยกรอง ดงั จะให้รายละเอียดเพ่ิมเติมโดยเรียงตามหัวขอ้ ท่ไี ดก้ ลา่ วไว้ ขา้ งตน้ การอา่ นงานเขยี นแต่ละประเภท งานเขียนมีหลายประเภทด้วยกัน แต่ละประเภทล้วนมีรูปแบบ วิธีการนาเสนอ และ จุดประสงค์ของผู้เขียนท่ีต่างกัน ผู้อ่านจึงควรทาความเข้าใจในลักษณะเฉพาะของงานเขียนเพ่ือให้ได้ ประโยชน์ท่ีควรได้รับจากงานเขียนนั้น และเม่ือต้องเลือกอ่านก็สามารถเลือกอ่านงานเขียนได้ตรงกับ จุดประสงค์ของตนเอง งานเขียนที่พบบ่อยและนามากล่าวถึงในบทนี้ประกอบด้วย บทความ ข่าว สารคดี เร่ืองส้ัน และกวนี พิ นธ์ นาเสนอตามลาดบั ดงั น้ี 1. บทความ 1.1 ความหมายของบทความ บทความเป็นงานเขียนอีกประเภทหนึ่งที่คนในสังคมให้ความสนใจอ่าน รวมถึง มีนกั วชิ าการหลายท่านศกึ ษาและให้ความหมายดังน้ี ถวัลย์ มาศจรัส (2545: 91-92) ให้ความหมายว่าบทความ หมายถึง ข้อเขียนท่ีเขียน ขึ้นเพ่ือแสดงหรือเสนอข้อคิดความเห็นต่อเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งท่ีเกิดขึ้น ซึ่งเป็นเร่ืองที่กลุ่มชน ในสังคมกาลงั ใหค้ วามสนใจ หรอื ผูเ้ ขยี นนาเสนอขึน้ มาเพ่อื ให้เกดิ ความสนใจขน้ึ ในสังคม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาภาษาไทย และภาษาตะวันออก (2553: 65-66) กล่าวว่าบทความ คือ งานเขียนประเภทร้อยแก้วที่มุ่งเสนอ

103 ความรู้ ความคิดเห็นเป็นสาคัญ เป็นงานเขียนที่มักปรากฏตามหนังสือพิมพ์และนิตยสารทั่วๆ ไป รปู แบบการเขียนบทความจะคล้ายกบั เรยี งความมาก แตโ่ ดยท่ัวไปการเขียนบทความจะต้องมเี ร่อื งราว มาจากข้อเท็จจริง หรือข่าวประจาวัน มีความทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ อยู่ในความสนใจของผู้อ่าน และผเู้ ขยี น มกั จะสอดแทรกข้อเสนอเชิงวิชาการและเชงิ สรา้ งสรรคไ์ วด้ ว้ ย รุ่งฤดี แผลงศร (2557: 3) กล่าวว่าบทความ หมายถึง งานเขียนที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อ การนาเสนอความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ หรืออธิบายแนะนาเหตุการณ์หรือข่าวที่กาลังเป็นท่ีสนใจ ในขณะน้ัน โดยอาศัยข้อเท็จจริงและหลักวิชาการในการถ่ายทอดสารให้ผู้รับสารได้รับทราบเรื่องราว หรือเหตกุ ารณ์ดงั กล่าว เพ่ือประโยชนใ์ นการตัดสนิ ใจหรือแกไ้ ขปญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ วชิรนที วงศ์ศิริอานวย (2552: 1) แสดงทัศนะว่าบทความ หมายถึง ความเรียงหรือ งานเขียนร้อยแก้วประเภทหน่ึงท่ีเขียนข้ึนเพ่ือมุ่งเสนอข้อเท็จจริง ความรู้ หรือความคิดอย่างใดอย่าง หน่ึง หรือหลายอย่างรวมกัน แทรกดว้ ยขอ้ เสนอแนะเชงิ วจิ ารณ์และแนวคิดสร้างสรรค์ วัฒนา แช่มวงษ์ (2556: 2) ให้ความหมายว่าบทความ หมายถึง งานเขียนที่ผู้เขียน เรียงเรียงขึ้นเพื่อนาเสนอเร่ืองราวบนพ้ืนฐานของข้อเท็จจริงให้ผู้อ่านได้ความรู้ ความเข้าใจ รวมถึง ทราบแนวคิดหรือข้อเสนอแนะของผู้เขียนในเรื่องนั้นๆ โดยผู้อ่านต้องใช้วิจารณญาณในการพิจารณา ตดั สนิ โดยสรุปแล้ว บทความหมายถึง งานเขียนท่ีมุ่งเสนอทศั นะของผู้เขียนต่อเรอื่ งราวที่อยู่ ในกระแสสังคม เป็นเรื่องที่ทันสมัย และมีผลกระทบต่อคนจานวนมาก ทัศนะท่ีผู้เขียนนาเสนอ เป็น อาจเป็นข้อสงั เกต ข้อคิด แนวทางการแก้ไข ที่เกิดจากการศกึ ษาค้นควา้ และประสบการณ์ของผเู้ ขยี น แล้วนาเสนอในรูปแบบความเรียง มีช่ือเรื่อง ความนา เนื้อเรื่อง และบทลงท้าย เป็นโครงสร้างใน การเขยี น 1.2 จดุ ประสงค์ของการเขยี นบทความ รุ่งฤดี แผลงศร (2557: 10) จาแนกจุดประสงค์ของบทความไว้ 5 ข้อ ดังน้ี 1.2.1 เพือ่ แสดงความคิดเห็นตอ่ เรอื่ งราวหรือเหตุการณ์ทีเ่ กดิ ข้นึ 1.2.2 เพอ่ื วเิ คราะห์สถานการณ์หรอื เรอื่ งราวตา่ งๆ ท่ีเกิดขน้ึ 1.2.3 เพือ่ วพิ ากษ์วจิ ารณ์ ประเมนิ ค่าเรอ่ื งใดเร่อื งหนึง่ 1.2.4 เพือ่ อธบิ ายหรอื แนะนาเรอื่ งใดเรอื่ งหน่ึง 1.2.5 เพ่อื ใหค้ วามรูใ้ นเรอ่ื งใดเรือ่ งหนึ่ง อาจเป็นความรูท้ ั่วไปหรอื ความรู้เชิงวิชาการ เห็นได้ว่า จุดประสงค์ของบทความมีหลายข้อ ข้ึนอยู่กับประเภทของบทความและ เจตนาของผู้เขียนแต่ละคนว่า ต้องการนาเสนอเรื่องราวอะไรให้ผู้อ่านรับทราบ โดยผู้เขียนบทความ อาจมีจดุ ประสงคม์ ากกวา่ หนึ่งข้อก็ได้

104 1.3 ประเภทของบทความ ในเรื่องการแบ่งประเภทของบทความในปัจจุบัน ยังไม่มีเกณฑ์ในการแบ่งท่ีชัดเจนว่า บทความสามารถจาแนกได้เป็นกี่ประเภท ในที่น้ีจึงนาการจาแนกประเภทบทความของ ถวัลย์ มาศจรัส (2545: 93-99) ซ่ึงประมวลประเภทของบทความท่ัวๆ ไปได้ 14 ประเภท มาเป็น แนวทางในการอ่านได้ดังนี้ 1.3.1 บทความทางวิชาการ หรือเชงิ วชิ าการ เป็นบทความท่มี แี ตส่ าระล้วนๆ สว่ นใหญ่ เป็นบทความท่เี ขียนโดยนักวชิ าการ หรือผู้เช่ียวชาญในงานสาขาหน่ึงสาขาใด มุ่งให้ความร้แู ก่ผูท้ ่ีสนใจ เฉพาะสาขาอาชีพ บทความประเภทน้ีมักพบมากในวารสารหรือเอกสารของหน่วยงานและในหน้า หนังสอื พิมพ์ 1.3.2 บทความแสดงความคิดเหน็ เป็นบทความที่นักหนังสือพิมพ์นิยมกันมาก เพราะ เป็นบทความท่ีเขียนได้ตลอดเวลา โดยอาศัยจับประเด็นจากเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในปัจจุบัน มาเป็น หัวข้อหลักในการแสดง ความคิดเห็นต่อเหตุการณ์และเรื่องราวนั้นๆ ตามทัศนะของตน ซ่ึงทัศนะนั้น ผอู้ ่านอาจจะเหน็ ดว้ ยหรือไมเ่ หน็ ดว้ ยกับความคิดที่เสนอออกมากไ็ ด้ 1.3.3 บทความรายงาน เป็นบทความบอกเล่าว่ามีอะไรน่าสนใจเกิดข้ึน ซ่ึงผู้เขียน จะต้องมีฝีมือในการเขียนเล่ามาก เพ่ือให้ผู้อ่านคล้อยตามไปได้เร่ือยๆ ไม่เกิดความรู้สึกเบื่อ ตอ้ งชดั เจนมีเหตผุ ล สานวนภาษารืน่ งดงาม 1.3.4 บทความบรรยาย เป็นบทความที่บรรยายเร่ืองราวแปลกๆ ที่พบเห็นมา เหมือน นักเลา่ นทิ านที่บรรยายความพสิ ดารของตวั ละคร 1.3.5 บทความวิเคราะห์วิจารณ์ เป็นการเขียนเสนอแนะอีกรูปแบบหนึ่งที่อาศัย หลักเกณฑก์ ารวิเคราะหเ์ ขา้ มา แล้ววจิ ารณไ์ ปดว้ ยเหตดุ ้วยผลท่ีหนกั แน่นน่าเชือ่ ถอื 1.3.6 บทความประเภทคาสอน บทความประเภทน้ีมุ่งเนน้ ให้คนทาความดีโดยผู้เขียน จะยกอุทาหรณ์จากนิทานชาดก บทบัญญัติในศาสนาหรือตัวอย่างของผู้คนในสังคมที่เห็นว่าเป็นคนดี มาสอดแทรก เพอ่ื ใหบ้ ุคคลอืน่ ถอื เปน็ เย่ียงอย่าง 1.3.7 บทความอธิบาย เป็นบทความที่อธิบายถึงส่ิงหนึ่งส่ิงใดอย่างตรงไปตรงมา เช่น บทความท่ีอธิบายถึงวิธีการสานพัด ทาร่ม ปลูกต้นไม้ ว่ามีวิธีการอย่างไร บทความประเภทน้ีจะมี ลาดบั ข้ัน มจี ดุ เริม่ ตน้ และจดุ ส้นิ สุดให้เหน็ อยา่ งชดั เจน 1.3.8 บทความประเภทปกิณกะ บทความประเภทน้ีเป็นบทความเบาๆ ที่ให้สาระ ความรู้ ความเพลิดเพลินไปในตัว ผู้อ่านอ่านด้วยความสบายใจ จัดเป็นบทความประเภทผ่อนคลาย ความตึงเครียด บทความประเภทน้ีส่วนใหญ่จะเป็นบทความชี้แนะ แนะนา เร่ืองการวางตัวในสังคม การมีนดั คร้งั แรก การตอ้ นรบั เป็นต้น 1.3.9 บทความสัมภาษณ์ เป็นบทความท่ีมีแหล่งข้อมูลมาจากการสัมภาษณ์เป็นหลัก โดยประมวลส่ิงต่างๆ ท่ีไดจ้ ากการสมั ภาษณม์ าประกอบการเขียนสลบั กบั ข้อความท่ีสมั ภาษณโ์ ดยตรง

105 1.3.10 บทความร่างบุคลิกภาพของบุคคล บทความประเภทน้ีมุ่งนาจุดเด่นของบุคคล ใดบุคคลหนึ่งที่มีความรู้ความสามารถ และได้รับการยกย่องจากบุคคลโดยท่ัวไปมาเผยแพร่ให้ผู้อื่น รับทราบ เพ่ือจุดประกายความยกย่องศรัทธา การเขียนแบบนี้มิได้นาประวัติท้ังหมดมาเปิดเผย แต่จะนาจุดเด่นเฉพาะที่ทาให้บุคคลผู้น้ันมีช่ือเสียงมาเผยแพร่ แต่ไม่จาเป็นต้องบอกลึกไปถึงชาติ กาเนิด หรือต้นตระกูล และจะเขียนด้วยความรู้สึกหรือความเห็นของผู้เขียนตามที่มองเห็น เพื่อร่าง บุคลิกภาพทเี่ ห็นเผยแพร่ต่อสาธารณชน 1.3.11 บทความโต้แย้ง เป็นบทความที่กาลังแพร่หลายในประเทศท่ีมีการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตย เพราะถือว่าทุกคนมีสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นได้อย่างเสรี บทความเชิงโต้แย้งอาจจะเป็นบทความทเ่ี ขียนท้วงตงิ การบริหารคนหรือการตัดสินใจกระทาการสง่ิ ใด สิ่งหน่งึ ของกล่มุ บุคคลที่ทาหนา้ ท่บี รหิ ารงานในองคก์ ารใดองคก์ ารหน่งึ ก็ได้ 1.3.12 บทความท่องเทย่ี ว บทความน้ีใกล้เคียงกับสารคดีมากท่ีสุด ต่างกันเพยี งแต่ว่า บทความประเภทน้จี ะเขียนรวบรัดกว่า เป็นงานเป็นการกว่า รวมท้ังมีมุมมองในเชิงเสนอแนะเก่ียวกับ สถานท่ีท่องเท่ียว และท้วงติงบางเร่ืองบางราวในลักษณะของบทความ บทความประเภทน้ีจะมี ภาพประกอบหรอื ไม่ก็ได้ เพราะไม่เน้นเหมอื นสารคดี 1.3.13 บทความแสดงความคิดใหม่ เป็นบทความที่เขียนข้ึนเพื่อแสดงความคิดที่ยัง ไม่มีใครคิดใครเขียนไว้ หรืออาจจะเป็นการเขียนเพ่ือปรับเปล่ียนแนวความคิดเดิมของผู้เขียนเอง ที่เคยแสดงทรรศนะไว้มาเป็นแนวความคิดใหมท่ ่ีเห็นว่าดีกวา่ 1.3.14 บทความประเภทอื่น บทความประเภทอ่ืน หมายถึง บทความในรูปแบบ เฉพาะของผู้เขียนแต่ละคนท่ีพยายามคิดค้นออกม เพ่ือหลีกความซ้าซากจาเจเป็นการหนีรูปแบบท่ีมี อยู่ในปัจจุบัน การเขียนเร่ืองเสียดสี เหน็บแนม เยาะเย้ย กระเซ้าเย้าแหย่ ล้วนจัดอยู่ในบทความ ประเภทอนื่ ๆ หรอื ประเภททว่ั ไปท้ังสิ้น 1.4 โครงสร้างของบทความ โครงสร้างของบทความแต่ละส่วนทาหน้าท่ีและมีเนื้อหา รายละเอียดที่แตกต่างกัน การที่ผู้อ่านมีความรู้ในเร่ืองโครงสร้างของบทความ จะทาให้อ่านได้อย่างรวดเร็วยิ่งข้ึนเนื่องจากรู้ว่า ย่อหน้าใดที่ผเู้ ขยี นจะบอกรายละเอียด หรือย่อหนา้ ใดท่ผี เู้ ขยี นจะสรปุ เรือ่ งราว เป็นตน้ สริ ิวรรณ นนั ทจันทูล (2546 ,128-141) กล่าวว่าโครงสรา้ งของบทความประกอบด้วย 4 สว่ นสาคัญ ดงั นี้ 1.4.1 ช่ือเร่ือง ช่ือเรื่องเป็นส่วนแรกของบทความที่จะเรียกร้องความสนใจจากผู้อ่าน และจูงใจให้ผู้อ่านติดตามอ่านเร่ืองราวต่อไป นอกจากน้ีช่ือเรื่องยังบอกแนวทางเน้ือหา และจากัด ขอบเขตของเรือ่ งให้ผอู้ า่ นทราบอีกดว้ ย 1.4.2 คานา คานาเปน็ ส่วนเปิดเรอ่ื งท่ีจะนาเขา้ สูเ่ น้อื หาต่อไป ท้งั น้ีเพอ่ื แนะนาให้ผ้อู า่ น ทราบก่อนว่ากาลังจะอ่านเร่ืองเกี่ยวกับอะไร หรือผู้เขียนมีเจตนาอะไร หรือขอบเขตของเร่ืองมี

106 อะไรบ้าง บางคร้ังผู้เขียนจะปูพื้นฐานความรู้ความคิดเก่ียวกับเร่ืองท่ีจะอ่านต่อไปให้แก่ผู้อ่าน นอกจากนั้นคานายังเปน็ ส่วนเรา้ ความสนใจของผู้อา่ นให้อยากติดตามเร่ืองต่อไป 1.4.3 เน้ือเร่อื ง เนื้อเร่ืองคอื ประเด็นตา่ งๆ ท่ีผู้เขียนนาเสนอเพ่ือแสดงข้อเท็จจรงิ ทีเ่ ป็น ความรู้ ความคดิ เห็น รวมท้ังข้อเท็จจริงที่เป็นเหตผุ ล สนับสนุนความคิดเหน็ ประสบการณ์ของผู้เขียน ซึ่งเรียบเรียงข้ึนอย่างมีระบบระเบียบ มีการจัดลาดับความคิดอย่างต่อเนื่อง ท้ังน้ีมีจุดมุ่งหมายหลาย ประการตามประเภทของบทความ 1.4.4 สรุป สรุปคือการปิดเรื่อง เป็นข้อความตอนสุดท้ายของเร่ือง เพ่ือให้ผู้อ่านรู้สึก ประทับใจ สะใจ ปรารถนาจะจดจาเรื่องราวที่ได้อ่าน นาเรื่องราวที่ได้อ่านไปสนทนา วิพากษ์วิจารณ์ ตอ่ ไป หรือนาเร่อื งราวท่ไี ดอ้ ่านไปคดิ พจิ ารณา ปฏิบัติต่อไป โครงสรา้ งของบทความขา้ งตน้ ประกอบดว้ ยส่สี ่วนสาคญั คอื ช่ือเรือ่ ง คานา เนื้อเร่ือง และสรุป หากพิจารณาส่วนประกอบขา้ งต้นก็เห็นได้ว่า บทความถือเป็นงานเขียนความเรียงชนิดหน่ึง สว่ น ธิดา โมสิกรัตน์ (2553, 111-112) กลบั ใหร้ ายละเอียดทตี่ ่างออกไป แมจ้ ะมองวา่ มี 3 สว่ นเชน่ กัน แต่ 3 สว่ นนัน้ หมายถงึ เนื้อหา ความคดิ เห็น และวธิ ีการเขยี น ซง่ึ มรี ายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี 1. เน้ือหา เน้ือหาของบทความมีขอบเขตแนวความคิดท่ีสาคัญและจากัดเพียง ประเด็นเดียว เป็นข้อมูลจริง เป็นข้อเทจ็ จริงที่เชื่อถือได้ ถูกต้อง และชัดเจน ไม่เป็นเรื่องสมมตทิ ี่สร้าง ข้นึ หรอื คิดเอาเอง เน้ือหาของบทความจงึ เปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ มหี ลักฐานพิสูจน์ได้ และไมบ่ ิดเบอื นด้วยอคติ หรือความเช่อื เฉพาะ ท้ังของผเู้ ขียนเองและกลุม่ ใดกลุม่ หน่ึง 2. ความคิดเห็น เป็นบทความท่ีนาเสนอเฉพาะความรแู้ ละข้อเทจ็ จริงต่างๆ เปน็ เพียง เรยี งความหรอื รายงานการศึกษา บทความต้องมีเนื้อหาท่ีเปน็ ความคิดเห็นหรอื ทศั นะของผ้เู ขียนอย่าง เด่นชัด เป็นความคิดเห็นที่แปลกใหม่ สร้างสรรค์และเท่ียงตรง ไม่แสดงถึงอคติส่วนตัวรวมท้ังไม่มี เจตนาม่งุ ร้ายตอ่ ผูห้ นึ่งผู้ใด แมจ้ ะเป็นความคดิ เห็นธรรมดาๆ กต็ อ้ งไมล่ อกเลียนความคิดของคนอ่ืน 3. วิธีการเขียน นอกจากการนาเสนอเน้ือหาความคิดเห็น สาระความรู้ และ ขอ้ เทจ็ จริงต่างๆ แล้ว การใชส้ านวนโวหาร ยังเป็นสว่ นหน่ึงทเ่ี สริมสร้างใหบ้ ทความชวนอา่ นและดึงดูด ความสนใจจากผู้อ่าน เป็นกลวิธีการใช้ภาษาเขียนสื่อสารด้วยการบรรยาย อธิบายและแสดง ความคิดเห็นในสัดส่วนท่ีพอเหมาะ และแสดงหลักฐานท่ีเช่ือถือได้ สะท้อนให้เห็นว่า ผู้เขียนวางแผน การเขียนหรือวางโครงเรื่องอย่างรัดกุม ด้วยความรอบรู้ การกาหนดจุดมุ่งหมายในการเขียนอย่าง ชัดเจน และถูกตอ้ งตามลกั ษณะบทความแต่ละประเภท เห็นได้วา่ งานเขยี นประเภทบทความเป็นงานเขียนท่มี ีความน่าสนใจ ทั้งด้วยโครงสรา้ ง ของงานแบบความเรียงที่ ทาให้อ่านได้ง่าย มีการสรปุ ในตอนท้ายทาใหผ้ ู้อ่านจับสาระสาคัญได้ง่ายข้ึน ใช้เวลาอ่านไม่นาน และยังมีคุณค่ามากในด้านเนื้อหาท่ีเป็นการแสดงความคิดเห็นจากผู้เขียน ท่ีมี

107 ข้อมูลจากข้อเท็จจริง มีการสืบค้นอ้างอิงที่น่าเชื่อถือ จึงเป็นการอ่านที่ได้ท้ังความรู้และเปิดมุมมอง ใหม่ๆ ใหก้ ับผู้อา่ น 1.5 ลักษณะของบทความทด่ี ี รุ่งฤดี แผลงศร (2557: 5) กล่าวถึงลักษณะท่ีดีของบทความในหนังสือพิมพ์ นิตยสาร และวารสาร โดยพิจารณาในส่วนของเนื้อความและภาษาวา่ ควรมีลกั ษณะดงั นี้ 1.5.1 เน้ือหาของบทความ 1.5.1.1 มีความทันสมัย เน่ืองจากบทความเป็นงานเขียนท่ีมีเงื่อนไขของเวลา เป็นตัวกาหนด เน้ือหาของบทความจึงต้องมีความทันสมัย ทันเหตุการณ์ ดังน้ันผู้เขียนบทความจึงนา ข่าวหรือเร่ืองราวท่ีอยู่ในกระแสความสนใจของคนในสงั คมขณะน้ันมานาเสนอเป็นงานเขียนบทความ ท่ีมปี ระเดน็ นา่ สนใจ และเจาะลึกเร่อื งราวเหลา่ นั้นให้ผูอ้ า่ นรับทราบขอ้ มูลมากกวา่ ข่าว 1.5.1.2 มีการใหค้ วามรู้ ความคิด หรอื ขอ้ แนะนาข้อปฏิบัติอันเป็นประโยชนแ์ ก่ ผู้อ่าน เพื่อใช้ในการตัดสินใจเรื่องราวที่เกิดข้ึนอย่างถูกต้อง ทั้งน้ีการนาเสนอความรู้ ความคิด หรือ ข้อแนะนาข้อปฏิบัติของผู้เขียนบทความจะมีมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับประเภทของบทความ เป็นสาคญั 1.5.1.3 มคี วามถูกต้อง เนือ้ หาของบทความต้องมีความถูกต้องในทุกๆ ดา้ น คือ มกี ารอ้างอิงหรือหลักฐานท่นี ่าเชอ่ื ถอื 1.5.1.4 มีความกระจ่าง เน้ือหาของบทความที่ดีต้องมีการนาเสนอและอธิบาย ข้อมูลท่ีกระจ่างชัด ตรงไปตรงมา เพ่ือให้ผู้อ่านเข้าใจเร่ืองราวท่ีเกิดข้ึนได้อย่างถูกต้อง ตรงประเด็นไม่ เกดิ ความสงสยั หรอื เขา้ ใจผิดได้ 1.5.1.5 มีความกะทัดรัดไม่เขียนวกไปวนมา ควรเขียนนาเข้าประเด็นอย่าง กระชับ บทความท่ีดีควรมปี ระเด็นหลักทเ่ี ขียนเพียงประเดน็ เดยี ว 1.5.2 ภาษาของบทความ 1.5.2.1 เนื้อเรื่องมีเอกภาพกล่าวถึงความคิดหลักหรือประเด็นหลักที่ต้องการ นาเสนอเพยี งประเด็นเดียวตลอดทง้ั บทความ 1.5.2.2 เนื้อเร่ืองใช้ภาษาได้อย่างต่อเน่ือง สอดรับกันทุกประโยคทุกย่อหน้า ของบทความตั้งแต่ตน้ จนจบ 1.5.2.3 มีความคงเส้นคงวาในงานเขียนทุกด้าน อาทิ เนื้อหา รูปแบบ ภาษา และหลกั การอา้ งอิง 1.5.2.4 มีการใช้ภาษาที่เหมาะสม ผู้เขียนบทความต้องเลือกใช้ภาษาให้ เหมาะสมกับเนื้อหาของบทความและกลุ่มผู้รับสาร โดยคานึงถึงหลักภาษา และความหมายที่ถูกต้อง ชัดเจน รวมทั้งการเขียนสะกดคา การเขียนคาทับศัพท์ และการใช้ย่อหน้าให้ถูกต้องเหมาะสม

108 อ่านเข้าใจง่าย กะทัดรัด เพื่อให้ผู้อ่านอ่านได้อย่างเข้าใจ รวมท้ังเสนอเน้ือหาอย่างตรงประเด็นตามที่ ผเู้ ขยี นตอ้ งการอกี ด้วย 1.5.2.5 มีความน่าอ่าน แม้ว่าผู้เขียนบทความจะมีข้อมูลหลักฐานมาก เพียงพอท่ีจะนาไปเขียนบทความได้ แต่หากรูปแบบการเขียนไม่น่าอ่านก็ทาให้การเขียนบทความ ครัง้ น้ันไมป่ ระสบความสาเรจ็ ในการเขยี น 1.6 ตัวอยา่ งการอ่านบทความ จากคอลัมภ์ “ฟาสตฟ์ ู้ด ธุรกิจ” โดย หนมุ่ เมอื งจันทร์ ไม่ “เด่ยี ว” สัปดาห์ท่ีผ่านมาผมอยู่ที่เมืองจันท์ พานักเรียน ABC 4 ไปทัศนศึกษาที่ เมืองจันท์ ผ่านรูปแบบเกมท่ีสนุกสนาน ช่วงน้ันเป็นเวลาท่ีกระแสดราม่า “เดี่ยว11” ของ “โน๊ต” อุดม แต้พานิช เร่ืองเมืองยะลา กาลังมาแรง เร่ือง “ความเห็นต่าง” เป็น เรื่องท่ีผมยอมรับได้ ไม่ว่าจะเกิดข้ึนกับตัวเองหรือคนที่รู้จักใครจะเห็นด้วยหรือไม่เห็น ด้วยกับการเล่าเรื่องเมืองยะลาของโน๊ต ผมรับได้แต่รับไม่ได้เมื่อเสียงกระแสวิจารณ์เร่ิม รุนแรงเหมือนโน๊ตมีเจตนาร้ายราวกับเป็นตัวการไปวางระเบิดเมืองยะลา เพราะผมรู้ว่า โน๊ตรักยะลาและได้ลงมือทาส่ิงที่ดีๆให้กับคนในพื้นที่นี้แบบ “ปิดทองหลังพระ” ทาเงียบๆ ไม่ยอมเล่าให้ใครฟังเม่ือกลับมาจากจันท์ผมรีบโพสต์ข้อความลงในแฟนเพจ ของผมพร้อมกับนาเนอ้ื หาในหนังสอื “ความเช่อื คือเข็มทิศ ชีวติ เป็นของเรา” ทเี่ คยเขียน เก่ียวกับโน๊ตและกลุ่มลูกเหรียงมาลงซ้าอีกครง้ั ไม่ได้ต้องการสร้างภาพให้โน๊ตแต่ต้องการ บอกความจริงท่ีหลายคนไม่รู้มาก่อน เพราะโน๊ตไม่เคยเล่าให้ใครฟังและนี้คือข้อความท่ี ผมโพสต์ วันท่ีผมไปดู “เด่ียว11” นึกแล้วว่าโนต๊ ต้องเล่าเรื่องการไปยะลา โน๊ตไปยะลา เพราะไปช่วยกลุ่มลูกเหรียงท่ีดูแลเด็กท่ีสูญเสียพ่อแม่ ในเหตุการณ์ความไม่สงบในสาม จังหวัดชายแดนใต้ ไม่ได้ช่วยแค่เงินแต่ช่วยแบบลงแรงอย่างแท้จริง ไปคลุกคลีอยู่นาน เพ่ือรู้ว่าเขาขาดอะไรบ้างซื้อบ้านใหม่ให้กลุ่มลูกเหรียงเพราะบ้านเก่าแออัดมาก ผมยัง เคยไปบ้านใหม่ของลูกเหรียงเลย โน๊ตอุปการะเด็กหลายคนทั้งส่งเรียน ทั้งดึงมาช่วยงาน จาภาพโ น๊ ตไปส่งเด็กผู้หญิงคนหนึ่งท่ี เป็นลูกบุญธ รรมของเขาไปเรียนท่ี ม.ศรีปทุมได้ไหมครับ เป็นข่าวฮือฮาอยู่พักใหญ่ แต่โน๊ตไม่เคยออกมาพูดเร่ืองน้ีเลยทั้งที่ เป็นเรื่องดีใครรู้ก็ช่ืนชมแต่เขาเลือกท่ีจะเงียบเด็กคนนั้นคือน้องในกลุ่มลูกเหรียงที่โน๊ต อุปการะส่งเรียน เธอช่ือน้องพรีมท่ีมาเล่าในคลาส ABC ครับ วันแรกๆ ที่ไปอยู่ท่ียะลา เขาถามเด็กๆ ว่าอยากไปเที่ยวไหน เสียงส่วนใหญ่อยากไปเท่ียวเชียงใหม่เขาก็ พาไปเท่ียว โน๊ตบอกผมว่าอยากพาเด็กๆ ไปเท่ียวไปพ้นจากบรรยากาศแห่งความเศร้าบ้าง เขาพาไปเท่ียวเชียงใหม่ เที่ยวทะเล และพามาชมเด่ียว 11 ตอนดูเดี่ยว 11 รอบแรกผม

109 สงสัยว่าทาไมโน๊ตถึงไม่เล่าเร่ืองลูกเหรยี ง ต้นเหตุของการไปยะลาของเขามันเป็นเร่ืองท่ีดี ท่ีใครฟังก็รู้สึกดีแต่โน๊ตก็ไม่เล่า ผมคิดว่าคงเหมือนกับที่เขาไม่ชี้แจงเร่ืองน้องพรีม ลูกบุญธรรมของเขา เขาอยากจะ “ทา” เขาไม่ได้อยากจะ “เล่า” และที่สาคัญถ้าเล่า เมือ่ ไหรโ่ น๊ตคงเล่าไปสะอืน้ ไป แล้วจะไปต่อยาก ผมอดึ อดั กบั เร่ืองนีอ้ ยูห่ ลายวันเพราะอยู่ ตา่ งจังหวัดอยากจะเอาเร่ืองที่เขาทาให้กับลูกเหรียงที่ผมเคยเขียนในหนังสือ “ความเช่ือ คือเข็มทิศ ชีวิตเป็นของเรา” มาลงท่ีน่ี แต่หนังสืออยู่ท่ีบ้าน อาจจะช้าไปนิด แต่สาหรับ ความจรงิ ไม่มีอะไรทช่ี ้าเกนิ ไป” เนื้อหาในหนังสือเป็นเรื่องท่ีผมพากลุ่มลูกเหรียงมาพูดในวันสุดท้ายของ การเรียน ABC ท่ีโน๊ตเรียนด้วย โน๊ตน้าตาคลอตอนท่ีน้องพรีมเล่าเร่ืองความสูญเสีย ที่เกิดขึ้นผมขอให้เธอเล่านิทาน “ช้างใหญ่กับมดน้อย” ท่ีเล่าให้เด็กๆ ฟังเล่าจบโน๊ต ก็ยกมือแล้วบอกว่า “พี่อยากจะบอกน้องพรีมว่านิทานท่ีน้องพรีมเล่าเป็นนิทานที่ดีท่ีสุด เทา่ ท่พี ่ีเคยฟังมา” เสียงตอนท้ายของเขาสน่ั เครอื จนพูดต่อไม่ได้ น้องพรีมบอกว่าตอนอยู่ บ้านน้องๆ ลูกเหรียงจะดูดีวีดีเดี่ยวของโน๊ตอยู่เป็นประจา พี่โน๊ตเคยทาให้พวกหนู หวั เราะจนน้าตาไหลมาหลายคร้ังวนั นี้หนูได้เอาคืนพโ่ี น๊ตแล้ว เป็นมุมสดใสท่ีผมนึกไม่ถึง จริง “เพื่อนที่บ้านลูกเหรียงต้องดีใจมากๆ ถ้าได้รู้ว่าวันนี้ได้เจอพ่ีโน๊ต อยากให้พ่ีโน๊ตไป หาเราที่ยะลาจังเลย “โน๊ตยิ้ม” พี่กาลังจะถามอยู่ว่าอยากให้พ่ีลงไปหาที่ บ้านลูกเหรียง ไหม” ผมไม่เคยเห็นหน้าคนทีดีใจสุดๆ มานานแล้ววันนี้ผมได้เห็นในระยะหนึ่งเมตร ชมพู่และน้องพรีมดีใจมาก” จริงหรือคะพี่โน๊ต “จริง” โน๊ตเดินลงมากอดชมพู่และ น้องพรีมหน้าเวที จากน้ันไม่กี่วันเขาก็ไปปรากฏตัวท่ียะลาพร้อมกับ “บ่เติง” ลูกน้อง คนสนิทของเขาไปนอนค้างบ้านลูกเหรียงท่ีสุดแสนจะแออัด ห้องน้าก็ไม่เพียงพอ ปูที่นอนนอนกับเด็กๆ กินข้าวด้วยกัน ไปดูหนังด้วยกัน โน๊ตบอกผมว่าเขาอยากลงไปดู ด้วยตาตัวเองว่าลูกเหรียงเดือดร้อนเร่ืองอะไรจะได้ช่วยได้ถูกทางและเมื่อเขารู้ปัญหา โน๊ตก็ตัดสินใจซ้ือบ้านหลังใหม่ให้แบ่งห้องนอนชาย หญิง เป็นสัดส่วน ขยายห้องน้า มีพ้นื ที่ว่างเล็กๆ ให้เด็กทากิจกรรม จากนนั้ เขาพาเดก็ ทกุ คนไปเที่ยวเชยี งใหม่ ทะเล คิด ลงแรง ออกเงินและอยู่ด้วยในทุกกิจกรรม เขายังเป็นตัวหลกั ชวนเพอ่ื นๆ ABC เป็นพ่อบุญธรรมช่วยเหลือเรื่องทุนการศึกษากับเด็กๆลูกเหรียงทุกคนด้วย หลังจากนั้น โน๊ตลงไปยะลาเงียบๆหลายคร้ัง และจนถึงวันนี้เขาก็ยังช่วยเหลือน้องๆ กลุ่มลูกเหรียง ทกุ เรื่อง ทีเ่ ล่ามาท้ังหมดไม่ได้บอกว่าสิ่งที่โน๊ตเล่าบนเวทีเป็นเร่ืองท่ีถูกต้องหรือผิดพลาด เพราะความเห็นต่างเป็นเร่ืองปกติในสังคม แต่สาหรับคนท่ีทาดีและไม่ได้คิดร้ายระดับ ของคาวิจารณ์ก็ไมค่ วรจะรุนแรงเกนิ ไป

110 โน๊ตอาจจะเป็นนักเล่าเรื่องที่เก่งที่สุดในเมืองไทย แต่บางเรื่องเขาก็เลือกท่ีจะทา มากกว่าท่ีจะเลา่ นี่คอื “โน๊ต” อุดม แต้พานิช ทผี่ มรจู้ กั (หนุ่มเมืองจนั ทร์, 2558: 24) จากบทความเรื่อง ไม่ “เดี่ยว” ผู้เขียนได้แสดงทัศนะต่อการวิพากษ์วิจารณ์ การเล่าเรื่องเมืองยะลาของโน๊ต อุดม แต้พานิช ใน “เด่ียว11” ที่เป็นไปอย่างรุนแรงประหน่ึงว่าโน๊ต เองเป็นผู้ก่อการร้ายทางภาคใต้ ทั้งที่เขาเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือเด็กผู้ประสบภัยท่ีสูญเสียพ่อแม่ ในเหตุการณ์ความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนใต้ที่เรียกในช่ือว่า “กลุ่มลูกเหรียง” การช่วยเหลือ ของโน๊ตเป็นการช่วยเหลือท่ีไม่ใช่เพียงการให้ทรัพย์แต่เป็นการชว่ ยเหลือโดยการให้ใจและลงไปสัมผัส ชีวิตจริงของเด็กกลุ่มน้ีเพื่อช่วยเหลือและแก้ไขได้ตรงจุด ผู้เขียนแสดงความคิดเห็นว่าโน๊ตเป็นนักเล่า เร่ืองท่ีเก่งท่ีสุดในเมืองไทย แต่กับบางเรื่องเขาเลือกที่จะลงมือทามากกว่าจะต้องบอกให้คนรู้ว่าเขาทา ดีอยา่ งไร ผเู้ ขียนมที ัศนะคตทิ ี่ดีตอ่ การใชช้ ีวติ ของโน๊ตและมองว่าการวิพากษ์วิจารณ์ท่ีรุนแรงและขยาย วงกว้างเป็นเรอ่ื งไม่ถกู ต้อง เพราะเขาเหล่านัน้ ยงั ไม่รู้ขอ้ มูลทีเ่ พยี งพอ ผู้เขียนจึงพยายามอธิบายในสง่ิ ท่ี เขารู้และได้สัมผัส เมื่อผู้อ่านอ่านบทความนี้จบลงนอกจากจะได้รับข้อเท็จจริงที่ผู้เขียนนาเสนอแล้วก็ อาจได้ข้อคิดอีกว่า การจะคิดตัดสินและวิพากษ์วิจารณ์บุคคลใดหรือสิ่งใดเราควรได้ข้อมูลท่ีเป็นจริง และมีมากพอ เพราะหากเรากระทาการใดที่เป็นการตัดสินหรือวิจารณ์ในทางลบแบบไม่ถูกต้องย่อม เปน็ สิ่งท่ไี ม่สมควร บทความข้างต้นผู้เขียนได้นาเสนอมุมมองต่อเรื่องที่อยู่ในกระแสสังคมผสานด้วย อารมณ์ ความรู้สึกพร้อมทั้งให้ข้อมูลและเหตุผลที่น่าเชื่อถือซึ่งเป็นลักษณะของการเขียนบทความที่ดี และเน่ืองจากบทความทั้งสองนี้เป็นบทความในหนังสือพิมพ์ดังน้ันภาษาที่ใช้จึงเหมือนการเล่าให้ฟัง ทาใหอ้ ่านได้ง่ายไม่ต้องตีความซับซ้อน แต่ถา้ หากอา่ นบทความในวารสารวิชาการเรื่องที่เขียนก็จะเป็น เนอ้ื หาทค่ี ่อนข้างหนักและมีการใชภ้ าษาท่ีเป็นทางการยิ่งข้ึน 2. ขา่ ว การอ่านหนังสือพิมพ์มีประโยชน์ในการให้ข้อมูลข่าวสาร และความเคล่ือนไหวในสังคมที่ ทันสมัย ผู้ท่ีติดตามอ่านข่าวสารอย่างสม่าเสมอจะเป็นผู้รอบรู้และทันต่อเหตุการณ์ อย่างไรก็ตามแม้ หลักในการเขียนข่าวจะมุ่งเสนอข้อเท็จจริง แต่ในบางครั้งข้อมูลที่นาเสนอต่อผู้อ่านอาจไม่ครบถ้วน หรือถูกปิดเบือน หรือบางครั้งนอกจากจะให้ข้อมูลข่าวสารผู้เขียนยังแสดงความคิดเห็นส่วนตัว ประกอบ ดังนนั้ ผู้อา่ นจึงควรใชว้ ิจารณญาณในการไตรต่ รอง และควรอ่านข่าวจากหนงั สอื พมิ พ์หลายๆ ฉบบั เพือ่ ตรวจสอบความถูกตอ้ งของขา่ ว

111 2.1 ความหมายของขา่ ว มีผู้ใหค้ วามหมายของข่าวไว้ดังนี้ พนิตนันท์ บุญพามี (2542: 78-87) กล่าวถึงความหมายว่าของข่าวว่า ข่าว คือ การรายงานเหตุการณห์ รือเรื่องราวท่ีเกิดข้นึ ซึง่ อยใู่ นความสนใจใครร่ ขู้ องประชาชน วิวัฒน์ ใจเท่ียง (2539: 46) ให้นิยามว่าขา่ ว หมายถึง การรายงานเหตุการณ์ปัจจุบันที่ เปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทนี่ า่ สนใจ มคี วามทนั สมยั ทนั ต่อเหตุการณ์ และเปิดเผยแง่มุมต่างๆ สิริวรรณ นันทจันทูล (2546: 72) กล่าวว่าข่าว คือ การรายงานข้อเท็จจริงของ เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึน ตลอดจนความคิดเห็นของบุคคลสาคัญ เป็นเร่ืองราวท่ีน่าสนใจซึ่งประชาชนให้ ความสาคัญและสนใจ รวมทัง้ มผี ลกระทบตอ่ ผูค้ นจานวนมาก โดยสรุปแล้ว ข่าว หมายถึง งานเขียนเพ่ือการรายงานเหตุการณ์ ข้อเท็จจริงท่ีคนใน สังคมให้ความสนใจ และอาจส่งผลกระทบต่อคนหมู่มาก มีข้อมูลทันสมยั ทันเหตกุ ารณ์ ข่าวทีม่ ีผู้นิยม อ่านเป็นจานวนมาก และมีอิทธิพลต่อความคิดและการเคลื่อนไหวทางสังคมคือ ข่าวหนังสือพิมพ์ ท่ีมี ลกั ษณะการตพี ิมพอ์ อกเป็น รายวนั และรายสัปดาห์ เปน็ ตน้ 2.2 รปู แบบของการเขียนข่าว ปจั จุบนั นน้ี ิยมเขียนข่าวในลักษณะพีระมิดหัวกลับ คือ เรียงลาดับความสาคัญจากมาก ไปหาน้อย ผู้อ่านไม่จาเป็นต้องเสียเวลาในการอ่านข่าวท้ังหมด แต่การอ่านเพียงพาดหัวข่าวก็ทาให้ ทราบประเด็นสาคัญของข่าว และการอ่านความนาข่าวก็สามารถเก็บใจความสาคัญของข่าวได้อย่าง ครบถ้วน แต่ถ้าหากผู้อ่านมีเวลาและต้องการทราบรายละเอียดก็สามารถอ่านในส่วนของเนื้อหา เพม่ิ เติมได้ รปู แบบการเขยี นข่าวแบบพรี ะมิดหัวกลับมลี กั ษณะดงั น้ี ความนา ส่วนเชอ่ื ม(ถา้ มี) เนอ้ื เรื่องขา่ ว ภาพที่ 2-1 การเขียนข่าวรปู แบบพรี ะมดิ หวั กลับ ทีม่ า (สริ วิ รรณ นันทจนั ทูล, 2546: 95)

112 2.3 โครงสร้างของขา่ ว สิริวรรณ นันทจันทูล (2546: 77-86) และอมรพรรณ ซุ้มโชคชัยกุล (2550: 16-17) อธบิ ายโครงสรา้ งของข่าวไวม้ ีความคลา้ ยคลงึ กันดงั ตอ่ ไปน้ี 2.3.1 พาดหัวขา่ ว เปน็ ข้อความท่ีดึงดูดความสนใจของผู้อ่านใช้ตัวอักษรโต และบอกให้ ทราบว่ามีอะไรเป็นประเดน็ สาคัญท่ีสุดของข่าว อาจมีพาดหัวข่าวรองเพ่ิมเติมในกรณีที่ไม่สามารถเก็บ ใจความสาคญั ในพาดหวั ข่าวไดเ้ พยี งพอ 2.3.2 ความนาหรอื วรรคนา มักจะอยู่ต่อเน่ืองจากพาดหัวข่าว ผู้สือ่ ข่าวจะจับประเด็น สาคัญของเหตุการณ์ท้ังหมดมารายงานอย่างส้ันๆ ว่ามีอะไรเกิดขึ้น ด้วยการบอก ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมอ่ื ไหร่ ไว้ในสว่ นน้ี 2.3.3 ส่วนเชื่อม เป็นส่วนท่ีเชื่อมระหว่างความนาและเน้ือข่าว มักมีเขียนสั้นๆ 1 ย่อหน้า มีเนื้อหาในการบอกแหล่งข้อมูลหรือที่มาของข่าว ปัจจุบันนักข่าวไม่นิยมเขียนส่วนเช่ือม มากนัก 2.3.4 เน้ือเรื่อง เป็นรายละเอียดของเหตุการณ์โดยส่วนใหญ่มีรูปแบบการนาเสนอ ตามลาดับเหตุการณ์สาคัญมากไปหานอ้ ย นอกจากน้ี ภาพประกอบข่าว ยังนับเป็นส่วนประกอบสาคัญที่จะทาให้ผู้อ่านเข้าใจ เหตุการณ์ได้ดีย่ิงข้ึน ภาพประกอบข่าวเป็นส่วนที่สามารถดึงดูดความสนใจของผู้อ่านต้ังแต่คร้ังแรก และการดูภาพจะทาให้ผู้อ่านสามารถคาดเดาเหตุการณ์ได้ และจะมีความเข้าใจมากข้ึนจากการอ่าน พาดหัวข่าวท่ีมักจะอยู่คู่กัน โดยเฉพาะข่าวสาคัญของฉบับจะถูกคัดเลือกภาพประกอบข่าวและ พาดหวั ข่าว โดยจัดวางไวท้ ่ีหนา้ ทหี่ น่ึงของหนังสอื พมิ พ์ เพือ่ ใหผ้ อู้ ่านสะดดุ ตา และเกิดความสนใจทีจ่ ะ ร้เู นื้อหาของข่าวนน้ั ๆ ให้ลึกย่งิ ข้นึ 2.4 การใช้ภาษาในขา่ ว เน่ืองจากหนังสือพิมพ์มีข้อจากัดเรื่องของเวลาในการตีพิมพ์ท่ีต้องเร่งด่วน วันต่อวัน หรือบางฉบับ มีกาหนดออกทั้ง เช้าและบ่าย ประกอบกับพื้นที่ในการเขียนข่าวมีจากัด อีกท้ังมีคู่แข่ง สูงทาให้ภาษาที่ใช้ในการเขียนข่าวโดยเฉพาะในหนังสือพิมพ์ปริมาณ ท่ีนาเสนอข่าวเบาและเน้นเร่ือง ยอดขาย เช่น เดลินิวส์ และไทยรัฐ มีการใช้ภาษาที่หวือหวาตามรูปแบบเฉพาะของหนังสือพิมพ์ เช่น การใช้คาแปลกใหม่ การใช้ สมญานาม การใช้เคร่อื งหมาย การใชภ้ าษาปากและภาษารนุ แรง เป็นตน้ 2.5 ตัวอยา่ งการอ่านขา่ ว จากหนงั สอื พิมพ์มตชิ น วันที่ 14 ธนั วาคม 2558 แฉเล่หพ์ ่อคา้ -โรงสปี ลอมขา้ วเกรดเอ  ลอบนา่ เข้าข้าวคณุ ภาพต่าผสม ‘หอมมะลิ’  ‘พะเยา-สารคาม’เตอื น-รับแจง้ เบาะแส

113 นายสรธร สันทัด รองผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยาเปิดเผยว่า ในฐานะประธาน คณะอนุกรรมการติดตามกากับดูการบริหารจัดการข้าวระดับจังหวัด ได้ตั้ง คณะกรรมการร่วมในการดูแลข้าวในปีการผลิตข้าวเปลือกในปี 2558/59 ซ่ึงจังหวัด พะเยาเป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพดีเกรดเอระดับประเทศมีราคารับซ้ือสูงกว่า ภาคอื่นประมาณ 550-1000 บาท ที่ผ่านมาจังหวัดจัดประชุมหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องหา มาตรการปอ้ งกนั กลมุ่ พ่อค้านอกพ้ืนทร่ี ่วมกบั เจา้ ของโรงสใี นพน้ื ท่ีปลอมปนข้าว “คณะกรรมการลงพื้นท่ีเก็บข้อมูลทั้งทางตรงและทางลับ ได้รับรายงานว่า มีเจ้าของโรงสีบางแห่งลอบนาข้าวหอมมะลิคุณภาพต่า หรือข้าวเก่าในปีที่ผ่านมาจาก จังหวัดอ่ืนๆ หรือข้าวพันธุ์พิษณุโลกมาปลอมปนกับข้าวหอมมะลิพะเยา นาออกขายใน ราคาถูกตันละ 7000-8000 บาท ซ่ึงสร้างความเสียหายต่อคุณภาพข้าวเปลือกหอมมะลิ พะเยา จังหวัดได้ประกาศแจ้งพฤติกรรมของพ่อค้าและเจ้าของโรงสีท่ีสมรู้ร่วมคิด การกระทาความผิดดังกล่าว หากผู้ใดพบการกระทาดังกล่าวหรือพบเบาะแส ร้องเรียน ไดท้ ่สี านักงานพาณชิ ยจ์ ังหวัด โทร 0-541-1160,0-5444-9735 หรอื สายดว่ นกรมการค้า ภายใน 1569” นายสรธรกล่าว นายโชคชัย เดชอมรธัญ ผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม กล่าวว่า จากการสืบ ทราบขอ้ มูลเชงิ ลึกพบว่า มีพอ่ คา้ ข้าวเปลอื กรายย่อยหลายจังหวัดนาข้าวเปลือกคุณภาพ ต่าจากจังหวัดอ่ืนมาผสมกับข้าวเปลือกหอมมะลิ 105 แล้วนาออกขายให้โรงสีสหกรณ์ การเกษตร และตลาดนัดข้าวเปลือก พฤติกรรมดังกล่าวเป็นการกระทาความผิดฐาน ปลอมปนสินค้า ฉ้อโกง ทาให้ผู้อ่ืนรับซ้ือข้าวได้รับความเสียหาย เสียช่ือเสียงในฐานะ แหล่งผลิตขา้ วหอมมะลิคุณภาพดจี ึงแจง้ เตือนผเู้ กีย่ วข้องใหไ้ ดร้ ับทราบและปฏบิ ตั ิ “ขอให้ผู้มีพฤติกรรมดังกล่าวหยุดการกระทานั้น หากตรวจพบจะมีความผิดต้อง ระวางโทษจาคุกไมเ่ กิน 3 ปี หรือปรับไม่เกนิ 6,000 บาท หรือทงั้ จาท้ังปรับ ทงั้ ความผิด ฐานปลอมแปลงสินค้าและฉ้อโกง พร้อมขอให้พ่อค้าข้าวเปลือกสหกรณ์การเกษตร และ โรงสีข้าวที่รับซอ้ื ข้าวเปลือกหอมมะลิ 105 ใชค้ วามระมัดระวัง ตรวจสอบคุณภาพขา้ วให้ ละเอียดมากข้ึน หากตรวจพบการปลอมปนขอให้รีบแจ้งความดาเนินคดีกับเจ้าของข้าว และผู้นาข้าวมาขายทันที ขอให้เกษตรกรช่วยกันสอดส่อง หากพบว่าพ่อค้ารายใดมี พฤติกรรมดังกลา่ วขอให้แจง้ กานัน ผใู้ หญ่บ้าน สมาชกิ สหกรณ์การเกษตรประจาหมู่บ้าน หรือสานกั งานพาณชิ ย์จังหวัด โทร 0-4371-1073” นายโชคชยั กลา่ ว (แฉเลห่ ์พ่อคา้ -โรงสปี ลอมขา้ วเกรดเอ, 2558: หน้า 28) จากการอ่านข่าว “แฉเล่ห์พอ่ คา้ -โรงสีปลอมข้าวเกรดเอ” เมอ่ื ผอู้ ่านอ่านพาดหวั ขา่ วหลักและ พาดหัวข่าวรองก็จะทราบได้ทันทีว่าประเด็นของเร่ืองคือ การกล่าวถึงปัญหาการปลอมปน

114 ข้าวหอมมะลิในเขตพ้ืนท่ีจะจังหวัดพะเยาและมหาสารคาม และเมื่ออ่านต่อในส่วนความนาและ เนื้อเรื่องก็จะทราบรายละเอียดของข่าวเช่น ใครเป็นผู้ให้ข้อมูล เหตุการณ์เป็นอย่างไร และจะช่วยกัน ป้องกันและแก้ไขอย่างไร ผู้อ่านจะได้รับข้อมูลท่ีจัดเป็นข้อเท็จจริงที่เกิดข้ึนในสังคมนอกจากนั้นสิ่งที่ ผู้อ่านควรจะคิดต่อก็คือเราสามารถช่วยได้หรือไม่ ทราบเบาะแสที่เป็นประโยชน์ซึ่งจะช่วยใน การทางานของรัฐบาลหรือไม่หากมีเราก็ควรทาหน้าที่พลเมืองท่ีดีโดยติดต่อแจ้งข้อมูลผ่านหมายเลข โทรศัพท์ที่ระบุในข่าว นอกจากน้ีผู้อ่านอาจแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมต่อสถานการณ์ท่ีกาลังเกิดข้ึน และเป็นความเสียหายโดยส่วนรวม 3. สารคดี 3.1 ความหมายของสารคดี มีผใู้ ห้ความหมายของงานเขยี นประเภทสารคดีไว้หลากหลายดังน้ี ชลอ รอดลอย (2544: 3) กล่าวว่าสารคดี คือ งานประพันธ์ร้อยแก้วท่ีผู้เขียนมุ่งที่จะ เสนอความรู้และความจริงเกี่ยวกับเร่ืองราวต่างๆ เป็นหลัก เพ่ือให้ผู้อ่านได้รับท้ังความรู้และ ความเพลดิ เพลนิ ไปพร้อมๆ กันดว้ ย ถวัลย์ มาศจรัส (2545: 244-245) กล่าวว่าสารคดี คือ งานเขียนท่ียดึ ถือเรื่องราวจาก ความเป็นจริงนามาเขียน เพ่ือมุ่งแสดงความรู้ ความจริง ทรรศนะ ความคิดเห็นเป็นหลักด้วยการจัด ระเบียบความคิดในการนาเสนอ ผสมผสานในการถ่ายทอดต่อการสนใจใฝ่รู้ของผู้อ่าน เพ่ือให้เกิด คณุ ค่าทางปญั ญา นอกจากน้นั สารคดีทีแ่ ต่งข้ึนตอ้ งใช้สานวนภาษาที่คมคายชวนใหต้ ิดตามอา่ น ธัญญา สังขพันธานนท์ (2548: 19) ได้ให้ความหมายของสารคดี ตามแนวการเขียน สารคดแี นวใหม่ว่า เป็นงานท่ีอยู่ก่ึงกลางของงานเขียนวชิ าการกับวรรณกรรม การเขียนสารคดีจะต้อง อาศัยข้อมูลจริง ผู้เขียนจะต้องทาการศึกษาค้นคว้า เก็บรวบรวมตีความข้อมูลเพื่อให้ได้รายละเอียดที่ ถูกต้องมาเป็นวัตถุดิบ นักเขียนสารคดีต้องนาเสนอเน้ือหาทางวิชาการให้ชวนอ่าน สร้าง ความเพลดิ เพลนิ แก่ผูอ้ า่ น ด้วยการหยบิ ยมื วิธีการเขยี นของนวนิยายและเร่อื งส้ัน ปราณี สุรสิทธ์ิ (2549: 256-258) กล่าวว่า ความหมายของสารคดีมีสองรูปแบบ แบบท่ี 1 มาจากคาว่า Non-Fiction (ไม่ใช้เร่ืองสมมติ) หมายถึง ข้อเขียนที่มีเนื้อหาสาระและมี จุดประสงค์เพ่ือให้ความรู้ความคิดแก่ผู้อ่าน ในขณะเดียวกันก็ให้ความบันเทิงแก่ผู้อ่านด้วย ความสามารถในการใชภ้ าษารอ้ ยแก้วทสี่ ละสลวยของผเู้ ขียน และความหมายในแบบที่ 2 มาจากคาว่า Feature เปน็ สารคดีทมี่ ีบทบาทสาคัญในหนงั สือพิมพ์และนิตยสาร มีลกั ษณะพเิ ศษคือ ทาเร่อื งยากให้ เป็นเรื่องงา่ ย ไม่สลับซับซ้อน เนน้ ความเบาสมอง ความแปลกเพื่อสนองความต้องการของผอู้ า่ นโดยไม่ ทาให้ผู้อ่านเบื่อหน่าย ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับความคิดเชิงสร้างสรรค์ของผู้เขียนว่าจะเลือกเร่ืองอะไร จะใช้ กลวิธีอย่างไรจงึ จะน่าสนใจ

115 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาภาษาไทย และภาษาตะวันออก (2553: 89) ให้นิยามว่า สารคดี เป็นงานเขียนที่มุ่งเสนอสาระความรู้ และ ข้อเท็จจริงเร่ืองใดเรื่องหนึ่งแก่ผู้อ่าน เป็นงานเขียนท่ีเกิดขึ้นจากความจริง และมุ่งเสนอความจริงเป็น สาคัญ ในการเขียนสารคดนี ั้นผู้เขียนจะต้องมีกระบวนการและขั้นตอนในการเขยี น เช่น การลงไปเก็บ ข้อมูลจากสถานที่จริง การสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องซ่ึงมีตัวตนจริงๆ หรือค้นคว้าจากเอกสารท่ี สามารถอ้างอิงได้ สรุปได้ว่าความหมายของสารคดีจากอดีตและปัจจุบันมีความต่างกันเล็กน้อย คือ ในอดีตให้ความหมายของสารคดีว่า เป็นเรื่องจริงไม่ใช่เรื่องสมมติ การถ่ายทอดเนื้อหาจึงเน้นท่ี การนาเสนอสาระ ความรู้ ข้อเท็จจริงอันสามารถพิสูจน์ได้ ด้วยลีลาการเขียนท่ีค่อนข้างจริงจัง การให้นิยามของคาว่าสารดี ข้างต้นนี้ ตรงกับคาว่า Non-Fiction ในภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นการให้ ความหมายอย่างกว้างๆ แตกต่างกับในปัจจุบัน ที่ให้ความหมายของสารคดีได้แคบกว่า คือ สารคดี เป็นงานเขียนประเภทหนึ่งที่ผู้เขยี นมีเจตนาในการถ่ายทอดสาระ ความรู้ ข้อเท็จจรงิ แต่ขณะเดียวกัน ในการถ่ายทอดสารให้ผู้อ่านก็ต้องมีศิลปะในการเขียนให้ผู้อ่านเพลิดเพลินและสนใจท่ีจะติดตามอ่าน จนจบได้ ตรงกับคาว่า Feature สารคดีแบบใหม่นี้เป็นท่ีนิยมและมักจะตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ และ นิตยสาร เนื่องจากสิ่งพิมพ์ในกลุ่มนี้เป็นการผลิตท่ีหวังผลเร่ืองยอดขาย ฉะน้ันรูปแบบใหม่ๆ การใช้ ภาษาท่ีน่าสนใจ ประกอบกับข้อมูลท่ีมคี วามถูกตอ้ งมีการอา้ งอิงที่น่าเชื่อถอื จะทาให้สารคดีเป็นที่นิยม สาหรบั ผอู้ า่ นได้มากขึน้ 3.2 ลกั ษณะของสารคดี พิมาน แจ่มจรัส (2550: 410) กล่าวถึงสารคดีตามความหมายวิชาการว่า ควรมี องคป์ ระกอบ “ไม”่ ดังต่อไปนี้ 3.2.1 ไมเ่ กีย่ วกับเงื่อนเวลา จะเสนอเมอ่ื ไหรก่ ไ็ ด้ ไม่จาเปน็ ต้องสดใหม่ และนาเสนอให้ ทันเหตุการณ์ เช่น การเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช ย์มาเป็น ประชาธิปไตย เกิดมานานแล้วแตอ่ าจเขียนข้นึ ใหม่เมื่อไหรก่ ็ได้ 3.2.2 ไม่เก่ียวกับข่าว น่ันคือไม่ได้เกิดจากผลกระทบของกระแส แต่เกิดจาก การวางแผนตามความตอ้ งการของผู้เขยี น 3.2.3 ไม่ใช้เขียนข้ึนจากจินตนาการหรือน่ังเทียน แต่เป็นการค้นคว้าเรียบเรียง ขอ้ เท็จจริง นามาแยกแยะวิเคราะห์วจิ ารณน์ าเสนอตอ่ ผู้อา่ นที่สนใจ 3.2.4 ไม่เสนอรายละเอียดท่ีเย่ินเย้อและมากเกินไป เช่น ข้อมูลทางสถิติ ซึ่งจะ กลายเป็นตาราหรอื หนงั สือวิชาการไป เนื่องจากสารคดีมีลักษณะท่ีเน้นการนาเสนอข้อมูลท่ีเป็นข้อเท็จจริงอันจะช่วยเพ่ิมพูน ความรู้ให้กับผู้อ่าน ด้วยท่วงทานองการเขียนท่ีน่าติดตาม ดังนั้นบทบาทของสารคดี นอกจากจะเป็น การบอกเลา่ เรอื่ งราว เสนอขอ้ มูล และให้ความรูแ้ ล้ว ผ้อู า่ นยงั ไดร้ ับความบันเทงิ จากการอ่านอีกดว้ ย

116 3.3 โครงสร้างของสารคดี ถวัลย์ มาศจรัส (2545: 254-256) กล่าวถึงโครงสร้างสาคัญสาหรับการเขียนสารคดี มอี ยู่ 3 สว่ น ดงั นี้ 1)สว่ นนาเรอ่ื ง 2)สว่ นเนอื้ เรอื่ ง และ3)ส่วนสรุปเรื่อง สามารถสรุปไดด้ งั นี้ 3.3.1 นาเรื่อง การอ่านนาเรื่องเหมือนการดูไตเต้ิลของภาพยนตร์ เพราะมีผลต่อ การเรียกความสนใจของผ้อู ่าน 3.3.2 เน้ือเรื่อง นับเป็นส่วนสาคัญของสารคดี เพราะสารคดีแต่ละเร่ืองจะมี ความน่าสนใจมากน้อยเพียงใดข้ึนอยู่กับเน้ือเร่ืองเป็นสาคัญ ผู้เขียนจะกล่ันกรองสาระท่ีจะนาเสนอ อย่างรอบคอบ เพ่อื ใหผ้ ูอ้ า่ นไดป้ ระโยชน์ เกิดการเรียนรูใ้ นสาระจากเรอื่ งท่อี ่าน การประเมินคุณค่าของสารคดีแต่ละเรื่องนั้น ประเมินคุณค่าที่เหมาะกับ กลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่มเป็นสาคัญ เพราะสารคดีบางเร่ือง คนกลุ่มหน่ึงอาจจะไม่สนใจเลยเพราะ สารคดเี รือ่ งนนั้ ๆ ไม่ไดอ้ ยู่ในวิชาชพี ของเขานั่นเอง 3.3.3 สรุปเร่ือง การสรุปเรื่องเป็นการเขียนเพ่ือขมวดปมของเรื่องให้ยุติตรงตาม เป้าหมายที่ตอ้ งการตามจดุ ม่งุ หมายที่กาหนดไว้ เช่น 1)สรุปให้เห็นความสาคัญของเนื้อเรอ่ื งท่ีนาเสนอ 2)สรุปความคิดเห็นที่เห็นว่าเป็นประโยชน์กับชีวิตและสังคม 3)สรุปเนื้อเร่ืองเพ่ือโน้มน้าวให้เกิด ความรว่ มมือในดา้ นต่างๆ และ4)สรปุ เพ่ือให้เกดิ ความตระหนกั นอกจากส่วนประกอบของสารคดีท้ัง 3 ส่วนข้างต้นแล้ว ถวัลย์ มาศจรัส ก็ได้กล่าวถึง ความสาคัญของการใช้ภาพประกอบว่า สารคดีต้องมีภาพประกอบเพื่อให้สารคดีมีความสมบูรณ์และ นา่ เช่อื ถอื มากยงิ่ ข้นึ ท้งั ยังเป็นการเรียกร้องความสนใจจากผอู้ ่านให้ติดตามอา่ นอย่างใจจดใจจ่อ สรุปได้ว่าการอ่านสารคดี นอกจากผู้อ่านต้องอ่านช่ือเรื่องของสารคดี และ ส่วนประกอบทั้งสามท่ีกล่าวมาข้างต้นแล้ว การอ่านภาพประกอบก็มีความสาคัญยิ่งใน การทาความเข้าใจเนอื้ หา 3.4 ประเภทของสารคดี ธัญญา สังขพันธานนท์ (2548: 23-27) ได้แบ่งประเภทของสารคดีท่ีลงตีพิมพ์ใน นิตยสาร วารสาร และหนังสอื พมิ พ์ในปจั จุบันออกเป็น 9 ประเภทดงั นี้ 3.4.1 สารคดีรายงานเหตุการณ์ หมายถึง สารคดีมุ่งเสนอเรอื่ งราวซ่ึงเป็นการรายงาน เหตุการณ์ หรือกิจกรรมท่ีเกิดขึ้น ณ ที่ใดท่ีหนึ่ง และเหตุการณ์หรือกิจกรรมน้ันมีสาระน่ารู้ท่ีเป็น ประโยชน์กับสาธารณชนหรือบุคคลในแวดวงท่ีเก่ียวข้องอย่างไร เช่น บทรายงาน การสัมมนา การประชมุ ทางวิชาการ หรือการจดั งานราลึกบคุ คลและเหตกุ ารณ์สาคัญ เป็นต้น 3.4.2 สารคดชี ีวิตบคุ คล หมายถึง สารคดที ี่มุ่งนาเสนอเรื่องราว หรือแง่มุมในชีวติ ของ บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ไม่จากัดว่าจะต้องเป็นคนเด่นคนมีช่ือเสียง แต่ชีวิตของบุคคลธรรมดาสามัญก็ สามารถนามาเขียนเป็นสารคดีชีวิตประเภทน้ีได้ ขึ้นอยู่กับการเลือกและการจับประเด็นที่จะนาเสนอ ลักษณะของสารคดเี กย่ี วกับชีวิตของบคุ คลจะเป็นการนาเสนอขอ้ มูลทจี่ าเปน็ เก่ียวกบั ชีวประวัติ อาชีพ

117 การงาน การต่อสชู้ วี ิต ความสาเร็จหรอื ความล้มเหลว อดุ มคติหรือปรชั ญาชีวิตท่ีบคุ คลนนั้ ๆ ยึดถอื เป็น แนวทาง 3.4.3 สารคดีเด็ก เป็นสารคดีท่ีมุ่งเสนอเร่ืองราวของเด็กๆ ท้ังในด้านของ ความบริสุทธ์ิ น่ารัก ความไร้เดียงสาและความใฝ่ฝัน หรืออาจนาเสนอ ตีแผ่ให้เห็นถึงปัญหาต่างๆ ท่ี เกิดข้ึนกับเด็ก เช่น การเอารัดเอาเปรียบ การกดข่ีและการทารุณกรรมเด็ก ตลอดจนการใช้แรงงาน เด็ก 3.4.4 สารคดีท่องเทย่ี ว เป็นสารคดีที่ได้รบั ความนยิ มต้ังแตอ่ ดีตจนถงึ ปจั จุบนั และเป็น แนวการเขยี นสารคดที ี่เกา่ แก่ เกิดขึน้ นับแต่มนษุ ยไ์ ด้เดินทางไปในท่ีต่างๆ เปน็ การบันทึกและถ่ายทอด ประสบการณ์ ความประทับในเกี่ยวกับสถานท่ี ผู้คนในภูมิประเทศและวัฒนธรรมท่ีนักเดินทางไป สมั ผัสพบ การให้ข้อมูลและความรูเ้ ก่ียวกับสถานทีท่ ่เี ป็นแหล่งทอ่ งเทยี่ ว เชน่ การเดินทาง ทพ่ี กั แหล่ง ซ้ือของ ฯลฯ สารคดีทอ่ งเทยี่ วได้รบั ความนยิ มมากที่สดุ ในหมนู่ ักอา่ น เห็นได้จากนิตยสาร หรือวารสาร แทบทุกเล่มจะต้องนาเสนอสารคดปี ระเภทน้ี 3.4.5 สารคดีเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สารคดีประเภทนี้มีเน้ือหาหลักใน การนาเสนอเรื่องราวเก่ียวกับธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยช้ีให้เห็นคุณประโยชน์และความสัมพันธ์ ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศตลอดจนการอนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพแวดล้อม ดิน น้า ป่า ภูเขา หรือการตีแผ่ให้เห็นปัญหาและวิกฤติทางด้านสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันสารคดีประเภทนี้ได้รับความสนใจ เป็นอยา่ งมาก เห็นไดจ้ ากมีการนาเสนอในนติ ยสารหลายฉบบั เชน่ สารคดี วารสาร อ.ส.ท. เปน็ ต้น 3.4.6 สารคดีวิถีชีวิต ได้แก่สารคดีท่ีมุ่งเสนอเร่ืองราวการดาเนินชีวิตของกลุ่มคนกลุ่ม ใดกลุ่มหน่ึงที่เห็นว่ามีลักษณะพิเศษเฉพาะท่ีน่าสนใจ เพ่ือนาเสนอและเปิดเผยให้ผู้อ่านรับรู้ เช่น วิถีชีวิตของชนกลุ่มน้อย กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ในบริบททางประเพณี ความเช่ือและวัฒนธรรมเฉพาะ กลุ่ม นอกจากน้ีแล้วยังหมายถึงวิถีชีวิตของกลุ่มคนในบางส่ิงแวดล้อม เช่น ชีวิตคนในสลัมใต้ สะพานลอย วิถีชีวิตของนักศึกษาในหอพัก วิถีชีวิตของสาวหางเคร่ือง เป็นต้น สารคดีวิถีชีวิตเป็น สารคดีท่ีผู้เขียนต้องลงไปเก็บข้อมูลในสนามหรือในพื้นที่จริง สารคดีประเภทนี้ไม่เพียงแต่ให้ ประสบการณเ์ กี่ยวกับสงั คมมนษุ ยเ์ ท่านนั้ แต่ยงั มคี ุณคา่ ในทางมานุษยวิทยาและสงั คมวิทยาอีกด้วย 3.4.7 สารคดีเกี่ยวกับสตรี คือสารคดีท่ีมุ่งเสนอเร่ืองราวของสตรีท้ังรายบุคคลและ กลุ่มสตรี ซึ่งมักมีประเด็นท่ีนาเสนอเกี่ยวกับความสนใจ รสนิยม ชีวติ การงานในแตล่ ะอาชีพ ตลอดจน ปัญหาของสตรีในด้านตา่ งๆ เช่น การทาแท้ง การถกู ข่มขนื ปญั หาแรงงานสตรี กลุ่มสตรีในชนบทและ บทบาทของสตรใี นดา้ นการเมอื ง เศรษฐกจิ และสงั คม เป็นตน้ 3.4.8 สารคดีรายงานพิเศษ หรือที่เรียกว่า “สกู๊ปพิเศษ” เป็นสารคดีท่ีมีขนาดยาว อาศัยการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบรอบด้าน และใช้เวลานานพอสมควร และยิ่งสาคัญ คือ ผู้เขียน สารคดีประเภทน้ีต้องลงไปสัมผัสกับข้อมูลจริง สารคดีรายงานพิเศษมักจะนาเสนอเรื่องราวท่ีมี ลักษณะท้าทายความสามารถในการเก็บข้อมูล หรือเป็นประเด็นท่ีต้องใช้ความเสี่ยง อาจเป็นเร่ืองที่

118 เก่ียวข้องไม่อยากเปิดเผย เพราะผิดกฎหมายหรือไม่ถูกต้องตามประเพณีอันดีงามของสังคม ดังจะเห็นได้จากสารคดีประจาฉบับที่ถูกนามาข้ึนปกในนิตยสาร “สารคดี” หรือในผลงานสารคดี ของอรสม สุทธิสาคร เป็นต้น 3.4.9 สารคดีเชิงวิจารณ์ หรือบทวิจารณ์ ได้แก่ สารคดีท่ีมุ่งแสดงความคิดเห็นติชม หรือวิพากษ์วิจารณ์ในเรื่องใดเรื่องหน่ึง มักปรากฏในหน้าวารสารและนิตยสารแทบทุกฉบับ เช่น บทวิจารณ์ภาพยนตร์ วิจารณ์ดนตรี วิจารณ์หนังสือ วิจารณ์แฟชั่น ฯลฯ บทวิจารณ์จะมุ่งประเด็น ติชมและวิเคราะห์ อธิบายได้รับความรู้เพ่ิมเติมความเกี่ยวกับองคป์ ระกอบคุณค่าสาระและรวมไปถึง การประเมินค่า บทวิจารณท์ ี่ดไี ม่เพยี งแตแ่ สดงความคดิ เหน็ ติชมเทา่ นั้น แตผ่ ูเ้ ขียนจะต้องมีความรแู้ ละ มหี ลักในการวจิ ารณ์ สามารถวเิ คราะห์อธบิ ายหรอื ตคี วามให้ผอู้ ่าน 3.5 ตวั อยา่ งการอ่านสารคดี อพั เดตภัยเงียบจากความหวาน ในปัจจุบันพฤติกรรมการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ยังเป็นที่นิยมของ คนไทยมาอยา่ งต่อเน่ือง ไม่วา่ มันจะถูกนิยามให้เป็นภัยเงยี บต่อสุขภาพมากขนาดไหนแต่ คนไทยจานวนไม่น้อยก็พร้อมที่จะแลกกับความเส่ียงสารพัดโรคและหน่ึงในมหันตภัย เงยี บทน่ี ับวันจะมีสถติ มิ ากขนึ้ กค็ ือความหวาน จะว่ากันตามจริงแล้วเมื่อกอ่ นคนไทยยังบริโภคความหวาน โดยเฉพาะน้าตาล กันน้อยมาก แต่จากสถิติในชว่ ง 2-3 ปีที่ผา่ นมากลับพบวา่ คนไทยบริโภคนา้ ตาลสงู ถึงคน ละเกือบ 30 กก./ปี หรือสูงกว่ามาตรฐานถึง 3 เท่า นี้ยังไม่รวมการบริโภคความหวาน จากผลิตผลธรรมชาติและสารให้ความหวานท่ีใช้แทนน้าตาลอื่นๆ ซึ่งพฤติกรรมเช่นนี้ ยอ่ มส่งผลต่อสขุ ภาพอยา่ งยากทจ่ี ะหลกี เลย่ี ง นพ.สมบูรณ์ รุง่ พรชัย แพทยผ์ ้เู ชีย่ วชาญด้านเวชศาสตร์ชะลอวัย ศนู ยส์ ง่ เสริม สุขภาพไวทัลไลฟ์ ในเครือโรงพยาบาลบารุงราษฎ์ กล่าวว่าการบริโภคน้าตาลในปริมาณ ท่ีมากเกินไปย่อมทาให้มีความเส่ียงสูงที่จะเป็นโรคเบาหวาน โรคอ้วน และ โรคไขมันพอกตับ ที่น่ากังวลก็คือ ปัจจุบันพบว่ามีอัตราการเกิดโรคเหล่านี้สูงในกลุ่มคน หนุ่มสาวและเด็ก ซ่ึงต่างจากในอดีตท่ีผู้ป่วยโรคเบาหวานมักจะเป็นผู้ใหญ่ท่ีมีอายุ 40 ปี ขึ้นไป แนวทางสาคัญจึงข้ึนอยู่กับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยการบริโภคน้าตาลแต่ พอดี ควรเลือกรับประทานน้าตาลชนิดท่ีมีประโยชน์ เพราะน้าตาลแต่ละชนิด จะส่งผล ตอ่ สขุ ภาพทแ่ี ตกต่างกันออกไป กลูโคสเป็นน้าตาลที่ร่างกายสร้างขึ้นมาเองตามธรรมชาติจากการเปล่ียน พลังงานคาร์โบไฮเดรตท่ีได้จากข้าวหรือพาสต้า กลูโคสถูกดูดซึมสู่ตับได้โดยง่ายและจะ ถูกส่งต่อไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย กลูโคสเป็นสิ่งสาคัญเพราะป็นแหล่งพลังงานหล่อ เล้ยี งเซลลต์ า่ งๆในร่างกาย โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เซลลส์ มอง

119 สว่ นฟลุคโตสเป็นสิ่งที่ตรงกันข้าม ฟลุคโตสเป็นน้าตาลที่พบได้ในผักและผลไม้ ทเ่ี ตมิ เข้าไปในเคร่อื งด่ืมหลายอย่าง เชน่ น้าอัดลม น้าผลไม้กล่อง อย่างไรก็ตามฟลุคโตส ไม่ได้สร้างพลังงานให้กับกล้ามเนื้อหรือสมองแต่มันจะถูกส่งตรงไปที่ตับและสะสมเป็น ไขมนั และไมไ่ ดถ้ ูกดึงมาใชง้ านทสี่ าคัญฟลคุ โตสยังไประงับการกระต้นุ ให้ร่างกายหล่ังสาร อซี ลู ิน พดู งา่ ยๆก็คือคนท่ีบริโภคฟลุคโตสเป็นจานวนมากมีความเสีย่ งสูงในการเป็นโรคที่ เกดิ จาการเผาผลาญอาหารท่ีผิดปกติอย่างเช่นความดันสงู นา้ ตาลในเลือดสงู โรคอ้วนลง พงุ ระดับคอลเลตเตอรอลผดิ ปกติซง่ึ นาไปส่กู ารเกดิ โรคหัวใจและเบาหวานในที่สดุ “น้าเช่ือมท่ีมีฟลุคโ ตสสูง( High-Fructose Corn Syrup) เป็นสารให้ ความหวานแทนน้าตาลท่ีมีราคาถูกสารนี้ใช้กันอยา่ งแพร่หลายในอุตสาหกรรมเคร่ืองดื่ม และอาหารและเป็นมหันตภัยความหวานอันดับแรกที่เราควรหลีกเล่ียงการบริโภค น้าเช่ือมฟลุคโตสสูงในปริมาณสูงถึง 42-55% น้ันแสดงให้เห็นถึงปัญหาด้านสุขภาพ เน่ืองจาการบริโภคฟลุคโตส จะทาลายระบบทางานของตับและไประงับเล็ปตินฮอร์โมน หรือฮอร์โมนอิ่ม ทาให้เราไม่รู้จักอ่ิมและทานเกินความต้องการจากผลวิจัยใน สหรัฐอเมริกาพบว่าน้าเชื่อมฟลุคโตสสูงน้ันเป็นพิษต่อร่างกายและสามารถทาลายระบบ ลาไสอ้ กี ด้วย” เพ่ือควบคุมปริมาณน้าตาลและฟลุคโตสที่เราบริโภคในแต่ละวัน นพ.สมบูรณ์ แนะนาว่าเราควรอ่านฉลากบนกล่องอาหารหรือเครื่องด่ืมเพ่ือดูว่ามีปริมาณน้าตาลหรือ ฟลุคโตสผสมอยู่มากแค่ไหนแต่ท่ีดีท่ีสุดคือเราควรทาอาหารทานเองเพราะจะทาให้เรา สามารถควบคุมสิ่งท่ีเราใส่ไปในอาหารได้ นอกจากน้ียังสามารถเพ่ิมทางเลือกในการปรุง รสหวานได้จากสมุนไพรอย่างเช่น หญ้าหวานหรือน้าผ้ึงธรรมชาติและใช้น้าตาลอ้อยใน ปริมาณน้อยลง ส่วนคนที่ชอบทานน้าอัดลม คุกก้ี ไอศกรีม หรือช็อคโกแลต ก็สามารถ ทานได้บ้างเป็นครั้งคราวแต่ไม่ควรทานประจา และเราก็สามารถใส่น้าตาลลงไปใน อาหารท่ีเราทาได้ แต่ควรหลีกเลี่ยงการใช้อาหารแปรรูปท่ีผสมน้าตาลอย่างเช่น ซอสมะเขอื เทศ เปน็ ต้น ผู้ที่มีระดับน้าตาลในเลือดสูงสามารถขอคาปรึกษาจากคุณหมอและ คณะแพทย์ได้โดยเฉพาะศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ คุณหมอจะทาการวิเคราะห์ อปุ นิสัยการทานและการใชช้ วี ติ ประจาวนั ของคนไข้ จากน้นั จะทาโปรแกรมการทานและ การลดการบริโภคน้าตาล ธัญพืชอาหารจาพวกแป้งและเพิ่มจานวนการบริโภคผักและ ไขมนั ดีอยา่ งกรดไขมัน โอเมก้า 3 เปน็ ตน้ (อพั เดตภยั เงยี บจากความหวาน, 2558: หน้า 21)

120 เม่ือผูอ้ ่านอ่านเร่อื ง “อัพเดตภัยเงียบจากความหวาน” จบลง จะตอ้ งไดร้ ับความรูเ้ ก่ยี วกับพิษ ภัยที่มากับความหวาน และตระหนักว่าร่างกายของมนุษย์เราไม่ต้องการสารให้ความหวานใด เพราะร่างกายของเราสามารถสร้างน้าตาล “กลูโคส”ได้เอง ผู้เขียนได้ช้ีให้เห็นว่าพฤติกรรม การบริโภคน้าตาลของคนไทยทม่ี ีแนวโน้มสูงข้นึ จากอดีตเป็นเรื่องนา่ ห่วง เพราะการบริโภคอาหารท่ีมี รสหวาน เช่น น้าอดั ลม คุกกี้ ไอศกรมี หรือช็อคโกแลต จะทาให้ร่างกายได้รับ “ฟลุคโตส” ซ่ึงจะถกู ส่ง ตรงไปท่ีตับและสะสมเป็นไขมันและไม่ได้ถูกดึงมาใช้เหมือนกลูโคส คนท่ีบริโภคฟลุคโตสมากจึงมี ความเสี่ยงสูงในการเปน็ โรค เช่น ความดันสูง น้าตาลในเลอื ดสงู โรคอ้วนลงพุง ระดับคอลเลตเตอรอล ผดิ ปกตซิ ่งึ ส่งผลตอ่ การเกิดโรคหัวใจและเบาหวาน ผูเ้ ขียนให้ความร้แู ละมกี ารอ้างองิ บุคคลที่น่าเชอ่ื ถือ ทาให้ผู้อ่านได้รับความรู้และเห็นโทษของการบริโภคอาหารหวาน สร้างความตระหนักให้ผู้อ่านใน การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพยิ่งข้ึน นอกจากนี้ในย่อหน้าสุดท้ายผู้เขียนยังได้ บอกแนว ทางกา ร แก้ปัญ ห าให้กับ ผู้ท่ีมีร ะดับ น้า ต าล ใน เ ลือดสู ง ด้ว ยกา รติ ดต่ อหน่ วย งาน ท่ีดู แล เฉพาะทาง 4. เร่ืองส้นั 4.1 ความหมายของเรือ่ งสน้ั วรรณกรรมที่กาลังเป็นท่ีนิยมสาหรับผู้อ่านที่ต้องการความบันเทิงประเภทหน่ึงที่จะ ละเลยเสียไม่ได้เลยคือ เรื่องสั้น เพราะเป็นเรื่องที่อ่านสนุกสนาน ใช้เวลาไม่มาก และผู้เขียนมักแฝง ขอ้ คิดให้กบั คนในสงั คม และด้วยเปน็ งานเขยี นที่ได้รบั การส่งเสรมิ มากอกี ประเภทหนึ่งจงึ มีผู้ศึกษาและ ให้ความหมายดงั น้ี ถวัลย์ มาศจรัส (2545: 201) กล่าวว่า เร่ืองสั้น คือ งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ในรูป ของบนั เทิงคดีทเ่ี สนอความคิดสาคัญเพียงความคิดเดยี ว เหตกุ ารณ์เดยี วในเวลาจากดั ทวีศักดิ์ ญาณประทีป (2554: 66) กล่าวว่า เร่ืองสั้น คือ ร้อยแก้วที่มีองค์ประกอบ ด้วยโครงเร่ืองตัวละคร ฉาก บทสนทนา อย่างเดียวกับนวนิยาย แต่สั้นกว่า เรื่องสั้นท่ีสมบูรณ์ควร ประกอบด้วยโครงเร่ือง แก่นของเรือ่ งมปี ระการเดียวใช้เวลาและสถานท่ี(ฉาก) นอ้ ย ตัวละครน้อย ปราณี สุรสิทธิ์ (2549: 311) แสดงทัศนะว่า เรื่องส้ันเป็นเร่ืองสมมติแต่งขึ้น ประกอบด้วยตัวละครแสดงความขัดแย้งอย่างใดอย่างหน่ึงจนเกิดวิกฤติท่ีมีเหตุสัมพันธ์ต่อ เน่ืองไป จนถึงจดุ สุดยอดของเร่ือง และคลค่ี ลายเปน็ ผลอยา่ งใดอย่างหน่ึง พิมาน แจ่มจรัส (2550: 278) ใหน้ ิยามว่า เร่อื งส้ันเป็นเรื่องเล่าบนั เทิงคดีร้อยแก้ว มี ความยาวต้งั แต่ 2-3 หนา้ A4 ขึน้ ไป ตัวละคร 2-3 ตวั 2-3 ฉาก และเหตกุ ารณเ์ ดยี ว เรื่องส้ันจัดเป็นบันเทิงคดี (fiction) ประเภทหนึ่งท่ีแต่งข้ึนเพ่ือความสนุกสนาน ท่ีผู้เขียนต้องใช้จนิ ตนาการ ทอี่ าจจะเหนือความเป็นจริง แต่ก็มิได้หมายความว่าบันเทิงคดีจะเปน็ เร่ือง ที่สนุกสนานแบบไร้สาระ เพราะความบันเทิงนั้นย่อมประกอบไปด้วยแนวคิดที่ผู้เขียนต้องการส่ือ

121 ดังท่ี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาภาษาไทยและภาษา ตะวันออก (2553, 88-89) กลา่ วว่า แม้เรอ่ื งสัน้ จะเป็นเรื่องสมมติท่ีเกิดจากจินตนาการของผู้แตง่ แต่ก็ ได้ชี้ให้เห็นความจริงของชีวิตมนุษย์ โลก และสังคม เป็นการนาเสนอความจริงอีกมุมมองหน่ึง ซึ่งไม่ได้กล่าวออกมาอย่างตรงไปตรงมาเหมือนงานเขียนเชิงวิชาการหรือข่าว แต่นาเสนอผ่านกลวิธี ทางศิลปะภาษา อันเกิดจากจินตนาการของผู้เขียน ส่วนการกาหนดความยาวหรือจานวนตัวอักษร ของเรื่องส้ันน้ันมีผู้เขียนแสดงทรรศนะที่แตกต่างกันไม่แน่นอนในเร่ืองของจานวนตัวอักษร ดังน้ัน การสงั เกตโครงเร่อื งวา่ มเี หตกุ ารณ์ขัดแย้งเหตุการณ์เดยี วนา่ จะเปน็ วิธกี ารแบ่งเรือ่ งสนั้ ท่ดี ีกวา่ 4.2 ลกั ษณะของเรือ่ งสั้น ปราณี สรุ สทิ ธิ์ (2549: 312-313) กล่าวถึงลักษณะของเร่ืองสั้นในปจั จุบนั วา่ ตอ้ งมี ลกั ษณะสาคัญ 3 ประการ คือ 4.2.1 ความขดั แย้ง คือการต่อสู้ปะทะกันระหว่าง 2 ฝ่าย ความขัดแย้งในบันเทิงคดีมี 3 ลกั ษณะ คือ ตวั ละครขัดแยง้ กบั ตวั ละคร ตวั ละครขดั แยง้ กบั สิ่งแวดลอ้ มหรือธรรมชาติ และตวั ละคร ขัดแย้งกบั ตวั เอง ซ่ึงความขัดแย้งจาเป็นต้องมีในเร่ืองสั้น ถ้าไม่มีเรื่องส้ัน อาจเป็นแค่ ความเรียง เร่อื งเล่า เพราะความขัดแย้งจะเป็นตัวแสดงนยั ให้เห็นทิศทางของเร่ืองส้ันน้ันๆ ทาให้ผู้อ่าน รู้สึกได้ว่า เรื่องสั้นมีจุดมุ่งหมายไปยังที่ใด ความขัดแย้งจะนาไปสู่สถานการณ์วิกฤต กล่าวคือ เม่ือ ความขัดแย้งส่งผลออกมาแล้ว ผลน้ันจะทาให้ตัวละครท่ีเกี่ยวข้องเปล่ียนไปจากที่เคยเป็น ความขัดแยง้ ในนยิ ายหรอื เรอ่ื งสน้ั มลี กั ษณะจาเป็น 3 ประการ คือ ประการที่ 1 เกิดความเปล่ียนแปลงบางอย่างในความขัดแย้ง ซงึ่ เป็นผลจาก การที่ตัวละครเข้ามามีพฤติกรรมเก่ียวข้องกัน รู้จักกัน โกรธ เกลียดและฆ่ากัน ความขัดแย้งที่กาหนด เร่มิ ต้นไว้จะตอ้ งคอ่ ยๆ เปลยี่ นสภาพไปในทางใดทางหน่ึง ประการที่ 2 สองฝ่ายท่ีขัดแย้งกันต้องมีกาลังเสมอกัน จึงจะทาให้เกิด ความสมดุลในโครงสร้างของเร่ือง เช่นเดียวกับนักมวยท่ีมีฝีมือพอๆ กัน ต่อสู้กัน คนดูจะรู้สึกสนุก มากกว่าที่ฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงมีฝีมือเหนือคู่แข่งอย่างเทียบไม่ติด เช่นเดียวกับความขัดแย้งในเร่ืองสั้นถ้า เดาเรือ่ งได้กไ็ มส่ นกุ ประการที่ 3 ต้องมีความเป็นเอกภาพ หมายความว่า ทุกๆ อย่างในนิยายไม่ วา่ จะเปน็ ความขดั แยง้ ตัวละคร สารของเรอ่ื ง เนอ้ื หา สญั ลักษณ์ มมุ มอง ตลอดจนเหตุการณท์ กี่ าหนด ขึ้นจะต้องเกี่ยวข้องผูกพันเป็นผลของกันและกัน กล่าวคือแต่ละข้ันตอนของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นน้ัน จะต้องมีเหตุผลความเป็นไปได้ เป็นส่ิงท่ีจะต้องเกิดข้ึนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เน่ืองจากมีเหตุการณ์ที่ เกิด ข้ึน ก่อ นห น้า กา หนด นา ทา งไ ว้แ ล้ว ว่า จะต้ อง เป็ นเ ช่น น้ัน กล่ าว โ ด ยส รุป ว่า เป็ น ความขัดแยง้ ท่สี มจริง

122 4.2.2 ตัวละคร ตัวละครในนิยายและเรื่องสั้นต้องมีความสมจริง คือ มีลักษณะนิสัย พฤติกรรมและการปฏิบัติท่ัวไปใกล้เคียงกับสิ่งที่คนจริงๆ พึงกระทา เร่ืองสั้นที่สมจริงผู้เขียนจะ หลกี เลี่ยงตัวละครทีม่ ีลกั ษณะนสิ ยั อยา่ งเดียว เช่น ดหี มด หรือเลวหมด เพราะผิดปกติวสิ ัยมนษุ ย์ 4.2.3 สารสาระหรือแก่นเรื่อง คือ สมมติฐานซึ่งกล่าวหรือแสดงนัยแฝงไว้กับ การเล่าถึงสถานการณ์ท่ีกาหนดอันเก่ียวข้องกับบุคคลที่กาหนด เหตุที่สารสาระมีอยู่ในนิยายได้น้ัน เป็นเพราะมนษุ ยม์ ชี วี ิตอยูบ่ นโลกเดียวกัน รบั รู้อารมณ์ในทานองเดยี วกัน มปี ฏิกริ ยิ าในทานองเดยี วกัน ในสถานการณ์เดียวกันเผชิญปัญหาทั่วไปคล้ายกัน สารสาระไม่ใช่ข้อกาหนดทางศีลธรรม ไม่ใช่มีไว้ เพือ่ สงั่ สอนแต่จะเผยใหเ้ ห็นความซับซ้อนของชวี ติ มนุษย์ 4.3 ประเภทของเรื่องสั้น ปราณี สรุ สิทธ์ิ (2549: 313-314) แบง่ ประเภทของเร่ืองสน้ั ดังนี้ 4.3.1 เรื่องส้ันประเภทผูกเรื่อง ลักษณะเร่ืองส้ันแนวน้ีจะเน้นที่โครงสร้างเรื่องเป็น สาคัญ การดาเนินเร่ืองมักเต็มไปด้วยการผูกปมและสร้างข้อขัดแย้งให้คนอ่านฉงนและติดตามด้วย ความสนใจตลอดเวลา ส่วนใหญ่นิยมจบเร่ืองแบบคาดไม่ถึง เร่ืองสั้นในยุคแรกๆ มักเป็นเรื่องสั้นแนวนี้ ถึงแม้ปัจจบุ ันนกั เขยี นใหมท่ ี่เพิง่ เร่มิ ฝกึ ก็จะเขยี นตามแนวน้ีก่อน 4.3.2 เรื่องสั้นประเภทแสดงลักษณะของตัวละคร เร่ืองส้ันชนิดนี้ ผู้แต่งจะดาเนิน เรื่องโดยจะเน้นที่การสร้างลักษณะตัวละครให้เด่นชัดเป็นพิเศษ เช่น เรื่องอุดมการณ์หลังแก้วเหล้า ของนิมิต ภูมิถาวร ก็เน้นพฤติกรรมของ “ครูเปียก” ซึ่งในสายตาของสังคมครูและชาวบ้านน้ัน “ครูเปียก” เป็นครูท่ีมีพฤติกรรมไม่เหมาะสมเพราะดื่มสุราเป็นประจา แต่ผู้เขียนชี้ให้เห็นว่าลึกลงไป ตวั ละครตวั นกี้ ม็ อี ุดมการณท์ ่ีควรชมเชย 4.3.3 เรื่องสั้นประเภทสร้างบรรยากาศ เป็นเรื่องสั้นที่ผู้เขียนต้องสร้างบรรยากาศ ของเรื่องให้เห็นเป็นจรงิ เป็นจงั เหมอื นกบั ผอู้ ่านได้ร่วมรับรู้เหตุการณน์ ั้นๆ ด้วยตัวเอง งานเขียนแนวน้ี ผู้เขียนต้องใช้ศิลปะในการเขียนสูง เพื่อให้ผู้อ่านมีความรู้สึกร่วมมากที่สุด โดยท่ัวไปมักเขียนเก่ียวกับ เรือ่ งราวที่น่าหวาดกลัว สยองขวัญ ความน่าเกลียดขยะแขยงหรอื เหตุการณ์ระทึกใจเพราะเขยี นได้งา่ ย และเหน็ ชดั เจนกว่าอย่างอ่นื 4.3.4 เร่ืองส้ันประเภทให้แนวคิด หมายถึง เร่ืองที่ผู้แต่งต้องการแสดงแนวความคิด อย่างใดอย่างหนึ่งตอ่ ผู้อ่านเป็นสาคญั ฉะนั้นเรอื่ งสน้ั ในแนวนี้นอกจากจะให้ความบันเทิงแก่ผู้อ่านแล้ว ยังอาจช้ีให้เห็นความจริงบางอย่างในชีวิต ผู้อ่านสามารถนามาคิดต่อซึ่งทาให้มีมุมมองที่แตกต่างไป จากเดิม 4.4 องคป์ ระกอบของเรือ่ งส้นั ถวัลย์ มาศจรสั (2545: 156-173) กลา่ ววา่ องคป์ ระกอบของเรอ่ื งส้นั มดี งั ต่อไปนี้ 4.4.1 โครงเรื่อง หมายถึง การกาหนดเหตุการณ์เร่ืองราวใดเรื่องราวหนึ่งไว้เป็น เอกภาพก่อใหเ้ กิดผลอย่างหนึ่งตามมา ซง่ึ ในโครงเรอ่ื งจะมกี ารเปิดเรอ่ื ง ดาเนินเรือ่ งและปดิ เร่ือง

123 เรื่องส้ันท่ีดีจะต้องมีความขัดแย้ง ซึ่งจะทาให้เรื่องราวเข้มข้นน่าติดตาม ลักษณะของความขดั แยง้ แบง่ ออกเปน็ 3 ลักษณะ คือ 4.4.1.1 ความขดั แย้งระหวา่ งมนุษย์กับมนุษย์ 4.4.1.2 ความขัดแย้งระหว่างมนษุ ยก์ ับสภาพแวดล้อม 4.4.1.3 ความขดั แยง้ ของมนษุ ยก์ ับตัวเอง 4.4.2 แนวคิด หรือแก่นเร่ือง หมายถึง สารัตถะสาคัญของเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เขียน ขึ้น แก่นเรื่องจะทาหน้าที่สะท้อนประเด็นของการนาเสนอให้ผู้อ่านเห็น และเข้าใจถึงส่ิงท่ีผู้เขียน ต้องการสอ่ื สาร 4.4.3 ตัวละคร หมายถึง ผู้ท่ีมีบทบาทปรากฏอยู่ในนิทานเรื่องส้ันอาจเป็น คน สัตว์ สง่ิ ของก็ได้ 4.4.4 ฉาก หมายถึง สถานท่ีและสิ่งแวดล้อมรอบตัวละครที่ปรากฏอยู่ในเร่ือง เช่น ภาพทอ้ งทงุ่ ถนนหนทาง บรรยากาศ เปน็ ตน้ 4.4.5 บทสนทนา หมายถึง คาพูดโต้ตอบระหว่างตัวละครในเร่ืองท่ีเขียนถึง ซึ่งบท สนทนาดงั กล่าวต้องมีความสอดคล้องกบั ลักษณะของตัวละคร 4.4.6 ทัศนะหรือมุมมอง หมายถึง กลวิธีการเล่าเรื่องราวให้ผู้อ่านรับทราบใน เหตกุ ารณ์ทีเ่ กดิ ข้ึนโดยอาจเลา่ ผ่านตวั ละคร 4.4.7 การเปิดเร่ือง หมายถึง การเริ่มต้นในฉากแรกของเรื่องที่เขียน เพื่อเร้า ความสนใจของผู้อา่ นให้ติดตามงานเขยี นเร่อื งน้ันๆ 4.4.8 การดาเนินเรื่อง หมายถึง การกาหนดให้ตัวละครแสดงบทบาทเร่ืองราวไป ตามทผี่ เู้ ขียนกาหนดไวใ้ นโครงเรือ่ งทีละบททีละตอน เพ่อื บ่งบอกเรอื่ งราวแก่ผู้อา่ น 4.4.9 การปิดเร่ือง หมายถึง การจบเรื่องซึ่งจะคลี่คลายปมสงสัย ปมปัญหาท้ังมวล (หรืออาจจะทงิ้ ค้างไวใ้ หผ้ อู้ ่านคดิ ต่อก็ได)้ ถือเปน็ จดุ สดุ ยอดของเร่ือง 4.4.10 ท่วงทานองการเขียน หมายถึง ลีลาการใชถ้ ้อยคาสานวน เป็นการแสดงออก ถงึ ความรูส้ ึกนึกคิด เจตคติของนักเขียน ซึ่งระบายความลึกซ้ึง ความชัดเจนของชีวติ สะท้อนความคิด ออกมาเป็นตัวหนังสือ ยกตัวอย่างท่วงทานองในการเขียนเช่น เรียบๆ กระชับรัดกุม เคร่งขรึม อ่อนหวาน คมคาย เปน็ ตน้ 4.5 ตัวอย่างการอา่ นเรอ่ื งส้ัน ตัวอยา่ งจากหนงั สือรวมเรือ่ งสั้นชดุ ฟา้ บ่กั้น เร่อื ง ฟา้ โปรด เรือ่ งสนั้ ฟ้าโปรด ยามบ่ายปลายเดือนสาม ดวงตะวนั สีไพลยงั ลอยคว้างสาดแสงอบอุ่นท่วั ท้องทุ่ง ลูกแหง่สองสามตัวเร่ิมกระปร้ีกระเปร่า วิ่งหกหน้าหกหลังตลบไปมาจากกลุ่มหนึ่งไปสู่

124 อีกกลุ่มหน่ึง พร้อมกับส่งเสียงแหง่ๆเรียกหาแม่ ซ่ึงนานๆจะเชิดหน้าร้อง งัวะ-แอ งัวะ-แอ ตอบไป บ่ายวันนี้ก็เช่นเดียวกับวันก่อน เฒ่าชมออกวิ่งโหย่งๆ โบกผ้าขาวม้าสีลายไล่ ต้อนกลุ่มควายของแกและของเพ่ือนบ้านติดกันให้ผละออกมาจากกลุ่มใหญ่ เด็กๆ ลกู เพื่อนบ้านของแกสองคนบ่นออดแอดไม่พอใจ ชายแกห่ ันไปเอ็ดเสียงดงั “จะรีบร้อนไปหาอะไรกัน? เห็นใจมันบ้างซี ถ้าพวกเอ็งเป็นความเข้าม่ังจะรู้สึก อยา่ งไร?” “กข็ ้าเม่ือยนี่” เดก็ เถยี ง “เม่ือย” ชายผมสีดอกเลาทวนคาเยาะๆ “เอ็งไปทาอะไรมาวะ?” ข้าเห็นเล่น หยอดหลมุ เอาหวั แห้วกันมาตั้งแต่บ่าย” “แล้วเม่ือตอนกลางวันตากินอะไรเข้าไปบ้างล่ะ?” ชายแก่ทรุดตัวลงบนคันนา รู้สึกเคอื งใจที่ได้ฟังเด็กนอ้ ยคราวหลานลาเลกิ เหมือนเรยี กหาบุญคุณ “ตารู้ไหม?” มันทวงขึ้นมาอีก “นกกะปดู ตัวทปี่ ิ้งตอนกลางวัน มันไม่ได้ตกจาก ฟา้ มาเอง กว่าจะได้ ข้ากับอ้ายเอย้ี งเหนื่อยแทบจะชัก” “ข้าขอกะเอ็งเถอะวะ อ้ายล้อม” แกตัดบทเสียงเรียบๆ “เหน่ือยก็ส่วนเหนื่อย แต่เอ็งอย่าลืมวา่ ตวั เป็นชาวไรช่ าวนาอย่าทาใจหินเหมอื นชาวเมอื งเขามากนกั เอ็งก็เห็น อยู่กะตานี่นะว่าตอนกลางวันแดดมันเปร้ียงแค่ไหน แม้แต่นกมีปีกเอ็งยังไล่จนบินตก ควายมันสัตว์ท้องนาอยู่มากับน้า ทั้งที่หลบเข้าร่มไผ่ มันยังหอบเสียงดังยังกะกบร้อง เอ็งควรเวทนามันบ้าง อย่างนี้” แกชี้ท่ีต้นหญ้า “ตอนกลางวันมองเห็นที่ไหน มันเหี่ยว จนใบมว้ นเปน็ หลอด” เด็กๆ มองตามมือผอมๆ ของแกขณะที่ลูบใบเหนือใบหญ้า พลางน่ังลงข้างๆ ชายแกจ่ งึ ถือโอกาสสาธยายความดีของควายอกี ครง้ั หนึ่ง “ควายกับชาวนามันเป็นเพ่ือนร่วมชะตากัน” แกเริ่มต้นด้วยประโยคเก่าๆ “แม้จะเป็นพวกทางานหาข้าวยัดปากมนุษย์ทุกหน้า แต่ไม่ค่อยมีใครมองเห็นความดี บางคนเขามองหม่ินเอาด้วยซ้า เม่ือชาวนาเดินเข้าไปใกล้ก็ทาคอแข็ง และวางท่ายังกะ เสอื เดินดง เมื่อคิดจะหยามใครใหส้ มใจก็ต้องว่า “อ้ายควาย” พวกเอ็งอยา่ ไปอวดฉลาด อย่างพวกเขาเข้าเพราะถึงยังไงๆ ก็ไม่มีปัญญาพอจะเข้าถึงเขาได้หรอก ข้าเท่ียวมาก็ ไกลอักโข เห็นอะไรต่อมิอะไรจนตาจะถั่วอยู่แล้ว มันก็ยังโง่เหมือนควายอยู่น่ันแหละ พูดไปก็เจ็บใจ เอ็งเอ๋ย ดูๆไปก็เหมือนว่าความฉลาดความโง่ของคนไม่ได้อยู่ท่ีความคิด ความอ่านแต่มันอยู่ที่สามะโนครัว ถ้าเขาเห็นคนอย่างเอ็งอย่างข้าน่ีเขาก็เรียก “อ้ายควาย” ได้สบายเลย อ้ายควายของเขาก็คือบอกว่าเราโง่เหมือนควายน่ะแหละ เออ้ อะไรอกี เล่า?” ชายชราชะงกั เมื่อเด็กคนหน่งึ ยกมือข้นึ ตะปบทีท่ ่อนแขน

125 “ตา ถา้ เราเกิดโมโหขนึ้ บ้าง จะยอ้ นมนั วา่ อา้ ยงวั ไดไ้ หม?” “ไมไ่ ด้-ไมไ่ ด้” เฒ่าชมรบี ปฏเิ สธ “ถา้ ยงั งนั้ จะให้พวกเราทายงั ไง?” เงยี บอยู่ครู่หน่งึ ก่อนจะตอบเบาๆ “ก็..เออ..กต็ อ้ งวา่ พ่อมหาจาเรญิ นะ่ ซีเล่า” เด็กนอ้ ยส่ันหน้าอย่างผดิ หวัง ผมยงุ่ บนหวั ปลวิ กระจาย “มันอย่างง้ีแหละล้อมเอ๋ย น่ีว่าแต่ด้วยสิ่งพ้ืนๆส่วนในเรื่องหัวจิตหัวใจน้ันก็ยัง ต่างกันร้อยโยชน์ อย่างพวกเราๆน้ี เรานิยมชมชอบในสิ่งที่เป็นคุณประโยชน์ อย่างข้าวปลา ไร่นา งัวควายยังงี้ แต่เขาไม่ยักกะเหมือนเรา เขากลับนิยมช่ืนชม ในส่ิงทีไ่ มม่ ปี ระโยชน์ ยิ่งสิ่งใดที่มปี ระโยชน์น้อยก็ยงิ่ มีคา่ มาก” ชายแก่คุยซ้าๆซากๆเช่นน้ีเสมอ จบบ้างไม่จบบ้าง แกจะรู้สึกผิดหวังถ้าวันใด เด็กชิงลุกหนีไปเสียก่อนท่ีแกจะทันเล่าจบ แต่สาหรับวันนี้ แกรู้สึกสุขใจอย่างยิ่งท่ีเห็น เด็กน่ังฟังอย่างตั้งอกต้ังใจ เม่ือแกเล่าจบน้ัน ท้องฟ้าเร่ิมเป็นสีชมพูแก่ๆ นกเอ้ียงคู่หน่ึง บินผละจากหลงั ควายไปส่ยู อดไผ่ เด็กทั้งสองลุกข้ึนและแยกกันไปต้อนควายให้รวมกลุ่มเพื่อกลับเข้าสู่แหล่ง ทิ้งให้ชายชรานั่งเหม่ออยู่บนคันนา แกพ่นบุหร่ีควันโขมง สายตาจ้องจับอยู่ท่ีม่านฝุ่นสี เทาบางๆ ขณะท่ีฝูงควายเดินห่างออกไป แต่แล้วก็ต้องรีบผลุนผลันยันกายขึ้นอีกคร้ัง หนึ่งเมื่อได้ยินเด็กท้ังสอง ล้อมและเอี้ยงทุ่มเถียงกันเอะอะ จากถ้อยคาธรรมดาหนัก หนาข้ึนเปน็ ด่าพ่อลอ่ แม่ แกตรงรเ่ี ข้าไปหา เมอื่ เด็กหนั มาพบต่างก็ชงิ กนั ฟอ้ ง “ฉันเหน็ กบั ตาฉันเอง ควายของฉันแทๆ้ ” “แตท่ ่นี ี่นาของฉัน” “มนั เรื่องอะไรละ่ หือ?” แกถามและยา่ สวบๆเขา้ ไปใกล้ เด็กท้ังสองกลับน่ิงเงียบและก้มหน้ามองแผ่นดิน เมื่อเข้ามาถึงและได้เห็นสิ่งท่ี เป็นเหตุของการย้ือแย่ง สีหน้าของชายแก่กลับซีดสลดลง แววแห่งความสุขเมื่อครู่จาง หายไปส้นิ “เอ้ียง ล้อม” เสียงที่หลุดออกมาแหบแห้ง “ฉันไม่ยอม ฉันเห็นกับตา ควายของฉนั ” เดก็ คนแรกพดู ฉะฉาน “แต่นี่เป็นนาของฉัน” อีกคนขัดข้ึน พร้อมกับย่อตัวน่ังยองๆ สายตาไม่ละจาก วตั ถุเละๆสีเขยี วแก่ที่กองแผอ่ ย่เู บอ้ื งหน้า เฒ่าชมรู้สึกตัวเบาโหวง หูอ้ือ และสายตาพร่ามัว แกน่ิงสงบอยู่นานก่อนท่ีจะ พูดขึน้ ดว้ ยน้าเสยี งแตกพรา่ “เอาอย่างน้ีเถอะ” พยายามกลืนน้าลายลงคออย่างยากเย็น “ควายเป็นของ อา้ ยเอ้ียง แต่ส่วนนาเปน็ ของอ้ายล้อม ทางดีท่ีสุดกค็ วรจะแบ่งกัน และตา..เอ้อ..ตก..ตก

126 ลงไหม?” แกหันไปทางเด็กคนแรก แต่เห็นก้มหน้านง่ิ จึงหนั ไปถามอีกคน “ไง อ้ายล้อม เอง็ จะตกลงไหม?” ผ้ถู กู ถามยกมือกุมท้องและพยกั หน้า “นั่นไง อา้ ยลอ้ มมนั ตกลงแล้ว เอ็งล่ะ จะว่ายงั ไง?” “ตกลง” เอี้ยงตอบหนักแน่น “มันต้องยังง้ีซิ เราอยู่ด้วยกันกินด้วยกัน ที่อดก็ อดด้วยกัน ถึงบทได้ก็ต้องเอาด้วยกัน พรุ่งน้ีเช้าออกมาพบกันท่ีน่ี เมื่อหมอกจางและ แดดอนุ่ ออก ชายแก่เอ้ือมมือตบหัวเด็กคนท่ีนั่งเบาๆ และออกปากชวน “ไปรึยังเรา? อ้าว ทาไมทาหน้าเบอ้ ย่างงน้ั ไมส่ บายหรอื ไง?” ดวงตาสีเหลืองจอ้ งจบั ใบหนา้ ชายชรา แตไ่ มพ่ ูดอะไร “ถ้าปวดท้องก็โน่น ยอดสะแก กล้ันใจเด็ดเอาสักเจ็ดยอด เคี้ยวกร้วมๆ อึดใจ เดียวก็หาย” พูดพลางช้ีมือไปที่พุ่มไม้เต้ียๆข้างจอมปลวก แต่เด็กน้อยส่ันหัว ยังไม่ทัน จะตอบเสียงท้องกร็ อ้ งจ๊อกออกมา “อ้าว! ผูอ้ ายุมากอุทานและพูดเสริมเบาๆ “แต่อันที่จรงิ อ้ายอาการหิวน่ีก็เป็น ความเจบ็ ไข้อย่างหนึง่ เหมือนกันนะ่ แหละ” ท้องฟ้าขุ่นมัว และลมหนาวพัดกรรโชกแรงขึ้น ขณะท่ีคนทั้งสามเดินตามกัน เข้าบา้ น “เอ้อ, ตา ตาว่าความหวิ ก็เป็นความเจ็บไข้ใช่ไหม?” เสียงแวว่ ๆขึ้นข้างหลงั “ใช่!” “มนั มยี า ออ้ื มีหมอรักษาไหม” เฒ่าชมสอดสายตาชาเลืองกลับไปทางเสียงถาม คาตอบของแกดังอู้อ้ีกลมกลืน กับเสียงหวีดหวือของลมหนาว แต่ก็ดูเหมือนว่าเด็กน้อยลืมแล้วว่าเขาได้ถามอะไร ออกไป เม่ือลมหนาวกรรโชกมาอีกครั้งหนึ่ง เด็กท้ังสองยกมือขึ้นทาบอกและวิ่งแซงข้ึน หน้า ก่อนหลับคืนนั้น เอ้ียงเพียรเล่าเร่ืองราวเมื่อตอนเย็นให้พ่อแม่ฟังถึงสองครั้ง เม่ือฟังจบ พ่อบ่นเปรยๆ “ความจริงเอ็งไม่ควรจะแบ่งให้มันเลย อ้ายล้อมน่ะ เพราะ นอกจากจะเปน็ ควายของเราแล้วเอง็ ยังไปถึงก่อนมันใช่ไหม?” “ฉันวิ่งออกกอ่ น แต่อ้ายล้อมมนั วิ่งเร็วกวา่ ฉนั จงึ มาทนั เราถึงพรอ้ มๆกัน” “ถึงอย่างง้ันก็เถอะ” พ่อแย้งต่อไปอีก “ข้าคิดว่าเอ็งคงมองเห็นก่อนมัน ตอนท.่ี .ตอนท่คี วายของเรากาลัง..น่ะ” เอี้ยงพลกิ ตวั กลบั ไปกลับมา เขารู้สกึ อดึ อัดใจ “ฉันไม่แน่ใจหรอกพ่อ อ้ายล้อมอาจมองเห็นพร้อมกันกับฉันก็ได้ เพราะตอน นั้นเรากาลงั เดินตามฝูงความมาติดๆ”

127 ในความมดื น้นั เดก็ นอ้ ยไดย้ ินเสยี งพ่อถอนหายใจยาว “แต่ดูเหมอื นเอง็ บอกว่านัดไปพบกันเมอ่ื แสงแดดอนุ่ ออก เมอ่ื หมอกจางแล้ว” “จะ๊ ” “น่ัน, เหมาะเลย เอ็งจะมั่วโง่รอมันอยู่ทาไม มันเป็นของของเรา ควายของเรา พรงุ่ นี้พอ่ จะปลกุ แตด่ กึ รบี ไปเสยี กอ่ น” เอี้ยงหลบั ตาลง ในมโนภาพเขาได้เหน็ แมลงสีดาตัวเท่าเลบ็ มือเป็นจานวนหม่ืน จานวนแสน บินวอ่ นมาจากทกุ หนทุกแห่ง จนมองดดู าพรดื เตม็ แผน่ ฟา้ “ล้อม ล้อม” แม่ยืนอยู่ที่พื้นดินโผล่หัวลอดชายคาขึ้นมา เอ้ือมมือเขย่าที่ หัวไหล่ “ตื่นเสยี ทีเถอะ แจง้ แล้ว” เด็กน้อยงัวเงียลุกขึ้น ใช้หลังมือทั้งสองขยี้ตา เมื่อลืมตาขึ้นพบแม่ยืน ยิ้มเยือกเย็น ล้อมยิ้มตอบแม่ และยื่นมือไปรับเอาจอบเล็กๆกับกระเป๋าเก่า เขาดึง ผา้ ขาวม้าออกจากทีน่ อนมาคลุมไหล่แล้วกา้ วลงบนั ได อากาศขุ่นมัวและเย็นเฉียบ หัวใจของชายชราเต้นไม่เป็นจังหวะ ขณะท่ีตัวเอง เดินเลียบมาตามแนวป่าไผ่เต้ียๆ ใจหน่ึงอยากได้ และใจหนึ่งสงสารเด็กๆ และสานึก บาป แตอ่ ีกความคิดหน่ึงก็ปลอบใจตัววา่ มใิ ช่เป็นการขโมย ถ้าคนอืน่ มาพบมันก็ต้องเอา เหมอื นกนั ตีเอาเสยี ว่ายามนต้ี วั เองเป็นคนอนื่ ทีม่ ีโชค แต่พอโผลพ่ น้ แนวต้นไผ่ชายชราก็ ชะงักเมอื่ เห็นเดก็ นอ้ ยสองคนแบกจอบวง่ิ ฝา่ หมอกสลัวเขา้ มา “อัปรีย์แล้วไหมล่ะ อ้ายพวกไม่มีศีล-ธะ-อา” แกสบถตะกุกตะกักอันเป็น อาการปกติของแกเมื่อยามดา่ ผู้อ่ืน แต่ฉกุ คิดข้ึนได้ว่ากาลงั ด่าตัวเองรวมไปด้วย ในอึดใจ ตอ่ มาความรู้สึกของชายชราเปล่ียนเป็นตื่นเต้น กระวนกระวายและวิตก “จะทายังไงดี ล่ะทนี ้?ี ” พมึ พาคนเดียว “อา้ ยลอ้ ม” “อ้ายเอ้ยี ง” “อ้ายหนา้ ข้โี กง” “มงึ สขิ โ้ี กง” “ควายของกนู ะเวย้ ” “นาของกูนี่หวา่ ควายของมงึ ทาไมไมบ่ งั คบั ให้มนั ไปขที้ ่นี าของมงึ หือ?” “เฮ้ย อย่าอ้างนาๆให้มันมากนัก พ่อมึงเอาไปจานาเขาจะหลุดมิหลุดอยู่แล้ว เว้ย อย่าทาเปน็ อา้ ง” อ้าย..มึงเล่นถึงพ่อกูรึวะ?” ขาดคาเอี้ยงพุ่งหมัดตรงหมายเอาเบ้าตาของ ฝ่ายตรงข้าม ล้อมถอยหลบ ฝ่ายท่ีพุ่งหมัดก่อนเสียหลักล้มหัวทิ่ม ล้อมเงื้อมด้ามจอบ พร้อมกับที่ชายแก่ถลาว่ิงออกไป ฝนหลงฤดูพรูมาเหมือนเทน้า ท้ังสองผละออกจากกัน

128 โดยอัตโนมัติ และว่ิงหวั ซุนออกมา เด็กชะงักนิดหน่ึงเม่ือประจันหน้ากับชายแก่ ท้ังสอง ชาเลอื งดจู อบในมือของชายชราแวบเดยี ว แล้วว่ิงฝา่ สายฝนเตลิดเขา้ หมบู่ า้ น “ฮือออออ...” เฒ่าชมครางออกมาเบาๆ “ส้ินเคราะห์ไปที ไม่เป็นไรแล้วเด็ก น้อยเอ๋ย ถึงจะไม่ได้กินกุดจ่ีวันนี้ แต่ฟ้าก็ได้มาโปรดเราแล้ว เม่ือแผ่นดินเย็นลง ยอดต้วิ ผกั หวาน ดอกขะเจียว คงงอกให้พวกเอ็งได้เก็บกนิ กนั บ้างดอก” (ลาว คาหอม, 2552: 190-197) แม้เร่ืองสั้นจะเป็นเรื่องท่ีถูกสร้างข้ึนไม่ใช่เรื่องท่ีเกิดข้ึนจริง แต่เหตุการณ์ทาง สังคมในขณะนั้น อาจเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน เช่นเดียวกันกับเรื่อง “ฟ้าโปรด” ที่เป็นหน่ึงในรวมเล่มเร่ืองสั้น “ฟ้าบ่กั้น” ซ่ึงถูกเขียนขึ้นในช่วง พ.ศ.2500 เป็น ช่วงเวลาที่เหตุการณ์ทางการเมืองของไทยยังวุ่นวาย มีการก่อรัฐประหาร และการเรียกร้อง ประชาธปิ ไตยจากรฐั บาลเผด็จการ จอมพล ป.พิบลู สงคราม ผู้เขียนต้องการสะท้อนแนวคิดการเรียกร้องความเป็นธรรม ผ่านตัวละครที่ สร้างขึ้น ดังน้ันเม่ืออ่านเร่ืองส้ันฟ้าโปรดจบลง สิ่งที่จะได้จากการอ่านเร่ืองนี้คือการเห็นภาพ สะท้อนชีวิตคนอีสานท่ีอยู่อย่างยากลาบาก อากาศท่ีแห้งแล้งทาให้ข้าวปลาอาหารไม่สมบูรณ์ คนอยู่อย่างอัตคัดขัดสนต้องดิ้นรนเพื่อให้มีอาหารตกถึงท้องด้วยความลาบาก ชาวอีสานส่วน ใหญ่เป็นชาวนาซ่ึงเปรียบเหมือนกระดูกสันหลังของชาติ แต่ก็ยังได้รับการดูถูกดูแคลนจากคน เมอื งหลวง คนอีสานเปน็ คนรากหญา้ ทีอ่ ยู่อยา่ งตา่ ตอ้ ยและเจยี มเน้ือเจยี มตวั ถึงแม้วา่ คนอสี านจะอยู่อย่างอดอยากก็ไม่ได้รับการช่วยเหลอื จากหน่วยงานใด ดังนั้นคาว่า “ฟ้าโปรด” จึงเป็นคาท่ีมีน้าเสียงเจือด้วยการประชดประชันเสียดสี สะท้อนให้เห็น ถึงความบกพร่องในการทางานของคนจากเบ้ืองบน คือคนจากหน่วยงานรัฐบาล ท่ีการขาดดูแล และเอาใจใส่ไม่ทัว่ ถงึ นี่จึงเปน็ อกี เหตุผลที่ทาให้คนอีสานรอคอย “ฟา้ โปรด” คือการทธี่ รรมชาติ ประทานน้าฝนที่นามาซ่ึงความอุดมสมบูรณ์ เป็นการรอคอยด้วยความหวังท่ีไม่มีกาหนด ไมแ่ น่นอน และขาดการเหลยี วแลจากหนว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ ง 5. รอ้ ยกรอง 5.1 ความหมายของร้อยกรอง มผี ูใ้ หค้ วามหมายของร้อยกรองไวด้ งั น้ี บุญเหลือ ใจมโน (2549: 2) กล่าวว่า ร้อยกรอง หมายถึง งานแต่งหรือเรียบเรียงคา ท่ีมีลักษณะบังคับเฉพาะของแต่ละชนิดท่ีแตกต่างกัน โดยมีจุดประสงค์เพ่ือให้ถ้อยคาประณีต ไพเราะ คลอ้ งจองกันอยา่ งไดจ้ ังหวะลลี า

129 ไพรถ เลิศพิริยกมล (2542: 220) ให้ความหมายร้อยกรองว่า คาประพันธ์ชนิดใด ชนิดหน่ึงก็ได้ ที่เขียนขนึ้ โดยมีกฎเกณฑท์ างฉันทลักษณ์บังคับ มีลกั ษณะคล้องจองกัน อาจจะเป็นโคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน รา่ ย ลานา หรือแมแ้ ตก่ ลอนเปลา่ กจ็ ัดอยู่ในประเภทรอ้ ยกรองทงั้ ส้นิ ราชบัณฑิตยสถาน (2554: 976) ให้นยิ ามรอ้ ยกรองว่าหมายถงึ คาประพันธ์, ถ้อยคา ทเี่ รียบเรยี งใหเ้ ปน็ ระเบียบตามบัญญตั ิแหง่ ฉันทลักษณ์ จากการให้ความหมายข้างต้นจึงสรุปได้ว่า ร้อยกรอง หรือกวีนิพนธ์ หมายถึง งานเขียนที่มีความประณีตในการเลือกใช้คาท่ีมีความหมาย งดงาม มีบังคับตามฉันทลักษณ์ดั้งเดิม อย่าง โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย และยังหมายถึง งานเขียนที่มีความประณีตงดงามในการใช้ภาษา แตไ่ มเ่ ครง่ ครัด หรอื ไม่มีบงั คบั ฉนั ทลักษณ์ เช่น กลอนเปล่า 5.2 ประเภทของรอ้ ยกรอง สายทิพย์ นุกูลกจิ . (2537: 89-91) แบ่งร้อยกรองในปจั จุบันโดยใช้เกณฑ์ต่างๆ ดังน้ี 5.2.1 ใช้ลีลาการแต่งบทร้อยกรองเป็นเกณฑ์ ในการแบ่งจะแบ่งออกได้เป็น 2 แนวใหญ่ๆ คือ แนวฉันทลกั ษณเ์ ดิมกับแนวเสรี 5.2.1.1 แนวฉนั ทลักษณเ์ ดิม คือ บทรอ้ ยกรองที่ผแู้ ตง่ ยดึ รปู แบบและลกั ษณะ บังคับของบทร้อยกรองประเภทต่างๆ อย่างเคร่งครัดและนิยมแต่งบทร้อยกรองให้เป็นเร่ืองเล่า ขนาดยาว 5.2.1.2 แนวเสรี คือ บทร้อยกรองที่ผู้แต่งนิยมแหวกออกไปจากแนววงล้อม ของฉันทลักษณ์เดิม หรืออาจมีแนวของฉันทลักษณ์เดิมอยู่บ้าง แต่ดัดแปลงให้มีรูปแบบที่น่าสนใจ และมีความคล่องตัวในการแต่งมากย่ิงขึ้น เพ่ือให้บทร้อยกรองน้ันๆ สามารถเป็นเครื่องมือใน การถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดของผู้แต่งได้อย่างเสรี บทร้อยกรองประเภทน้ีอาจแบ่งย่อยออกไปได้อีก 3 ประเภทคือ ร้อยกรองประเภทประยุกต์ฉันทลักษณ์ ร้อยกรองประเภทกลอนเปล่า และร้อยกรอง ประเภทวรรณรปู 5.2.2 ใช้เนื้อหาของบทร้อยกรองเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง จะแบ่งออกได้เป็น 2 แนวใหญๆ่ คอื แนวพาฝนั กบั แนวเพือ่ ชวี ิต 5.2.2.1 แนวพาฝัน คือ บทรอ้ ยกรองที่มีเนือ้ หาเก่ียวกับเรื่องความรู้สึกส่วนตัว ของผู้แต่ง อาจเป็นเร่ืองของความรักทั้งท่ีสมหวังและผิดหวัง เรื่องความสวยงามของธรรมชาติ หรือ เป็นบทสดดุ กี ็ได้ 5.2.2.2 แนวเพ่ือชีวิต คือ บทร้อยกรองที่มีเน้ือหาเป็นประโยชน์ต่อคนส่วน ใหญ่ในสังคม ไม่ใช่เป็นประโยชน์ส่วนตัวบุคคล บทร้อยกรองแนวนี้มักจะทาหน้าท่ีสะท้อนภาพของ สังคม หรอื ชักชวนผ้อู า่ นใหเ้ ข้ามามีส่วนรว่ มในการเปลยี่ นแปลงสงั คมใหด้ ขี นึ้ กว่าเดิม

130 5.3 ตัวอยา่ งการอา่ นรอ้ ยกรอง แม่นา่้ ทีร่ ัก นักฝนั ...สญั จรรอ่ นเร่ ว้าเหว่ผ่านมาสูเ่ มืองหลวง เลอื ดนกั ฝัน ฝนั นักสู้ สเู้ ลห่ ล์ วง รักธรรมชาตทิ ง้ั ปวงหวงผกู พัน นงั่ รมิ น้าราพันกลอนบนั ทึก ดว้ ยหยาดหมึกยุคสมยั หยาดใฝฝ่ นั สายลมเหงาเจ้าพระยายา่ สายณั ห์ ภคู อนกรตี บังตะวนั กั้นเรอื งไร แมน่ า้ ที่รกั ... เรารจู้ ักกนั นานแต่กาลไหน ข้าเคยรน้ั ดนั้ ดน้ ทกุ หนไป ก็คุ้นเคยแตน่ า้ ไหล ดอกไม้บาน กาลเวลา วารี มาลี ชวี ติ แนบสนทิ ร้อยรบั เพลงขับขาน บรรสมกลมกลนื ยนื นาน ธรรมชาตบิ รรสานสอดคล้อง แมน่ ้าที่รกั ... ‘เจ้าพระยา’ ทรงศกั ดิ์รวมรกั ผอง โลหติ แห่งธรณนิ ถิ่นแหลมทอง รกั ไหลล่องหลอ่ เล้ียงเคียงกล่มุ ชน เธอไหลผ่านกาลเวลาธาราสยาม อดุ มข้ามศตวรรษไมข่ ดั สน ซาบแผน่ ดนิ รนิ ผา่ นวญิ ญาณคน ‘คน’ แตกดอกออกผลลน้ พารา แมน่ า้ ทร่ี ัก... แวว่ ว่าเธอทกุ ขห์ นักเศรา้ หนกั หนา จริงใชไ่ หม เมอื งชาเราเจ้าพระยา ย่าพสิ ุทธิเ์ สน่หาจนเน่าแลว้ ! (ไพวรนิ ทร์ ขาวงาม, 2552: 88-90)

131 เมื่ออ่านร้อยกรองส่ิงท่ีผู้อ่านควรได้รับคือความไพเราะ งดงามของภาษา นอกจากนั้นคือคุณค่าดา้ นเนอื้ หา เช่นตัวอย่างบทร้อยกรองข้างตน้ จัดเป็นร้อยกรองสมยั ใหม่ประเภท ประยุกต์ฉันทลักษณ์ คือปรับมาจากกลอนแปดไม่เคร่งเรื่องฉันทลักษณแ์ ละจานวนคาในวรรค แต่เม่ือ อ่านออกเสียงโดยถ่ายทอดอารมณ์และแบ่งคาในวรรคให้ถูกต้องก็ยังคงความไพเราะ สิ่งสาคัญที่ได้ มากกว่าความไพเราะคือเนื้อหาและอารมณ์ร่วม บทประพันธ์ข้างต้นสะท้อนมุมมอง ความคิดของ ผู้เขียนท่ีมีต่อความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนกับแม่น้าเจ้าพระยา สายน้าแห่งชีวิตของประเทศไทยท่ีหล่อ เลี้ยงผู้คนมากมายมาอย่างยาวนาน ผู้เขียนมองว่าแม่น้าเจ้าพระยากาลังถูกทาร้ายโดยคนกรุงเทพฯ ผคู้ นท่สี ายน้านี้หล่อเลี้ยงจนเติบใหญ่นนั่ เอง เมื่ออ่านเรื่องน้ีจบลงผู้เขียนได้เห็นความเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นกับแม่น้าสายสาคัญ ของประเทศทก่ี าลังเน่าเสีย ขาดการเหลียวแล เอาใจใส่ ก็ทาให้ผู้อ่านสะทอ้ นใจและหวนคิดได้ว่า เรา กาลงั ลืมสิ่งสาคัญอะไรหรือไม่ เราเป็นส่วนหน่ึงของการทาลายหรือไม่ หรอื เราสามารถเป็นอกี คนที่จะ ช่วยรักษาให้แม่น้ากลับมาดีข้ึนได้อย่างไร หรือ ในอีกทางผู้อ่านอาจเก็บเป็นข้อคิดต่อเรื่อง ความรับผิดชอบ และการเอาใจใส่ต่อทรัพยากรสิ่งแวดล้อมว่า เราควรจะดูแลเอาใจใส่ให้คงความ บริสทุ ธสิ์ ะอาด เปน็ ธรรมชาตทิ ี่งดงามดงั ทม่ี ันเคยเปน็ สรปุ ผู้อ่านท่ีมีความรู้เรื่องรูปแบบของงานเขียน จะสามารถคาดการณ์สิ่งท่ีควรจะได้รับจาก การอา่ นไดถ้ ูกตอ้ ง เช่น การอา่ นตารา หนังสือ และสารคดี ผ้อู า่ นสามารถคาดได้ว่าจะตอ้ งได้รบั ความรู้ สาระ ข้อเท็จจริง, การอ่านข่าวก็เพ่ือให้ได้ทราบความเคล่ือนไหวและเหตุการณ์อันเป็นข้อเท็จจริงใน สังคม, การอ่านบทความเพ่ือให้ได้ทัศนะหรือความคิดเห็นท่ีสมเหตุสมผลของผู้เขียนซึ่งเป็นการแสดง ความคิดเห็นต่อส่ิงที่เป็นกระแสสังคม แต่ถ้าเป็นการอ่านบันเทิงคดี เช่น นิทาน นิยาย เร่ืองส้ัน รอ้ ยกรอง และวรรณคดี ต้องคาดได้ว่าเม่ืออ่านแล้วต้องได้ความบันเทิงทั้งจากเร่ืองราวที่ผูกขน้ึ ภาษา อันเป็นศิลปะ และแง่คิดที่คมคาย เมื่อผู้อ่านเข้าใจประเภทของงานก็จะเลือกอ่านในสิ่งที่ตรงกับ จุดประสงคข์ องตนเองได้ นอกจากน้นั ความเข้าใจในสง่ิ ที่อ่านถือเปน็ ความสาคญั ยิ่งเพราะหากผู้อา่ นไม่ มีความเข้าใจในส่ิงที่อา่ นกจ็ ะไมส่ ามารถนาข้อคดิ ความรู้ทเี่ ปน็ ประโยชน์จากการอา่ นไปใชไ้ ด้ถูกต้อง

132 คา่ ถามท้ายบทที่ 6 การอ่านงานเขียนเบ้ืองต้น ตอนที่ 1 ค่าช้ีแจง จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. งานเขยี นเชิงวิชาการ งานเขยี นเพื่อการสื่อสารมวลชน และงานเขียนเชิงสรา้ งสรรค์ แตกต่าง กนั อย่างไร 2. บทความคืออะไร และควรอ่านอยา่ งไร 3. ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับจากการอา่ นข่าวคอื อะไร 4. สารคดีและเรื่องสัน้ เปน็ งานเขียนเชงิ สรา้ งสรรค์ท่ีมคี วามแตกต่างกันอย่างไร 5. คณุ ค่าท่ีควรไดร้ บั จากการอา่ นรอ้ ยกรองคืออะไร ตอนท่ี 2 ค่าช้ีแจง ให้ศึกษาความแตกต่างของงานเขียนแต่ละประเภทจากเอกสารประกอบการสอน “การพัฒนาทักษะการอ่าน” บทที่ 6 แล้วทากิจกรรมกลุ่มละ 5-6 คน โดยร่วมกันอภิปรายและตอบ คาถามต่อไปนี้ 1. บทอา่ นท่ีได้รับจัดเป็นงานเขียนประเภทใด และทราบได้อยา่ งไร 2. บทอ่านที่ไดถ้ ือเปน็ งานเขยี นทีด่ ีหรือไม่ เพราะเหตุใด 3. ประโยชนท์ ่ีได้จากบทอา่ นคืออะไร

133 เอกสารอ้างองิ แฉเล่ห์พอ่ ค้า-โรงสีปลอมขา้ วเกรดเอ. (2558, ธนั วาคม 14). มตชิ น, หนา้ 28. ชลอ รอดลอย. (2544). การเขียนสารคด.ี กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. ถวลั ย์ มาศจรัส. (2545). การเขยี นเชิงสร้างสรรคเ์ พื่อการศึกษาและอาชพี . กรุงเทพฯ: ธารอักษร. ทวีศกั ดิ์ ญาณประทีป. (2554). การเขยี นวรรณกรรมสา่ หรับวัยรนุ่ . พมิ พ์คร้งั ที่ 3. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั รามคาแหง. ธัญญา สังขพันธานนท.์ (2548). การเขียนสารคดีภาคปฏบิ ตั ิ. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ธิดา โมสกิ รตั น.์ (2553). การเขียนผลงานวชิ าการและบทความ. พมิ พ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ: ภาพพมิ พ์. บญุ เหลอื ใจมโน (2549). การแตง่ คา่ ประพนั ธ์. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. ปราณี สรุ สิทธิ์. (2549). การเขยี นสรา้ งสรรค์เชงิ วารสารศาสตร์. กรุงเทพฯ: แสงดาว. พนติ นันท์ บญุ พามี. (2542). เทคนคิ การอา่ นเบอ้ื งตน้ . นครราชสีมา: สถาบนั ราชภัฏนครราชสมี า. พิมาน แจม่ จรัส. (2550). เขยี น. กรุงเทพฯ: แสงดาว. ไพรถ เลิศพริ ิยกมล (2542). วรรณกรรมปจั จุบัน. กรงุ เทพฯ: ไทยวฒั นาพานิช. ไพวรินทร์ ขาวงาม. (2552). มา้ ก้านกล้วย. พิมพ์คร้ังท่ี 26, กรงุ เทพฯ: แพรว. มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ภาควชิ าภาษาไทยและภาษาตะวนั ออก. (2553). ศลิ ปะการแสดงออกทางภาษา. พมิ พ์คร้ังที่ 10. มหาสารคาม: อินทนลิ . ราชบณั ฑิตยสถาน. (2556). พจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวเนอ่ื งในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธนั วาคม 2554. กรุงเทพฯ: ราชบณั ฑิตยสถาน. รุ่งฤดี แผลงศร. (2557). การเขยี นบทความสา่ หรบั สื่อส่งิ พิมพ์. กรงุ เทพฯ: สานักพิมพ์ แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . ลาว คาหอม. (2552). ฟ้าบ่กนั้ . พิมพ์ครงั้ ท่ี 21. กรุงเทพฯ: แพรวสานกั พิมพ์. ลนิ จง จนั ทรวราทิตย.์ (2542). เอกสารค่าสอน รายวชิ า การอ่านเพือ่ ชวี ติ . ภาควชิ าภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏนครปฐม. วชริ นที วงศศ์ ิรอิ านวย. (2552). การเขยี นบทความ. พิมพ์ครงั้ ที่ 2. เชยี งใหม่: บี เอส ดี การพิมพ.์ วฒั นา แช่มวงษ์. (2556). การเขยี นบทความ. กรงุ เทพฯ: โอเดียนสโตร.์ ววิ ฒั น์ ใจเท่ยี ง. (2539). การอา่ นหนงั สอื พิมพ.์ กรงุ เทพฯ: โอเดียนสโตร.์ มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์. (2527). เอกสารการสอนชุดวิชา ภาษาไทย 5 การอ่าน. พมิ พ์ครั้งที่ 1. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช. สายทิพย์ นกุ ูลกจิ . (2537). วรรณกรรมไทยปัจจบุ ัน. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางเขน.

134 เอกสารอา้ งอิง(ต่อ) สิริวรรณ นนั ทจนั ทูล. (2546). การเขียนเพอ่ื การส่อื สาร 2. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์ สุรสทิ ธิ์ วิทยารฐั . (2549). หลักการส่ือสารมวลชน. พิมพค์ รง้ั ที่ 2. กรุงเทพฯ: ศนู ย์หนงั สอื มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสุนนั ทา. หนุม่ เมืองจันท.์ (2558, ธนั วาคม 4-10). ไม่ ‘เดย่ี ว’. มติชน สดุ สัปดาห์, 35(1842), 24. อมรพรรณ ซุ้มโชคชัยกลุ . (2550). การเขียนสา่ หรบั ส่ือสงิ่ พิมพ์. พิมพค์ รั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช. อพั เดตภัยเงยี บจากความหวาน. (2558, ธนั วาคม 14). มตชิ น, หนา้ 21.

135 บรรณานกุ รม กนกวลี พจนปกรณ์. (2557). วงร้าวในเงาน้า ‘รอยวารี’. สกลุ ไทย, 60(3122), 44. กรมศิลปากร. (2513). เสภาเร่อื งขุนชา้ งขุนแผน. พมิ พ์ครังที่ 14. ธนบรุ ี: โรงพมิ พ์ร่งุ วัฒนา. คมทวน คันธนู. (2549). นาฏกรรมบนลานกว้าง. พิมพ์ครงั ที่ 11. กรงุ เทพฯ: สริ มิ งคลค้า. จิตตน์ ิภา ศรไี สย.์ (2549). ภาษาไทยเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชีวติ . กรงุ เทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จุไรรัตน์ ลกั ษณะศิริ และบาหยนั อม่ิ สา้ ราญ. (บรรณาธิการ). ( 2547). การใชภ้ าษาไทย. กรุงเทพฯ: พ.ี เพรส. ฉวีวรรณ คูหาภินนั ทน์. (2542). เทคนคิ การอา่ น. กรงุ เทพฯ: ศลิ ปาบรรณาคาร. แฉเลห่ พ์ ่อคา้ -โรงสีปลอมขา้ วเกรดเอ. (2558, ธนั วาคม 14). มตชิ น, หน้า 28. ชวน เพชรแกว้ . (2520). การศกึ ษาวรรณคดีไทย. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์อักษรสัมพันธ์. ซะการยี ์ยา อมตยา. (2553). ไมม่ ีหญิงสาวในบทกวี. พมิ พ์ครังท่ี 2. กรุงเทพฯ: 1001 ราตร.ี ฐะปะนยี ์ นาครทรรพ. (2528). เอกสารการสอนชุดวชิ าการใชภ้ าษาไทย หนว่ ยท่ี 8. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช. เตือนใจ พิทกั ษานรุ ัตน์. (2542). พื้นฐานวรรณคดไี ทย. คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ สถาบนั ราชภัฏอุดรธาน.ี โตมร ศขุ ปรีชา. (2549). Back to School. Way, 1(1), 42-43. ถวลั ย์ มาศจรัส. (2544). หมอใบไม้. พิมพ์ครังที่ 6. กรุงเทพฯ: ธารอกั ษร. ________. (2545). การเขียนเชิงสรา้ งสรรคเ์ พ่อื การศกึ ษาและอาชีพ. กรุงเทพฯ: ธารอักษร. เถกงิ พันธุเ์ ถกิงอมร. (2542). การอา่ นตีความ. สถาบนั ราชภัฏสงขลา: โปรแกรมวิชาภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร.์ ทศิ นา แขมมณ.ี (2554). ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ สรา้ งสรรค์ และ การคดิ อยา่ งมี วิจารณญาณ: การบรู ณาการในการจัดการเรยี นรู้. ราชบณั ฑิตยสถาน, 36(2), 188-204. ธรรมธเิ บศร, เจา้ ฟ้า. (2552). พระประวตั ิและพระนพิ นธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร: กาพย์หอ่ โคลงนริ าศ ธารโศก. กรงุ เทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร. ________. (2552). พระประวัติและพระนพิ นธ์เจา้ ฟา้ ธรรมธเิ บศร: บทเห่ครวญ. กรุงเทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร.

136 ธดิ า โมสกิ รตั น์. (2553). การเขียนผลงานวิชาการและบทความ. พมิ พค์ รงั ที่ 2. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ.์ นรีภพ สวสั ดริ กั ษ.์ (บรรณาธกิ าร). (2557). ดแู ลรักษาผ้ปู ว่ ยดว้ ยธรรมะบา้ บดั . สกลุ ไทย, 60(3130), 47. นติ ยา กาญจนะวรรณ. (2544). ภาษาไทย 2001. กรุงเทพฯ: มติชน. นิวกลม. (2554). สิง่ มหัศจรรยธ์ รรมดา. พิมพ์ครังท่ี 8. กรงุ เทพฯ: มตชิ น. เนาวรัตน์ พงษไ์ พบูลย์. (2552). เพียงความเคลื่อนไหว. พิมพค์ รงั ท่ี 12. กรุงเทพฯ: เกยี ว-เกลา้ พมิ พการ. เนาวรตั น์ พงษไ์ พบูลย.์ (ม.ป.ป.). พ่อสอนลกู . กรุงเทพฯ: เกียว-เกล้าพมิ พการ. บันลือ พฤกษะวนั . (2557). แนวพัฒนาการ อา่ นเร็ว-คิดเป็น. กรงุ เทพฯ: ส้านกั พิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. บนิ หลา สนั กาลาคีรี. (2553). เจ้าหงญิ . พิมพ์ครงั ท่ี 25. กรงุ เทพฯ: มตชิ น. บุญยงค์ เกศเทศ. (2536). แลลอดวรรณกรรมไทย. กรงุ เทพฯ: โอ.เอส.พรินติง เฮ้าส์. บุญเหลือ ใจมโน (2549). การแตง่ คาประพันธ์. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ ประเทิน มหาขนั ธ.์ (2530). การสอนอ่านเบ้ืองตน้ . กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร.์ ผกาศรี เย็นบุตร. (2542). การอ่าน. กรงุ เทพฯ: ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ. พจมาน ศิริรังสี. (2556). Editor’s Talk. FOOD of life, 5(60), 6. พนติ นนั ท์ บุญพามี. (2542). เทคนิคการอ่านเบื้องต้น. นครราชสีมา: สถาบนั ราชภัฏนครราชสมี า. พระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลก, พระบาทสมเด็จ. (2514). บทละครเร่ืองรามเกยี รต์ิ เลม่ 2. พมิ พ์ครงั ที่ 6. กรงุ เทพฯ: แพร่พิทยา. ________. (2514). บทละครเรอ่ื งรามเกยี รติ์ เล่ม3. พมิ พค์ รังท่ี 6.กรุงเทพฯ: แพรพ่ ิทยา. พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลัย, พระบาทสมเดจ็ . (2506). อิเหนา. กรุงเทพฯ: คลังวิทยา. พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยหู่ วั , พระบาทสมเดจ็ พระ. (2544). มัทนะพาธา ตานานดอกกุหลาบ. กรุงเทพฯ: บันทึกสยาม. พระมหามนตร(ี ทรัพย์). (2555). บทละครเรอ่ื งระเด่นลันได. กรุงเทพฯ: โสภณการพมิ พ์. พทั ธมญส์ กาญจนพันธุ์. (2559). FLOWERS. a day, 16(186), 147. ไพพรรณ อินทนิล. (2546). การส่งเสริมการอ่าน. ชลบรุ :ี ภาควิชาบรรณารกั ษศาสตร์ คณะ มนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา. ไพรถ เลิศพิริยกมล (2542). วรรณกรรมปัจจบุ นั . กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานิช. ไพวรินทร์ ขาวงาม. (2552). ม้าก้านกลว้ ย. พิมพ์ครังท่ี 26, กรงุ เทพฯ: แพรว. ภาณุมาศ ธนาทองกลุ . (2556). การลาออกครัง้ สดุ ทา้ ย. พิมพ์ครงั ท่ี 25. กรงุ เทพฯ: อะบุ๊ก.

137 ภาวนา คนตรง และสจุ ติ รา สมแสง. (2556). พระราชวงั ลอยฟา้ 15,000 ล้านบาท ของเจ้าชายอลั วา ลีด บิน ทาลาล. คู่สรา้ ง คู่สม, 34 (793), 106. มณีรตั น์ สกุ โชตริ ตั น.์ (2548). อ่านเป็น : เรยี นกอ่ นสอนเกง่ . กรุงเทพฯ: นานมีบ๊คุ ส์พับลิเคช่นั ส์. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ภาควชิ าภาษาไทยและภาษา ตะวนั ออก. (2553). ศิลปะการแสดงออกทางภาษา. พมิ พ์ครังท่ี 10. มหาสารคาม: อินทนลิ . มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช สาขาวิชาศลิ ปศาสตร์. (2557). เอกสารการสอนชุดวิชาการอา่ น ภาษาไทย. พิมพ์ครงั ท่ี 12. นนทบรุ ี: มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช. มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช สาขาวชิ าศึกษาศาสตร.์ (2527). เอกสารการสอนชดุ วิชา ภาษาไทย 5 การอ่าน. พมิ พ์ครังท่ี 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช. มาลา ค้าจนั ทร.์ (2555). เจ้าจนั ทผ์ มหอม นริ าศพระธาตอุ ินทรแ์ ขวน. พมิ พ์ครังท่ี 16. กรงุ เทพฯ: เคล็ดไทย. รอนดา เบริ น์ . 2554. เดอะ พาวเวอร์. กรงุ เทพ: อมรินทร์. ราชบัณฑติ ยสถาน. (2556). พจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 เฉลิมพระเกยี รติ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวเนือ่ งในโอกาสพระราชพธิ มี หามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธนั วาคม 2554. กรงุ เทพฯ: ราชบัณฑติ ยสถาน. รนื่ ฤทัย สัจจพนั ธ.์ุ (2556). อ่าน “ได้” อ่าน “เปน็ ”. กรงุ เทพฯ: สถาพรบุ๊คส์. ลาว ค้าหอม. (2552). ฟ้าบก่ ั้น. พิมพค์ รงั ที่ 21. กรุงเทพฯ: แพรว. ลินจง จันทรวราทติ ย์. (2542). เอกสารคาสอน รายวิชา การอา่ นเพ่ือชวี ิต. ภาควชิ าภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ สถาบนั ราชภฏั นครปฐม. ว.วชิรเมธ.ี (2555). 9 เร่ืองเพ่ือความกา้ วหน้า. นนทบุรี: ปราณ. ________. (2556). โทษ. นนทบุรี: ปราณ. วลั ภา ศศวิ ิมล. (2541). การอ่านตคี วาม. พิษณโุ ลก: โปรแกรมวิชาภาษาไทย คณะวิชามนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภฏั พิบลู สงคราม. วิกรม กรมดิษฐ.์ (2551). มองซอี ีโอโลก. กรงุ เทพฯ: โพสต์ทเู ดย์. วิเชยี ร เกษประทมุ . (2550). ลักษณะคาประพนั ธไ์ ทย. กรุงเทพฯ: ธนธชั การพิมพ.์ วเิ ชียร อันประเสรฐิ . (2552). แมน่ ้าแหง่ ชีวิต. เชยี งใหม่: คณะสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่. แววมยรุ า เหมอื นนลิ . (2541). การอา่ นจับใจความ. กรุงเทพฯ: สวุ รี ยาสาสน์ . ศศธิ ร ธัญลกั ษณานันท์, พนิตนนั ท์ บญุ พามี, จนิ ตนา ดว้ งแพง และแจ่มจนั ทร์ สุวรรณรงค์. (2542). ภาษาไทยเพ่อื การสือ่ สารและสบื คน้ , กรุงเทพฯ: เธิรด์ เวฟ เอ็ดดูเคช่นั . ศรีสดุ า จริยากุล และคณะ. (2545). เอกสารการสอนชดุ วิชาภาษาไทย 5: การอา่ น. (พมิ พ์ครงั ท่ี 3). นนทบุรี: มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช. ศลิ า โคมฉาย. (2546). ปฏิวตั ิเบาๆ. พมิ พค์ รังที่ 2. กรงุ เทพ: สายธาร.

138 ศวิ กานท์ ปทุมสูต.ิ (2553). คู่มอื การอา่ นคิดวเิ คราะห์. กรุงเทพฯ: นวสาส์นการพมิ พ์. สนิท ตังทว.ี (2526). อ่านไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร.์ ________. (2529). การใชภ้ าษาเชิงปฏบิ ตั ิ. กรุงเทพฯ: โอเดยี นสโตร.์ สมบัติ จา้ ปาเงนิ และสา้ เนียง มณีกาญจน์. (2548). กลเมด็ การอา่ นให้เกง่ . พมิ พ์ครงั ท่ี 3. กรงุ เทพฯ: สถาพรบคุ๊ ส์. สายทิพย์ นกุ ูลกจิ . (2537). วรรณกรรมไทยปัจจบุ นั . กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ บางเขน. สุจติ ต์ วงษ์เทศ. (2556). ข้าวตังเมีย่ งลาว VS ขนมจีนน้าพรกิ . FOOD of life, 5(60), 83. สุชาติ พงษพ์ านิช. (2550). การอา่ นเพ่ือพัฒนาตน. นครสวรรค์: คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครสวรรค.์ สนุ นั ทา มน่ั เศรษฐวทิ ย์. (2540). หลกั และวธิ ีสอนอา่ นภาษาไทย. พมิ พ์ครงั ท่ี 3. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานชิ . สพุ รรณี วราทร. (2545). การอา่ นอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . สวุ ฒั น์ ววิ ฒั นานนท์. (2551). ทกั ษะการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น. พิมพค์ รงั ท่ี 2. นนทบุรี: ซ.ี ซ.ี นอลลิดจ์ลิงคส.์ องค์การบริหารส่วนจงั หวดั อุดรธาน.ี (ม.ป.ป.). 30 ปราชญ์อุดร. (มปท.). อมรพรรณ ซมุ้ โชคชยั กลุ . (2550). การเขียนสาหรับสื่อสิง่ พมิ พ์. พมิ พ์ครังท่ี 2. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช. อมรรตั น์ ทิพยเ์ ลิศ. (บรรณาธิการ). (2549). เปิดประตสู ูก่ ารรู้เท่าทนั สอ่ื แนวคิดทฤษฎแี ละ ประสบการณก์ ารรเู้ ทา่ ทนั สือ่ เพ่อื สุขภาพ. นนทบุรี: โครงการส่อื สรา้ งสรรค์สขุ ภาพ. อมรวิชช์ นาครทรรพ. (2548). เด็กไทยในมิตวิ ฒั นธรรม. พิมพค์ รังที่ 3. กรุงเทพฯ: องค์กรสงเคราะห์ ทหารผ่านศึก. อรร้าไพ. (2557). นาทแี ห่งความเฉียด. สกลุ ไทย, 60(3130), 9. อังคาร กลั ป์ยาณพงศ.์ (2550). ปณธิ านกวี. พิมพ์ครงั ที่ 10. กรุงเทพฯ: ศยาม. อัพเดตภยั เงียบจากความหวาน. (2558, ธนั วาคม 14). มติชน, หนา้ 21. อชุ เชนี. (2544). ขอบฟา้ ขลิบทอง. พิมพค์ รังท่ี 2. กรงุ เทพฯ: ผีเสอื . อุดม แต้พานชิ . (2556). หนังสือโป๊. พิมพ์ครงั ท่ี 29. กรงุ เทพฯ: ออฟเซ็ท พลัส. อุทศิ เหมะมลู . (2556). กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ. ปากไก่, 2, 129. เอกรัตน์ อดุ มพร. (2549). เกรด็ กวี บทกวดี เี ดน่ เป็นทีป่ ระทับใจ. กรุงเทพฯ: พฒั นาศึกษา. ________. (2549). สภุ าษติ สนุ ทรภู่ สอนหลกั การทางาน สาหรบั ผู้นา และนักบรหิ าร. กรงุ เทพ: พฒั นาศึกษา.

139 เอมอร เนียมนอ้ ย. (2551). พัฒนาการอา่ นอยา่ งมวี จิ ารณญาณ. กรุงเทพฯ: สุวีรยิ สาส์น. BUA. (2557). คราม...สธี รรมชาติจากภมู ิปัญญา. SOOK, ม.ป.ป.(17), 47. Kornkamol. (2557). กินอยู่แบบไทย. SOOK, ม.ป.ป.(17), 21.

 


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook