Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติซอล่องน่าน

ประวัติซอล่องน่าน

Published by jengadisorn, 2019-12-12 03:21:16

Description: ประวัติซอล่องน่าน

Search

Read the Text Version

ซอและฟ้อนล่องน่าน ชื่อผู้ประกอบการ/สถานประกอบการ ๑. คณะซอล่องน่าน นายอรุณศลิ ป์ ดวงมลู บา้ นซาวหลวง ตาบลนาซาว อาเภอเมือง จังหวัดน่าน โทรศพั ท์ ๐๘๑ – ๙๕๒๘๙๓๔ ๒. ศิลปินพนื้ บา้ น คณะน้องใหม่ บา้ นเดน่ พฒั นา หมู่ท่ี ๑๒ ตาบลเปอื อาเภอเชยี งกลาง จงั หวดั นา่ น ๓. คณะซอนายสวิง ยาธะนะ (จนั ทร์ต๊ิบ จ่างซอ) ตาบลม่วงตึด๊ อาเภอภูเพียง จังหวดั นา่ น ความสามารถนาสินค้า/บริการมารว่ มงาน : สาธติ การแสดง องคค์ วามรู้ดา้ นภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรม/ความสาคัญ ซอล่องน่าน ซอล่องน่านเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า “ ซอพระลอ” หรือ “ซอน้อยไชยยา” ซอทานองน้ีมีจังหวะลีลาค่อนข้างช้า อ่อนหวาน มีการเอ้ือนทานองด้วยเสียงสูงต่าเหมือนกับสายน้าท่ีไหลเรื่อยริน ยามถูกลมพัดก็จะเกิดระลอกคลื่นสูงต่า สลับกันไป นับเป็นทานองซอที่ไพเราะมาก ช่างซอเมืองน่านเล่าถึงตานานกาเนิดซอล่องน่านสืบต่อกันมาว่า เม่ือครั้ง สมัยพระยาครานเมืองย้ายเมืองจากเมืองวรนคร ( เมืองปัว ) มาต้ังเมืองใหม่ที่เวียงภูเพียงแช่แห้งเมื่อราว พ.ศ. ๑๙๐๒ นั้น พระยาครานเมืองได้จัดทาแพข้ึน ๗ ลา เพื่อใช้ขนย้ายไพร่ฟ้าประชาราษฎร์ของพระองค์ ในแพลาที่เจ็ดนั้นเป็นแพ บรรทุกเหล่าศิลปินท้ังหลาย ขณะที่แพล่องมาตามลาน้าน่านน้ัน ด้วยความคิดถึงบ้านเมืองที่ตัวเองจากมา ประกอบกับ บรรยากาศอันร่ืนรมย์สองฝั่งน้าจึงเป็นแรงบันดาลใจให้ศิลปินคู่หนึ่งคือ “ ปู่คามาย่าคาบ้ี ” ( บ้างเรียกว่า “ ย่าคามี ) ผลดั เปลย่ี นกันขบั ซอพรรณนาความรู้สกึ ที่ต้องพลดั พรากจากบ้านเกิดเมืองนอน พรรณนาสภาพภูมิศาสตร์ ป่าเขาลานา ไพร ตลอดจนเทิดพระเกยี รติของพระยาครานเมอื งดว้ ย คนทง้ั หลายจึงเรียกทานองนั้นว่า “ ซอล่องน่าน ” ตามการล่อง แพตามลาน้าน่านนับต้ังแต่นั้นเป็นต้นมา ล่วงมาถึงสมัยของพระราชชายาเจ้าดารารัศมีได้โปรดให้ท้าวสุนทรพจนกิจ แต่งบทซอเร่ืองพระลอข้ึน โดยใช้ทานองล่องน่านเป็นทานองดาเนินเรื่อง และต่อมาพระองค์โปรดให้แต่งละครซอเรื่อง นอ้ ยไชยาอีก ทา้ วสนุ ทรพจนกจิ ก็ไดใ้ ชท้ านองนีอ้ กี ครั้ง ตอนนอ้ ยไชยากบั แว่นแก้วตดั พอ้ กนั ทหี่ ้วยแก้ว ตัวอยา่ งซอล่องนา่ น จากละครซอเรือ่ งน้อยไชยา ของทา้ วสุนทรพจนกิจ ดวงดอกไมเ้ บ่งบานสลอน ฝูงภมรภเู่ ผง้ิ สอดไช้ ดอกพกิ ุลของพต่ี ้นใต้ ลมพดั ไมม้ าสบู่ า้ นตู รู้แนช่ ดั เขา้ โสตสองหู วา่ สีชมภถู ูกปลา้ เคา้ เนง้ิ เค้ามนั ตายปลายมันเสง้ิ ลากงิ่ เนง้ิ ปลายโคน่ ทวยแนว ดอกพกิ ลุ ก็คือดอกแกว้ ไปเปน็ ของเพน่ิ แล้วละเนอ ภูมปิ ญั ญาการสร้างสรรค์ทานองซอของบรรพชนชาวน่านอีกทานองหน่ึง ที่มีคาว่า “ นา่ น ” ปรากฎในชือ่ ด้วย และมกั สบั สนกบั ทานองซอล่องนา่ น คือ “ ซอทานองดาดนา่ น ”

ซอดาดน่าน หรือ ซอดาดเมืองน่าน บางครั้งเรียกสั้นๆว่า “ซอดาด” เป็นทานองซอท่ีได้รับความนิยมมากท่ีสุด ในวงซอเมืองน่าน นยิ มซอในงานบญุ ต่างๆ ทว่ งทานองมีความกระชบั ฟังงา่ ย แตแ่ ฝงไวซ้ ่ึงความสุขุมลุ่มลกึ สง่างาม และ ยังถอื เปน็ ซอ “ บทครู ” เพราะช่างซอจะซอทานองนี้เป็นทานองแรกในการแสดง นอกจากนี้ ยังมีความเชื่อสืบทอดกัน มาว่า ในพิธีบวงสรวงดวงวิญญาณอารักษ์ท่ีรักษาเมืองน่าน ซ่ึงมีพระยาหลวงปัว( พระยาผานอง ) เป็นอารักษ์ประธาน นั้น ถ้าหากไม่ซอทานองนี้ ดวงวิญญาณของพระองค์จะไม่ลงประทับร่างทรงเป็นอันขาด นัยว่าเป็นซอทานองโปรดของ พระองค์ ด้วยขนบที่ช่างซอได้ซอทานองนี้เป็นทานองแรก รวมถึงความเชื่อท่ีเก่ียวข้องกับกษัตริย์ในยุคต้นๆของ ประวัติศาสตร์เมืองน่าน ทาให้น่าเชื่อว่าซอดาดน่านน้ี น่าจะเป็นการขับขานในยุคแรกๆของชาวน่าน และยังสอดคล้อง กับคาว่า “ ดาด ” ท่ีหมายถึง การขับขานโดยไม่มีดนตรีประกอบ อันถือเป็นรูปแบบของการขับขานในยุคเริ่มแรกของ มนษุ ยใ์ นทกุ อารยธรรม ภายหลงั ได้มีการนาเอาทานองน้ีไปประยุกต์เข้ากับเคร่ืองดนตรีสากล จนได้รับความนิยมอย่าง แพร่หลาย เพลงท่ีคุ้นหูกันมาก คือ เพลงหนุ่มลาปางตามเมีย ของสดใส รุ่งโพธ์ิทอง ตัวอย่างซอดาดาน่าน จากซอชุด พระพุทธเจ้า ของสมศกั ดิ์ ช่อแกว้ พระอินทร์อยูฟ่ า้ สอดตาแลเหลยี ว ว่ามาเรว็ เร็วเทอะพระทา่ นเจ้า ถ้าขอบฟา้ แดงก็จะแจ้งเมือ่ เช้า พระองค์ท่านเจ้าจกั บ่ได้ไป เอ็ดดมู นุษยแ์ ละสตั วท์ ้ังหลาย จะตกอบายเพราะกรรมหยาบกล้า ขอช่วยรักษาเมตตาโลกไว้ ศิลปะการแสดงฟ้อนล่องน่าน ศิลปะการแสดงฟ้อนล่องน่านเป็นศิลปะการแสดงฟ้อนในวิถีชีวิต ในงานประเพณีต่างๆของท้องถ่ิน เช่น ฟ้อน ล่องน่าน ฟ้อนแง้น ฟ้อนลายงาม ฟ้อนล้ือของชาวไทลื้อ ฟ้อนล่องน่าน เป็นคาท่ีใช้เรียกช่ือฟ้อนพื้นเมืองของชาวน่าน ซงึ่ ถ้าหากพิจารณาตามรปู แบบแลว้ สามารถแบง่ ศลิ ปะการแสดงฟ้อนลอ่ งน่านออกไดเ้ ป็น ๒ ประเภท ดงั นี้ ๑. การฟอ้ นทีล่ ่องไปตามแม่น้านา่ น ๒. การฟอ้ นทป่ี ระกอบกับวงกลองล่องน่าน การฟอ้ นล่องนา่ นทล่ี ่องไปตามแมน่ านา่ น การฟอ้ นประเภทนจี้ ะถอื เอาอาการทีผ่ ้ฟู ้อนฟ้อนขณะล่องเรือไปตามลาน้าน่าน หรือล่องน่าน เป็นสาคัญ แต่ เดมิ ผฟู้ ้อนจะเปน็ เพศชายเท่าน้ัน เพราะในสมัยก่อนเพศหญิงจะไม่ได้รับอนุญาตให้ข้ึนบนเรือแข่งเป็นอันขาด ฟ้อนชนิด นี้มักจะฟ้อนกับวงกลองล่องน่านซึ่งจะมีจังหวะช้า เยือกเย็น ทาให้ผู้ฟ้อนสามารถอวดลีลาการฟ้อนได้อย่างเต็มท่ี จึง เรียกอกี อยา่ งหนง่ึ ว่า ฟอ้ นลายงาม เจ้ามหาพรหมสุรธาดาฯ เปน็ อีกผหู้ น่ึง ท่สี ามารถฟ้องล่องน่านได้อย่างสง่างาม เม่ือ ครั้งที่สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต เสด็จตรวจราชการเมืองน่าน เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๖๐ ทางเมืองน่านได้จัด แข่งขันเรือยาวให้ทอดพระเนตร เจ้ามหาพรหมสุรธาดาฯก็ได้ลงไปฟ้อนล่องน่านในเรือลาท่ีชนะเลิศด้วย สมัยต่อมา ผู้หญิงได้รับอนญุ าตใหฟ้ อ้ นบนเรอื แขง่ ได้และเรียกว่า“ฟ้อนล่องน่าน” ตามอาการท่ีฟ้องล่องตามลาน้าน่าน ร่องรอยของ การฟ้อนล่องน่าน ยังปรากฏภาพในหนังสือพจนานุกรมภาพศิลปวัฒนธรรมล้านนาและหัวเมืองฝ่ายเหนือ และภาพถ่าย ปรากฏ ณ พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน

เจา้ มหาพรหมสรุ ธาดาฟอ้ นล่องนา่ นบนเรือแข่งถวายแด่สมเด็จเจา้ ฟ้ากรมพระนครสวรรคว์ รพนิ ติ ในปี พ.ศ. ๒๔๖๐ การฟ้อนทีป่ ระกอบกบั วงกลองล่องนา่ น การฟ้อนล่องน่านนี้ ไม่จาเป็นต้องเก่ียวข้องกับแม่น้าน่าน แต่ถือเอาวงกลองเป็นสาคัญ การฟ้อนใดท่ีฟ้อนเข้า กับจังหวะของกลองล่องน่าน ก็จะเรียกว่าฟ้อนล่องน่านท้ังหมด ฟ้อนล่องน่านเป็นฟ้อนท่ีคลี่คลายมาจากฟ้อนเชิง หรือ ฟ้อนลายงามของผู้ชายบนเรือแข่ง ต่อมาได้มีการนามาฟ้อนบนบกด้วยข้อสังเกตของการฟ้อนล่องน่านแบบด้ังเดิม คือ จะไม่มีการก้าวเท้า หรือถ้ามีก็จะขยับเท้าแต่เพียงเล็กน้อยเท่านั้น ท้ังนี้เป็นเพราะพ้ืนที่บนเรือมีจากัดน่ันเอง และไม่จีบ มืออย่างการราตามแบบนาฎศิลปไ์ ทยเพียงแตก่ รดี กรายนวิ้ แต่พองามเทา่ นนั้ ท่าฟ้อนศลิ ปะการแสดงฟอ้ นล่องนา่ น ๙ ท่า ประกอบด้วย ๑. ทา่ ไหว้

๒. ท่าเกล้ยี วเกล้า ๓. ท่าบังวัน (บงั ตะวนั ) ๔. ท่าโบกโบยเทวดา ๕. ท่าแมธ่ รณีรูดผม

๖. ท่าเกบ็ บวั ถวายพระ ๗. ท่าปลาเหล้ยี มหาด ๘. ทา่ กาตากปีก ๙. ท่าผาลาด

เครื่องดนตรีท่ีใช้ประกอบการแสดงฟ้อนล่องน่าน คือ วงกลองล่องน่าน (วงกลองมงสืดส้ึง) ซ่ึงประกอบด้วย กลอง ฆอ้ ง ฉาบ ปานและแน มีลกั ษณะดังน้ี ๑. กลองอืด หรือ กลองแอว เป็นกลองพื้นบ้านในภาคเหนือมีลักษณะคล้ายกับกลองยาว แต่ใหญ่และยาวกว่า มาก ตัวกลองทาด้วยไม้เน้ือแข็ง เช่น ประดู่ ชิงชัน เป็นกลองขึงด้วยหนังหน้าเดียว ลาตัวกลองแอวจะกว้างใหญ่ ตอนกลางเปน็ แอวคอดและเรยี ว ตอนปลายจะบานออกคล้ายลาโพง กลงึ ขวนั้ เป็นปลอ้ งๆ ๒. กลองสองหน้า หรือกลองล่องน่าน ลักษณะคล้ายตะโพนมอญแต่จะเล็กว่าและหนากว่า มีลักษณะ ทรงกระบอก หน้าท้ังสองมีความกว้างต่างกัน โดยหน้าใหญ่กว่างประมาณ ๕๐ เซนติเมตร ส่วนหน้าเล็กกว้างประมาณ ๔ๆ เซนตเิ มตร ส่วนไหลกลองยาวประมาณ ๗๐ – ๘๐ เซนติเมตร ป่องออกเล็กน้อยหรอื เรยี วเปน็ ทรงกระบอก ๓. ฆ้อง จัดเป็นเคร่ืองดนตรีประเภทตี ทาด้วยโลหะผสม เป็นรูปวงกลม มีขอบตรงกลาง มีปุ่มสาหรับตี ตีด้วย ไม้หุ้มนวม ฆอ้ งกลองประกอบการฟ้อนลอ่ งนา่ น ในวงกลองลอ่ งนา่ น มตี ั้งแต่ ๓ ใบข้นึ ไป

๔. แน เป็นเครื่องดนตรีพ้ืนเมืองเหนือ ประเภทเครื่องเป่า มีล้ินมีลักษณะคล้ายป่ีมอญ หรือชวา เลาแนทาด้วย ไม้เน้ือแข็ง เชน่ ประดู่ ชงิ ชัน มะเกลอื ฯลฯ ๕. ฉาบ เคร่ืองดนตรีประเภทตที าด้วยโลหะ ผสมแทน่ สาริดทองเหลอื ง มีลักษณะกลม แบน มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ๓๐ เซนตเิ มตร ตรงกลางตใี ห้ปอ่ ง นนู ออก แล้วเจาะรรู ้อยเชือก ๖. ปานหรือพับผ่าง จัดเป็นเคร่ืองดนตรีประเภทตีทาด้วยโลหะเป็นวงกลม มีขอบคล้ายฉัตร หรือมีลักษณะ คล้ายฆอ้ ง แต่เวลาเคาะจะมเี สียงดังผ่างๆ ไม้ตีทาด้วยไม้ไผ่เหลาให้แบนแล้วพันด้วยผ้าอีกช้ันหน่ึง เพ่ือให้มีเสียงนุ่มนวล ขนึ้

๗. กลองต๊อมแต๊ม หรือตะโล๊ดโป๊ด เป็นกลองขึงหนังสองหน้า หุ่นกลองทาด้วยไม้เน้ือแข็ง ใช้สายหนังโยงเร่ง เสียง มรี ปู รา่ งและลกั ษณะเชน่ เดียวกบั เปงิ มาง และกลองสองหน้า แต่ตัวกลองยาวประมาณ ๗๘ เซนติเมตร โอกาสท่ีใชใ้ นการแสดงศิลปะการแสดงฟ้อนล่องนา่ น ๑. งานประเพณีต่างๆ ๒. งานประเพณีถวายทานสลากภตั ๓. งานประเพณีถวายผ้าพระกฐิน การแตง่ กายศิลปะการแสดงฟ้อนล่องน่าน ๑. นุง่ ผา้ ถงุ ซ่นิ มา่ นเปน็ ซิน่ ที่แสดงถึงเอกลักษณ์ของเมืองน่าน /หม่ สไบ ๒. สวมเส้ือแขนยาวทรงกระบอก ๓. เกล้าผมมวยเหนบ็ ดอกเออื้ งผ้งึ การสร้างรายได้ใหก้ ับชุมชน/ตนเองอย่างไร ในช่วงเทศกาลต่างๆ หรือในช่วงที่นักท่องเท่ียวเดินทางมาสัมผัสวิถีชีวิตของชาวน่าน คงไม่พลาด โอกาสท่ีจะชมความงดงามของศิลปะประเพณีที่สืบทอดต่อกันมาอย่างยาวนานนั่น คือ ซอและฟ้อนล่องน่าน ที่มีความ งดงามอ่อนช้อย เสียงเพลงบรรเลงขับกล่อมให้นักท่องเท่ียวเพลิดเพลินไปกับธรรมชาติที่งดงาม สาหรับท่านที่ต้องการ ชมซอและฟอ้ นล่องนา่ น สามารถติดต่อคณะซอได้ ราคาเร่มิ ตน้ อยทู่ ่ี ๒,๕๐๐ – ๓,๐๐๐ บาทต่องาน นอกจากนี้ยังมีการ ประดิษฐเ์ ครื่องดนตรีพ้นื บ้าน เชน่ พิณ ซอ ฯลฯ ใหก้ ับผทู้ สี่ นใจได้เลอื กซ้อื ในราคาท่ยี อ่ มเยาว์ รูปภาพสนิ คา้ และบรกิ ารทางวฒั นธรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook