Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นักวิจัยดีเด่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีธัญบุรี 2559

นักวิจัยดีเด่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีธัญบุรี 2559

Published by jibjune, 2017-01-24 02:25:44

Description: นักวิจัยดีเด่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีธัญบุรี 2559

Search

Read the Text Version

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี (Rajamangala University of Technology Thanyaburi) นกั วจิ ัยดเี ดน่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี ประจ�ำ ปี 2559



มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี (Rajamangala University of Technology Thanyaburi) นกั วจิ ัยดเี ดน่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี ประจำ� ปี 2559



สารจากอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นมหาวิทยาลัยนักปฏิบัติมอื อาชพี ชนั้ นำ� ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมในระดบั ชาติ และกา้ วสรู่ ะดบั สากล มภี ารกจิ หลกั ในดา้ นพฒั นางานวจิ ยั และนวตั กรรม ซง่ึ เปน็ หนง่ึในสภ่ี ารกจิ หลกั ของมหาวทิ ยาลยั ฯ ดงั นน้ั มหาวทิ ยาลยั ฯ จงึ มนี โยบายสง่ เสรมิสนับสนุนการสร้างนักวิจัย และผลงานวิจัยให้มีชื่อเสียงและเป็นท่ียอมรับมหาวิทยาลัยฯ จึงตระหนักถึงความส�ำคัญในการมอบรางวัลกับนักวิจัยเพ่อื เปน็ การประกาศเกยี รตคิ ุณ สรา้ งขวญั ก�ำลังใจให้กับนักวิจยั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ขอแสดงความยนิ ดกี บั ทกุ ท่านทไ่ี ดร้ บั การเชดิ ชเู กยี รตใิ หเ้ ขา้ รบั โล่ เกยี รตบิ ตั ร และเงนิ รางวลั ประจำ� ปี ๒๕๕๙ในงานวันสถาปนามหาวิทยาลัย ในวันที่ ๑๘ – ๒๐ มกราคม ๒๕๖๐ และขอขอบคุณนักวิจัยทุกท่านที่ได้อุทิศตนเพ่ือสร้างผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์นวัตกรรม และงานสร้างสรรค์ จนเป็นที่ประจักษ์ และสามารถสร้างชื่อเสียงให้กบั มหาวทิ ยาลัยฯ สืบไป (รองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ป่นิ ปฐมรัฐ) อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี



ค�ำนำ� สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีเป็นหน่วยงานที่มุ่งมั่นส่งเสริมและสนับสนุนงานวิจัยเพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการวิจัยของบุคลากรให้ได้มาตรฐาน และเป็นที่ยอมรับบนพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และเลง็ เหน็ ความส�ำคญั ในการประกาศเกยี รตคิ ณุยกย่อง เพ่ือสร้างขวัญและก�ำลังใจให้กับบุคลากรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีท่ีมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ จึงจัดท�ำประกาศคณะกรรมการกองทุนส่งเสริมงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เร่ืองการใหร้ างวลั พ.ศ. ๒๕๕๙ ข้นึ เพือ่ เปน็ รางวลั แก่นักวิจัยที่มผี ลงานวิจยั ท่สี ร้างช่ือเสียงให้กับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ประจ�ำปี ๒๕๕๙ประกอบด้วย ผลงานนักวิจัยดีเด่น ประจ�ำปี ๒๕๕๙ นักวิจัยที่ได้รับรางวัลจากการประกวดระดับนานาชาติตั้งแต่ปี ๒๕๕๘ - ๒๕๕๙ และนักวิจัยที่ท�ำผลงานได้ตามเกณฑ์ปิดโครงการงบประมาณภายในตั้งแต่ปี ๒๕๕๘ -๒๕๕๙ สถาบันวิจัยและพัฒนาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รางวัลนักวิจัยนี้จะเป็นส่วนเสริมสร้างก�ำลังใจ และผลักดันให้นักวิจัยในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีมีความมุ่งม่ันในการเพ่ิมผลผลิตของงานวิจัยท่ีมีคุณภาพเพ่ือยกระดบั งานวจิ ยั ให้ได้มาตรฐาน และเป็นท่ยี อมรบั ในระดบั สากลต่อไป (ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วารณุ ี อรยิ วริ ยิ ะนันท)์ ผูอ้ �ำนวยการสถาบนั วิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี



สารบญั หน้านกั วิจยั ดีเดน่ ประจำ� ปี 2559 1นักวิจัยทม่ี ีผลงานวจิ ัยได้รบั รางวัลระดับนานาชาติ ประจำ� ปี 2558 - 2559 25  ประจ�ำปี 2558 26  ประจำ� ปี 2559 35นกั วิจัยทไ่ี ดร้ ับรางวัลตามเกณฑก์ ารปิดโครงการวิจัยประจ�ำปี 2558 - 2559 59  ประจ�ำปี 2558 60  ประจำ� ปี 2559 63



นกั วจิ ัยดเี ด่นประจำ� ปี 2559

นกั วจิ ัยดเี ด่น ประจำ� ปี 2559 สาขาสังคมศาสตร์ ช่อื - นามสกลุ ภาษาไทย : นายกล้าหาญ ณ น่าน ภาษาอังกฤษ : Mr.KHAHAN NA-NAN ตำ� แหน่งทางวชิ าการ : ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ สังกดั คณะ/วทิ ยาลยั : คณะบรหิ ารธรุ กิจ ภาควชิ า การจัดการ E-mail: [email protected] เบอร์โทรศัพท์มอื ถอื : 08 9922 6200ประวตั ิการศกึ ษา สาขาวชิ าเอก สถาบนั การศกึ ษา ปที จ่ี บการศึกษา การจดั การทวั่ ไป สถาบนั ราชภฏั 2547 วฒุ ิการศึกษา (เกียรตินิยมอันดบั 1) บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา ศิลปศาสตรบณั ฑติ การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ 2549 สถาบันบัณฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร์ 2552 วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต และองคก์ าร ปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑิต การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ มหาวิทยาลยั รามคำ�แหงประวตั ิการทำ� งาน 2554 - ปจั จบุ นั อาจารยป์ ระจำ� คณะบริหารธรุ กจิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2553 - 2554 อาจารย์ประจำ� สำ� นักนวตั กรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ 2551 - 2552 วิทยากรและทป่ี รึกษาอาวโุ ส บริษัท เอซี แมนเนจเม้นท์ อนิ เตอร์เนช่ันแนล จำ� กัด 2549 - 2551 อาจารยป์ ระจำ� ภาควชิ าการบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนดุสติ และเปน็ ผตู้ ง้ั ปรชั ญาการทำ� งาน SOMSAK ของธรุ กจิ เสรมิ สวย มอบโดยกลมุ่ บรษิ ทั ชลาชล กรปุ๊2

สาขาสังคมศาสตร์ นักวิจยั ดีเด่น ประจ�ำปี 2559 รางวัลทไ่ี ด้รับการเชดิ ชเู กียรติ ผลงานวจิ ัยเชงิ วิชาการพ้ืนฐาน (RMUTT Outstanding Researcher in Basic Research) ทม่ี ีผลงานตีพมิ พ์ในวารสารระดบั ชาติ และนานาชาติ ดีเดน่ ชอื่ ผลงาน : อทิ ธพิ ลความผกู พนั ของพนกั งานตอ่ องคก์ ร คณุ ภาพการใหบ้ รกิ าร ความพงึ พอใจของลกู คา้ ท่ีมตี อ่ ความภกั ดีของลูกคา้ : กรณีศึกษา ธรุ กิจเสริมสวย ความเปน็ มา/หรอื ลกั ษณะเดน่ ของผลงาน ธุรกิจบริการเสริมความงามนับเป็นหนึ่งในหลายธุรกิจที่มีบทบาทส�ำคัญต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมท�ำให้ธุรกิจเสริมสวยมีการขยายตัวอย่างต่อเน่ืองและรวดเร็วเพ่ือรองรับกับการเจริญเติบโตดังกล่าว ดังน้ันการพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพและมีความผูกพันต่อองค์กรจะช่วยให้องค์กรส่งมอบการบริการท่ีมีคุณภาพและสร้างความพงึ พอใจของลกู ค้าในระดบั สูง ตลอดจนส่งผลให้เกิดความภกั ดตี ่อองคก์ รของลกู คา้ ตามมา การวิจัยคร้ังนี้ผู้วิจัยได้พัฒนาเครื่องมือวัดความผูกพันของพนักงานต่อองค์กรขึ้นเพื่อใช้ในการศึกษา โดยแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ การยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์กร ความเต็มใจในการทุ่มเทความสามารถและความต้องการในการปฏิบัติงานกับองค์กรต่อไป ซ่ึงผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหาจากผู้เชี่ยวชาญการทดสอบความเชอ่ื มน่ั และวเิ คราะหเ์ ชงิ ยนื ยนั ตามโครงสรา้ ง ซง่ึ ผา่ นเกณฑท์ ใ่ี ชว้ ดั ตามทกี่ ำ� หนดทางสถติ อิ ยา่ งมนี ยั สำ� คญัทำ� ให้เครื่องมือมีความเทย่ี งตรงสำ� หรับการวดั ความผกู พนั ของพนักงานต่อองค์กรในระดบั สงู ผลจากการศกึ ษาพบวา่ ปจั จยั ความผกู พนั ของพนกั งานตอ่ องคก์ รทง้ั 3 ดา้ น มอี ทิ ธพิ ลโดยตรงตอ่ ความภกั ดขี องลกู คา้นอกจากนั้นความผูกพันของพนักงานต่อองค์กรยังมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความภักดีของลูกค้าโดยส่งผ่านคุณภาพการให้บริการ และความพึงพอใจของลูกค้าอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ทั้งนี้ความภักดีของลูกค้ายังได้รับอิทธิพลโดยตรงจากคณุ ภาพการให้บรกิ ารและความพึงพอใจของลกู ค้าอยา่ งมีนยั สำ� คญั ทางสถิตเิ ช่นเดียวกัน ดังแสดงในภาพที่ 1 การนำ� ไปใช้ประโยชน์  การประยกุ ตใ์ ชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน ผปู้ ระกอบการ ผบู้ รหิ าร นกั พฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ นกั การตลาด ผเู้ กยี่ วขอ้ ง หรอื องคก์ รสามารถนำ� ตวั แปรเหลา่ นไ้ี ปปรบั ใชใ้ นการดำ� เนนิ งาน โดยเฉพาะการสรา้ งทำ� ใหพ้ นกั งานเกดิ ความ ผูกพันกับองค์กรในระดับสูงซึ่งจะส่งผลให้พวกเขาสร้างสรรค์คุณภาพการบริการ ความพึงพอใจ และ เกิดความภกั ดีของลกู ค้าตามมา  นักวิจัย นักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ องค์กร หรือผู้เกี่ยวข้องด้านทรัพยากรมนุษย์สามารถน�ำเคร่ืองมือวัด ความผูกพันไปใช้ในการศกึ ษาหรอื วัดระดบั ความผูกพนั ของพนักงานตอ่ องคก์ รไดอ้ ยา่ งแม่นยำ�  การประยุกต์ใช้ในทฤษฎีที่ค้นพบ นักวิชาการ อาจารย์ หรือนักศึกษา สามารถน�ำตัวแปรเหล่านี้ไปอธิบาย ปรากฏการณข์ องการเกดิ ความภกั ดขี องลกู คา้ ตอ่ สนิ คา้ และบรกิ าร ในขณะเดยี วกนั สามารถขยายผลดว้ ยการ นำ� เอาตวั แปรเหล่านไี้ ปศึกษาในบริบทอ่นื ๆ เพือ่ สรา้ งองคก์ รความรใู้ หมใ่ ห้กับสงั คมและประเทศชาตติ ่อไป 3

นกั วจิ ัยดีเดน่ ประจำ� ปี 2559 สาขาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชื่อ - นามสกลุ ภาษาไทย : นายอมร ไชยสัตย์ ภาษาอังกฤษ : Mr.Amorn Chaiyasat ตำ� แหนง่ ทางวชิ าการ : ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ สังกดั คณะ/วทิ ยาลยั : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควชิ า เคมี E-mail: [email protected] เบอรโ์ ทรศพั ทม์ ือถือ: 09 8826 3085ประวตั กิ ารศึกษา สาขาวิชาเอก สถาบนั การศกึ ษา ปที จี่ บการศึกษา เคมี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2539 วุฒิการศึกษา เคมี มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ 2543 วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต Materials Chemistry Kobe University 2551 and Engineering Ph.D.ประวตั ิการท�ำงาน 2543 - 2548 อาจารยส์ ถาบันวิจยั เคมี ศนู ยก์ ลางสถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล 2544 - 2546 หวั หน้าสำ� นักงานเลขานกุ าร สถาบนั วจิ ัยเคมี ศูนย์กลางสถาบนั เทคโนโลยีราชมงคล 2546 - 2547 หวั หนา้ สาขาวทิ ยาศาสตรส์ งิ่ แวดลอ้ ม สถาบนั วจิ ยั เคมี ศนู ยก์ ลางสถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล  2549 - 2555 อาจารยค์ ณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 2552 JSPS Postdoctoral Fellow AIST Tsukuba, Tsukuba, JAPAN  2555 Visiting Scientist McGill University, Montreal, CANADA 2555 - ปัจจบุ นั ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2556 - 2558 รองบรรณาธกิ าร วารสารวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2557 - ปจั จุบัน ประธานหลักสูตรวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ เคมีประยุกต์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี 2558 - ปจั จบุ นั กองบรรณาธิการ วารสารวิจัย มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี4

สาขาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นกั วิจัยดเี ดน่ ประจ�ำปี 2559 รางวลั ทไี่ ดร้ ับการเชิดชเู กียรติผลงานวจิ ัยเชงิ วิชาการพน้ื ฐาน (RMUTT Outstanding Researcher in Basic Research) ทีม่ ีผลงานตีพมิ พ์ในวารสารระดับชาติ และนานาชาติ ดเี ดน่ ความเปน็ มา/หรอื ลักษณะเด่นของผลงานปัจจุบันได้มีการศึกษาเก่ียวกับวัสดุเปล่ียนแปลงวัฏภาคได้ (Phasechange materials) หรือวัสดุเก็บความร้อน (Heat storage materials)อยา่ งแพร่หลาย เนือ่ งจากวสั ดนุ ม้ี ีความสามารถในการดดู ซบั ความร้อนได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยมีหลักการท�ำงาน คือ วัสดุเก็บความร้อนจะดูดพลังงานความร้อน เมื่ออุณหภูมิในสิ่งแวดล้อมมีค่าสูงกว่าอุณหภูมิเปลี่ยนสถานะ(Transition temperature) ของวัสดุ และคายพลังงานความร้อนออกมาเม่ืออุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมน้ันต่�ำกว่าอุณหภูมิเปลี่ยนสถานะของวัสดุเก็บความร้อน (ภาพท่ี 1) วัสดุเก็บความร้อนกลุ่มพาราฟินเป็นหนึ่งในกลุ่มที่นิยมใช้ แต่มีข้อด้อย คือ มีค่าการน�ำไฟฟ้าต�่ำ ดังนั้น จึงมีการพัฒนา ภาพที่ 1 หลกั การท�ำงานของวัสดเุ ปล่ียนแปลงวัฏภาคโดยการหุ้มวัสดุเก็บความร้อนให้เป็นแคปซูลขนาดเล็ก ๆ เพ่ือเพ่ิมพ้ืนท่ีผิว หรือวัสดุเกบ็ ความรอ้ นซึ่งจะท�ำให้มีการถ่ายเทความร้อนเพ่ิมข้ึน อย่างไรก็ตามยังไม่มีกลุ่มวิจัยใดที่สนใจผลของเปลือกแคปซูลที่มีต่อค่าความร้อนแฝง(Latent heat) ของวัสดุเก็บความร้อนท่ีอยู่ภายในแคปซูล ซึ่งนักวิจัยทั่วไปคิดว่าค่าความร้อนแฝงของวัสดุเก็บความร้อนท่ีอยู่ภายในแคปซูลมีค่าไม่แตกต่างกันกับที่ไม่ถูกหุ้ม (คิดในน้�ำหนักที่เท่ากัน) ซ่ึงเป็นอุปสรรคส�ำคัญในการพัฒนาและปรับปรุงการเตรียมแคปซูลห้มุ วัสดเุ ก็บความรอ้ น โดยทางกลมุ่ วจิ ยั ไดท้ ำ� การพฒั นาการเตรยี มพอลเิ มอรแ์ คปซลู หมุ้ วสั ดเุ กบ็ ความรอ้ นมาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง (เกอื บ 10 ป)ี โดยใชก้ ระบวนการสงั เคราะหแ์ บบแขวนลอย และพบวา่ คา่ ความรอ้ นแฝงของวสั ดเุ กบ็ ความรอ้ นในแคปซลู ทไ่ี ดต้ ำ�่ กวา่ ของวสั ดทุ ไ่ี มไ่ ดถ้ กู หมุ้ คอ่ นขา้ งมากเมอ่ื ใช้พอลเิ มอร์ทนี่ ยิ มเตรยี มแคปซลู โดยท่วั ไป เช่น พอลิไดไวนิลเบนซนี (Polydivinyl benzene; PDVB) และพอลสิ ไตรีน (polystyrene, PS)เป็นเปลือก เน่ืองจากการแยกวัฏภาคภายในแคปซูลไม่สมบูรณ์ นอกจากนี้กลุ่มวิจัยพบว่าการใช้เปลือกของแคปซูลเป็นพอลิเมอร์ชนิดชอบนำ�้ (Hydrophilic polymer) เช่นพอลิเมทิลเมทาคริเลต (polymethylmethacrylate, PMMA) จะชว่ ยใหค้ า่ ความร้อนแฝงของวสั ดเุ กบ็ ความรอ้ นเพมิ่ ขน้ึ และใกลเ้ คยี งกบั วสั ดเุ กบ็ ความรอ้ นทไ่ี มถ่ กู หมุ้ เมอื่ เทยี บกบั เปลอื กของพอลเิ มอรช์ นดิ ไมช่ อบนำ้� (Hydrophobicpolymer) (Phys. Chem. Chem. Phys., 17 (2015) 1053) ซงึ่ นา่ จะเปน็ประโยชนต์ อ่ วงการการเตรยี มไมโครแคปซลู หมุ้ วสั ดเุ กบ็ ความรอ้ น อยา่ งไรก็ตามการใช้เปลือกแคปซูลด้วยพอลิเมทิลเมทาคริเลต จะท�ำให้ความแข็งแรงของเปลือกลดลง เนื่องจากในระหว่างการสังเคราะห์พอลิเมอร์จะมีพอลิเมอร์เกือบคร่ึงแยกตัวมาเกิดเป็นอนุภาคใหม่ (ท่ีไม่มีวัสดุเกบ็ ความรอ้ นอยภู่ ายใน) ดงั นน้ั ทางกลมุ่ วจิ ยั ไดท้ ำ� การปรบั ปรงุ เปลอื กของแคปซลู ใหแ้ ข็งแรงขน้ึ ดว้ ยการใช้ โคพอลเิ มอร์ของพอลิ (ไดไวนิลเบนซนี -เมทิลเมทาคริเลต) P(DVB-MMA) (Polym. Plast. Technol. Eng.,54 (2015) 779) ซงึ่ พอลิเมอรแ์ คปซูลท่เี ตรียมได้มเี ปลือกท่แี ข็งแรง และวสั ดเุ กบ็ ความรอ้ นยงั มคี า่ ความรอ้ นแฝงทคี่ อ่ นขา้ งสงู (ภาพท่ี 2) นอกจากนี้ยงั ไดน้ ำ� เทคนคิ การสงั เคราะหแ์ บบแขวนลอยไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเตรยี ม ภาพที่ 2 อนภุ าคไมโครแคปซลู ทห่ี มุ้ วสั ดเุ กบ็ ความรอ้ น โดยใชพ้ อลเิ มอร์แคปซูลหุ้มสารหอม ซ่ึงสามารถกักเก็บสารหอมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ชนดิ ต่าง ๆ เปน็ เปลอื กและมีคา่ ความร้อนแฝงของวสั ดุเก็บความรอ้ น(วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.ธญั บรุ ี. 5(1)32) แตกต่างกนั : (a) PMMA (164 J/g) (b) PS (112 J/g) (c) PDVB (127 J/g) (d) P(DVB-MMA) (153 J/g) การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ ไมโครแคปซูลที่เตรียมได้ สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในงานต่าง ๆ เช่น เคลือบบนผ้าเพื่อใช้เป็นผ้าปรับสภาพความร้อนได้ใชผ้ สมกบั วัสดุก่อสรา้ งเพื่อชว่ ยควบคุมความร้อนภายในอาคาร 5

นักวิจยั ดีเด่น ประจำ� ปี 2559 สาขาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชอ่ื - นามสกุล ภาษาไทย : นางปรยี าภรณ์ ไชยสัตย์ ภาษาองั กฤษ : Mrs.Preeyaporn Chaiyasat ตำ� แหน่งทางวิชาการ : ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ สังกดั คณะ/วิทยาลยั : คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาควชิ า เคมี E-mail: [email protected] เบอรโ์ ทรศัพท์มอื ถือ: 08 0271 4774ประวัติการศึกษา สาขาวิชาเอก สถาบนั การศึกษา ปที ่จี บการศึกษา เคมี มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ 2540 วุฒกิ ารศึกษา เคมี มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ 2544 วิทยาศาสตรบณั ฑติ วิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ Materials Chemistry and Kobe University 2551 Engineering Ph.D.ประวัติการทำ� งาน 2543 - 2548 อาจารยส์ ถาบนั วิจยั เคมี ศูนยก์ ลางสถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล 2549 - 2555 อาจารยค์ ณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 2555 - ปัจจบุ นั ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 2556 - ปัจจุบัน กองบรรณาธิการ วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 2553 - ปจั จบุ นั อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ เคมีประยุกต์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี6

สาขาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นกั วิจัยดีเดน่ ประจำ� ปี 2559 รางวัลท่ีไดร้ ับการเชิดชูเกยี รติ ผลงานวจิ ยั ทไี่ ดร้ บั การอ้างองิ (Citation) สูงสดุ ความเปน็ มา/หรอื ลักษณะเด่นของผลงาน งานวิจัยที่ได้มีการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิจัยระดับนานาชาติและได้รับการอ้างอิง (citation) จากนักวิจัยท่ัวโลกน้ีเป็นงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเทคนิคไมโครเอนแคปซูเลชัน (microencapsulation) หรือการเตรียมพอลิเมอร์ไมโครแคปซูลหุ้มสารส�ำคัญต่าง ๆ ในระบบอิมัลชันแบบน�้ำมันในน้�ำ (oil in water emulsion) ด้วยกระบวนการสังเคราะห์แบบแขวนลอย(suspension polymerization) (ภาพที่ 1) และการระเหยตัวท�ำละลาย (solvent evaporation) (ภาพที่ 2) โดยมพี อลเิ มอร์เป็นเปลือกหุ้มสารส�ำคัญ เช่น วัสดุเก็บความร้อน วิตามิน สารสกัดสมุนไพร และน�้ำมันหอมระเหย ไว้ภายใน ซึ่งการหุ้มสารไว้ในพอลเิ มอร์แคปซูลน้ีเป็นเทคนิคที่ไดร้ บั ความนยิ มและมกี ารศึกษากันอย่างกว้างขวางเพ่ือนำ� ไปประยุกตใ์ ชใ้ นงานด้านตา่ ง ๆเชน่ สิง่ ทอ อาหาร การแพทยแ์ ละเครือ่ งสำ� อาง เปน็ ต้น เนือ่ งจากมีขอ้ ดี คอื ชว่ ยรกั ษาคุณสมบตั ิหรอื ป้องกันการเส่อื มสลายของสารส�ำคัญจากสภาวะแวดล้อม ช่วยควบคุมการปลดปล่อยหรือยืดระยะเวลาออกฤทธิ์ของสารส�ำคัญ และเพิ่มพ้ืนท่ีผิวของสารส�ำคัญท�ำให้มีประสิทธิภาพในการท�ำงานเพ่ิมขึ้น โดยพอลิเมอร์ท่ีน�ำมาใช้เป็นเปลือกมีสองกลุ่มใหญ่ ๆ คือ พอลิเมอร์จากปิโตรเคมี (petrochemical polymer) เชน่ พอลไิ ดไวนลิ เบนซีน และพอลิเมอรช์ วี ภาพ (biopolymer) เชน่ พอลิแอล-แลคติก แอซิด จากการท�ำงานวิจัยทางด้านนี้มาเกือบสิบปี ทีมผู้วิจัยได้ประสบความส�ำเร็จในการพัฒนาเทคนิคการเตรียมพอลเิ มอรไ์ มโครแคปซลู หมุ้ สารสำ� คญั ตา่ ง ๆ ทงี่ า่ ยและมปี ระสทิ ธภิ าพสงู ทำ� ใหไ้ ดไ้ มโครแคปซลู ทมี่ คี วามแขง็ แรง มปี ระสทิ ธภิ าพสงูในการหุ้มสารส�ำคัญ และมีศักยภาพในการน�ำไปประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ ต่อไป ดังท่ีได้มีการเผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารวิจัยต่าง ๆภาพที่ 1 กระบวนการเตรยี มพอลเิ มอรไ์ มโครแคปซูลหุ้มวัสดเุ กบ็ ความร้อนด้วยกระบวนการสงั เคราะหแ์ บบแขวนลอย และพอลิไดไวนิลเบนซนี แคปซลู ทเี่ ตรยี มได้ ภาพท่ี 2 กระบวนการเตรยี มพอลเิ มอรไ์ มโครแคปซลู หมุ้ วติ ามนิ อดี ้วยกระบวนการระเหยตัวท�ำละลาย และพอลแิ อล-แลคตกิ แอซิด แคปซูลหุ้มวิตามนิ อีทีเ่ ตรยี มได้ การนำ� ไปใช้ประโยชน์ กระบวนการเตรียมพอลิเมอร์ไมโครแคปซูลหุ้มสารส�ำคัญที่ได้ท�ำการวิจัยและตีพิมพ์เผยแพร่สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในการเตรยี มพอลเิ มอรไ์ มโครแคปซูลหุ้มสารตา่ ง ๆ ได้ทัง้ ในระดบั ห้องปฏบิ ัติการและระดบั อตุ สาหกรรม และพอลเิ มอรไ์ มโครแคปซูลทีเ่ ตรยี มไดส้ ามารถนำ� ไปประยกุ ต์ใช้งานในด้านต่าง ๆ เชน่ สิง่ ทอ อาหาร การแพทยแ์ ละเคร่อื งส�ำอางได้ 7

นกั วจิ ัยดเี ดน่ ประจ�ำปี 2559 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช่อื - นามสกุล ภาษาไทย : นายวิรชยั โรยนรนิ ทร์ ภาษาอังกฤษ : Mr.Wirachai Roynarin ต�ำแหน่งทางวชิ าการ : ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ สังกดั คณะ/วิทยาลยั : คณะวศิ วกรรมศาสตร์ ภาควิชา วศิ วกรรมเครื่องกล E-mail: [email protected] เบอร์โทรศพั ทม์ ือถอื : 08 9771 4294ประวตั กิ ารศึกษา สาขาวิชาเอก สถาบันการศึกษา ปที ี่จบการศกึ ษา วิศวกรรมเคร่อื งกล สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล 2538 วฒุ ิการศึกษา วิศวกรรมเครือ่ งกล 2542 วศิ วกรรมศาสตรบณั ฑิต วศิ วกรรมเคร่ืองกล UNN ประเทศอังกฤษ 2547 วศิ วกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต UNN ประเทศองั กฤษ วิศวกรรมศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติประวตั กิ ารทำ� งาน อาจารย์ประจ�ำคณะวิศวกรรมศาสตร์ ประธานหลกั สตู รวศิ วกรรมพลงั งานหลกั สตู รนานาชาติ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี ผ้ชู ่วยคณบดีคณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี นายกสมาคมพลงั งานทดแทนสูช่ มุ ชนแหง่ ประเทศไทย (T-RECA) ผอู้ ำ� นวยการศูนยว์ ิจยั พลงั งานฯ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ทปี่ รกึ ษามูลนธิ ิชยั พัฒนา ศูนย์พลงั งานและส่งิ แวดล้อมนานาชาติสริ ินธร ค่ายพระรามหก จ.เพชรบุรี ท่ปี รึกษาคณะกรรมาธกิ ารพลงั งาน สภานิตบิ ัญบตั แิ หง่ ชาติ (สนช.) คณะท�ำงานชุดพลงั งานทดแทนพลังงานลม สำ� นกั งานกำ� กับกจิ การพลังงาน (กกพ.) หลกั สูตรอบรม สถาบันวทิ ยาการพลังงานส�ำหรบั ผู้บรหิ ารรุ่นท่ี 6 (วพน.6) ขา้ ราชการพลเรือนดีเดน่ ครุฑทองคำ� ประจำ� ปีการศกึ ษา 2550 นักวิทยาศาสตรเ์ มธีนวัตกรรม สายพลงั งาน กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ. 25528

สาขาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นกั วิจยั ดีเด่น ประจำ� ปี 2559 รางวัลท่ไี ดร้ บั การเชดิ ชเู กียรติ ผลงานวิจยั ผลงานสง่ิ ประดิษฐ์ และนวตั กรรม ผลงานสร้างสรรค์ ท่สี รา้ งประโยชนส์ เู่ ชงิ พาณิชย์ หรอื ผลงานทส่ี ร้างประโยชนใ์ หแ้ ก่ชมุ ชน ดเี ด่น (RMUTT Outstanding Researcher in commercial or Participatory Community Research) ชอื่ ผลงาน : กังหันลมผลิตไฟฟา้ ส�ำหรับพน้ื ท่คี วามเรว็ ลมตำ�่ (Low Wind Speed Wind turbine for Low Wind Speed Zones) ความเปน็ มา/หรอื ลักษณะเดน่ ของผลงาน กังหันลมผลิตไฟฟ้าโดยทั่วไปออกแบบมาจากประเทศในแถบที่มีความเร็วลมสูงเช่นประเทศในแถบยุโรปหรือสหรัฐอเมรกิ าซึง่ มคี วามเร็วลมเฉล่ียประมาณ 6 - 7 เมตรต่อวินาที ท�ำให้ไมส่ ามารถมาใชง้ านได้ดีในประเทศไทยและแถบภูมิภาคอาเซียนท่ีมีความเร็วลมเฉล่ียประมาณ 4 - 5 เมตรต่อวินาที อีกท้ังกังหันลมขนาดใหญ่ต้องใช้ไฟฟ้าในการเริ่มหมุนใบกังหันลม ท�ำให้ต้องมีการออกแบบระบบกังหันลมใหม่ท้ังหมดให้สามารถท�ำงานท่ีความเร็วลมต่�ำได้การออกแบบใบกงั หนั ใหม่ ใหห้ มนุ ไดด้ ว้ ยตวั เองทค่ี วามเรว็ ลมตำ�่ ใบกงั หนั ลมซงึ่ เปน็ หวั ใจของกงั หนั ลมผลติ ไฟฟา้ จงึ เปน็เร่ืองจ�ำเป็นต้องมีการพัฒนาทางวิศวกรรมเพื่อท่ีจะได้นวัตกรรมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมความเร็วลมต่�ำ งานวิจัยน้ีมีการพัฒนาใบกังหันเองท่ีเหมาะสมช่ือ r1235 profile ซึ่งเม่ือได้ใบกังหันท่ีเหมาะสมแล้วก็สามารถน�ำไป ออกแบบเคร่ืองก�ำเนิดไฟฟ้าและระบบควบคุมการผลิตไฟฟ้าเพื่อน�ำไปใช้งานได้ซ่ึงเป็น การพัฒนาเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมท่ีสามารถใช้งานได้จริงในประเทศและเกิดการสร้างงาน และสามารถผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และเพ่ือการส่งออกเทคโนโลยี น�ำเงินตราเข้าประเทศ และส่งิ ท่ีส�ำคญั ในงานนี้ คอื การสร้างเทคโนโลยขี ึ้นเองในประเทศ ซง่ึ จะทำ� ใหเ้ กดิ การถา่ ยทอด องค์ความรู้ทางวิศวกรรมให้กับวิศวกรและผู้ประกอบการในประเทศไทย ในการพัฒนางาน ทางวศิ วกรรมของประทศไทยอย่างยงั่ ยนื ต่อไป การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ โครงการต่าง ๆ ท้งั ภาครฐั และเอกชนในการผลติ ไฟฟ้าจากพลงั งานลม เช่น  โครงการทงุ่ กงั หนั ลมไรช่ งั่ หวั มนั ตามพระราชดำ� ริ จ.เพชรบรุ ี และทงุ่ กงั หนั ลมผลติ ไฟฟา้ ดอยมอ่ นลา้ น อ.พรา้ ว จ.เชยี งใหม่  โรงไฟฟ้าพลังงานลมท่าเรือสีเขียว ท่าเรือแหลมฉบัง จ.ชลบุรี และโครงการอ่ืน ๆ ที่ต้องการใช้พลังงานลม ผลิตไฟฟา้ ในประเทศไทยและประเทศในแถบภมู ภิ าคอาเซียนไรช่ ่งั หวั มัน จ.เพชรบรุ ี ดอยม่อนล้าน อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ ท่าเรอื แหลมฉบัง การท่าเรือแห่งประเทศไทย โครงการทา่ เรอื สเี ขียว จ.ชลบรุ ี 9

นกั วจิ ัยดเี ด่น ประจ�ำปี 2559 สาขาสงั คมศาสตร์ ชอื่ - นามสกุล ภาษาไทย : นางพมิ พ์นภสั ภมู กิ ิตติพิชญ์ ภาษาอังกฤษ : Mrs.Pimnapat Bhumkittipich ตำ� แหน่งทางวิชาการ : ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ สงั กัดคณะ/วทิ ยาลยั : คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาสงั คมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์ E-mail: [email protected] [email protected] เบอรโ์ ทรศัพทม์ อื ถอื : 08 2939 4556ประวัตกิ ารศกึ ษา สาขาวิชาเอก สถาบนั การศึกษา ปที จี่ บการศึกษา สังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ 2539 วุฒกิ ารศกึ ษา วทิ ยาศาสตรส์ ิง่ แวดลอ้ ม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2543 ศิลปศาสตรบนั ฑติ วิทยาศาสตรส์ ิง่ แวดลอ้ ม มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 2555 วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต ปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติประวัตกิ ารท�ำงาน อาจารยป์ ระจำ� สาขาสงั คมศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี ผู้ชว่ ยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ผู้ชว่ ยคณบดฝี า่ ยวิชาการและวจิ ยั คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี รางวัลทไี่ ดร้ บั (ระดับชาติ และนานาชาติ)  รางวลั การนำ� เสนอภาคบรรยายระดบั ดี การประชมุ วชิ าการ และนำ� เสนอผลงานทางวชิ าการระดบั ชาติ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย ครั้งที่ 1 ประจ�ำปี 2558 (The 1st RMUTL Chiangrai Conference, RCCON 2015) ระหว่างวันท่ี 23 - 24 มีนาคม 2558 ณ จงั หวดั เชยี งราย - ได้รับการคัดเลือกผลงานวิจัยเป็นกรณีศึกษาพันธกิจสัมพันธ์มหาวิทยาลัยกับสังคม เข้าร่วมการประมวลกรณี ศกึ ษาของ Engagement Thailand (EnT) ปี 2557 - 2558 (ประมวลบทความวิชาการเพอื่ สงั คม)  รางวัล The Best Paper Award จากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 11th Eco-Energy and Materials Science and Engineering (11th EMSES) December 18 - 21, 2013 Phuket, Thailand.  รางวัล The Best Paper Award จากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 13th Eco-Energy and Materials Science and Engineering (13th EMSES) December 1 - 4, 2016, Udon Thani, Thailand.10

สาขาสงั คมศาสตร์ นกั วจิ ยั ดีเด่น ประจ�ำปี 2559 รางวลั ที่ไดร้ บั การเชิดชเู กยี รติ ผลงานวิจัย ผลงานสงิ่ ประดษิ ฐ์ และนวัตกรรม ผลงานสร้างสรรค์ ที่สรา้ งประโยชน์สู่เชิงพาณชิ ย์ หรือผลงานทีส่ ร้างประโยชน์ใหแ้ ก่ชุมชน ดเี ด่น (RMUTT Outstanding Researcher in commercial or Participatory Community Research) ความเปน็ มา/หรอื ลกั ษณะเด่นของผลงาน การพัฒนาระบบผลติ กระแสไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทติ ย์ (Solar home System: SHS) ในประเทศไทยจะประสบความส�ำเรจ็หรอื ไม่ ปัจจยั สำ� คญั ประการหนึ่งขน้ึ อยกู่ ับการบริหารจัดการพลังงานแบบบูรณาการของทกุ ภาคสว่ นท่ีเกยี่ วข้อง ประกอบดว้ ยหน่วยงานภาครฐั ซ่ึงเปน็ ผรู้ เิ ริม่ โครงการ SHS องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำบล (อบต.) ผู้รับชว่ งตอ่ การรบั ผดิ ชอบดแู ลรักษา SHS และประชาชนในชุมชนในฐานะผใู้ ชไ้ ฟฟา้ จาก SHS ซงึ่ ตอ้ งสามารถดแู ลรกั ษา SHS และแกไ้ ขปญั หาทเี่ กดิ ขนึ้ ไดเ้ องในเบอ้ื งตน้ อนั นำ� มาซง่ึ การยอมรบั ในเทคโนโลยีSHS การตระหนักถึงคุณค่าและประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ซ่ึงหากการด�ำเนินงานโครงการต้นแบบดังกล่าวประสบผลส�ำเร็จ จะส่งผลให้ประเทศไทยเป็นตัวอย่างท่ีดีในการน�ำพลังงานหมุนเวียนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ จึงเป็นที่มาซึ่งแนวคิดในการวจิ ยั นค้ี อื การจำ� ลองแบบการบรหิ ารจดั การระบบผลติ กระแสไฟฟา้ จากพลงั งานแสงอาทติ ยใ์ นชมุ ชนแบบมบี รู ณาการ เพอ่ื บรู ณาการความรแู้ ละเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพของผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งในการจดั การ SHS ใหย้ ง่ั ยนื โดยมติ กิ ารมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนและกรอบชมุ ชนเปน็ ฐานของการด�ำเนินงาน การนำ� ไปใช้ประโยชน์ ผลของการศึกษาวิจัยคร้ังนี้จะสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่และต่อยอดองค์ความรู้ของการพัฒนาระบบผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนอย่างย่ังยนื ซ่ึงมผี ลกระทบกับเศรษฐกจิ สงั คม ชุมชน วัฒนธรรม และส่งิ แวดล้อม โดยสามารถใชเ้ ปน็ ต้นแบบ (model)การบรหิ ารจดั การ SHS ท่ีสามารถนำ� ไปขยายผลได้จริง คือน�ำไปสู่การพัฒนาขดี ความสามารถขององค์กรภาครัฐ อบต. และประชาชนผใู้ ชไ้ ฟฟา้ จาก SHS ทส่ี ามารถประยกุ ตอ์ งคค์ วามรดู้ งั กลา่ วไปใชใ้ นการแกป้ ญั หา วางแผนและพฒั นา SHS ทส่ี มดลุ และยง่ั ยนื สำ� หรบั ชมุ ชนโดยก�ำหนดกลยุทธ์การบรหิ ารจดั การ SHS ในชุมชนท่มี ีกรอบปญั หาดา้ นการดแู ล/รักษา SHS เป็นวัตถุประสงคข์ องการด�ำเนินงานดงั นี้ กลยุทธด์ า้ นนโยบายและการบริการ: มผี นู้ �ำชมุ ชนเป็นผู้ขบั เคลอ่ื นนโยบายการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของชมุ ชนแมส่ ลองในจงั หวดัเชยี งราย ดว้ ย SHS โดยผา่ นงบประมาณของ อบต. ในพนื้ ทสี่ งั กดั ทั้งนี้ขึ้นอยู่กบั การก�ำหนดทศิ ทางหรอื แผนงานประจ�ำปีของหน่วยงานซง่ึ ชมุ ชนผใู้ ชไ้ ฟฟา้ จาก SHS สามารถรอ้ งขอโดยผา่ นตวั แทนสมาชกิ สภาพ อบต. เพอื่ กำ� หนดงบประมาณสำ� หรบั การพฒั นาหรอื ตดิ ตง้ั SHSใหม่ รวมถงึ การจดั สรรงบประมาณเพอ่ื การดูแล/การซอ่ มบ�ำรงุ SHS ไว้ในแผนพัฒนาสามปีขององค์การบริหารส่วนต�ำบล กลยุทธด์ ้านการประสานงาน: เบื้องตน้ ควรกำ� หนดให้ผู้นำ� หมบู่ ้าน/ตวั แทนชุมชนท่มี ีความรู้ ความเขา้ ใจ และประสบการณด์ า้ นSHS เปน็ คนกลางส�ำหรบั การติดตอ่ ประสานงานระหวา่ งชมุ ชนกับ อบต. เกยี่ วกบั ปัญหา SHS ทชี่ มุ ชนประสบ เชน่ การซ่อมบ�ำรงุ หรอืซอ้ื -ขายอุปกรณท์ ดแทน SHS ทีเ่ สือ่ มอายุ รวมถงึ อบต. ควรมอบหมายให้ฝา่ ยโยธาเป็นผู้ท�ำหนา้ ท่รี ับผิดชอบในการติดตอ่ ระหว่างชมุ ชนกับบรษิ ทั เอกชนที่มีความร้ดู ้านการซอ่ มบ�ำรุงหรอื ซื้อ-ขายอปุ กรณท์ ดแทนอปุ กรณ์ SHS ท่เี สอื่ มอายุ เพ่อื ปอ้ งกันปัญหาชมุ ชนถูกร้านคา้ /บริษัทเอกชนหลอกลวง กลยุทธ์ด้านการสร้างความรู้ SHS: การบริหารจัดการ SHS จะยั่งยืนไม่ได้หากบุคลากรของ อบต. และชุมชนขาดความรู้ความเข้าใจ และมีประสบการณ์ที่ถูกต้องต่อการจัดการ SHS รวมถึงสามารถน�ำเสนอแนวคิดเพ่ือการตัดสินใจในการพัฒนาระบบสาธารณปู โภคด้านไฟฟา้ ในชุมชนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ซง่ึ นกั วจิ ัยและทมี งานจะได้ท�ำการการถา่ ยทอดความรู้สู่ชมุ ชนภาพ ผู้ร่วมโครงการฯ ผู้นำ� ชุมชน และทีมนกั วจิ ัย ภาพ ผเู้ ขา้ รว่ มฟงั บรรยายและฝึกปฏบิ ตั กิ ารดแู ลรักษา SHS 11

นักวจิ ัยดเี ด่น ประจ�ำปี 2559 สาขาสังคมศาสตร์ ชอ่ื - นามสกุล ภาษาไทย : นางสาวจฑุ ามาศ เจรญิ พงษม์ าลา ภาษาอังกฤษ : Ms.Juthamard Charoenpongmala ต�ำแหนง่ ทางวิชาการ : ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ สงั กัดคณะ/วทิ ยาลัย : คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ ภาควิชา ศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี E-mail: [email protected] เบอร์โทรศพั ทม์ อื ถือ: 08 9515 4442ประวตั ิการศึกษา สาขาวชิ าเอก สถาบนั การศึกษา ปที จี่ บการศกึ ษา ออกแบบผลติ ภัณฑ์ สถาบนั เทคโนโลยีราชมงคล 2534 วฒุ ิการศกึ ษา จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 2541 ศึกษาศาสตรบัณฑิต ศลิ ปศกึ ษา ครศุ าสตรมหาบัณฑติประวตั ิการทำ� งาน อาจารยป์ ระจ�ำสาขาวิชาออกแบบผลติ ภณั ฑ์ ตง้ั แต่ปี 2536 - ถึงปัจจบุ ันรางวัลที่ไดร้ ับ (ระดับชาติ และนานาชาต)ิ ปี พ.ศ. 2552 ได้รับรางวัลเหรียญเงิน ในงาน Korea International Women’s Invention Exposition (KIWIE 2009) ทปี่ ระเทศเกาหลีใต้ ปี พ.ศ. 2554 ไดร้ บั รางวัลพเิ ศษ Soar to new Heights ท่ีจดั ขนึ้ ในงาน 1st Cultural Innovation International Festival (CIIF 2011 ) ท่ี I-Shou University, Kaohsiung, ประเทศไต้หวนั เมือ่ วันท่ี 24 - 27 สงิ หาคม 2554 ประเภทการประกวดผลงานสงิ่ ประดิษฐ์ดา้ นวัฒนธรรม ปี พ.ศ.2556 ไดร้ ับรางวลั ผลการประกวดบรรจุภณั ฑ์ระดับเอเชยี Asia Star Packaging Awards 2013 วันที่ 18 พฤศจิกายน 2556 ณ กรงุ จาการ์ตา้ สาธารณรัฐอินโดนเี ซีย ปี พ.ศ. 2557 ได้รบั รางวลั เหรียญทองแดง (Bronze Prize) จาก KIWIE 2014 ประเทศเกาหลีใต้ ปี พ.ศ. 2557 ไดร้ ับรางวลั (TIIIA Outstanding Diploma) จาก Taiwan Invention & Innovation Industry Association ประเทศไต้หวัน จากการประกวดผลงานวิจัยสิ่งประดิษฐ์ในงาน Korea International Women’s Invention Exposition 2014 (KIWIE 2014) จัดโดย Korea Women Inventors Association (KWIA) ระหวา่ งวันที่ 16 - 19 พฤษภาคม 2557 ณ aT Center Kangnam-Daero, Secho-gu, ปี พ.ศ. 2559 ได้รบั รางวลั ประกวดบรรจุภัณฑ์ Asia Star Awards 2016 ประกวดทปี่ ระเทศอนิ เดยี นักวจิ ยั ดีเดน่ ของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี ปี 2553, 2555, 2557, 255812

สาขาสงั คมศาสตร์ นกั วจิ ยั ดีเดน่ ประจำ� ปี 2559 รางวัลท่ีได้รบั การเชดิ ชูเกียรติ ผลงานวจิ ยั ผลงานสงิ่ ประดษิ ฐ์ และนวัตกรรม ผลงานสร้างสรรค์ ทีส่ รา้ งประโยชนส์ ่เู ชิงพาณชิ ย์ หรือผลงานท่ีสรา้ งประโยชน์ใหแ้ กช่ ุมชน ดเี ด่น (RMUTT Outstanding Researcher in commercial or Participatory Community Research) ชือ่ ผลงาน : โครงการออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑส์ บผู่ สมสารสกัดมังคุด ของคณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรีo f Fac ulty of STciheencDeesaingndaTnedchDneovleolgoyp,mRaejnatmPaancgkaalgainUgnMivixeirnsgityMoafngToesctheneonloExgtyraTchtaionnyaSbouapri ความเปน็ มา/หรอื ลักษณะเด่นของผลงาน การออกแบบบรรจภุ ณั ฑส์ ำ� หรบั สบผู่ สมสารสกดั มงั คดุ และครมี ลา้ งหนา้ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ การออกแบบโครงสรา้ งและกราฟิกส�ำหรับภาชนะที่ใช้ แนวคิดของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ขวดสบู่ เพ่ือให้ตอบสนองต่อการใช้งานส�ำหรับบุคคลทั่วไปและผู้พิการทางสายตา รูปแบบขวดมีการจัดวางตัวอักษรเบรลล์ไว้บนด้านข้างของขวด เพื่อสะดวกต่อการสมั ผัสและการอ่านของผูพ้ ิการทางสายตา แนวคิดในการออกแบบรูปทรงขวด ได้แรงบันดาลใจมาจากรูปทรงธรรมชาติของขนนก ซ่ึงส่ือให้เห็นถึงความอ่อนโยน ความนุ่มนวล ความสวยงาม และรูปแบบขวดสามารถผลิตในเชิงพาณิชย์ได้จริง และได้น�ำแนวคิดของ Universal Design มาใช้เป็นแนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ขวดสบู่ เพ่ือให้ตอบสนองต่อการใช้งานส�ำหรับบุคคลท่ัวไปและผู้พิการทางสายตา รูปแบบขวดมีการจัดวางตัวอักษรเบรลล์ไว้บนด้านข้างของขวด เพื่อสะดวกต่อการสัมผัสและการอ่านของผู้พิการทางสายตา ในการออกแบบยังค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อม บรรจุภัณฑ์ขวดสบู่สามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้ การนำ� ไปใช้ประโยชน์ บรรจุภัณฑ์สบู่ผสมสารสกัดมังคุดท่ีสามารถผลิตได้ในทางปฏิบัติในเชิงพาณิชย์ด้านโครงสร้างขวดมีความเหมาะสมต่อการวางโชว์บนช้ันแสดงสินค้า สามารถจัดวางขวดเรียงกันได้อย่างต่อเน่ือง การจัดวางตัวอักษรเบรลล์มีความเหมาะสมเป็นประโยชน์ส�ำหรับผู้พิการทางสายตา สามารถผลิตเพื่อการจัดจ�ำหน่ายได้จริง ด้านกราฟิกสามารถสอื่ ถงึ ความเปน็ สมนุ ไพรธรรมชาตจิ ากมงั คดุ สสี นั ตวั อกั ษร แบรนดส์ นิ คา้ มคี วามสวยงามมีบุคลิกพิเศษโดดเด่นสะดุดตา สามารถสร้างมูลค่าให้กับสินค้าเพ่ือการจ�ำหน่ายได้สินค้ามีการจัดจ�ำหน่ายท่คี ณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 13

นกั วจิ ยั ดเี ดน่ ประจ�ำปี 2559 สาขาวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ ช่อื - นามสกลุ ภาษาไทย : นายกรวนิ ท์วิชญ์ บุญพสิ ทุ ธนิ ันท์ ภาษาองั กฤษ : Mr.Korawinwich Boonpisuttinant ต�ำแหนง่ ทางวิชาการ : ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ สงั กดั คณะ/วิทยาลัย : วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย ภาควชิ า แพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ E-mail: [email protected] เบอรโ์ ทรศัพท์มอื ถอื : 09 0590 1777ประวตั กิ ารศึกษา วฒุ กิ ารศึกษา สาขาวชิ าเอก สถาบนั การศึกษา ปีที่จบการศึกษา Post-doctoral Scholar (5 เดอื น) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2555 เภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2555 วิทยาศาสตรดุษฎบี ณั ฑติ เทคโนโลยีชวี ภาพ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ 2549 วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ 2546 เคมี วิทยาศาสตรบณั ฑิตประวัตกิ ารทำ� งาน 2555 - ปจั จบุ นั อาจารย์พนกั งานมหาวทิ ยาลยั วทิ ยาลยั การแพทย์แผนไทย มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2555 อาจารย์พิเศษ วชิ าปฏิบัตกิ ารชวี เคมีพื้นฐาน คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั เชยี งใหม่ 2549 - 2555 ผู้ช่วยนักวิจัย ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ 2546 - 2549 ผู้ชว่ ยอาจารย์ วิชาปฏิบัติการเคมเี บื้องตน้ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่รางวลั ทไี่ ดร้ ับ (ระดบั ชาติ และนานาชาติ) ปี 2558 รางวัลนักวิจัยดีเด่น ในงานวันสถาปนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ระหว่างวันที่ 16 - 19 มกราคม 2559 โดยมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี ปี 2559 รางวลั เหรยี ญทอง จากการประกวดผลงานภายใต้โครงการ WORLD INVENTION INNOVATION CONTEST (WiC) 2016 เรอ่ื ง MAY•DAY: WHITENING MIRACLE NATURAL SKIN CARE ระหว่างวันที่ 5 - 6 มิถุนายน 2559 โดย Korea Invention News (KINEWS) ณ กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ วารสารที่ตีพิมพ์ในระดับนานาประเทศ จ�ำนวน 12 เร่อื ง วารสารทีต่ ีพิมพใ์ นระดับประเทศ จำ� นวน 4 เร่ือง วารสารสืบเนื่องการประชุม (Proceedings) จ�ำนวน 8 เร่อื ง ไดน้ ำ� เสนอผลงานวจิ ยั ทางดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที ง้ั ในรปู แบบโปสเตอรแ์ ละแบบปากเปลา่ ในงานประชมุ หรอื สมั มนาวชิ าการ ทัง้ ในระดับประเทศและนานาชาติ ทั้งหมดจำ� นวน 43 เรอื่ ง รางวลั และเกยี รติบัตรทไ่ี ด้รบั จ�ำนวนทัง้ ส้ิน 42 รางวัล14

สาขาวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ นักวจิ ัยดีเดน่ ประจำ� ปี 2559 รางวัลที่ไดร้ ับการเชิดชูเกยี รติ ผลงานวจิ ยั ผลงานส่ิงประดิษฐ์ และนวตั กรรม ผลงานสร้างสรรค์ ที่สรา้ งประโยชน์สู่เชิงพาณิชย์ หรอื ผลงานทีส่ รา้ งประโยชน์ให้แก่ชมุ ชน ดีเด่น (RMUTT Outstanding Researcher in commercial or Participatory Community Research) ความเป็นมา/หรอื ลักษณะเด่นของผลงาน 1. จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ต�ำรับยาพอกดูดพิษนอกจากจะมีการพัฒนาเป็นสารสกัดในระดับอนุภาคนาโนแล้วยังมีการสร้างแบรนด์ในช่ือว่า YAPOX บรรจุในขวดสเปรย์แบบพ่นฝอย เพื่อให้มีความสะดวกต่อการน�ำมาใช้และไดล้ ะอองยาทเ่ี ลก็ ทำ� ใหย้ าสามารถซมึ เขา้ สเู่ ซลลไ์ ดด้ ี และพฒั นาผลติ ภณั ฑย์ าพอกในรปู แบบเจลเพอื่ ใชท้ าตรงจดุ บรเิ วณทมี่ ีอาการ (ผลติ ภณั ฑ์ YAPOX) 2. โดยจะได้มีการพัฒนาเจลท่ีมีส่วนผสมของแอลกอฮอล์น้อยลง แต่จะมีสารสกัดจากธรรมชาติ เช่น สารสกัดจากทับทิม เป็นตัวต้านเช้ือแบคทีเรีย นอกจากน้ียังจะได้มีการใช้สารสกัดในการเพ่ิมความชุ่มชื้นและลดร้ิวรอยอีกด้วย(เจลสครับลา้ งมือ) 3. เป็นวัตถุดิบจากสมุนไพร เพ่ือลดการใช้ผลิตภัณฑ์ยาสีฟันท่ีได้จากสารสังเคราะห์ทางเคมีและสารกันเสีย(ยาสีฟนั ) 4. เปน็ วตั ถุดบิ จากสมนุ ไพร เพื่อลดการใชส้ ารสังเคราะห์ทางเคมี ซง่ึ สง่ ผลเสียตอ่ รา่ งกาย นอกจากนีย้ งั เป็นการอนุรักษภ์ มู ปิ ญั ญาการใชส้ มุนไพรเพ่อื ความงามของไทยได้อีกดว้ ย (ลดความอ้วน) 5. เปน็ การเพมิ่ มลู คา่ ของวา่ นหางจระเขท้ ม่ี เี ปน็ วตั ถดุ บิ และมกี ารเพม่ิ วา่ นตาลเดยี่ วเขา้ ไปชว่ ยใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ (มาร์กหน้า) 6. ใช้วัตถุดิบจากสมุนไพรไทย นอกจากน้ียังจะพัฒนาสูตรของสารสกัดที่มีประสิทธิภาพเทียบเท่าหรือดีกว่าสารสกัดจากต่างประเทศ(กระต้นุ เซลล์รากผม) การนำ� ไปใช้ประโยชน์ สามารถน�ำไปต่อยอดในเชิงพาณิชย์เป็นการเพ่ิมศักยภาพการแข่งขันด้านเศรษฐกิจของประเทศ รวมถึงการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนและเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยที่บรรพบุรุษได้สืบทอดกันมาให้คงอยู่ต่อไป ช่วยให้เกิดการพึ่งตนเองทางด้านยา ช่วยพัฒนาสังคมแก้ไขปัญหาความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิต รวมทั้งเ ป ็ น พ้ื น ฐ า น ข อ ง ก า ร พั ฒ น าอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์สมุนไพรจากธรรมชาติของประเทศให้สรู่ ะบบอันเปน็ สากลได้ 15

นกั วิจยั ดีเด่น ประจ�ำปี 2559 สาขาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชอ่ื - นามสกลุ ภาษาไทย : นายประชมุ คำ� พุฒ ภาษาอังกฤษ : Mr.Prachoom Khamput ต�ำแหน่งทางวิชาการ : - สังกดั คณะ/วทิ ยาลัย : คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควชิ า วิศวกรรมโยธา E-mail: [email protected] [email protected] เบอรโ์ ทรศัพท์มอื ถอื : 08 1665 4755ประวตั กิ ารศึกษา สาขาวิชาเอก สถาบนั การศึกษา ปที จ่ี บการศกึ ษา วศิ วกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี 2540 วฒุ กิ ารศึกษา พระจอมเกล้าธนบุรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี 2544 พระจอมเกลา้ ธนบุรี วศิ วกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ วิศวกรรมโยธา (โครงสร้าง)ประวัตกิ ารท�ำงาน 2544 - ปจั จบุ ัน อาจารยป์ ระจำ� ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวศิ วกรรมศาสตร์ 2551 - ปจั จุบนั ผอู้ ำ� นวยการหนว่ ยจดั การทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาและถา่ ยทอดเทคโนโลยี แหง่ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี 2554 - ปจั จบุ นั ตัวแทนสทิ ธบิ ัตร (Patent Agent) กรมทรัพย์สนิ ทางปัญญา กระทรวงพาณชิ ย์ 2556 - 2558 รองผู้อำ� นวยการฝา่ ยวิชาการ สถาบนั วิจยั และพฒั นารางวัลทไี่ ดร้ ับ (ระดับชาติ และนานาชาต)ิ 2555 - 2558 นักวิจัยดีเด่น สร้างช่ือเสียงให้กับมหาวิทยาลัย “ด้านงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม และงานสรา้ งสรรค์” (ระดับนานาชาต)ิ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี16

สาขาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นักวิจัยดเี ด่น ประจ�ำปี 2559 รางวลั ที่ไดร้ ับการเชดิ ชูเกียรติ ผลงานวจิ ัย ผลงานส่งิ ประดษิ ฐ์ และนวตั กรรม หรอื ผลงานสร้างสรรค์ทไ่ี ดร้ บั การจดทะเบียนทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา ดเี ด่น อนสุ ทิ ธิบัตร: - อนสุ ิทธิบัตรเลขที่ 8107 เรอ่ื ง กอ้ นดินท่มี สี ่วนผสมของน้�ำยางธรรมชาตแิ ละกระบวนการผลติ - อนสุ ิทธิบตั รเลขที่ 9970 เรื่อง กรรมวิธีการผลิตบลอ็ กประสานจากเศษหินบะซอลต์ - อนสุ ิทธิบตั รเลขท่ี 10063 เร่อื ง บลอ็ กปูพนื้ ระบายนำ้� ชนิดควบคมุ ทศิ ทางการไหล - อนสุ ทิ ธบิ ัตรเลขที่ 10959 เรอ่ื ง กรรมวธิ ีการผลติ บล็อกปพู ืน้ จากเศษหนิ บะซอลต์ - อนุสทิ ธบิ ัตรเลขที่ 10960 เรื่อง กรรมวธิ ีการผลิตคอนกรตี ที่มเี ศษหินบะซอลต์เป็นมวลรวม ความเป็นมา/หรือลักษณะเด่นของผลงาน การน�ำวัสดุเหลือทิ้งจากภาคเกษตรและภาคอุตสาหกรรม ตลอดจนวัสดุจากธรรมชาติท่ีผลิตได้ภายในประเทศเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตวัสดุก่อสร้างประเภทต่าง ๆ โดยใช้อัตราส่วนผสมและกระบวนการผลิตด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม ได้เป็นนวัตกรรมในรูปแบบของผลิตภัณฑ์ท่ีมีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม สามารถนำ� ไปใช้งานเทยี บเทา่ หรือดกี ว่าผลิตภณั ฑท์ จ่ี ำ� หน่ายตามทอ้ งตลาดท่ัวไป การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ ได้อนุญาตให้ใช้สิทธิกับบริษัทท่ีร่วมวิจัย ด�ำเนินการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนตลอดจนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม วิสาหกจิ ชุมชน และประชาชนทัว่ ไป 17

นักวจิ ยั ดีเด่น ประจ�ำปี 2559 สาขาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชื่อ - นามสกลุ ภาษาไทย : นางสุกาญจน์ รัตนเลศิ นุสรณ์ ภาษาองั กฤษ : Mrs.Sukhan Rattanaloeadnusorn ตำ� แหน่งทางวิชาการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สงั กดั คณะ/วทิ ยาลยั : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควิชา ชีววทิ ยา E-mail: [email protected] [email protected] เบอรโ์ ทรศัพท์มอื ถือ: 08 9767 8569ประวัตกิ ารศกึ ษา สาขาวชิ าเอก สถาบนั การศึกษา ปที ่ีจบการศึกษา นิเวศวิทยาปา่ ไม้ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 2543 วุฒิการศกึ ษา ชีววทิ ยาสภาวะแวดลอ้ ม 2531 วทิ ยาศาสตรดุษฎีบณั ฑติ มหาวิทยาลยั มหิดล วิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ ชีววิทยา 2529 มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาศาสตรบณั ฑิต (เกียรตนิ ิยมอันดบั สอง) ประวัติการท�ำงาน อาจารยป์ ระจำ� สาขาวชิ าชีววิทยา คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อาจารย์ทป่ี รกึ ษาโครงงานนกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาชีววทิ ยา คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อาจารย์ผู้ทรงคุณวฒุ ิหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาชวี วิทยา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิโครงการเปิดรับนักเรียนพิเศษ คณะครุศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธญั บุรี อาจารย์ท่ีปรึกษาโครงงานนักศึกษาระดับปริญญาตรี ด้านการจัดการส่ิงแวดล้อม คณะครุศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัยนักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาชีววิทยาประยุกต์ ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี18

สาขาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นกั วิจัยดเี ดน่ ประจ�ำปี 2559 รางวัลทไ่ี ดร้ บั การเชิดชูเกียรติ ผลงานวจิ ัยด้านบรกิ ารวิชาการ ดเี ด่น ความเปน็ มา/หรอื ลักษณะเด่นของผลงาน เมอื่ สำ� รวจปัญหาของชมุ ชนโคกขาม จังหวดั สมทุ รสาคร ชมุ ชนบงึ กาสาม จังหวัดปทุมธานี ชมุ ชนบงึ บา จงั หวัดปทมุ ธานี เกษตรกรทว่ั ประเทศ และสถานประกอบการโรงงานผลติ นำ�้ มนั ปาลม์ จงั หวดั กระบ่ี อน่ื ๆ พบวา่ ชมุ ชนประสบปญั หาผลผลติ ตำ่� ตน้ ทนุ สงู รายไดแ้ ละกำ� ไรนอ้ ย ระยะเวลาดำ� เนนิ การปลกู พชื อนิ ทรยี แ์ ละปลกู ปา่ ชายเลนนาน สภาพดนิมสี ภาพเปน็ ดนิ เคม็ และดนิ กรด ดงั นนั้ นกั วจิ ยั จงึ นำ� นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ทิ ธบิ ตั รหวั เชอื้ ราอดั เมด็ ปี 2555 สทิ ธบิ ตั รหัวเชอื้ ชีวภาพ สิทธิบตั รหวั เชอ้ื รา สทิ ธิบัตรหวั เช้ือจลุ ินทรยี น์ าโน ปี 2557 สำ� หรบั การออกแบบวางแผนและด�ำเนินการการบรกิ ารวชิ าการรว่ มกบั เครอื ขา่ ยทง้ั ภาครฐั เอกชน สถานประกอบการและชมุ ชนแบบมสี ว่ นรว่ ม พรอ้ มศกึ ษาวจิ ยั ตอ่ ยอดในเชิงพ้ืนท่ีแบบ CSR & CSV และใช้เป็นแหล่งเรียนรู้การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการแก้ปัญหา (R&D)ของเกษตรกรร่วมกับสถานประกอบการและชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0อันน�ำไปสกู่ ารพัฒนาชมุ ชนและเครอื ขา่ ยทุกภาคสว่ นแบบยงั่ ยนื การนำ� ไปใช้ประโยชน์ การพฒั นาชมุ ชนดว้ ยนวตั กรรมและเทคโนโลยหี วั เชอ้ื จลุ นิ ทรยี น์ าโนตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและยทุ ธศาสตร์ประเทศไทยแบบ 4.0 เพมิ่ ผลผลติ ลดตน้ ทนุ เพม่ิ รายไดแ้ ละก�ำไร 2 - 6 เทา่ ปรบั สภาพดนิ นำ้� ลดระยะเวลาในการพฒั นาการเกษตรอินทรีย์และการปลูกป่าชายเลนลดน้อยลงกว่าปกติ เพ่ิมการแบ่งปัน และชุมชนร่วมกันอนุรักษ์รักษาศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน หลังจากการน�ำนวัตกรรมหัวเช้ือราและหัวเช้ือจุลินทรีย์นาโนพัฒนาการเกษตรอนิ ทรยี แ์ ละแปรรปู และพฒั นาศกั ยภาพดา้ นการตลาดแบบครบวงจร อนั นำ� ไปสกู่ ารพฒั นาชมุ ชนตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและยทุ ธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 อนั นำ� ไปสกู่ ารพฒั นาชุมชนและเครอื ข่ายทุกภาคสว่ นแบบยั่งยืน 19

นักวจิ ยั ดเี ดน่ ประจำ� ปี 2559 สาขาสังคมศาสตร์ ช่ือ - นามสกลุ ภาษาไทย : นายธงเทพ ศิริโสดา ภาษาองั กฤษ : Mr.Thongtep Sirisoda ตำ� แหนง่ ทางวิชาการ : - สงั กดั คณะ/วิทยาลยั : คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ ภาควิชา สถาปตั ยกรรมภายใน E-mail: [email protected] เบอร์โทรศพั ทม์ ือถือ: 08 5503 2236ประวตั ิการศึกษา สาขาวิชาเอก สถาบนั การศึกษา ปที ีจ่ บการศกึ ษา ออกแบบภายใน สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล 2547 วุฒิการศกึ ษา ศิลปบณั ฑิต สถาปตั ยกรรมภายใน คลอง 6 2552 สถาปตั ยกรรมศาสตร สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ มหาบณั ฑิต เจา้ คุณทหารลาดกระบัง ประวัติการท�ำงานโดยสังเขป  บริษัท C+design Hub  บรษิ ทั Paintlight studio  บริษัท design buri  อาจารยพ์ ิเศษ แผนกวิจติ รศิลป์ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาสระบรุ ี รางวลั ทีไ่ ด้รับ (ระดับชาติ และนานาชาต)ิ  รางวัลชนะเลศิ แข่งขนั ทกั ษะวชิ าชพี การออกแบบตกแตง่ ภายใน ภาคตะวนั ออกและภาคกลาง  อาจารย์ทีป่ รึกษา รางวลั รองชนะเลิศอนั ดบั ท่ี 2 และรางวลั ชมเชย การประกวด SCB HOME RENOVATION  รางวัล “Special Prize” 2015 Taipei Internation Invention Show & Technomart Invention Contest (INST2015) 1 - 3 ตุลาคม 2558 ณ เมืองไทเป ประเทศไตห้ วัน  รางวัล “Special Prize” The 4th World Invention Award Festival (2015 WIAF) 12 - 14 ธนั วาคม 2558 ณ เมอื งอนิ ชอน ประเทศเกาหลใี ต้  รางวลั “Special Prize” “27th International & Innovation Exhibition” (ITEX 2016) 12 - 14 พฤษภาคม 2559 ณ ประเทศมาเลเซีย20

สาขาสังคมศาสตร์ นักวจิ ัยดเี ดน่ ประจ�ำปี 2559 รางวลั ที่ไดร้ บั การเชดิ ชูเกยี รติ ผลงานวจิ ัยดา้ นการบรกิ ารวิชาการ ดเี ด่น ความเปน็ มา/หรอื ลกั ษณะเดน่ ของผลงาน งานวจิ ยั การออกแบบและกอ่ สรา้ งตน้ แบบอาคารประหยดั พลงั งานจากวสั ดกุ อ่ สรา้ งทใ่ี ชเ้ ศษหนิ ของเมอื งแรย่ ปิ ซม่ัสำ� หรบั ชมุ ชนทอ้ งถนิ่ นี้ จึงมงุ่ เนน้ การพฒั นาวสั ดทุ างเลอื กส�ำหรบั อาคารเพอ่ื การประหยดั พลงั งาน โดยการใชป้ ระโยชน์จากวัสดุจากท้องถิ่นและการใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม ที่มีความสอดคล้องของสถานท่ีตั้ง รวมถึงเพื่อให้เกิดนวัตกรรมวัสดุก่อสร้างอาคารเพื่อการประหยัดพลังงาน มีคุณค่าทางวิชาการและการพาณิชย์ ตลอดจนมีศักยภาพในการเข้าสู่ระบบการผลติ แบบอตุ สาหกรรมในระดบั ชมุ ชน โดยคำ� นงึ ถงึ ความสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศตามแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาต ิ และยทุ ธศาสตร์การวิจัยของชาตเิ ปน็ สำ� คญั การนำ� ไปใช้ประโยชน์ ได้ดำ� เนินการน�ำงานวจิ ยั มาพฒั นาอาคารสถานทีแ่ ละงานสรา้ งสรรค์ โดยปรับรปู แบบผลงานการวจิ ัยน�ำมาใชก้ บัหอ้ งสมุดให้ตรงตามความตอ้ งการของโรงเรียนวดั พแุ ค สพฐ. เขตที่ 1 ต�ำบลพุแค อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จงั หวัดสระบุรี 21

นกั วิจยั ดเี ด่น ประจ�ำปี 2559 สาขาสังคมศาสตร์ ชือ่ - นามสกุล ภาษาไทย : นางธรี วลั ย์ วรรธโนทัย ภาษาอังกฤษ : Mrs.Teerawan wathanotai ตำ� แหนง่ ทางวิชาการ : ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ สังกัดคณะ/วทิ ยาลัย : คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ ภาควชิ า สถาปตั ยกรรมภายใน E-mail: [email protected] เบอรโ์ ทรศพั ทม์ อื ถือ: 081 8117 700ประวตั ิการศึกษา สาขาวชิ าเอก สถาบันการศกึ ษา ปีที่จบการศึกษา การบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ 2542 วุฒิการศึกษา ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต ออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยศลิ ปากร 2520 ศิลปบัณฑติ (เกยี รตนิ ิยมอันดับ 2)22

สาขาสงั คมศาสตร์ นกั วิจัยดีเดน่ ประจ�ำปี 2559 รางวลั ทีไ่ ดร้ บั การเชดิ ชูเกยี รติ ผลงานวจิ ัยด้านการบรกิ ารวชิ าการ ดเี ด่น ความเปน็ มา/หรอื ลกั ษณะเด่นของผลงาน โครงการวิจัยนี้เป็นโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ต้องขังหญิง หลักการส�ำคัญคือ การสร้างความรู้ผ่านการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ซ่ึงมุ่งเน้นให้เกิดการเปล่ียนแปลงทั้งในระดับเรือนจ�ำ อันได้แก่การเปล่ียนเรือนจ�ำซึ่งเป็นพื้นที่ของการลงโทษไปสู่การเป็นชุมชนแห่งความห่วงใย โครงการได้ด�ำเนินงานมาอย่างต่อเน่อื งตั้งแตป่ ี 2555 โดยได้ด�ำเนินการ ณ เรอื นจำ� กลางราชบรุ ี และเรอื นจำ� กลางอุดรธานี การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ โครงการวิจัยนี้ได้สร้างเรือนจ�ำต้นแบบโดยอาศัยความรู้แบบสหวิทยาการและการประสานงานร่วมมือกับองค์กรต่าง ๆ ท�ำให้ได้ความรู้ที่สามารถน�ำไปใช้ปฏิบัติได้จริง (practical wisdom) เป็นความรู้ในการพัฒนาสุขภาพแบบองคร์ วม การสง่ เสรมิ ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั หญงิ มพี ลงั สรา้ งสรรค์ มโี อกาสเรยี นรทู้ กั ษะและงานอาชพี ทต่ี อ้ งอาศยั การออกแบบทด่ี ีการช่วยให้ผู้ต้องหญิงธ�ำรงรักษาความสัมพันธ์กับครอบครัวและชุมชน รวมทั้งการส่ือสารสาธารณะในรูปแบบท่ีหลากหลาย เพ่ือให้สังคมตระหนักในความสามารถและคุณความดีของผู้ต้องขังหญิง ยอมรับและให้โอกาสแก่ผู้เคยกระท�ำผิดได้มีทยี่ ืนในสงั คม 23



นกั วิจัยที่มีผลงานวิจยัไดร้ ับรางวลั ระดบั นานาชาติประจ�ำปี 2558 - 2559

รนะักดวบั ิจนัยาทน่ีมาผี ชาลตงาิ ปนรวะิจจัย�ำไปดี ้ร2บั 5ร5า8งวลั ซุปเปอร์อีโค่ไลท์เวทไฮอีลาสติกบล็อก : วัสดุก่อสร้างน�้ำหนักเบาท่ียืดหยุ่นสูง และเปน็ มิตรต่อสิง่ แวดลอ้ ม Super Eco Light Weight High Elastic Blocks: Light Weight Construction Material with High Elasticity and Eco-friendly ชื่อเจ้าของผลงาน นายประชมุ ค�ำพุฒ หน่วยงาน คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี เบอรโ์ ทรศัพท์ (มอื ถอื ) : 08 1665 4755 E-mail: [email protected] [email protected]  ที่มาของผลงาน ปัจจุบันมีเศษวัสดุเหลือท้ิงจากภาคเกษตรและภาคอุตสาหกรรมอยู่เป็นจ�ำนวนมาก และสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการก�ำจัดทิ้ง เม่ือพิจารณาจากลักษณะและคุณสมบัติพ้ืนฐาน ของเศษวัสดุเหลือท้ิงแล้ว สามารถเลือกใช้วัสดุเหลือทิ้งประเภทต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับ การน�ำมาผลติ เป็นวัสดกุ อ่ สร้างท่มี ีนำ�้ หนกั เบาและเปน็ มิตรต่อสง่ิ แวดล้อมได้  ความเปน็ นวตั กรรม/ลักษณะเดน่ ของผลงาน ซุปเปอร์อีโค่ไลท์เวทไฮอีลาสติกบล็อก : วัสดุก่อสร้างน�้ำหนักเบาท่ียืดหยุ่นสูงและ เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม มีน้�ำหนักเบาประมาณ 690 กก./ลบ.ม. (คอนกรีตทั่วไปหนัก 2,400 กก./ลบ.ม.) สามารถทนตอ่ การตกกระแทกมากกว่า 2.5 ม. แขง็ แรง ตัดไดด้ ้วยเลอ่ื ย ไมล่ ามไฟ เปน็ ฉนวนปอ้ งกนั ความรอ้ นและเสยี ง ขน้ึ รปู งา่ ย ตน้ ทนุ ต่�ำ ผลติ จากเศษวสั ดเุ หลอื ทงิ้ ของอุตสาหกรรมเหมืองแร่ การเกษตร และพลาสติก ผ่านมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ปัจจุบันได้รับความนิยม รวมทั้งมีผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดและขอใช้สิทธิบัตร หลายบรษิ ทั  การนำ� ไปใช้ประโยชน์ ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับชุมชนและผู้สนใจทั่วไป และสัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิกับ ภาคเอกชน เพือ่ ขยายผลสเู่ ชงิ พาณิชย์  การคมุ้ ครองทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา 1. อนสุ ิทธิบัตรเลขท่ี 9970 เรอ่ื ง กรรมวธิ ีการผลติ บล็อกประสานจากเศษหนิ บะซอลต์ 2. อนุสิทธิบัตรเลขที่ 10959 เรอื่ ง กรรมวิธีการผลติ บล็อกปูพ้ืนจากเศษหินบะซอลต์ 3. อนสุ ิทธิบัตรเลขที่ 10960 เรื่อง กรรมวิธีการผลิตคอนกรีตทีม่ ีเศษหนิ บะซอลต์เปน็ มวลรวม 4. เลขทคี่ ำ� ขอรบั สทิ ธิบตั ร 1001001077 เลขที่ประกาศโฆษณาสิทธบิ ัตร 125099 เรอ่ื ง คอนกรีตบล็อกผสมเศษผลติ ภัณฑ์พลาสตกิ เอทธิลีนไวนลิ อะซิเตท  รางวลั ทไ่ี ด้รับ (ระดับนานาชาต)ิ 1. Silver Medal Award จากงาน 2015 Taipei International Invention Show & Technomart Invention Contest (INST 2015) ณ เมืองไทเป ประเทศไต้หวนั 2. Diploma Di Inventore Emerito จาก Associazione Nazionale Degli Inventori (A.N.D.I.) ประเทศอติ าลี จากงาน 2015 Taipei International Invention Show & Technomart Invention Contest (INST 2015) ณ เมืองไทเป ประเทศไต้หวนั26

นกั วรจิะดยั ทบั นี่มีผานลางชาานตวิ จิปัยรไะดจร้�ำบัปรี 2าง5ว5ัล8 ซักโครก : อปุ กรณ์กรองนำ�้ ทง้ิ จากเครอ่ื งซักผ้าสำ� หรับใช้ในสุขภณั ฑ์ Suck Krok: Wastewater Treatment Device of Washing Machine to Reuse in Toilet ช่อื เจ้าของผลงาน นายประชุม คำ� พฒุ หน่วยงาน คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี เบอรโ์ ทรศพั ท์ (มอื ถือ) : 08 1665 4755 E-mail: [email protected] [email protected] ทม่ี าของผลงาน ปจั จบุ นั ปญั หาดา้ นการขาดแคลนนำ้� เปน็ ปญั หาใหญข่ องประเทศทนี่ บั วนั จะมคี วามสำ� คญั มากขน้ึ เรอื่ ย ๆ การประหยดั นำ�้จงึ เปน็ วิธีการที่จะช่วยให้มที รพั ยากรน้�ำใชไ้ ด้อย่างยั่งยนื จงึ ไดศ้ กึ ษาถึงการนำ� น�้ำทิง้ จากเครือ่ งซักผ้าที่สิ้นเปลืองเปน็ จำ� นวนมากกลับนำ� มาใชใ้ หมเ่ ป็นน�้ำในสุขภัณฑ์ส้วมชกั โครก เพ่ือเปน็ การประหยัดนำ�้ และลดคา่ ใช้จ่ายการใชน้ �้ำประปาในครัวเรอื น ความเป็นนวตั กรรม/ลกั ษณะเด่นของผลงาน ซักโครก : อุปกรณ์กรองน้�ำท้ิงจากเครื่องซักผ้าส�ำหรับใช้ในสุขภัณฑ์ เป็นนวัตกรรมระบบการกรองน้�ำจากเครื่องซักผ้าโดยใช้สารกรอง ไส้กรอง ปั๊มน�้ำ และถังพัก จนได้น�้ำที่มีคุณภาพเหมาะส�ำหรับใช้ในชักโครก ออกแบบให้ขนาดกะทัดรัดต้นทุนต�่ำ บ�ำรุงรักษาง่าย ถอดล้างและน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้ ใช้งานสะดวกไม่ต่างจากการใช้น้�ำประปาปกติ เมื่อค�ำนวณต้นทุนพบว่า “ซกั โครก” มีตน้ ทุนการกรองท้ังสิน้ ต่�ำกวา่ คา่ น้�ำประปา ประมาณรอ้ ยละ 30 - 75 ของราคานำ้� ประปา การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ นวตั กรรมนไี้ ดอ้ ยรู่ ะหวา่ งขน้ั ตอนการจดสทิ ธบิ ตั ร และมบี รษิ ทั ทน่ี ำ� ตน้ แบบไปพฒั นาผลติ ภณั ฑส์ ำ� หรบั เตรยี มผลติ จำ� หนา่ ยในเชงิ พาณชิ ย์ การคมุ้ ครองทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา เลขทค่ี ำ� ขอรบั สิทธิบตั ร 1301002321 เลขทป่ี ระกาศโฆษณาสทิ ธิบตั ร 131290 เรื่อง ชุดอุปกรณ์กรองนำ�้ ทง้ิ จากเครอ่ื งซกั ผ้าสำ� หรับใชใ้ นสขุ ภณั ฑช์ กั โครก รางวัลที่ไดร้ บั (ระดบั นานาชาติ) Bronze Medal Award จากงาน 2015 Taipei International Invention Show & Technomart Invention Contest(INST 2015) ณ เมืองไทเป ประเทศไตห้ วัน 27

รนะักดวบั ิจนยั าทน่ีมาผี ชาลตงาิ ปนรวะิจจยั ำ� ไปดี ร้ 2ับ5ร5า8งวัล อิฐดินดิบต้านทานการกดั เซาะสูงผสมน�้ำยางธรรมชาติ High Erosion Resistant Adobe Brick Mixed with Natural Latex ชอ่ื เจ้าของผลงาน นายประชมุ ค�ำพุฒ หนว่ ยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี เบอร์โทรศัพท์ (มอื ถอื ) : 08 1665 4755 E-mail: [email protected] [email protected]  ท่มี าของผลงาน จากกระแสของการอนุรักษ์พลังงาน การใช้บ้านดินเป็นที่อยู่อาศัยได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น โดยบ้านดิน มคี ุณสมบตั ใิ นการปรับสภาพอณุ หภมู ิภายในบา้ นใหพ้ อเหมาะ โดยจะอุ่นในฤดหู นาวและเยน็ สบายในฤดรู ้อน แตป่ ญั หา ส�ำคัญของบ้านดิน คือ การชะละลายเม่ือถูกน้�ำฝน หรือการสัมผัสกับน�้ำเป็นเวลานาน ดังนั้นจึงต้องมีการหาวัสดุผสม ที่มคี ณุ สมบตั ใิ นการต้านทานนำ้� ที่ดผี สมในเนือ้ ของอฐิ ดนิ ดบิ เพอ่ื การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาดังกล่าว  ความเปน็ นวัตกรรม/ลกั ษณะเดน่ ของผลงาน อิฐดินดิบต้านทานการกัดเซาะสูงผสมน�้ำยางธรรมชาติ น�ำน�้ำยางธรรมชาติท่ีมีปริมาณมากและก�ำลังมีราคาตกต�่ำ มาผสมรวมกับสารตัวเติมต่าง ๆ กอ่ นน�ำมาผสมกับดินเหนยี ว แกลบ ฟางขา้ ว และเสน้ ใยธรรมชาตอิ ่นื ๆ ไดอ้ ฐิ ดินดบิ ทต่ี า้ นทาน การกัดเซาะไดด้ ี ส�ำหรบั การใช้ประโยชนใ์ นเชิงพาณชิ ย์ น�้ำยางธรรมชาติผสมสารตัวเตมิ ตา่ ง ๆ อย่ใู นลกั ษณะของสารผสมเพ่มิ ท�ำใหง้ ่ายต่อการใชป้ ระโยชนใ์ นการก่อสรา้ งบา้ นดินทีก่ ำ� ลงั ได้รับความนยิ มในประเทศไทย  การนำ� ไปใช้ประโยชน์ ถา่ ยทอดเทคโนโลยใี หก้ บั ชมุ ชนและผสู้ นใจทว่ั ไป และสญั ญาอนญุ าตใหใ้ ชส้ ทิ ธกิ บั บรษิ ทั ผผู้ ลติ อฐิ ดนิ ดบิ ตลอดจนขยายผล ส่เู ชิงพาณชิ ย์  การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา สทิ ธบิ ัตรเลขที่ 8107 เรอ่ื ง กอ้ นดนิ ทม่ี ีสว่ นผสมของนำ�้ ยางธรรมชาติและกระบวนการผลติ  รางวัลที่ได้รบั (ระดับนานาชาติ) 1. Honorable Mention จากงาน 2015 Taipei International Invention Show & Technomart Invention Contest (INST 2015) ณ เมอื งไทเป ประเทศไตห้ วัน 2. Leading Innovation Award จาก International Intellectual Property Network Forum (IIPNF) ประเทศ ญี่ปุ่น จากงาน 2015 Taipei International Invention Show & Technomart Invention Contest (INST 2015) ณ เมืองไทเป ประเทศไตห้ วัน28

นักวริจะดัยทบั น่ีมผีานลางชาานตวิ จิปัยรไะดจ้รำ� บัปรี 2าง5ว5ัล8 ลิน้ ชัก : ระบบปรับปรุงบ้านทนั ใจเสร็จใน 1 ชวั่ โมง Lin Chuk: Home Renovation System Finish Within 1 Hour ชือ่ เจ้าของผลงาน นายธงเทพ ศิรโิ สดา หน่วยงาน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี เบอรโ์ ทรศัพท์ (มอื ถอื ) : 08 5503 2236 E-mail: [email protected] ท่มี าของผลงาน จากสถานการณ์น้�ำท่วมในอดีต ด้วยเหตุจากการเปลี่ยนแปลงคร้ังน้ี ท�ำให้มีการสูญเสียทรัพย์สิน การฟื้นฟูสภาพแวดล้อมและอาคารท่ีอยู่อาศัย ล้ินชัก : ระบบปรับปรุงบ้านทันใจเสร็จใน 1 ช่ัวโมง เป็นนวัตกรรมการซ่อมแซมบ้านเก่า โดยคงโครงสร้างเดิมไว้ ให้มีความสวยงาม แข็งแรง และสามารถใช้งานได้ทันที ในรูปแบบของการท�ำห้องส�ำเร็จรูปส�ำหรับติดต้ังใส่เข้าไปในโครงสร้างที่เตรียมไว้คล้ายกับล้ินชัก โดยใช้ระบบรางเล่ือนและระบบประสานทางพิกัดซึ่งการปรับปรุงบ้านในลักษณะน้ี สามารถทำ� ไดด้ ว้ ยเวลาส้นั ๆ เพียง 1 ชั่วโมง ความเป็นนวตั กรรม/ลกั ษณะเดน่ ของผลงาน แข็งแรง และสามารถใช้งานได้ทันทีในรูปแบบของการท�ำห้องส�ำเร็จรูปส�ำหรับติดต้ังใส่เข้าไปในโครงสร้างที่เตรียมไว้คลา้ ยกับลน้ิ ชัก โดยใช้ระบบรางเลอื่ นและระบบประสานทางพิกดั การนำ� ไปใช้ประโยชน์ ฟน้ื ฟู สภาพแวดลอ้ มและอาคารทอ่ี ยอู่ าศยั ลน้ิ ชกั : ระบบปรบั ปรงุ บา้ นทนั ใจเสรจ็ ใน 1 ชว่ั โมง เปน็ นวตั กรรมการซอ่ มแซมบ้านเก่า โดยคงโครงสรา้ งเดิมไว้ แล้วปรับปรุงส่วนตา่ ง ๆ ให้มีความสวยงาม การคุ้มครองทรพั ย์สินทางปญั ญา อย่รู ะหว่างการดำ� เนนิ การ รางวัลทไี่ ดร้ ับ (ระดบั นานาชาติ) 1. Bronze Medal Award จากงาน 2015 Taipei Internation Invention Show & Technomart InventionContest (INST 2015) ณ เมืองไทเป ประเทศไต้หวนั 2. The World Inventor Order of Merit จากงาน The 4th World Invention Award Festival (2015 WIAF)ณ เมืองอนิ ชอน ประเทศเกาหลีใต้ 29

รนะักดวบั จิ นัยาทนมี่ าีผชาลตงาิ ปนรวะิจจัย�ำไปดี ้ร2บั 5ร5า8งวลั อุปกรณ์ระบายความร้อนของคอยล์ร้อนด้วยการลดอุณหภูมิของอากาศ ก่อนเขา้ คอยลร์ ้อนโดยใช้น�้ำท่ีกล่นั จากกระบวนการควบแนน่ ท่ีคอยล์เย็น A device for reducing energy consumption of the air condition system ชอื่ เจา้ ของผลงาน ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เกียรตศิ ักด์ิ แสงประดษิ ฐ์ หนว่ ยงาน คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี เบอรโ์ ทรศัพท์ (มือถอื ) : 08 1493 2489 E-mail: [email protected]  ท่ีมาของผลงาน ในปจั จบุ นั สภาวะการใชพ้ ลงั งานในประเทศไทยเพม่ิ ขน้ึ อย่างต่อเนื่องท�ำให้เกิดปัญหาด้านพลังงานและเศรษฐกิจ โดยรวมของประเทศ และประเทศไทยนั้นต้ังอยู่ในเขตร้อน การดำ� เนนิ ชวี ติ ในปจั จบุ นั ตอ้ งพง่ึ พาระบบปรบั อากาศเพอ่ื ทำ� ความเยน็ ซึ่งการสิน้ เปลอื งพลงั งานจากระบบปรับอากาศน้นั คิดเป็นร้อยละ 60 - 70 ของปริมาณการใช้ไฟฟ้า ในบ้านเรือน อาคารส�ำนักงาน รวมถึงโรงงานอุตสาหกรรม ต่าง ๆ รวมไปถึงประเทศไทยมีอากาศร้อน ความแตกต่าง ระหว่างอุณหภูมิภายนอกและคอยล์ร้อนมีน้อย ท�ำให้การ แลกเปล่ียนความรอ้ นเป็นไปได้ชา้ ซงึ่ ส่งผลใหค้ อมเพรสเซอร์ ท�ำงานหนัก และส้ินเปลืองพลังงานไฟฟ้า ฉะนั้นงานวิจัยนี้ จึงได้คิดอุปกรณ์ระบายความร้อนของคอยล์ร้อนด้วยการ ลดอุณหภูมิของอากาศก่อนเข้าคอยล์ร้อนโดยใช้น้�ำกล่ัน จากกระบวนการควบแน่นทค่ี อยล์เย็น  ความเป็นนวัตกรรม/ลักษณะเดน่ ของผลงาน - แอร์เยน็ จะถกู ออกแบบให้มีขนาดเบาเพอื่ สามารถทจ่ี ะติดตัง้ ได้งา่ ย ซง่ึ ขนาดขึน้ อยกู่ บั คอมเพรสเซอร์ - แอรเ์ ยน็ จะใชน้ �้ำท่กี ลัน่ จากกระบวนการควบแนน่ ทค่ี อยล์เยน็ ประกอบด้วย ส่วนกกั เกบ็ นำ้� จากคอยล์เยน็ เพอื่ สร้าง ทำ� ฝนจ�ำลองผา่ นครบี เพ่อื จะท�ำใหเ้ กดิ การแลกเปลี่ยนความร้อน เพอื่ ลดอุณหภูมขิ องอากาศกอ่ นเขา้ คอยลร์ อ้ น  การนำ� ไปใช้ประโยชน์ “แอรเ์ ยน็ ” ช่วยเพม่ิ ประสิทธิภาพในการท�ำความเยน็ ของระบบปรบั อากาศ และยงั เพ่มิ คา่ EER ใหก้ ับเครอื่ งปรับอากาศ อีกดว้ ย ซงึ่ จากการทดลองสามารถประหยดั ไฟฟ้าไดถ้ ึง 30 - 40 เปอรเ์ ซน็ ต์  การค้มุ ครองทรพั ย์สินทางปัญญา เลขทค่ี ำ� ขอรบั สิทธิบตั ร 1501006755  รางวลั ท่ไี ด้รบั (ระดับนานาชาต)ิ 1. Gold Prize จากงาน Seoul International Invention Fair (SIIF 2015), ประเทศเกาหลี 2. Outstanding invention award จากฮ่องกง จากงาน Seoul International Invention Fair (SIIF 2015), ประเทศเกาหลี30

นักวรจิะดัยทบั นี่มีผานลางชาานตวิ จิปยั รไะดจ้ร�ำับปรี 2าง5ว5ัล8 เนรา่ : น้�ำยาผสมเพิม่ จากธรรมชาติเพือ่ ต้านทานการชะลา้ งสูงส�ำหรับดนิ อ่อน NERA: NATURAL HIGH EROSION RESISTANT ADMIXTURE FOR SOFT CLAY ชอ่ื เจา้ ของผลงาน นายประชุม ค�ำพฒุ หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี เบอร์โทรศพั ท์ (มอื ถือ) : 08 1665 4755 E-mail: [email protected] [email protected] ทีม่ าของผลงาน จากปัญหาการทรุดตัวและถูกชะล้างได้ง่ายจากกระแสน้�ำหรือน้�ำท่วมขังของดินเหนียวอ่อน จนท�ำให้เกิดความเสียหายต่ออาคารบ้านเรอื น ทรัพยส์ ินตา่ ง ๆ ทีอ่ ย่ใู นบรเิ วณนัน้ ๆ จงึ ต้องหาวิธกี ารในการเสรมิ ความแขง็ แรงของดินอ่อนเพอ่ื ลดความสญู เสียดังกลา่ ว โดยทำ� เปน็ สารผสมเพิ่มทสี่ กัดจากธรรมชาติ เพ่ือเปน็ มติ รต่อสิง่ แวดล้อม และสะดวกในการใชง้ าน ความเปน็ นวัตกรรม/ลักษณะเดน่ ของผลงาน “เน-ร่า” (NERA) เป็นน�้ำยาผสมเพิ่มจากธรรมชาติเพ่ือต้านทานการชะล้างสูงส�ำหรับดินอ่อน โดยมีลักษณะเด่นที่ท�ำมาจากน�้ำยางธรรมชาติเป็นหลัก ผสมกับสารลดแรงตึงผิวชนิดไม่มีประจุ บรรจุอยู่ในแกลลอน สะดวกต่อการใช้งาน โดยการผสม NERA ในพนื้ ทดี่ นิ ออ่ นกอ่ นทำ� การกอ่ สรา้ งอาคาร บอ่ ฝง่ั กลบขยะ บอ่ นำ้� เขอื่ น คนั กนั้ นำ�้ และอน่ื ๆ นนั้ ผลของปฏกิ ริ ยิ าที่เกิดจาก NERA จะช่วยให้ดินอ่อนมีคุณสมบัติทางกายภาพและทางกลท่ีดีข้ึน เพ่ิมความแข็งแรงให้กับดินอ่อน และป้องกันการซึมผา่ นนำ�้ และตา้ นทานการชะล้างได้ การนำ� ไปใช้ประโยชน์ ผลิตและจ�ำหน่ายสู่เชิงพาณิชย์ในรูปแบบของน้�ำยาส�ำเร็จรูปบรรจุในแกลลอน ส�ำหรับน�ำไปใช้ผสมในดินอ่อนและวสั ดุอนื่ ๆ ตามปรมิ าณท่กี �ำหนด โดย บริษทั อริยะสุทธิ อินเตอรเ์ ทรด จำ� กัด การคุม้ ครองทรพั ย์สินทางปัญญา สทิ ธิบัตรเลขท่ี 8107 เรือ่ ง ก้อนดนิ ที่มสี ่วนผสมของนำ�้ ยางธรรมชาตแิ ละกระบวนการผลติ รางวลั ที่ได้รบั (ระดับนานาชาติ) Diploma Silver Medal และ Diploma Special Award จากงาน 2015 Hong Kong International Inventionand Design Competition จัดโดย Chinese Invention and Innovation Society (CIIS) 31

นระักดวับิจนยั าทน่ีมาผี ชาลตงาิ ปนรวะิจจัย�ำไปดี ้ร2บั 5ร5า8งวัล YAPOX : ผลติ ภณั ฑบ์ รรเทาอาการปวดอกั เสบ จากตำ� รบั ยาสมนุ ไพรพอกดดู พษิ YAPOX: ANTI-INFLAMMATORY PRODUCTS FROM THAI TRADITIONAL MEDICINE ENTRAPPED IN NIOSOMES ชื่อเจา้ ของผลงาน ดร.กรวินท์วิชญ ์ บุญพิสุทธนิ นั ท์ นางสาวอุษา โสดามุข หน่วยงาน วทิ ยาลัยการแพทย์แผนไทย มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี เบอร์โทรศัพท์ (มือถอื ) : 09 2950 1777 E-mail: [email protected]  ทมี่ าของผลงาน ต�ำรับยาพอกดูดพิษเป็นต�ำรับยาสมุนไพรด้ังเดิมที่แพทย์แผนไทยใช้ในการรักษาผู้ป่วยในกลุ่มอาการปวดและ อักเสบบริเวณหัวเข่า ข้อและกล้ามเนื้อ พบว่าได้ผลการรักษาในผู้ป่วยได้เป็นอย่างดี สามารถลดการปวดและอักเสบ บวม แดง เทยี บเทา่ กบั ยาแผนปจั จบุ นั methyl salicylate หรอื diclofinac และไมพ่ บอาการแพห้ รอื อาการขา้ งเคยี งใด ๆ จึงแสดงใหเ้ ห็นว่าการใชต้ �ำรบั ยาพอกดดู พิษนนั้ เป็นอกี ทางเลอื กหนึง่ เพ่อื การรกั ษาอาการปวดและอกั เสบได้เป็นอย่างดี  ความเป็นนวัตกรรม/ลักษณะเดน่ ของผลงาน - การพัฒนาต�ำรับยาแผนโบราณบนพื้นฐานของกระบวนการวิทยาศาสตร์ เพื่อสร้างความเช่ือม่ันต่อการบริการ ดา้ นสุขภาพ - กระบวนการแปรรปู พชื สมนุ ไพรใหเ้ ปน็ ผลติ ภณั ฑเ์ พอ่ื ผลติ จำ� หนา่ ย สรา้ งรายไดแ้ ละธรุ กจิ จากการแปรรปู พชื สมนุ ไพร  การนำ� ไปใช้ประโยชน์ ผลิตภัณฑ์ YAPOX ท้ังแบบสเปรย์และเจลนี้เป็นการพัฒนาต่อยอดจากภูมิปัญญาไทย มีความน่าเช่ือถือระดับหนึ่ง ท้ังในด้านความปลอดภัยและประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถน�ำไปต่อยอดในเชิงพาณิชย์ได้ ซึ่งเป็นการเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน ดา้ นเศรษฐกิจของประเทศ  การคมุ้ ครองทรพั ยส์ ินทางปญั ญา เลขท่คี ำ� ขอรับสิทธิบัตร 1501002534  รางวลั ที่ได้รบั (ระดับนานาชาต)ิ Medical & Pharmacy Invention Order of Merit และ Alfred Nobel Invention Grand Award จากงาน The 4th World Inventor Award Festival (2015 WIAF) ณ เมอื งอนิ ชอน ประเทศ เกาหลใี ต้32

นกั วรจิะดัยทับนมี่ ีผานลางชาานตวิ จิปัยรไะดจร้ำ� บัปรี 2าง5ว5ัล8  อฐิ ดนิ เหนยี วผสมนำ�้ ยางธรรมชาตติ า้ นทานการชะลา้ ง High Erosion Resistant Adobe Brick Mixed with Natural Latex ชื่อเจา้ ของผลงาน 1. นายกิตตพิ งษ์ สวุ ีโร 2. นายประชุม คำ� พุฒ หนว่ ยงาน หนว่ ยจดั การทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาและถา่ ยทอดเทคโนโลยี แหง่ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เบอรโ์ ทรศพั ท์ (มือถอื ) : 08 1665 4755 E-mail: [email protected] [email protected] ที่มาของผลงาน บ้านดินเป็นท่ีอยู่อาศัยได้รับความนิยมเพิ่มมากข้ึนในปัจจุบัน โดยบ้านดินท�ำจากดินเหนียว มีคุณสมบัติในการปรับสภาพอุณหภูมิภายในบ้านให้พอเหมาะ ซึ่งจะอุ่นในฤดูหนาวและเย็นสบายในฤดูร้อน แต่ปัญหาส�ำคัญของบ้านดินคอื การชะละลายเมอื่ ถกู นำ้� ฝน หรอื การสมั ผสั กบั นำ้� เปน็ เวลานาน ดงั นน้ั จงึ ตอ้ งมกี ารหาวสั ดผุ สมทม่ี คี ณุ สมบตั ใิ นการตา้ นทานนำ�้ที่ดีผสมในเนอื้ ของอิฐดนิ ดิบ เพอ่ื ช่วยยดื อายกุ ารใชง้ านของบ้านดิน ความเปน็ นวตั กรรม/ลักษณะเด่นของผลงาน อฐิ ดนิ เหนียวผสมนำ้� ยางธรรมชาติต้านทานการชะล้าง ไดน้ ำ� น้�ำยางธรรมชาตทิ ่ีมีปรมิ าณมากและก�ำลังมรี าคาตกตำ�่ มาผสมรวมกบั สารตวั เติมต่าง ๆ ก่อนนำ� มาผสมกบั ดินเหนยี ว และวัสดอุ ื่น ๆ ตามธรรมชาติ การกอ่ ตวั ของนำ้� ยางธรรมชาติดว้ ยวธิ ีทางกลสง่ ผลให้ภายในเน้อื ดนิ เกดิ เย่อื ใยท่ยี ดึ เกาะระหวา่ งอนภุ าคดนิ ให้มคี วามทบึ นำ�้ สงู ได้อฐิ ดินเหนยี วทตี่ า้ นทานการชะลา้ งไดด้ ี เหมาะสำ� หรบั การก่อสร้างบา้ นดนิ ในพืน้ ที่ฝนตกชกุ อยา่ งประเทศไทย การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ ถ่ายทอดเทคโนโลยใี ห้กับชุมชน วสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SME) และผู้สนใจท่ัวไป ตลอดจนสัญญาอนญุ าตใหใ้ ช้สิทธิกบั บริษัทผูผ้ ลิตอิฐดนิ เหนียวและผู้รับเหมากอ่ สรา้ งบ้านดิน การคุ้มครองทรัพย์สินทางปญั ญา สิทธิบตั รเลขที่ 8107 เรอ่ื ง กอ้ นดินที่มีสว่ นผสมของนำ้� ยางธรรมชาตแิ ละกระบวนการผลิต รางวลั ทไี่ ดร้ ับ (ระดับนานาชาติ) Geotechnology Order of Merit จากงาน 2015 World Inventor Award Festival จัดโดย KoreaInvention News ณ สาธารณรัฐเกาหลี 33

นระักดวับิจนัยาทน่มี าผี ชาลตงาิ ปนรวะิจจัยำ� ไปดี ้ร2บั 5ร5า8งวลั  ระบบส�ำหรบั การปรับปรุงบ้านพักอาศยั Home Renovation System ช่ือเจา้ ของผลงาน 1. นายธงเทพ ศริ ิโสดา 2. นายประชมุ ค�ำพฒุ หนว่ ยงาน คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี Eเบ-อm รaโ์ ท ilร: ศwpัพroaทrck์ h(.มdoeอืowถmอื3.k)d@@: e0gn8m.r5ma5ilu.0cto3t.ma2c2.t3h6 [email protected]  ทีม่ าของผลงาน การปรับปรุง ซ่อมแซมบ้านพักอาศัยในปัจจุบันใช้เวลานาน และเสียค่าใช้จ่ายสูง จึงต้องคิดค้นกระบวนการปรับปรุง บา้ นเกา่ ใหม้ คี วามสะดวก รวดเรว็ และสิน้ เปลืองคา่ ใชจ้ า่ ยน้อยทสี่ ุด เพอ่ื ความค้มุ ค่าในเชงิ ธรุ กจิ  ความเปน็ นวตั กรรม/ลักษณะเดน่ ของผลงาน ระบบส�ำหรับการปรับปรุงบ้านพักอาศัย คือ ระบบหรือวิธีการส�ำหรับปรับปรุงบ้านเก่าที่เสียหายจากการใช้งานเป็น เวลานาน โดยคงโครงสร้างหลัก คือ เสาและคานของเดิมไว้ แล้วท�ำการใช้ห้องส�ำเร็จรูปที่ท�ำการตกแต่งภายในเรียบร้อยแล้ว ทำ� การยกตดิ ตั้งสวมเขา้ ไปในโครงสรา้ งเดมิ แลว้ ทำ� การยดึ ให้แขง็ แรงด้วยกระบวนการทางวศิ วกรรม ทำ� ให้ได้บา้ นพักอาศัยใหม่ ในบา้ นหลังเกา่ และมอี ายกุ ารใช้งานทีย่ าวนานมากขนึ้  การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ มีบริษัทท่ีด�ำเนินธุรกิจรับเหมาก่อสร้างบ้านส�ำเร็จรูปน�ำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ช่วยลดระยะเวลาและต้นทุน ในการกอ่ สร้าง  การคุ้มครองทรพั ยส์ ินทางปญั ญา อยู่ระหว่างการดำ� เนนิ การ  รางวลั ทไี่ ด้รบั (ระดับนานาชาต)ิ Architecture Order of Merit การประกวดในงาน 2015 World Inventor Award Festival จัดโดย Korea Invention News ณ สาธารณรฐั เกาหลี34

นกั วริจะดัยบัทน่ีมาีผนลางชาานตวิ ิจปัยรไะดจ้ร�ำบัปรี 2าง5ว5ลั9 แผ่นเจลเย็นมาส์กหน้าสมุนไพรในรูปแบบนาโนเซร่มั Cooling Phytogel Facial with Nano Serum Mask ช่อื เจา้ ของผลงาน ดร.ไฉน น้อยแสง หน่วยงาน วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี เบอรโ์ ทรศพั ท์ (มอื ถอื ) : 09 5736 9577 E-mail: [email protected] [email protected] ท่มี าของผลงาน ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีลักษณะภูมิอากาศแบบร้อนช้ืน ท�ำให้ประเทศไทยอุดมไปด้วยทรัพยากรชวี ภาพ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ มสี มนุ ไพรเปน็ จ�ำนวนมาก อกี ทงั้มีภูมิปัญญาไทยในการใช้พืชสมุนไพรเหล่าน้ี ซ่ึงในปัจจุบันท่ีหลาย ๆ ประเทศตา่ งได้ให้ความสนใจในการศกึ ษาการใช้พชื สมนุ ไพรของตนเองใหเ้ กดิ ประโยชนม์ ากทส่ี ดุ เพอ่ื เพมิ่ ทง้ัคณุ คา่ และมูลค่าทางเศรษฐกิจ ประเทศไทยโดยรัฐบาลไทยได้ตระหนักถึงความส�ำคัญน้ีเช่นกัน จึงได้ปรับเปล่ียนโครงเศรษฐกิจไปสู่ “เศรษฐกิจท่ีขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม”โดยการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุกรรมท้องถ่ิน และพชื สมนุ ไพรพนื้ บา้ น เพอ่ื สรา้ งนวตั กรรมในการผลติ สนิ คา้ และบรกิ ารทม่ี มี ลู คา่ เพม่ิ และเปน็ เอกลกั ษณข์ องประเทศ เชน่ สมนุ ไพรเวชภัณฑ์ ผลิตภัณฑอ์ าหารสมุนไพรเสริมสขุ ภาพ เคร่ืองดม่ื สมุนไพร ผลติ ภัณฑ์เครื่องส�ำอางสมุนไพร ผลิตภณั ฑ์สปา เปน็ ตน้ ความเป็นนวตั กรรม/ลักษณะเดน่ ของผลงาน ผลติ ภณั ฑท์ ป่ี ระกอบดว้ ยวตั ถดุ บิ สว่ นผสมในสตู รตำ� รบั ทไี่ ดจ้ ากธรรมชาติ มกี ารเพาะปลกู พชื สมนุ ไพรแบบเกษตรอนิ ทรยี ์มีความแข็งแรง มีความยืดหยุ่นและคงรูปอยู่ได้ สามารถแนบติดไปกับผิวหน้าได้ดี ช่วยดูซับสิ่งสกปรก สามารถท�ำให้ผิวหน้ามคี วามชมุ่ ชน้ื และซมึ ซาบสผู่ วิ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และออกฤทธทิ์ นั ที ชว่ ยเพมิ่ ใหค้ วามเยน็ แกผ่ วิ หนงั และเพม่ิ การดดู ซมึ เขา้ สผู่ วิ หนงัเพ่ิมประสิทธิภาพของแผ่นมาส์กหน้าสมุนไพรโดยการใช้ร่วมกับผลิตภัณฑ์เซร่ัมในรูปแบบอิมัลชัน สามารถย่อยสลายได้ง่ายและเปน็ มติ รตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม  การน�ำไปใชป้ ระโยชน์ ผลงานประดิษฐ์คิดค้นแผ่นเจลเย็นมาส์กหน้าสมุนไพรในรูปแบบนาโนเซรั่ม เป็นการริเริ่มน�ำเอาสารสกัด และช้ินส่วนของพืชสมุนไพรมาผลิตเป็นแผ่นมาส์กหน้าและมีการปรับปรุงคุณสมบัติของแผ่นมาส์กหน้าให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพมากข้ึน และความปลอดภัยในการใช้งาน และน�ำมาต่อยอดในการผลิตในระดับอุตสาหกรรมและจัดจ�ำหน่ายเชิงพาณิชย์ทง้ั ภายในประเทศและตา่ งประเทศ การคุม้ ครองทรพั ย์สนิ ทางปัญญา อนุสทิ ธบิ ตั รเลขท่ี 11715 รางวลั ท่ไี ดร้ บั (ระดบั นานาชาติ) Gold Medal และ Special Award on Stage จาก Taiwan Invention Association จากงาน 44th InternationalExhibition of Inventions of Geneva ณ กรงุ เจนีวา สมาพนั ธรฐั สวิส 35

รนะกั ดวบั ิจนัยาทนมี่ าีผชาลตงาิ ปนรวะิจจยั ำ� ไปดี ้ร2ับ5ร5า9งวัล อุปกรณก์ ารถักเพ่อื เพ่ิมประสทิ ธิภาพงานถัก The Knit Loom for Loom Knitting Productivity Efficiency ชอ่ื เจา้ ของผลงาน ดร.สภุ า จุฬคปุ ต์ หนว่ ยงาน คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี เบอร์โทรศัพท์ (มอื ถือ) : 08 1441 5506 E-mail: [email protected] [email protected]  ท่มี าของผลงาน ผู้วิจัยได้เล็งเห็นว่างานถักด้วยไม้ถัก Knit Loom เป็นการที่ท�ำได้อย่าง รวดเรว็ สะดวก และประหยดั เวลา สามารถประดษิ ฐช์ นิ้ งานออกมาไดห้ ลายหลายแบบ จึงคิดพัฒนาอุปกรณ์งานถักนิตลูมท่ีปรับขยายได้ และในหน่ึงชิ้นสามารถถักเป็น ชนิ้ งานไดห้ ลายแบบ สามารถถอดเกบ็ ประหยดั พนื้ ทกี่ ารเกบ็ สามารถดแู ลรกั ษาไดง้ า่ ย ใชว้ สั ดอุ ปุ กรณท์ ม่ี ใี นบา้ นประดษิ ฐเ์ ปน็ อปุ กรณไ์ ด้ อกี ทงั้ สามารถทำ� ใชเ้ องไดโ้ ดยไมต่ อ้ ง ซอ้ื หา เพ่อื ประโยชนต์ ่อวงการถักทอดว้ ยมือ อุปกรณ์การถักนิตลมู นี้ ถ้าน�ำไปเผยแพร่ แก่ผสู้ นใจกจ็ ะสามารถพฒั นางานไดห้ ลากหลาย และสรา้ งอาชีพ สร้างรายได้ ได้เปน็ อยา่ งดี  ความเปน็ นวัตกรรม/ลักษณะเด่นของผลงาน ตน้ แบบอปุ กรณ์การถักนติ ลมู น้เี ปน็ การคดิ ค้น และรวบรวมจากประสบการณ์ ด้านการสอนงานประดิษฐ์ งานถักทอมาเป็นเวลามากกว่า 10 ปี เป็นอุปกรณ์ท่ียัง ไม่มีผู้ใดเคยท�ำมาก่อน เพราะของเดิมหรือท่ีมีจ�ำหน่ายในท้องตลาด ถ้าผู้ใดต้องการ ใช้ก็จะซ้ือมาเป็นชิ้น ๆ ตามขนาดท่ีต้องการ ถ้าต้องการท�ำหลายขนาดก็ต้องซื้อไม้จ�ำนวนช้ินเพ่ิมมากข้ึน ดังน้ันผู้วิจัยจึงผลิตอุปกรณ์ นติ ลูมน้ีขึน้ มาโดยการคดิ คน้ (Invention) อปุ กรณ์ทท่ี ำ� เองไดใ้ นครอบครวั ผลติ ช้นิ งานไดห้ ลากหลายรูปแบบ ราคาถกู และการพฒั นา รูปแบบ (Development) รูปแบบแปลกใหม่ ถอดเก็บได้ ประหยัดเนื้อท่ีในการเก็บ ดูแลรักษาง่าย มีกล่องบรรจุส�ำหรับเก็บช้ินงาน ให้เป็นระเบียบ สามารถใช้อุปกรณ์นี้แบบปรับขยายได้ในตัว อีกท้ังยังใช้ผลิตชิ้นงานได้มากกว่า 10 แบบในอุปกรณ์ชุดเดียว ประหยัด ค่าใช้จ่าย ต้นแบบอุปกรณ์การถักนิตลูมน้ีผ่านการทดลองใช้จากผู้เช่ียวชาญด้านงานถักทอ ปรับปรุงและพัฒนามาจนป็นอุปกรณ์ งานถกั นติ ลูมต้นแบบแบบปรบั ขยายได้  การน�ำไปใช้ประโยชน์ อปุ กรณง์ านถกั นติ ลมู นใี้ ชเ้ ปน็ อปุ กรณใ์ นการถกั ทอเปน็ ผา้ พนั คอ กระเปา๋ หมวก ฯลฯ ไดห้ ลากหลายรปู แบบ สรา้ งงาน สรา้ งอาชพี ให้กลมุ่ แมบ่ า้ นในชมุ ชน ประหยดั ต้นทุนในการผลิต โดยไมต่ ้องซ้ืออุปกรณ์ 10 ชิ้น อกี ทงั้ ยงั สามารถพฒั นาตอ่ ยอดในเชงิ พาณชิ ยไ์ ดเ้ พราะ ในวงการวิชาชีพถักทอยังมีผู้นิยมงานถักทออยู่เป็นจ�ำนวนมาก จึงสามารถผลิตเป็นอุปกรณ์เพ่ือจ�ำหน่ายได้ ส่วนนักเรียน นักศึกษา ใช้ฝึกปฏิบัติงานถักทอในวิชาเทคโนโลยีงานถักทอเพ่ือให้เกิดความเช่ียวชาญก่อนออกสู่ตลาดแรงงาน หรือเป็นเจ้าของกิจการด้าน งานถกั ทอได้  การคุ้มครองทรพั ย์สินทางปัญญา เลขท่ีค�ำขอรบั อนสุ ิทธบิ ตั ร 1503001778 ช่อื ผลงาน “เฟรมส�ำหรับงานถกั ทอชนดิ ปรบั ขนาดและถอดประกอบได”้  รางวลั ทไ่ี ดร้ ับ (ระดับนานาชาต)ิ 1. ITEX Gold Medal จากงาน 27th International Invention, Innovation & Tecnology Exhibition 2016 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซยี 2. Special Award จากงาน Indonesian Invention and Innovation Promotion Association (INNOPA)36

นักวริจะดยั ับทนีม่ าีผนลางชาานตวิ ิจปยั รไะดจร้�ำับปรี 2าง5ว5ัล9 ระบบคดั แยกสีของเนือ้ สับปะรดในอตุ สาหกรรมสบั ปะรดกระป๋อง Pineapple’s Color Separation System for Pineapple Canning Industry ชอ่ื เจ้าของผลงาน ดร.ฉตั รชัย ศภุ พทิ กั ษ์สกุล หน่วยงาน คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี เบอร์โทรศัพท์ (มือถือ) : 08 6700 7212 E-mail: [email protected] ทีม่ าของผลงาน จากกระบวนการผลติ สับปะรดกระป๋อง จะใช้การดสู ีจากสายตาคนในการแยกระดับความสุกของเน้ือสบั ปะรดก่อนบรรจกุ ระปอ๋ ง เพื่อให้เน้ือสับปะรดในกระป๋องมีระดับสที ใี่ กล้เคยี งกนั ดว้ ยเหตทุ ส่ี บั ปะรดในลกู เดยี วกนั ในสว่ นหวั และทา้ ยในลกู เดยี วกนั มคี วามสกุ ไมเ่ ทา่ กนัและในกระบวนการนตี้ อ้ งใชค้ นงานเปน็ จำ� นวนมากตามสายการผลติ ทำ� ใหโ้ รงงานตอ้ งแบกรบัคา่ ใชจ้ า่ ยในรปู คา่ แรง คา่ ลว่ งเวลา และคา่ สวดั กิ ารตา่ ง ๆ เปน็ จำ� นวนมาก ประกอบกบั รฐั บาลมีนโยบายเพิ่มค่าแรงข้ันต่�ำท�ำให้ผู้ผลิตต้องแบกรับภาระเพิ่มข้ึนจนอาจน�ำสู่ต้นทุนท่ีเพ่ิมข้ึนและเป็นข้อจ�ำกัดด้านการแข่งขันจากบรรดาผู้ส่งออกในระดับภูมิภาคเดียวกันที่มีค่าแรงถูกกว่า จากปัญหาที่กล่าวมาเป็นท่ีมาของการประดิษฐ์เคร่ืองต้นแบบชุดอุปกรณ์คัดแยกระดับความสุกของเนื้อสับปะรดโดยใช้ระดับสีส�ำหรับอุตสาหกรรมสับปะรดกระป๋องเพอ่ื เพิ่มประสทิ ธภิ าพกระบวนการผลิต โดยน�ำเอาเทคโนโลยกี ารประมวลผลภาพและระบบการตรวจรู้ด้วยกล้อง (Machine Vision system) มาประยุกต์ใช้ช่วยในการคัดแยกระดับสีความสุกของเนื้อสับปะรด และส่งสัญญาณการตรวจวัดระดับสีมาสั่งการให้ชุดคัดแยกสีท�ำการแยกสรี ะดับของเนื้อสบั ปะรด ซึง่ สามารถแบ่งระดบั ความสุกได้สามระดับ คือ ดิบ สกุและสุกมาก ความเปน็ นวัตกรรม/ลกั ษณะเด่นของผลงาน 1. การตรวจวดั ระดบั ความสกุ ของเนอ้ื สบั ปะรดอตั โนมตั โิ ดยใชร้ ะดบั สี อกี ทง้ั สามารถปรับตงั้ ระดบั การตรวจวัดระดับสไี ด้ 2. สามารถน�ำไปติดต้ังในกระบวนการผลิตสับปะรดกระป๋องในส่วนกระบวนการคดั แยกระดบั สีกอ่ นบรรจุกระป๋อง 3. สามารถคดั แยกระดับความสุกของเน้ือไดส้ ามระดับ คือ ดบิ สุก และสุกมาก การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ เนอ่ื งจากผลงานวจิ ยั ไดผ้ ลการทดสอบกบั เนอ้ื สบั ปะรดจรงิ เปน็ ทน่ี า่ พอใจในระดบั หนง่ึยงั ตอ้ งมกี ารพฒั นา และทำ� การทดลองใชง้ านจรงิ ในโรงงาน จงึ ยงั ไมไ่ ดน้ ำ� ไปใชใ้ นเชงิ พาณชิ ย์เพราะถ้าเป็นระบบจริงต้องใช้วัสดุเป็นเกรดท่ีใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร ในเบ้ืองต้นเครื่องต้นแบบสามารถทำ� งานได้ตามวตั ถุประสงค์ของงานวิจยั การค้มุ ครองทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา อยูร่ ะหวา่ งดำ� เนินการ รางวัลท่ไี ด้รบั (ระดับนานาชาต)ิ ITEX Gold MEDAL และ Special Prize จาก Association “Russian House for International Scientific andTechnological Cooperation” จากงาน 27th International & Innovation Exhibition (ITEX 2016) ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ประเทศมาเลเซีย 37

นระักดวับจิ นยั าทนี่มาผี ชาลตงาิ ปนรวะจิ จยั ำ� ไปดี ร้ 2บั 5ร5า9งวัล กรนี ไลนบ ล็อก : บล็อกกอผนงั มวลเบาสาํ หรับอาคารเขียว Green Line Block: Light Weight Masonry Block for Green Building ชอื่ เจา้ ของผลงาน นายประชุม ค�ำพุฒ หน่วยงาน คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี เบอร์โทรศัพท์ (มอื ถือ) : 08 1665 4755 E-mail: [email protected] [email protected]  ทม่ี าของผลงาน โรงงานพลาสติกและโรงงานเซรามิกมีเศษวัสดุเหลือท้ิงอยู่เป็นจ�ำนวนมาก ทม่ี ปี ญั หาในการกำ� จดั ทง้ิ ทง้ั สนิ้ เปลอื งคา่ ใชจ้ า่ ยในการขนสง่ และสนิ้ เปลอื งพลงั งาน อีกทั้งถ้าก�ำจัดท้ิงอย่างไม่ถูกต้องก็จะเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การน�ำวัสดุ เหลือท้ิงท่ีมีปัญหาดังกล่าวมาสร้างมูลค่าเพ่ิม ท�ำให้เกิดประโยชน์ในการประหยัด พลังงานและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมน้ัน เป็นการแก้ไขปัญหาที่ยั่งยืนและคุ้มค่า มากท่ีสดุ  ความเปน็ นวัตกรรม/ลกั ษณะเด่นของผลงาน กรนี ไลนบ์ ลอ็ ก:บลอ็ กกอ่ ผนงั มวลเบาสำ� หรบั อาคารเขยี วเปน็ อฐิ บลอ็ กมวลเบา ส�ำหรับใช้ก่อผนังประหยัดพลังงานและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยการใช้วัสดุเหลือ ทิ้งจากโรงงานพลาสติกและโรงงานเซรามิกมารีไซเคิลบดย่อยเป็นวัสดุผสมหลัก ในปรมิ าณทเ่ี หมาะสม ขนึ้ รปู เปน็ ผลติ ภณั ฑอ์ ฐิ บลอ็ ก ผา่ นเกณฑม์ าตรฐานผลติ ภณั ฑ์ อุตสาหกรรม มีคุณสมบัติเด่นที่น้�ำหนักเบากว่าอิฐบล็อกปกติถึง 2 เท่า เล่ือย ตัด เจาะ ตอกตะปู ไดส้ ะดวก ไมล่ ามไฟ เป็นฉนวนปอ้ งกนั ความร้อนและเสียงท่ดี ี เหมาะส�ำหรับน�ำไปใช้เป็นวัสดุก่อสร้างอาคารเขียวที่ได้รับความนิยมเพ่ิมมากข้ึน ในปจั จบุ ัน  การน�ำไปใช้ประโยชน์ ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับชมุ ชนและผู้สนใจท่ัวไป และสญั ญาอนุญาตให้ใชส้ ิทธิกับภาคเอกชน เพ่อื ขยายผลสเู่ ชิงพาณิชย์  การคมุ้ ครองทรพั ย์สินทางปัญญา เลขท่ีค�ำขอรบั สทิ ธบิ ัตร 1001001077 เลขทปี่ ระกาศโฆษณาสิทธิบตั ร 125099 เร่ือง คอนกรตี บลอ็ กผสมเศษผลิตภัณฑพ์ ลาสติกเอทธิลนี ไวนิลอะซิเตท  รางวลั ทไี่ ด้รบั (ระดับนานาชาติ) 1. ITEX GOLD MEDAL จากงาน 27th International Invention, Innovation & Technology Exhibition 2016 ณ กรงุ กัวลาลมั เปอร์ ประเทศมาเลเซีย 2. SPECIAL PRIZE จาก Korea Invention Promotion Association, จากงาน 27th International Invention, Innovation & Technology Exhibition 2016 ณ กรงุ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซยี38

นกั วริจะดยั ับทนีม่ าผี นลางชาานตวิ ิจปัยรไะดจร้ำ� บัปรี 2าง5ว5ัล9 ผนังประกอบเสร็จเพ่อื เป็นฉนวนความร้อนและปอ้ งกนั เสยี งคณุ ภาพสูง Build-in wall is insulation and high quality soundproof ช่ือเจ้าของผลงาน นายประชุม คำ� พุฒ หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี เบอรโ์ ทรศพั ท์ (มอื ถอื ) : 08 1665 4755 E-mail: [email protected] [email protected] ท่มี าของผลงาน ผนงั ส�ำเรจ็ รูปในปัจจุบนั ส่วนใหญ่ท�ำการเทหล่อจากโรงงานซ่ึงมีน�้ำหนักมากต้องใช้เคร่ืองจักรราคาสูงและแรงงานคนจ�ำนวนมากในการติดตั้ง และเมื่อติดต้ังแล้วต้องท�ำการทาสีเพ่ือความสวยงาม แม้ว่าในปัจจุบันจะมีผนังส�ำเร็จรูปมวลเบาแบบฟองอากาศ-อบไอน้�ำ ที่แข็งแรงและน�้ำหนักเบาออกจ�ำหน่ายแล้วก็ตามแต่กระบวนการผลิตก็ยังมีต้นทุนท่ีสูง และยังต้องท�ำการทาสีผิวหน้าเช่นเดิมการผลิตผนังส�ำเร็จรูปที่มีต้นทุนต่�ำ และมีคุณสมบัติเด่นด้านการเป็นฉนวนความร้อนในตัว อีกทั้งไม่ต้องทาสีตกแต่งผิวหน้า จะเป็นการตอบโจทย์อาคารส�ำเร็จรูปในปจั จุบัน ความเปน็ นวตั กรรม/ลกั ษณะเด่นของผลงาน ผนังประกอบเสร็จเพ่ือเป็นฉนวนความร้อนและป้องกันเสียงคุณภาพสูงมีลักษณะเป็นผนังส�ำเร็จรูปที่ภายในผนังเป็นฉนวนความร้อน 3 ชั้น โดยชั้นที่ 1เป็นช่องอากาศ ชั้นที่ 2 เป็นโฟม และช้ันท่ี 3 เป็นช่องอากาศ มีคุณสมบัติเด่นหลายประการด้วยกัน คือ การเป็นฉนวนความร้อนและฉนวนป้องกันเสียงท่ีดีกว่าการติดตง้ั ฉนวนความรอ้ นทัว่ ไป อกี ท้ังติดตงั้ ง่าย น้�ำหนกั เบา เหมาะกบั การเลือกใช้เปน็ ผนงั สำ� เรจ็ รปู ภายนอกอาคาร สำ� หรบั หา้ งสรรพสนิ คา้ คอนโดมเิ นยี ม บา้ นจดั สรรบ้านพักอาศัยท่ัวไป ที่ต้องการก่อสร้างเร็ว และเลือกใช้เป็นผนังตกแต่งภายในไดอ้ กี ดว้ ย การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ ถา่ ยทอดเทคโนโลยใี หก้ บั ภาคเอกชนนำ� ไปใชผ้ ลติ และจำ� หนา่ ยเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ผนงั ส�ำเรจ็ รูปส�ำหรบั ใช้งานภายนอกและภายในอาคาร การคุม้ ครองทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา อยูร่ ะหวา่ งการดำ� เนินการ รางวัลทไี่ ด้รบั (ระดบั นานาชาต)ิ ITEX SILVER MEDAL จากงาน 27th International Invention, Innovation & Technology Exhibition 2016ณ กรุงกัวลาลมั เปอร์ ประเทศมาเลเซีย 39

รนะักดวับจิ นัยาทนม่ี าีผชาลตงาิ ปนรวะิจจัยำ� ไปดี ร้ 2บั 5ร5า9งวัล เลส อสี มอร์ : โมบายคอนเทนเนอรแ์ นวตงั้ รักษโ์ ลกสาํ หรบั พน้ื ทีแ่ คบ Less is more: Vertical mobile container is preservative earth for narrow area ช่อื เจ้าของผลงาน นายธงเทพ ศิรโิ สดา หนว่ ยงาน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี เบอร์โทรศัพท์ (มอื ถอื ) : 08 5503 2236 E-mail: [email protected]  ท่มี าของผลงาน คอนเทรนเนอร์ที่ตกแต่งภายในเรียบร้อยแล้ว น�ำมาปรับการวางจากเดิม เปน็ แนวนอนหอ้ งเดยี ว ใหม้ ลี กั ษณะเปน็ แนวตงั้ แบง่ ไดเ้ ปน็ 3 ชน้ั ราคาถกู โดยเนน้ ส่วนประกอบที่น้อยแต่ได้ผลมาก ตรงไปตรงมา ตัดทอนสิ่งท่ีไม่จ�ำเป็นออกไป เรียบง่ายแต่ดูดี ภายในติดต้ังฉนวนความร้อนและป้องกันเสียงคุณภาพสูง เปน็ มิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม ติดต้งั ใช้สอยในพืน้ ที่แคบไดอ้ ย่างค้มุ คา่ เหมาะกับทำ� เป็น อาคารส�ำนกั งานเคลื่อนท่ี บ้านพักอาศัยสำ� หรับครอบครัวผ้มู รี ายไดน้ ้อย รีสอร์ท รา้ นอาหาร เป็นตน้  ความเป็นนวัตกรรม/ลักษณะเด่นของผลงาน ตดั ทอนสง่ิ ทไ่ี มจ่ ำ� เปน็ ออกไป เรยี บงา่ ยแตด่ ดู ี ภายในตดิ ตง้ั ฉนวนความรอ้ น และป้องกันเสียงคุณภาพสูง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ติดต้ังใช้สอยในพื้นท่ีแคบ ได้อยา่ งคุม้ ค่า  การน�ำไปใชป้ ระโยชน์ อาคารส�ำนักงานเคล่ือนท่ี บ้านพักอาศัยส�ำหรับครอบครัวผู้มีรายได้น้อย รสี อรท์ ร้านอาหาร  การคุม้ ครองทรพั ย์สนิ ทางปัญญา อยรู่ ะหวา่ งดำ� เนนิ การ  รางวัลท่ีได้รบั (ระดับนานาชาต)ิ ITEX BRONZE MEDAL จากงาน 27th International & Innovation Exhibition (ITEX 2016) ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย40


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook