Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ต.ดงมะไฟ - คู่มือฐานฯ (เล่ม)

ต.ดงมะไฟ - คู่มือฐานฯ (เล่ม)

Published by suphatchaya_chai, 2022-06-15 04:54:28

Description: ต.ดงมะไฟ - คู่มือฐานฯ (เล่ม)

Search

Read the Text Version

คูม่ ือฐานการเรยี นรูท้ ่ี 9 ฐานการคดั แยกขยะ ก คำนำ ค่มู อื ประจำฐานการเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศึกษา ฐานการเรียนร้ทู ี่ 9 การคดั แยกขยะ คมู่ ือฐานการเรยี นรู้เลม่ น้ีจัดทำข้ึนเพ่ือใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในฐานการเรยี นรูท้ ่ี 9 การคัดแยกขยะ ของกศน.อำเภอสวุ รรณคูหา เพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และเป็น คู่มือสำหรับผู้เรียนเพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้ในกิจกรรมการเรียนรู้ ประจำฐานการเรียนรู้ที่ 9 การคัดแยกขยะ ผู้จัดทำหวังเปน็ อย่างย่งิ วา่ คู่มอื ฐานการเรียนร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาเล่มน้ี จักเป็น ประโยชนต์ อ่ ผเู้ รียน ผสู้ อน และผทู้ สี่ นใจ และสามารถนำไปปรับใช้ในชวี ติ ประจำวันได้ กศน.ตำบลดงมะไฟ

คูม่ ือฐานการเรียนรูท้ ่ี 9 ฐานการคดั แยกขยะ ข สารบญั หน้า รายการ ก ข คำนำ 1 สารบัญ 3 ศาสตร์พระราชา 5 หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 6 รปู แบบการขบั เคลอ่ื นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสฐู่ านการเรยี นรู้ 7 แผนภมู ิการขับเคลอื่ นหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 8 แผนผงั กศน.อำเภอสุวรรณคูหา 9 แผนผัง ฐานการเรยี นรู้ 10 ขัน้ ตอนการเรียนร้ฐู านการเรียนรู้ 11 ใบลงทะเบียนประจำฐานการเรียนรู้ 14 แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ กิจกรรม “การคดั แยกขยะ” 16 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 26 ใบความรู้ 28 ใบงาน 30 แบบทดสอบหลังเรียน 31 แนวทางเฉลยใบงานท่ี 2 33 เฉลยแบบทดสอบก่อน-หลงั เรียน แบบสอบถามความถึงพอใจการใช้ฐานการเรยี นรู้ 34 คณะทำงาน

คูม่ ือฐานการเรียนรทู้ ี่ 9 ฐานการคดั แยกขยะ 1 ศาสตร์พระราชา จากนภา ผา่ นภูผา สู่มหานที ศาสตร์พระราชา คอื แนวทางการพฒั นาของในหลวงรัชกาลท่ี 9 ทม่ี คี วามลมุ่ ลกึ รอบดา้ น มองการณ์ไกล และเนน้ ความยัง่ ยนื ยาวนาน กอ่ นทปี่ ระชาคมโลกจะต่ืนตวั ในเร่ืองน้ี เป็นแนวทางการพฒั นาท่มี ุ่งยกระดับ คุณภาพ ชีวิตของคนไทยทุกหมู่เหล่า องค์ประกอบของศาสตร์พระราชา คือ การศึกษาและสุขภาพการ เพิ่มผลิตภาพการ ผลิต การค้นคว้าวิจัย การบริหารความเสี่ยง การอนุรักษ์ธรรมชาติ และปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง แต่ละ องค์ประกอบล้วนมสี ่วนช่วยยกระดับคุณภาพชวี ติ ของทุกผ้ทู ุกคน โดยเฉพาะคนจนผู้ยากไร้ หลักการทำงานตามศาสตร์พระราชาเข้าใจ เขา้ ถงึ พัฒนา เป็นวธิ กี ารแห่งศาสตรพ์ ระราชา เพือ่ การ พัฒนาทีย่ ง่ั ยนื ท่พี ระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชทรงใชเ้ ป็นวธิ ีการทรงงานมาตลอด รัชสมยั ศาสตร์พระราชา มีนัยยะกว้างขวางมาก ศาสตร์แปลว่า ความรู้ที่เป็นระบบ เชื่อถือได้ ผ่านการพิสูจน์ มาแล้ว ความรู้ของพระเจ้าแผ่นดินพระองค์นี้ มีทั้งด้านที่เป็นวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ทั้งวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ทั้ง สังคมศาสตร์ ทั้งมานุษยวทิ ยา มนุษยศาสตร์ คือ มีทุกมิติ ถ้าเราติดตาม/ดูงาน ที่พระองค์ท่านทรงงานมามากกวา่ 70 ปี พระองค์ทรงปฏบิ ัติเป็นตัวอย่างมาให้ดูท้งั หมด 1,500 กวา่ แห่ง มีทกุ ศาสตร์ มีทั้งจริยธรรมศาสตร์ ศาสนา มี ทกุ มติ ิ หลกั ในการทรงงานของในหลวง (ศาสตรพ์ ระราชา) 23 ขอ้ ขอ้ ท่ี 1 จะทำอะไรตอ้ งศึกษาข้อมูลใหเ้ ปน็ ระบบ อดีตทำอะไรมาบา้ ง ท้งั เอกสาร สอบถามเจ้าหน้าที่และชาวบ้าน เพอ่ื นำข้อมลู ไปใชป้ ระโยชน์ได้จริงๆ ขอ้ ที่ 2 ระเบดิ จากภายใน สรา้ งความเข้มแข็งจากภายในใหเ้ กดิ ความเข้าใจ และอยากทำ ข้อท่ี 3 แก้ปัญหาจากจดุ เล็ก มองภาพรวมก่อนเสมอ แต่การแกป้ ัญหาตอ้ งเรมิ่ จากจุดเลก็ ๆ ไมเ่ รม่ิ ทีเดียวใหญ่ ๆ ข้อที่ 4 ทำตามลำดับขั้น เร่มิ ทำจากความจำเปน็ ก่อน ส่ิงท่ีขาดคือสิ่งท่ีจำเป็น ข้อที่ 5 ภูมสิ งั คม ภมู ศิ าสตร์ สงั คมศาสตร์ การทำงานทกุ อย่าง ตอ้ งคำนงึ ถึงภมู ศิ าสตรว์ า่ อยู่แถบไหน อากาศเป็น อย่างไร ตดิ ชายแดน ติดทะเล และ สังคมของเราเปน็ อยา่ งไร นบั ถอื ศาสนาอะไร คนนิสยั ใจคอเป็นอยา่ งไร รวม ไปถึงพวกเรากนั เองดว้ ย

ค่มู อื ฐานการเรยี นรทู้ ี่ 9 ฐานการคดั แยกขยะ 2 ข้อที่ 6 ทำงานแบบองค์รวม โดยคิดความเชื่อมโยง ทรงมองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและมีแนวโน้มทางแก้ไขอย่าง เชื่อมโยง องคร์ วม <-------------> ครบวงจร เชื่อมโยง “เดด็ ดอกไม้สะเทอื นถงึ ดวงดาว” ขอ้ ท่ี 7 ไม่ตดิ ตำรา ความรทู้ ว่ มหวั เอาตัวไม่รอด บางครั้งเรายดึ ทฤษฎจี นเกินไปทำอะไรไมไ่ ดเ้ ลย ข้อที่ 8 ประหยดั เรยี บงา่ ย ใช้เงนิ น้อย แตไ่ ดป้ ระโยชน์สูงสุด ทำได้เอง หาไดเ้ องในทอ้ งถ่ิน ใช้เทคโนโลยงี า่ ยๆ ข้อท่ี 9 ทำให้งา่ ย ทำอะไรให้ง่ายๆ ทำให้ชีวติ งา่ ย โปรดทำสิ่งยากๆ ใหก้ ลายเปน็ ส่ิงทง่ี ่ายๆ ข้อที่ 10 การมีส่วนรว่ ม เปดิ โอกาสให้มีการแสดงความคิดเหน็ ข้อที่ 11 ต้องยึดประโยชน์ส่วนรวม จากพระราชดำรัส ใครต่อใครชอบบอกให้นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม ให้ ส่วนรวมคือ การช่วยตวั เองดว้ ย เพราะเม่ือสว่ นรวมได้ประโยชน์ เราเองก็ไดป้ ระโยชน์ ข้อที่ 12 บรกิ ารทีจ่ ดุ เดียว วนั นเ้ี ราพูด วันสต๊อปเซอร์วิส แต่ในหลวงตรัสไวเ้ กนิ 20 ปีมาแล้ว ข้อที่ 13 ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ มองธรรมชาติให้ออก กักน้ำตามลำธารช่วยให้ป่าสมบูรณ์ช่วยให้ชาวเขามี อาชีพ ขอ้ ที่ 14 ใช้อธรรมปราบอธรรม เช่น เอาผักตบชวาท่เี ปน็ ปัญหาของเราในประเทศ มากำจดั นำ้ เสีย ขอ้ ท่ี 15 ปลูกป่าในใจคน ต้องปลูกป่าทีจ่ ิตสำนึกก่อน ต้องให้เห็นคณุ คา่ กอ่ นทจ่ี ะลงมือทำ ขอ้ ที่ 16 ขาดทนุ คอื กำไร อย่ามองท่กี ำไรขาดทุนทเี่ ปน็ ตัวเงนิ มากจนเกินไป บางครง้ั เราไดก้ ำไรจากการขาดทนุ - ลงทนุ มหาศาล ได้ธรรมชาติกลับคนื มา - ลงทนุ มหาศาล ไดล้ ูกคนื มา - ลงทุนมหาศาล ได้คนดๆี กลับมา - ลงทุนมหาศาล ได้ความรู้ไว้คอยช่วยเหลอื ข้อที่ 17 การพึ่งตนเอง ในหลวงทรงสอนให้พวกเราพึ่งตนเอง เพราสังคมบริโภค จะเป็นทาสของผู้ผลิต การ พึ่งตนเองไดท้ ำให้ไม่ตอ้ ง เปน็ ทาสใคร เม่ือแกป้ ัญหาเฉพาะหน้าแล้วพยายามพงึ่ ตนเองให้ได้ ขอ้ ท่ี 18 พออย่พู อกนิ พออยูพ่ อกนิ กอ่ น แลว้ คอ่ ยพฒั นา เราขอให้บำบัดใหไ้ ด้กอ่ น==> ประคบั ประคอง==> เป็น ที่ปรกึ ษา==>เป็น ผู้ช่วยเหลอื ผู้อื่นต่อไป ข้อที่ 19 เศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางการต่อสู้รับมือความเปลี่ยนแปลงของโลก การขจัดความหิวโหย ที่ต้อง คำนงึ ถงึ เร่ืองความพอดโี ดย อาศัยหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ข้อที่ 20 ความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกัน คนที่มีความรู้มาก แต่โกง สู้คนที่ไม่เก่ง แต่ดีไม่ได้ วีรบุรุษ วีรสตรีคือ คณุ ธรรม ท่ีทำประโยชน์เพ่ือ ผู้อืน่ พวก เราทที่ ำงานยาเสพติด คือ วรี บุรุษ วีรสตรีผูห้ นง่ึ ขอ้ ท่ี 21 ทำงานอยา่ งมีความสุข “ทำงานกบั ฉัน ฉนั ไม่มอี ะไรจะให้ ฉนั มีแตค่ วามสขุ ท่รี ่วมกันในการทำประโยชน์ ใหก้ บั ผู้อนื่ เท่านัน้ ” ทำอะไรตอ้ ง มีความสุขดว้ ย ขอ้ ท่ี 22 ความเพียร กว่า 60 ปที ที่ รงงาน ในหลวงไมเ่ คยทรงทอ้ ถอย ไมม่ กี ารลาพักรอ้ น หยุดงานสักเวลาเดยี ว ข้อท่ี 23 รู้ รัก สามัคคี คิดเพ่อื งาน รู้ = ตอ้ งรู้ปจั จัย รปู้ ัญหา รทู้ างออก ของปญั หา รัก = เมอ่ื รู้แลว้ ต้องเกิดความ อยาก สามัคคี = ร่วมมอื ลงมอื ปฏบิ ัติเพื่อเกิดพลงั ท่มี า: http://r01.ldd.go.th/spb/News61/ContinuetheworkthatFatherdid/KMRama9.pdf

คู่มอื ฐานการเรยี นรูท้ ่ี 9 ฐานการคดั แยกขยะ 3 หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกจิ พอเพยี ง (Sufficiency Economy) หมายถึง ปรชั ญาท่พี ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงมี พระราชดำรัสชี้แนะแนวทางที่ควรดำรงอยู่และปฏิบัติตนแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี ตั้งแต่ ก่อนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ 2550 ให้ใช้เป็นแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้นวิกฤต และสามารถดำรงอยู่ได้ อย่าง มนั่ คงและยง่ั ยนื ภายใต้ความเปลีย่ นแปลงตา่ ง ๆ กรอบแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักคิดและหลักปฏิบัติที่ชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของ ประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ ครอบครัว ชุมชน จนถึงหน่วยงานภาครัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ ดำเนนิ ไปในทางสายกลาง เพอื่ ใหพ้ อมีพอกนิ พอใช้ สามารถพึง่ ตนเองได้ ให้คนในสงั คมสามารถอย่รู ่วมกนั ได้ อยา่ ง สันติสุข เพื่อให้คนกับธรรมชาตอิ ยู่ร่วมกันได้อยา่ งสมดุล และให้แต่ละคนดำรงตนอย่างมีศักดิ์ศรี บนรากเหง้า ทาง วัฒนธรรมสมดุลและยั่งยนื โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้กา้ วทนั โลกยคุ โลกาภิวัฒน์ เปา้ หมายของหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มุง่ ใหเ้ กดิ ความสมดลุ และพร้อมต่อการรองรบั การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็ และกวา้ งขวาง ทัง้ ทางวัตถุ สังคม สง่ิ แวดล้อม และวฒั นธรรม องค์ประกอบหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกจิ พอเพียงประกอบด้วยหลักคิดประกอบการตัดสินใจและปฏิบัติ เพอื่ นำไปสู่ความสมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลย่ี นแปลง 2 3 4 คือ 2 เง่อื นไข 3 หลักการ 4 มติ ิ ดังนี้ ก่อนลงมือปฏิบัติ ใด ๆ นั้นต้องมีเงื่อนไขสำคัญที่จะทำให้การตัดสินใจและการกระทำ เป็นไปอย่าง พอเพยี ง จะต้องอาศยั ทั้งคุณธรรมและความรู้ ดังน้ี ความรู้ ประกอบด้วยการฝึกตนให้มีความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่าง รอบด้าน มีความ รอบคอบ และความระมดั ระวังที่จะนำความรตู้ า่ ง ๆ เหลา่ น้นั มาพิจารณาใหเ้ ชื่อมโยงกัน คุณธรรม ทจ่ี ะตอ้ งสร้างเสริมใหเ้ ป็นพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ ประกอบดว้ ย ด้านจติ ใจ คอื การ ตระหนัก ในคุณธรรม รู้ผิดชอบชั่วดี ซื่อสัตย์สุจริต ใช้สติปัญญาอย่างถูกต้องและเหมาะสมในการดำเนิน ชีวิต และด้านการ กระทำ คือมีความขยันหมั่นเพียร อดทน ไม่โลภ ไม่ตระหนี้ รู้จักแบ่งปัน และรับผิดชอบ ในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน สังคม ระหว่างดำเนินการ ใช้ 3 หลักการ เป็นองค์ประกอบในการทำกิจกรรม คือ ความพอประมาณ ความมี เหตผุ ล และมภี มู ิคมุ้ กนั ในตวั เองทดี่ ี โดยมีความหมายดงั นี้ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีต่อความจำเป็น และเหมาะสมกับฐานะของตนเอง สังคม สง่ิ แวดล้อม รวมทงั้ วฒั นธรรมในแต่ละท้องถ่นิ ไมม่ ากเกินไป ไม่น้อยเกินไป และต้องไม่เบียดเบยี น 6 ตนเองและ ผอู้ ่นื

คมู่ ือฐานการเรยี นร้ทู ่ี 9 ฐานการคดั แยกขยะ 4 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจดำเนินการเรื่องต่าง ๆ อย่างมีเหตุผลตามหลักวิชาการ หลัก กฎหมายหลักศีลธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมทีด่ ีงาม โดยพิจารณาจากเหตุปจั จัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถงึ ผลทีค่ าดว่าจะเกิดข้นึ จากการกระทำน้นั ๆ อยา่ งรอบรูแ้ ละรอบคอบ มภี มู คิ มุ้ กนั ในตวั ทีด่ ี หมายถงึ การเตรียมตัวให้พร้อมรับตอ่ ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง ในด้านตา่ ง ๆ ไม่ว่าจะเปน็ ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม ส่ิงแวดล้อม และวฒั นธรรม เพื่อให้สามารถปรับตัวและ รบั มอื ได้อย่างทันท่วงที หลังจากดำเนินการ ผู้เรียนนำเงื่อนไขมาประกอบการตัดสินใจลงมือปฏิบัติ จึงก่อให้เกิดความก้าวหน้า อย่างสมดุลและมน่ั คงนำไปสคู่ วามยง่ั ยืนพรอ้ มรบั การเปลี่ยนแปลงทั้ง 4 มิติ ดงั นี้ เศรษฐกิจ/วัตถุ ใช้วัตถุสิ่งของ เงิน ทรัพยากรอย่างประหยัด รู้คุณค่า เกิดประโยชน์และคุ้มค่า บริหาร การเงนิ ได้อยา่ งเหมาะสม สังคม มีความรู้ในการแบ่งหน้าที่อย่างเหมาะสม มีความรู้ในการปฏิบัติตนที่จะทำงานร่วมกบั ผู้อืน่ ทำงาน ร่วมกันภายในกลุ่มจนสำเร็จและมีความสุข มีความรับผิดชอบต่อการทำงานของกลุ่ม ยอมรับความคิดเห็น ซึ่งกันและกัน มีความเสียสละ ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน รู้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน มีจิตอาสา มีความมุ่งมั่นในการทำงาน มีทักษะในการประกอบอาชีพ ห่างไกลยาเสพติด มีการแบ่งปัน ให้ความ ชว่ ยเหลอื สิ่งแวดล้อม มีความรู้ในการดูแลรักษาอย่างถูกต้อง รักษาความสะอาดทุกครั้งหลังจากทำกิจกรรมเสร็จ สิ้น มีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดเป็นระเบียบ การเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า มีจิตสำนึกร่วม อนุรักษ์ นำ้ ดิน ปา่ อากาศ พลังงาน การคดั แยกขยะ และการนำกลับมาใชป้ ระโยชน์อย่างคมุ้ คา่ ชมุ ชนสะอาด น่า อยนู่ า่ อาศัย วัฒนธรรม เปน็ การอนุรกั ษป์ ระเพณีวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ และชุมชน สืบสานรากเหง้าของความเปน็ ไทย การ ยดึ ถือและปฏบิ ัตติ ามหลักคำสอนของศาสนา เชอ่ื มโยงจากอดตี สปู่ ัจจบุ ันสง่ ผลตอ่ อนาคต สืบสานเอกลกั ษณ์เฉพาะ พ้นื ที่ และความเป็นไทย มีการส่งเสรมิ อยา่ งต่อเน่ือง เคารพกฎระเบยี บของโรงเรยี นหรือชุมชน เช่น ปฏิบัติตามกฎ จราจร ปฏิบัตติ ามกฎลกู เสอื เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่เป็นทั้งแนวคิด หลักการ และแนวทางปฏิบัติตนของแต่ละบุคคล และ องค์กร โดยคำนึงถึงความพอประมาณกับศักยภาพของตนเอง และสภาวะแวดล้อม ความมีเหตุมีผล และการมี ภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง โดยใช้ความรู้อย่างถูกหลักวิชาการ ด้วยความรอบคอบและระมัดระวัง ควบคู่ไปกับการมี คุณธรรม ซือ่ สัตยส์ จุ ริต ไมเ่ บียดเบียนกัน แบ่งปนั ชว่ ยเหลอื ซง่ึ กันและกนั และรว่ มมือ ปรองดองกนั ในสังคม ซึ่งจะ ชว่ ยเสริมสรา้ งสายใยเช่ือมโยงคนในภาคส่วนตา่ ง ๆ ของสงั คมเขา้ ด้วยกัน สร้างสรรค์พลงั ในทางบวก นำไปสู่ความ สามคั คี การพัฒนาทสี่ มดุลและยง่ั ยนื พร้อมรบั ตอ่ การ เปล่ียนแปลงภายใตก้ ระแสโลกาภวิ ฒั นไ์ ด้

คมู่ ือฐานการเรยี นรทู้ ี่ 9 ฐานการคัดแยกขยะ 5 รูปแบบการขบั เคล่อื นหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่ฐานการเรียนรู้ กศน.อำเภอสวุ รรณคูหา โดยเริ่มจากการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา โดยสถานศึกษาได้ตั้ง คณะกรรมการ ขบั เคลอ่ื นหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โดยมีหนา้ ทรี่ ับผิดชอบในการสร้าง ความเข้าใจ หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้แก่ผู้เรียน ผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษาภายในสถานศึกษา เพื่อให้ผู้เรียน เข้าใจ และครูสามารถนำความรู้มาบูรณาการกับแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อนำสู่ห้องเรียนทุกรายวิชา โดย สถานศกึ ษามนี โยบายให้ครผู สู้ อนบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสบู่ ทเรียน และผ้เู รียน สามารถถอด บทเรียนและนำหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน และ สังคมได้ ทั้งสามารถแนะนำ ให้ความรู้แก่ภาคีเครือข่าย ประชาขนทั่วไปและผู้ที่สนใจได้ โดยมุ่งเน้นให้เกิดผลกับ ผเู้ รียนอย่างยง่ั ยืนจนเปน็ วิถีชีวติ เงือ่ นไข ความรู้ เงือ่ นไข คณุ ธรรม เศรษฐกิจ พอเพียง Input รอบรู้ในงานวิชาการ (ตระหนกั ในคณุ ธรรมพืน้ ฐาน มคี วามซ่ือสัตย์ รอบคอบในการนำความรู้ไปใช้ สจุ รติ ขยัน ประหยัด อดทน 2 เงื่อนไข 3 หลักการ ระมัดระวังในข้นั ตอนการปฏิบตั ิ มีความเพียร ใช้สติปญั ญาในการดำเนินชวี ติ ) 4 มติ ิ ทางสายกลาง => พอเพยี ง หลักคดิ พอประมาณ หลกั ปฏิบตั ิ Process เพ่ือ ความก้าวหนา้ มีเหตผุ ล มีภมู ิค้มุ กนั อย่างสมดุล ในตัวท่ดี ี และมัน่ คง Output นำสู่ นำสู่ ความสมดุลและพรอ้ มรับต่อการเปลี่ยนแปลงในด้าน ความยัง่ ยนื วัตถุ/เศรษฐกจิ สงั คม สงิ่ แวดล้อม และวัฒนธรรม

คู่มือฐานการเรียนรู้ที่ 9 ฐานการคดั แยกขยะ 6 แผนภมู กิ ารขับเคลอ่ื นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่ฐานการเรียนรู้ กศน.อำเภอสุวรรณคหู า ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง คณะกรรมการขบั เคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตรสถานศึกษา รายวชิ า ฐานการเรยี นรู้ ผูเ้ รยี น คณะกรรมการประเมินผลการจดั กิจกรรม รายงานผลการจัดกจิ กรรม

ค่มู อื ฐานการเรยี นรู้ท่ี 9 ฐานการคัดแยกขยะ 7 แผนท่ีอำเภอสวุ รรณคูหา แผนผังอาคารสถานที่ กศน.อำเภอสุวรรณคูหา

คมู่ อื ฐานการเรียนรทู้ ี่ 9 ฐานการคัดแยกขยะ 8 แผนผงั ฐานการเรยี นรู้ ฐานการเรยี นรทู้ ่ี 1 หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอสุวรรณคูหา กศน.อำเภอสวุ รรณคหู า ฐานการเรยี นรู้ที่ 2 การปลกู ผักปลอดสารพิษ กศน.ตำบลสุวรรณคูหา ฐานการเรียนรทู้ ่ี 3 จติ อาสาปลกู ป่า เพื่อพ่อ เพ่ือแผน่ ดนิ กศน.ตำบลกดุ ผึง้ ฐานการเรยี นรทู้ ี่ 4 สวนพฤกษศาสตร์และอนุรักษ์พันธุกรรมพชื กศน.ตำบลนาดี ฐานการเรยี นร้ทู ี่ 5 สมนุ ไพรใกลต้ ัว (กัญชงและกัญชา) กศน.ตำบลนาสี ฐานการเรยี นรู้ที่ 6 การทำพานบายศรจี ากใบตอง กศน.ตำบลนาดา่ น ฐานการเรียนรู้ท่ี 7 ปุ๋ยอินทรีย์ กศน.ตำบลบา้ นโคก ฐานการเรียนรูท้ ่ี 8 ผลติ ภัณฑ์จากไม้ไผ่ กศน.ตำบลบญุ ทัน ฐานการเรียนร้ทู ่ี 9 การคดั แยกขยะ กศน.ตำบลดงมะไฟ ฐานการเรียนรู้ท่ี 10 สวนเกษตรพอเพยี ง วัดสวุ รรณาราม

คู่มอื ฐานการเรียนร้ทู ่ี 9 ฐานการคัดแยกขยะ 9 ข้นั ตอนการเรียนรู้ในฐานการเรยี นรู้ ........................................................................................ 1. ผู้เรยี นลงชอ่ื เขา้ ร่วมกจิ กรรมประจำฐาน 2. ผเู้ รียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน 3. ผ้เู รียนศกึ ษาเอกสาร ตำรา รปู ภาพ ปา้ ยนเิ ทศเกี่ยวกบั ฐานการเรยี นรู้ และเรียนรู้จากผู้สอนหรือวิทยากรประจำ ฐานการเรยี นรู้ 4. ผเู้ รียนรบั แบบบันทึกผลการศกึ ษาฐานการเรยี นรู้/ใบงาน 5. ผเู้ รยี นซักถามปัญหา วพิ ากษ์ และสรปุ รว่ มกนั กบั ผู้เรยี น ผู้สอนหรือวิทยากรประจำฐานการเรียนรู้ 6. ผ้เู รียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน 7. ผเู้ รียนตอบแบบสอบถามความพึงพอใจการเรียนรู้ในฐานการเรยี นรู้ 8. สิน้ สุดกระบวนการเรียนรู้ ..................................................................................

คู่มือฐานการเรียนรู้ที่ 9 ฐานการคัดแยกขยะ 10 ใบลงทะเบยี น ประจำฐานการเรียนรู้ที่ ........ ฐาน................................................................... 1. ช่อื - สกุล ................................................................................................................................................................ 2. เพศ  ชาย  หญิง  เพศทางเลือก (LGBTQ+) 3. อายุ  ตำ่ กวา่ 15 ปี  15 - 20 ปี  21 - 30 ปี  31 - 40 ปี  41 - 50 ปี  51 - 60 ปี  61 ปีขน้ึ ไป 4. ระดบั การศึกษา  ตำ่ กว่า ป.6  ป.6/ประถมศึกษา  ม.3 หรอื ม.ต้น  ม.6 หรอื เทยี บเท่า  ปวส./อนุปริญญา  ปรญิ ญาตรขี ้นึ ไป 5. อาชพี  นกั เรียน/นักศกึ ษา  รับจา้ ง  เกษตรกร  ค้าขาย  อนื่ ๆ (ระบ)ุ ............................................................................................. 6. กิจกรรมท่เี รยี นร.ู้ .........................................................................................................................

คู่มือฐานการเรียนรทู้ ี่ 9 ฐานการคดั แยกขยะ 11 แผนกจิ กรรมฐานการเรยี นรู้ที่ 9 ช่อื ฐาน การคดั แยกขยะ ช่อื กิจกรรม การคัดแยกขยะ จำนวนเวลา 50 นาที 1. กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 9 ฐานการคัดแยกขยะ กิจกรรม “การคดั แยกขยะ” 2. วทิ ยากรประจำฐานการเรยี นรทู้ ่ี 9 ฐานการคัดแยกขยะ กิจกรรม “การคัดแยกขยะ” 2.1 นางศภุ ัชญา พรชัย ครู กศน.ตำบล 2.2 นายทรงศักด์ิ พรชัย ครู กศน.ตำบล 2.3 นางสาวปรียารัตน์ ทุ่นใจ ครู ศรช. 3. นกั ศกึ ษาประจำฐานการเรยี นร้ทู ี่ 9 ฐานการคดั แยกขยะ กิจกรรม “การคดั แยกขยะ” 3.1 นางสาวนภิ าดา ครองธรรม ระดบั ชน้ั ม.ปลาย 3.2 นางสาวพชิ ดาพร แพงวงค์ ระดับชั้น ม.ปลาย 3.3 นางสาวศิรประภา วิไธสง ระดบั ชั้น ม.ต้น 3.4 นางสาวศศิธร สอนสงั ระดบั ชน้ั ม.ปลาย 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพ่ือให้ผู้เรยี นมจี ติ จำนกึ ในการคัดแยกขยะและรกั ษาส่ิงแวดล้อมในสถานศึกษา 4.2 เพ่ือใหผ้ ูเ้ รยี นมีความรคู้ วามเข้าใจเร่ืองขยะ การคดั แยกขยะทถ่ี ูกต้องและเหมาะสม ประโยชน์ของขยะ 4.3 เพื่อจัดหาที่คดั แยกขยะเป็นแบบแยกประเภท ให้เพียงพอและถูกสขุ ลักษณะ 4.4 เพื่อลดปรมิ าณขยะในสถานศกึ ษา 4.5 ผูเ้ รียนมีรายได้จากการจำหนา่ ยขยะ นำไปออมทรพั ย์ 5. ความคิดรวบยอด/ขอ้ มูลความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงมากขึ้นทุกวันนี้ ส่วนหนึ่งมาจากขยะ ซึ่งเป็นปัญหา พื้นฐานของชุมชนที่ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน อาทิ เป็นแหล่งอาหาร และแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรค เช่น แมลงวัน แมลงสาบ ยุง ฯลฯ เป็นแหล่งแพร่กระจ่ายเชื้อโรค มีกลิ่นเหม็น ก่อให้เกิดความรำคาญ ทำลาย สุนทรียภาพด้านสิ่งแวดล้อม เกิดสภาพ ไม่น่าดู สกปรกน่ารังเกียจ ขยะทำให้น้ำเสียที่มีความสกปรกสูงมาก เกิด กลิ่นรบกวน เป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน จึงส่งเสริมให้ตระหนักถึง ความสำคญั ของการลดขยะ การคัดแยกขยะ และการนำขยะกลับมาใชป้ ระโยชน์ใหม่และนำมาใช้ในชวี ิตประจำวัน เพ่ือใชท้ รัพยากรท่มี อี ยู่อยา่ งจำกัดให้มคี วามคมุ้ ค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด “ขยะ” ถือเป็นเรื่องใกล้ตัวที่สุดที่เราหลงลืมและมองข้ามว่าเป็นปัญหาใหญ่ที่สังคมต้องเป็นผู้แก้ไข แต่ จริงๆ แลว้ ตัวเราเองก็สามารถจัดการกบั มนั ได้โดยงา่ ย แต่กอ่ นอืน่ เราควรทราบถึงความหมายของคำว่า “ขยะ” กนั ก่อน ขยะหรอื มลู ฝอย คือ เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินคา้ เศษวัตถุ ถงุ พลาสติก ภาชนะทใ่ี ส่อาหาร เถา้ มลู สตั ว์ ซากสัตว์หรอื ส่ิงอื่นใดท่เี ก็บกวาดจากถนน ตลาด ทีเ่ ลี้ยงสตั ว์หรือที่อื่น และหมายความรวมถึงมูลฝอย ติดเชอ้ื มูลฝอยที่เปน็ พษิ หรืออันตรายจากชุมชน

คมู่ อื ฐานการเรยี นร้ทู ี่ 9 ฐานการคดั แยกขยะ 12 6. วธิ ีการใชฐ้ านการเรียนรู้ 6.1 วัตถปุ ระสงค์ของฐานการเรียนรู้ 6.2 ใบความรู้ 6.3 ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ/ถอดบทเรยี น 2 3 4 ได้อยา่ งถูกต้อง 6.4 สรปุ ผลการเรยี นรู้ 7. ตารางการปฏบิ ตั ิและเวลาท่ีใช้ เวลาท่ีใช้ ลำดับ การปฏิบตั ิ 5 นาที 1. ข้ันนำเข้าสูบ่ ทเรียน ชแ้ี จงวัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้และให้นกั ศกึ ษาบอกสาเหตขุ องการเกดิ ขยะใน ชมุ ชน สังคม สง่ิ แวดลอ้ มตา่ งๆใหน้ กั เรยี น ร่วมแสดงวามคิดเหน็ และวิธกี าร แกไ้ ขขยะ ให้นกั เรียนดภู าพสาเหตตุ ่างๆ (ใหด้ ูทีละภาพ) 2. ขน้ั สอน/ปฏบิ ัติ 20 นาที แบง่ กลุ่มนักศึกษาที่เข้าฐานออกเป็น 3 กลุม่ ผลดั เปลี่ยนกันเรยี นรู้ใบความรู้ เรอ่ื งต่าง ๆ 1.ประเภทของขยะ 2.คา่ ของขยะ วธิ ีการลดขยะ 3.การใช้ประโยชนจ์ ากขยะ เปลีย่ นขยะใหเ้ ปน็ เงนิ 3. ข้นั สรปุ 25 นาที .ให้นักศึกษาแต่ละกลมุ่ ถอดบทเรียน 2 3 4 การบรู ณาการการคัดแยกขยะ กับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และสรปุ ความรูท้ ี่ได้รับท้ัง 3 เรื่อง เป็น My Mapping พรอ้ มกับศึกษาเพ่ิมเติมจากแหลง่ เรียนร้จู รงิ และนำเสนอ 8. สือ่ /เคร่อื งมอื ชว่ ยสร้างการเรียนรู้ของผเู้ รียน 8.1 วิดทิ ศั น์ เร่อื ง การคดั แยกขยะ 8.2 ใบความรเู้ รอื่ ง การคดั แยกขยะ 8.3 ใบงานการถอดบทเรียน 2 3 4 8.4 แบบประเมินพฤติกรรม/แบบทดสอบประจำฐาน

คมู่ ือฐานการเรียนรู้ท่ี 9 ฐานการคัดแยกขยะ 13 9. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. อยอู่ ย่างพอเพียง : นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชวี ิตประจำวัน 2. มงุ่ ม่ันในการทำงาน : ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายจนสำเร็จได้เปน็ ชิ้นงาน 3. มีวินัย : เข้ารว่ มกจิ กรรมและทำกิจกรรมแล้วเสร็จได้ตรงตามเวลา 4. ใฝเ่ รยี นรู้ : ตงั้ ใจ เพยี รพยายามในการศึกษาเรียนรู้และเข้ารว่ มกิจกรรมการเรียนรู้ของฐานการ เรยี นรู้ 5. มีจิตสาธารณะ : แกนนำนักเรียนเสยี สละเวลาในการถา่ ยทอดความรใู้ ห้กบั ผู้ท่เี ข้าร่วมกิจกรรม ภายในฐาน 10. การวัดและประเมินผล ส่ิงท่ีต้องการวดั วธิ วี ัด เครื่องมือ 1. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ การสงั เกต แบบประเมนิ ฐานการเรียนรู้ 2. ช้ินงาน/ผลงาน การประเมินจากใบกิจกรรม ใบงานฐานการเรยี นรู้ 3. คุณลกั ษณะพอเพยี ง การสงั เกต บันทึกหลงั การเรยี นรู้ ฐานการเรยี นรู้ 4. พฤติกรรมด้านทักษะ การตอบคำถาม แบบทดสอบกอ่ น-หลัง การเรียนรู้

คมู่ อื ฐานการเรียนรู้ท่ี 9 ฐานการคัดแยกขยะ 14 แบบทดสอบก่อนเรียน ฐานการเรยี นรู้ที่ 9 ฐานการคัดแยกขยะ 1.ขยะมีกี่ประเภท อะไรบา้ ง* ก. 4 ประเภท ไดแ้ ก่ ขยะอนิ ทรีย์ ขยะทัว่ ไป ขยะรีไซเคลิ ขยะอนั ตราย ข. 2 ประเภท ได้แก่ ขยะทว่ั ไป ขยะอนั ตราย ค. 1 ประเภท ไดแ้ ก่ ขยะทั่วไป ง. 3 ประเภท ไดแ้ ก่ ขยะท่วั ไป ขยะรไี ซเคิล ขยะอนั ตราย 2.ขยะยอ่ ยสลายไดแ้ ละนำไปทำปุย๋ หมกั เชน่ ผักและผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ ใช้ถังขยะสีใด ก. ถงั ขยะสนี ำ้ เงิน ข. ถังขยะสแี ดง ค. ถังขยะสเี หลือง ง. ถงั ขยะสีเขียว 3.ขอ้ ใดเปน็ วิธีกำจดั ขยะทไี่ ด้ประโยชนม์ ากท่สี ดุ ก. นำไปขาย ข. ท้งิ ในถังขยะ ค. นำขยะอินทรียไ์ ปหมกั ทำปุ๋ย ง. เผาในทเ่ี ผาขยะ 4. ขอ้ ใดจัดวา่ เปน็ การคัดแยกขยะย่อยสลายง่าย/ขยะอันตราย ก่อนทิ้งลงในถังขยะถกู ต้องทสี่ ดุ ก. เศษกระดาษ / กระดาษชำระ ข. เศษอาหาร / หน้ากากอนามยั ท่ีใช้แลว้ ค. ถงุ พลาสตกิ / กระป๋องสี ง. ขวดพลาสติก / กระป๋องยาฉดี กนั ยุง 5.ข้อใดคือการเลอื กใชส้ ิง่ ของทไ่ี ม่ทำลายส่งิ แวดลอ้ ม ก. ใบตอง ข. กระดาษ ค. กลอ่ งโฟม ง.ถงุ พลาสตกิ 6. ขอ้ ใดกล่าวถงึ ขยะท่ัวไป ถูกต้องท่สี ุด ก. ขยะที่ย่อยสลายได้ยากนำกลบั มาผลิตใหม่ไมค่ ุ้มทนุ และไม่มพี ิษ ข. ขยะอันตรายท่ีมีการปนเปื้อนสารเคมี ค. ขยะที่นำกลบั มาผลิตเพ่อื ใชใ้ หม่ได้อีกคร้งั แม้จะเปน็ วัสดทุ ย่ี อ่ ยสลายได้ยาก ง. ขยะทีย่ ่อยสลายไดเ้ องตามธรรมชาตใิ นระยะเวลาอนั สนั้

คมู่ ือฐานการเรยี นรู้ที่ 9 ฐานการคดั แยกขยะ 15 7. ถงุ พลาสตกิ จัดเป็นขยะประเภทใด ก. ขยะรไี ซเคลิ ข. ขยะอนั ตราย ค. ขยะท่ัวไป ง. ขยะอนิ ทรยี ์ 8. จากภาพ ควรนำขยะไปท้ิงในถังขยะประเภทใด ก. ถังขยะสีเขียว ขยะอินทรีย์ ข. ถังขยะสีแดง ขยะอันตราย ค. ถังขยะสีเหลือง ขยะรีไซเคิล ง. ถังขยะสีน้ำเงิน ขยะท่ัวไป 9. จากภาพ ควรนำขยะไปท้ิงในถังขยะประเภทใด ก. ถังขยะสีแดง ขยะอันตราย ข. ถังขยะสีเหลือง ขยะรีไซเคิล ค. ถังขยะสีเขียว ขยะอินทรีย์ ง. ถังขยะสีน้ำเงิน ขยะทั่วไป 10. ข้อใดเป็นขยะมูลฝอยท่ีใช้เวลาในการย่อยสลายนานท่ีสุด ก. ซากพืช/สัตว์ ข. เศษอาหาร ค. มูลสัตว์ ง. โฟม

คมู่ อื ฐานการเรียนรู้ที่ 9 ฐานการคดั แยกขยะ 16 ใบความรู้ เรอื่ ง การคดั แยกขยะ ขยะมารจู้ ัก กันเถอะ “ขยะ” ถอื เปน็ เรื่องใกลต้ ัวที่สุดท่ีเราหลงลมื และมองข้ามวา่ เปน็ ปญั หาใหญท่ ่ีสงั คมต้องเป็นผ้แู ก้ไข แต่ จรงิ ๆ แลว้ ตัวเราเองกส็ ามารถจดั การกับมันได้โดยง่าย แต่ก่อนอื่นเราควรทราบถึงความหมายของคำวา่ “ขยะ” กนั กอ่ น ขยะหรือมูลฝอย คือ เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสนิ ค้า เศษวัตถุ ถุงพลาสติก ภาชนะท่ีใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ ซากสัตว์หรือสงิ่ อื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ท่เี ล้ยี งสัตว์หรือท่ีอ่นื และหมายความรวมถึงมลู ฝอย ติดเชอ้ื มูลฝอยทีเ่ ป็นพิษหรืออันตรายจากชมุ ชน

คูม่ ือฐานการเรยี นรู้ท่ี 9 ฐานการคัดแยกขยะ 17 ประเภทของขยะ โดยทั่วไปแลว้ ขยะแบ่งออกเป็น 4 ประเภท 1. ขยะย่อยสลาย หรือ มูลฝอยย่อยสลาย คือ ขยะทเี่ น่าเสียและยอ่ ยสลายได้เร็ว สามารถนำมาหมักทำ ปุ๋ยได้ เช่น เศษผัก เปลือกผลไม้ เศษอาหารใบไม้ เศษเนื้อสัตว์ เป็นต้น แตไ่ มร่ วมถึงซากหรือเศษของพืช ผัก ผลไม้ หรือสตั วท์ ่เี กิดจากการทดลองในห้องปฏิบตั ิการ เปน็ ต้น ถังขยะรองรับขยะมูลฝอยสลาย คือ ถงั สเี ขียว

คมู่ ือฐานการเรียนรทู้ ่ี 9 ฐานการคัดแยกขยะ 18 2. ขยะรไี ซเคิล หรือ มลู ฝอยทย่ี ังใช้ได้ คือ ของเสียบรรจุภัณฑห์ รอื วัสดุเหลือใช้ ซงึ่ สามารถนำกลับมาใช้ ประโยชนใ์ หมไ่ ด้ เชน่ แก้ว กระดาษกระป๋องเครอ่ื งดื่ม เศษพลาสตกิ เศษโลหะ อลูมเิ นียม ยางรถยนต์ กล่อง เคร่ืองด่ืมแบบ UHT เปน็ ตน้ ถังขยะมลู ฝอยทน่ี ำกลับมาใชใ้ หม่(รไี ซเคิล) คอื ถังสีเหลือง

คู่มอื ฐานการเรียนรู้ท่ี 9 ฐานการคัดแยกขยะ 19 3. ขยะทัว่ ไป หรอื มูลฝอยทวั่ ไป คอื ขยะประเภทอื่นนอกเหนอื จากขยะยอ่ ยสลาย ขยะรีไซเคลิ และขยะ อันตราย มีลักษณะย่อยสลายยากและไม่คุ้มค่าสำหรับการนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ เช่น ห่อพลาสติกใส่ขนม ถุงพลาสติกบรรจุผงซักฟอก พลาสติกห่อลูกอม ซองบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ถุงพลาสติกเปื้อนเศษอาหาร โฟมเป้อื นอาหาร ฟลอยลเ์ ปื้อนอาหาร ซองหรอื ถงุ พลาสตกิ สำหรับบรรจเุ ครอ่ื งอุปโภคดว้ ยวธิ ีรดี ความร้อน เป็นตน้ ถังขยะรองรับมูลฝอยท่ัวไป คอื ถงั สีน้ำเงนิ -5-

ค่มู อื ฐานการเรียนร้ทู ี่ 9 ฐานการคดั แยกขยะ 20 4. ขยะอันตราย หรือ มูลฝอยอันตราย คือ มูลฝอยที่ปนเปื้อน หรือมีองค์ประกอบของวัตถุ ได้แก่ วัตถุ ระเบิด วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทำให้เกิดโรค วัตถุกัมมันตรังสีวัตถุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทางพันธุกรรม วัตถุกัดกร่อน วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง วัตถุอย่างอื่น ไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใดที่ อาจทำให้เกิดอันตราย แก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์สินหรือสิ่งแวดล้อม เช่น ถ่านไฟฉาย หลอดฟลูออเรส เซนต์ แบตเตอร่ี โทรศัพท์เคลื่อนท่ี ภาชนะบรรจุสารกำจดั ศตั รูพืช กระปอ๋ งสเปรยบ์ รรจสุ หี รอื สารเคมี เปน็ ต้น ถงั ขยะรองรับมูลฝอยอนั ตราย คือ ถังสีแดง

ค่มู อื ฐานการเรียนรูท้ ่ี 9 ฐานการคดั แยกขยะ 21 วธิ ีสงั เกตผลิตภณั ฑห์ รอื ภาชนะทเี่ ป็นอันตราย • สงั เกตฉลาก หรอื ภาพสัญลักษณท์ ่ตี ิดบนภาชนะบรรจุ เชน่ สารไวไฟ จะพบเหน็ บนภาชนะท่ีบรรจกุ ๊าซหุงต้ม น้ำมันเชื้อเพลงิ ทนิ เนอร์ ผง กำมะถัน สารเคมี จะพบเหน็ บนภาชนะบรรจปุ ระเภท น้ำยาลา้ งห้องน้ำ สารฆา่ แมลง สารปรอทในหลอดฟลูออเรสเซนต์ สารกดั กรอ่ น จะพบเหน็ บนภาชนะบรรจนุ ้ำกรดในแบต็ เตอรรี ถยนต์ หรอื ภาชนะบรรจนุ ำ้ ยาทำความสะอาด • สังเกต คำเตือนที่ระบอุ ยูข่ า้ งภาชนะบรรจุ เช่น ห้ามรบั ประทาน หา้ มเผาอันตราย DANGER,TOXIC, CORROSIVE และ FLAMMABLE เป็นต้น ค่าของขยะ ขยะ...เปน็ สง่ิ มีคา่ ทา่ นทราบหรือไม่ว่าขยะก่อให้เกดิ รายได้เปล่ยี นจากขยะไร้ค่ามาเป็นเงินปัจจบุ ันได้ กลายเปน็ อาชีพ ๆ หนง่ึ ได้แก่ อาชีพรับซ้ือของเก่า ซึง่ รับซื้อและขายส่งตามโรงงานเพอ่ื นำไปแปรรูปกลบั มาเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ใหม่ แตร่ าคาท่ซี ื้อขายกันนั้นจะแตกตา่ งกนั ไป ข้ึนอยกู่ ับความต้องการของตลาด ท้งั นี้ วธิ กี ารแยก ประเภทวัสดรุ ีไซเคลิ เพื่อขายใหไ้ ดร้ าคาดี ทำไดง้ า่ ยๆ ดงั น้ี ประเภท ประเภทที่ขายได้ วธิ ีเกบ็ ราคา(บาท)/กก.* กระดาษ - กระดาษหนงั สือพิมพ์ คดั แยกเปน็ ประเภทและมดั ให้ กระดาษขาว 6-6.5 บาท - กระดาษสมุด-หนงั สือ นติ ยสาร เรยี บร้อยเวลาจำหนา่ ยจะได้ กลอ่ งกระดาษ 4-4.5 บาท - กระดาษกลอ่ ง - กระดาษขาว-ดำ ราคาท่ดี ีกว่า เนอื่ งจาก กระดาษหนังสอื พิมพ์ 4.5 บาท - แผ่นพับ กระดาษแตล่ ะประเภทมีราคา เศษกระดาษ 2.3 บาท รบั ซ้อื ทแ่ี ตกต่าง

คู่มอื ฐานการเรยี นรู้ท่ี 9 ฐานการคัดแยกขยะ 22 ประเภท ประเภทท่ีขายได้ วธิ เี ก็บ ราคา(บาท)/กก.* พลาสติก - ภาชนะพลาสตกิ บรรจุ ถอดฝาขวด ริน/เท ของเหลว พลาสติกขวดนำ้ ใส 13 บาท ยาสระผม ครีมอาบนำ้ ทบ่ี รรจภุ ายในออกทำความ พลาสตกิ ขวดน้ำขนุ่ 20 บาท - ถงุ พลาสตกิ เหนียว สะอาดจากนน้ั ทำใหแ้ บน เพื่อ ถุงพลาสติก 3 บาท - ถังนำ้ กะละมัง ประหยดั เนื้อที่ และเก็บ เศษพลาสติกรวม 9 บาท - ขวดน้ำมันพชื หรือขวด รวบรวมแยกประเภทเปน็ น้ำดม่ื ชนดิ ใส พลาสตกิ สีขาวขนุ่ พลาสตกิ ใส - บรรจภุ ณั ฑท์ ีม่ ี และพลาสติกอ่ืนๆเนือ่ งจาก เคร่อื งหมายรีไซเคิล พลาสตกิ แตล่ ะประเภทมีราคา - ขวดนำ้ พลาสตกิ สีขาว แตกตา่ งกนั ขุน่ แกว้ - ขวดหรือภาชนะแก้ว ถอดฝาริน/เทของเหลวท่ี แก้ว 1 บาท นำ้ ปลา 1 บาท/ขวด สำหรบั บรรจุอาหาร บรรจภุ ายในออกทำความ กล่องเบยี รล์ ีโอ 7 บาท/ลัง ขวด เคร่ืองดื่มทกุ ชนิดทั้งที่มสี ี สะอาดและเก็บรวบรม และกล่องเบียร์ช้าง 8 บาท/ลัง ใส เขยี วและนำ้ ตาล ขวดและกล่องเบยี ร์สงิ ห์ 7 บาท/ ลัง ขวดและกล่องเบียร์ Heineken 13 บาท/ลงั โลหะ/ - วัสดุหรอื เศษเหล็กทุก ริน/เท ของเหลวทบ่ี รรจุ กระป๋องอลูมิเนยี ม 50 บาท อโลหะ ชนิด ภายในออก ทำความสะอาด อลูมิเนียม 55 บาท - กระป๋องบรรจอุ าหารที่ จากนน้ั ทำให้แบนเพ่ือ เศษเหล็กหนา 7 บาท ไมเ่ ปน็ สนมิ ประหยดั เนอื้ ทแ่ี ละเกบ็ เศษเหลก็ บาง 5 บาท - เครอื่ งดื่มที่เป็น รวบรวม กรณีเศษเหล็ก กระป๋องกาแฟ 1 บาท อลูมิเนยี ม ทองแดงใหม้ ัดรวมไว้ - ทองแดง ทองเหลือง ตะกวั่ * เปน็ ราคาโดยประมาณ ขึ้นอยู่กับความต้องการของตลาดและประเภทวัสดุรีไซเคลิ

ค่มู อื ฐานการเรียนรทู้ ี่ 9 ฐานการคัดแยกขยะ 23 วธิ กี ารลดขยะ เราทกุ คนสามารถมสี ว่ นร่วมในการช่วยลดปรมิ าณขยะได้ โดยเร่มิ ทคี่ นในครอบครัว และชกั ชวนไปสูช่ มุ ชน หมู่บ้าน ท่ีทำงาน ใหช้ ว่ ยกนั ลด คดั แยกขยะเพอื่ ให้ชุมชนมสี ง่ิ แวดลอ้ มท่ีดี โดยสามารถทำไดด้ งั น้ี ลดการใช้ (Reduce) 1. ลดการขนขยะเข้าบา้ น ไม่ว่าจะเปน็ ถงุ พลาสตกิ ถงุ กระดาษ กระดาษห่อของ โฟม หรอื หนงั สือพิมพ์ 2. ใช้ผลิตภัณฑ์ชนิดเติม เช่น น้ำยาล้างจาน น้ำยาปรับผ้านุ่ม เครื่องสำองง ถ่านชนิดชาร์ตได้ สบู่เหลว นำ้ ยารดี ผ้า นำ้ ยาทำความสะอาด ฯลฯ 3. ลดปริมาณขยะมูลฝอยอันตรายในบ้าน หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีภายในบ้าน เช่น ยากำจัดแมลงหรือ น้ำยาทำความสะอาดต่างๆ ควรหันไปใช้วิธีทางธรรมชาติ เช่น ใช้เปลือกส้มแห้งนำมาเผาไล่ยุง หรือ ใช้ผลมะนาว เพือ่ ดบั กลน่ิ ภายในห้องนำ้ 4. พยายามหลกี เล่ียงการใช้โฟมและพลาสตกิ ซึง่ กำจัดยาก โดยใชถ้ งุ ผ้าหรอื ตะกรา้ ในการจับจา่ ยซือ้ ของ ใช้ซ้ำ (Reuse) 1. นำสิง่ ของท่ีใช้แลว้ กลับมาใชใ้ หม่ เชน่ ถงุ พลาสตกิ ที่ไม่เปรอะเป้ือนก็ใหเ้ กบ็ ไว้ใช้ใส่ของอกี คร้ังหน่งึ หรือ ใชเ้ ปน็ ถุงใสข่ ยะในบ้าน 2. นำสง่ิ ของมาดัดแปลงให้ใช้ประโยชน์ได้อีก เช่น การนำยางรถยนตม์ าทำเก้าอ้ี การนำขวดพลาสตกิ นำมาดดั แปลงเป็นทใี่ ส่ของ แจกนั การนำเศษผา้ มาทำเปลนอน เป็นต้น 3. ใช้กระดาษทั้งสองหน้า การรีไซเคลิ (Recycle) เปน็ การนำวัสดทุ ่สี ามารถนำกลับมาใชใ้ หม่ได้ เช่น กระดาษ แก้ว พลาสติก เหลก็ อลูมเิ นียม มาแปรรปู โดยกรรมวตี ่างๆ นอกจากจะเป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยแล้ว ยังเปน็ การลดการใชพ้ ลังงานและลดมลพิษทเ่ี กิด กบั ส่ิงแวดลอ้ มซ่ึงสามารถทำไดโ้ ดย 1. คัดแยกขยะรไี ซเคิลแต่ละประเภท ได้แก่ แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ/อโลหะ 2. นำไปขาย/บรจิ าค/นำเขา้ ธนาคารขยะ/กิจกรรมขยะแลกไข่ 3. ขยะเหล่านกี้ จ็ ะเข้าสู่กระบวนการรไี ซเคิล แกว้ กระดาษ นำไปขาย/บริจาค/ เขา้ สู่ นำเข้าธนาคารขยะ/ กระบวนการ คัดแยก พลาสตกิ โลหะ/ กจิ กรรมขยะแลกไข่ รีไซเคิล อโลหะ

คมู่ ือฐานการเรียนรู้ท่ี 9 ฐานการคดั แยกขยะ 24 การใช้ประโยชน์จากขยะ ก่อนทจ่ี ะนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ ต้องมีการคัดแยกประเภทขยะมูลฝอยภายในบา้ น เพอ่ื เป็นการ สะดวกแกผ่ เู้ ก็บขนและสามารถนำขยะบางชนิดไปขายเพื่อเพ่ิมรายไดใ้ ห้กบั ตนเองและครอบครวั รวมท้งั ง่ายต่อ การนำไปกำจัดอีกดว้ ย โดยสามารถทำไดด้ ังนี้ ประเภท แยกวธิ ใี ด นำไปใช้ประโยชน์ ขยะอนิ ทรยี ์ - คัดแยกอาหาร ก่งิ ไม้ ใบไม้ ออกจาก - รวบรวมเศษอาหารไวเ้ ลี้ยงสัตว์ ขยะอ่ืนๆ - นำเศษผกั ผลไม้และเศษอาหารไปทำขยะหอม - จดั หาภาชนะทีม่ ีฝาปิดเพ่ือแยกเศษ หรอื น้ำหมกั จลุ นิ ทรยี ์ อาหาร ผัก ผลไม้ - เศษกิ่งไม้ ใบไม้ ผสมกับกากทไี่ ด้จากการทำ ขยะหอมหลายเปน็ ปยุ๋ หมักอินทรยี ์ ขยะรไี ซเคลิ - แยกขยะรีไซเคิลที่ขายได้แต่ละ - รวบรวมมาเขา้ กจิ กรรมของชุมชน เช่น ประเภทใหเ้ ปน็ ระเบยี บเพื่อสะดวกใน ธนาคารขยะแลกแต้ม ขยะแลกไข่ ธนาคาร การหยิบใช้หรือจำหน่าย ขยะ ผ้าป่ารไี ซเคลิ เป็นตน้ - นำมาใช้ซ้ำโดยประยกุ ต์เปน็ อุปกรณ์ในบ้าน เชน่ ขวดน้ำพลาสติกมาตัดเพ่ือปลกู ต้นไม้ กระป๋องน้ำอดั ลม ตดั ฝาใชเ้ ป็นแกว้ น้ำ ชวดแก้ว ขวดพลาสตกิ มาใสก่ าแฟ เคร่ืองปรุง ต่างๆหรือผลซกั ฟอกชนดิ เตมิ ได้ ขยะอันตราย - แยกขยะอันตราย ออกจากขยะอื่นๆ - ขยะอนั ตรายเหล่านี้ไม่สามารถนำมาใช้ (ขยะพษิ ) โดยในการคดั แยกต้องระวงั ไม่ให้ขยะ ประโยชนซ์ ้ำอีกแตท่ า่ นสามารถชว่ ยปอ้ งกนั อนั ตรายสารเคมีท่ีบรรจอุ ย่สู มั ผัส ปญั หาภาวะมลพิษจากขยะได้ โดยรวบรวม รา่ งกายหรือเขา้ ตา นำไปกำจดั อยา่ งถกู วิธี หลังจากเราคดั แยกขยะแลว้ ก็จะได้ขยะท่ีสามารถนำกลบั มาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ โดยแบ่งออกเป็น 2 กจิ กรรม ใหญ่ ตามประเภทขยะ ดงั น้ี 1. การใชป้ ระโยชนจ์ ากขยะอนิ ทรีย์ การทาป๋ ยุ หมกั นำเศษอาหารสด/เศษพืชพวกขี้เลือ่ ย/ชานอ้อย/เศษใบไม้แห้ง/เศษหญ้าแห้ง ผสมรวมกันในอัตราส่วน ขยะสดต่อเศษพืชเท่ากับ 1 : 4 และกองบนพื้นดิน การตั้งกองจะทำเป็นชั้นๆ ระหว่างเศษพืช ปุ๋ยคอกและปุ๋ยเคมี ขนาดของกอง กว้าง 2.5 เมตร สงู 1.2 เมตร ยาว 4 เมตร กวนวนั ละ 3 คร้ัง/คร้งั ละ 5 นาที เติมขยะเศษอาหารทุก วันเปน็ เวลา 2 สัปดาห์ ราบ 2 สปั ดาห์ หยดุ เตมิ อาหาร ถา่ ยออกจากถงั หมกั 3 ใน 4 สว่ น ทิ้งไว้ให้เป็นปยุ๋ ทีส่ มบรู ณ์ อีกประมาณ 2-3 สัปดาห์ ปุ๋ยหมักชุดแรก นำไปใช้ปลูกพืช ผสมกับดินเพื่อเพิ่มอาหารพืชได้ 1 ส่วนที่เหลือเก็บไว้ เปน็ หวั เช้ือในการเริม่ ต้นหมักต่อไป

คู่มือฐานการเรียนรู้ที่ 9 ฐานการคัดแยกขยะ 25 การทาป๋ ยุ ชวี ภาพ ปุย๋ ชวี ภาพผลติ จากพชื หรอื ขยะเปยี ก ดังน้ี วิธที ำ - เศษวัสดุเหลอื ใช้ 1. เติมน้ำสะอาดลงในถังพลาสติกประมาณ - กากน้ำตาล 1 ลิตร คร่งึ ถงั - นำ้ หมกั จลุ ินทรยี ์ 1 ลติ ร 2. จากนัน้ เติมกากน้ำตาลและหัวเช้ือ - นำ้ สะอาด 0.5 ถงั จลุ นิ ทรยี ์ผสมให้เข้ากนั อุปกรณ์ 3. นำเศษวัสดุใส่ถุงปยุ๋ ผกู ปากถุงแลว้ นำไป - ถงั พลาสตกิ มฝี าปดิ ขนาด 20 – 40 ลิตร เป็นเวลา 7 วัน โดยเก็บในที่รม่ - ถุงปยุ๋ ประโยชน์ : ผสมน้ำ 1 : 500 ใช้ฉีดพน่ หรือรดตน้ พืช ช่วยเร่งการเจรญิ เตบิ โตและใชเ้ ปน็ หัวเช้อื จุลินทรีย์ 2. การใชป้ ระโยชน์จากขยะรไี ซเคลิ พอจะทราบกนั แล้วว่าขยะที่สามารถนำมาใชป้ ระโยชน์ไดห้ รอื ทเี่ รียกว่า ขยะรไี ซเคลิ เราสามารถนำมาทำ กิจกรรมภายในชุมชนได้หลายกจิ กรรมเพอื่ ให้ชุมชนน่าอยแู่ ละมีส่งิ แวดลอ้ มที่ดี ซึ่งยกตัวอยา่ งได้ดงั นี้ สง่ิ ประดษิ ฐจ์ ากวัสดุเหลือใช้ ขยะแลกไข่ ธนาคารขยะ ผา้ ป้ารไี ซเคลิ

คมู่ อื ฐานการเรยี นรูท้ ่ี 9 ฐานการคดั แยกขยะ 26 ใบงานที่ 1 การวเิ คราะห์หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ฐานการเรียนรทู้ ี่ 9 ฐานการคดั แยกขยะ เงื่อนไขความรู้ เง่อื นไขคณุ ธรรม .......................................................................... .......................................................................... ……………………………………………………………….. ……………………………………………………………….. ………………………………………………………………… ……………………………………………………………….. ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………. ความมเี หตุผล ……………………………………………………………….. ………………………………………………………………… …………. ความพอประมาณ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........ ........ ภมู คิ ุ้มกนั ในตัวทด่ี ี ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........ การเช่ือมโยงแบบ 4 มิติ สงั คม-.......................................................................................................................... ........................................ วตั ถ/ุ เศรษฐกจิ ..................................................................................................................................................... วฒั นธรรม-........................................................................................................................................................... ส่ิงแวดลอ้ ม-.......................................................................................................................................................... ชื่อ-สกลุ ............................................................................................................................. ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอสวุ รรณคหู า

คู่มือฐานการเรยี นรูท้ ี่ 9 ฐานการคดั แยกขยะ 27 ใบงานที่ 2 ฐานการเรยี นร้ทู ี่ 9 ฐานการคดั แยกขยะ เรือ่ ง การคดั แยกขยะ จงตอบคำถามและอธบิ ายให้ไดใ้ จความดงั ต่อไปนี้ 1.ขยะมีกี่ประเภท อะไรบา้ ง ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 2.ขยะยอ่ ยสลายหรือขยะอินทรยี ์ เป็นขยะประเภทใด ใหน้ ักเรียนยกตวั อย่าง ......................................................................................................................................... ..................................... ............................................................................................. ................................................................................. 3.ขยะรีไซเคลิ หรือขยะขายได้ คอื ขยะประเภทใด ใหน้ ักเรียนยกตัวอย่าง ............................................................................................................. ................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 4.ขยะอนั ตราย คือขยะประเภทใด ใหน้ กั เรยี นยกตวั อยา่ ง ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................... ........................... 5.ขยะท่ัวไป คือขยะประเภทใด ใหน้ ักเรียนยกตัวอย่าง .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 6.ขยะอนิ ทรยี ค์ ดั แยกใส่ถังสีอะไร ............................................................................................................................. ................................................. 7.ขยะรไี ซเคิล คดั แยกใส่ถังสีอะไร ............................................................................................................................. ................................................. 8.ขยะทั่วไป คัดแยกใสถ่ งั สีอะไร .............................................................................................................................................................................. 9.ขยะอนั ตราย คดั แยกใสถ่ ังสีอะไร ................................................................................................. ............................................................................. 10.นักศึกษาคิดว่าเมอ่ื นักศึกษารู้วิธกี ารคดั แยกขยะและสามารถคดั แยกขยะได้ไดป้ ระโยชนอ์ ะไรกบั ตัวนกั ศึกษาเอง .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ช่ือ-สกลุ ......................................................................................................................... .... ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสุวรรณคหู า

คูม่ อื ฐานการเรยี นรทู้ ่ี 9 ฐานการคดั แยกขยะ 28 แบบทดสอบหลังเรยี น ฐานการเรยี นร้ทู ี่ 9 ฐานการคดั แยกขยะ 1. ขยะมกี ่ีประเภท อะไรบ้าง* ก. 4 ประเภท ไดแ้ ก่ ขยะอนิ ทรีย์ ขยะท่วั ไป ขยะรไี ซเคลิ ขยะอันตราย ข. 2 ประเภท ไดแ้ ก่ ขยะทั่วไป ขยะอันตราย ค. 1 ประเภท ไดแ้ ก่ ขยะทั่วไป ง. 3 ประเภท ได้แก่ ขยะทัว่ ไป ขยะรไี ซเคลิ ขยะอันตราย 2. ขยะย่อยสลายไดแ้ ละนำไปทำปุ๋ยหมัก เชน่ ผกั และผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ ใช้ถังขยะสีใด ก. ถงั ขยะสนี ้ำเงิน ข. ถังขยะสีแดง ค. ถังขยะสีเหลือง ง. ถงั ขยะสเี ขียว 3. ข้อใดเปน็ วธิ กี ำจดั ขยะท่ไี ด้ประโยชน์มากท่ีสดุ ก. นำไปขาย ข. ทิง้ ในถงั ขยะ ค. นำขยะอินทรียไ์ ปหมักทำปุ๋ย ง. เผาในท่ีเผาขยะ 4. ข้อใดจัดว่าเปน็ การคัดแยกขยะย่อยสลายง่าย/ขยะอันตราย ก่อนท้ิงลงในถงั ขยะถกู ต้องทส่ี ดุ ก. เศษกระดาษ / กระดาษชำระ ข. เศษอาหาร / หนา้ กากอนามัยท่ใี ชแ้ ลว้ ค. ถงุ พลาสติก / กระป๋องสี ง. ขวดพลาสติก / กระป๋องยาฉีดกันยงุ 5. ข้อใดคือการเลอื กใชส้ งิ่ ของท่ไี ม่ทำลายสิ่งแวดล้อม ก. ใบตอง ข. กระดาษ ค. กลอ่ งโฟม ง.ถุงพลาสติก 6. ข้อใดกลา่ วถงึ ขยะท่ัวไป ถูกต้องทีส่ ดุ ก. ขยะทย่ี ่อยสลายไดย้ ากนำกลบั มาผลติ ใหม่ไม่คุ้มทุน และไม่มีพิษ ข. ขยะอันตรายที่มีการปนเป้ือนสารเคมี ค. ขยะที่นำกลบั มาผลติ เพ่ือใช้ใหมไ่ ด้อีกครัง้ แมจ้ ะเปน็ วัสดทุ ย่ี ่อยสลายไดย้ าก ง. ขยะทยี่ ่อยสลายไดเ้ องตามธรรมชาตใิ นระยะเวลาอันสนั้

คมู่ ือฐานการเรยี นรู้ที่ 9 ฐานการคดั แยกขยะ 29 7. ถงุ พลาสตกิ จัดเป็นขยะประเภทใด ก. ขยะรไี ซเคลิ ข. ขยะอันตราย ค. ขยะท่ัวไป ง. ขยะอนิ ทรยี ์ 8. จากภาพ ควรนำขยะไปทิ้งในถังขยะประเภทใด ง. ถังขยะสีเขียว ขยะอินทรีย์ จ. ถังขยะสีแดง ขยะอันตราย ฉ. ถังขยะสีเหลือง ขยะรีไซเคิล ง. ถังขยะสีน้ำเงิน ขยะทั่วไป 9. จากภาพ ควรนำขยะไปท้ิงในถังขยะประเภทใด ง. ถังขยะสีแดง ขยะอันตราย จ. ถังขยะสีเหลือง ขยะรีไซเคิล ฉ. ถังขยะสีเขียว ขยะอินทรีย์ ง. ถังขยะสีน้ำเงิน ขยะทั่วไป 10. ข้อใดเป็นขยะมูลฝอยท่ีใช้เวลาในการย่อยสลายนานท่ีสุด ก. ซากพืช/สัตว์ ข. เศษอาหาร ค. มูลสัตว์ ง. โฟม

ค่มู อื ฐานการเรียนรทู้ ่ี 9 ฐานการคัดแยกขยะ 30 แนวทางเฉลยใบงานที่ 2 ฐานการเรยี นรู้ที่ 9 ฐานการคัดแยกขยะ เรอ่ื ง การคัดแยกขยะ จงตอบคำถามและอธบิ ายให้ไดใ้ จความดังต่อไปนี้ 1.ขยะมีกปี่ ระเภท อะไรบา้ ง ...............ข..ย...ะ.ม...ี .4...ป..ร..ะ..เ.ภ..ท....ไ.ด..แ้..ก...่ .ข..ย..ะ..ย..่อ..ย..ส..ล..า..ย....ข..ย..ะ..ร..ไี .ซ..เ.ค..ลิ.....ข..ย..ะ..ท..่วั..ไ.ป.....ข..ย..ะ..อ..นั..ต...ร.า..ย.. ................................................. 2.ขยะยอ่ ยสลายหรือขยะอินทรยี ์ เปน็ ขยะประเภทใด ให้นักเรียนยกตวั อย่าง ...............ข..ย..ะ..ย..อ่..ย..ส...ล..า.ย.....เ.ช..่น...เ.ศ...ษ..ผ..ัก....เ..ศ..ษ..ผ..ล..ไ.ม...้ ..เ.ป..ล...อื ..ก..อ..า..ห..า..ร................................... ................................................. 3.ขยะรีไซเคิล หรอื ขยะขายได้ คอื ขยะประเภทใด ให้นักเรียนยกตวั อย่าง ขยะรีไซเคลิ เชน่ แก้ว กระดาษ กระป๋องเคร่อื งดม่ื ............................................................................................................................. ................................................. 4.ขยะอันตราย คือขยะประเภทใด ใหน้ กั เรยี นยกตวั อย่าง ...............ข..ย..ะ..อ..นั...ต..ร..า.ย.....เ.ช..่น...ถ..่า..น..ไ..ฟ..ฉ..า..ย....ห...ล..อ..ด..ไ.ฟ.....แ..บ..ต..เ..ต..อ..ร..่ี ..โ.ท...ร.ศ..พั...ท..์.ข..ว..ด..ย..า..ฆ..า่..แ..ม..ล..ง. ................................................. 5.ขยะท่ัวไป คือขยะประเภทใด ให้นักเรียนยกตวั อย่าง ...............ข..ย..ะ..ท...ั่ว.ไ..ป....เ..ช..่น....ถ..ุง..พ..ล..า..ส..ต..กิ..ใ..ส..่ข..น..ม.....โ.ฟ..ม...เ.ป..ือ้..น..อ..า..ห..า..ร...ห...อ่ ..ผ..ง.ซ..กั..ฟ...อ..ก................ ................................................. 6.ขยะอินทรยี ค์ ัดแยกใส่ถังสีอะไร .................ส..ีเ.ข..ีย..ว..................................................................................................... ................................................. 7.ขยะรไี ซเคิล คดั แยกใสถ่ ังสอี ะไร ..................ส..เี.ห...ล..ือ..ง..... ............................................................................................................................. ................ 8.ขยะท่ัวไป คดั แยกใส่ถงั สีอะไร ..................ส..ีน...ำ้ .เ.ง..นิ................ ............................................................................................................................. ...... 9.ขยะอันตราย คัดแยกใส่ถงั สีอะไร ..................ส..แี..ด..ง........ ............................................................................................................................. ................. 10.นักศึกษาคิดวา่ เม่ือนักศึกษารู้วิธกี ารคดั แยกขยะและสามารถคัดแยกขยะได้ไดป้ ระโยชน์อะไรกบั ตวั นักศกึ ษาเอง ทำใหร้ ู้จกั การคดั แยกขยะที่ถูกวธิ ี ชมุ ชนสะอาดน่าอยู่ และสามารถนำไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้ ............................................................................................................................. ................................................. ชื่อ-สกุล......................................................................................................................... .... ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสวุ รรณคูหา

ค่มู อื ฐานการเรียนรูท้ ี่ 9 ฐานการคดั แยกขยะ 31 เฉลยแบบทดสอบก่อน-หลังเรยี น ฐานการเรยี นร้ทู ่ี 9 ฐานการคัดแยกขยะ 1. ขยะมีกี่ประเภท อะไรบา้ ง* ก. 4 ประเภท ไดแ้ ก่ ขยะอนิ ทรยี ์ ขยะท่ัวไป ขยะรีไซเคิล ขยะอนั ตราย ข. 2 ประเภท ได้แก่ ขยะท่วั ไป ขยะอนั ตราย ค. 1 ประเภท ไดแ้ ก่ ขยะทว่ั ไป ง. 3 ประเภท ได้แก่ ขยะท่ัวไป ขยะรไี ซเคิล ขยะอนั ตราย 2. ขยะยอ่ ยสลายได้และนำไปทำป๋ยุ หมกั เช่น ผักและผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ ใช้ถงั ขยะสีใด ก. ถังขยะสีนำ้ เงิน ข. ถังขยะสแี ดง ค. ถงั ขยะสีเหลือง ง. ถงั ขยะสีเขียว 3. ข้อใดเปน็ วิธีกำจดั ขยะที่ได้ประโยชนม์ ากทีส่ ดุ ก. นำไปขาย ข. ท้งิ ในถังขยะ ค. นำขยะอนิ ทรียไ์ ปหมักทำปุ๋ย ง. เผาในท่เี ผาขยะ 4. ข้อใดจัดวา่ เป็นการคัดแยกขยะย่อยสลายง่าย/ขยะอันตราย ก่อนท้ิงลงในถงั ขยะถกู ต้องทีส่ ดุ ก. เศษกระดาษ / กระดาษชำระ ข. เศษอาหาร / หนา้ กากอนามยั ที่ใชแ้ ลว้ ค. ถงุ พลาสตกิ / กระป๋องสี ง. ขวดพลาสติก / กระป๋องยาฉดี กนั ยุง 5. ข้อใดคือการเลือกใชส้ ่ิงของที่ไม่ทำลายส่งิ แวดล้อม ก. ใบตอง ข. กระดาษ ค. กล่องโฟม ง. ถงุ พลาสติก 6. ข้อใดกล่าวถงึ ขยะทั่วไป ถูกตอ้ งท่ีสุด ก. ขยะที่ย่อยสลายได้ยากนำกลับมาผลิตใหม่ไมค่ ุ้มทุน และไม่มีพิษ ข. ขยะอนั ตรายท่มี ีการปนเป้ือนสารเคมี ค. ขยะท่ีนำกลบั มาผลิตเพื่อใช้ใหม่ไดอ้ ีกครั้ง แมจ้ ะเป็นวัสดทุ ย่ี อ่ ยสลายไดย้ าก ง. ขยะทีย่ ่อยสลายได้เองตามธรรมชาติในระยะเวลาอันส้นั

คมู่ ือฐานการเรยี นรู้ที่ 9 ฐานการคดั แยกขยะ 32 7. ถงุ พลาสติก จัดเป็นขยะประเภทใด ก. ขยะรไี ซเคลิ ข. ขยะอันตราย ค. ขยะท่ัวไป ง. ขยะอนิ ทรยี ์ 8. จากภาพ ควรนำขยะไปทิ้งในถังขยะประเภทใด ช. ถังขยะสีเขียว ขยะอินทรีย์ ซ. ถังขยะสีแดง ขยะอันตราย ฌ. ถังขยะสีเหลือง ขยะรีไซเคิล ง. ถังขยะสีน้ำเงิน ขยะทั่วไป 9. จากภาพ ควรนำขยะไปท้ิงในถังขยะประเภทใด ช. ถังขยะสีแดง ขยะอันตราย ซ. ถังขยะสีเหลือง ขยะรีไซเคิล ฌ. ถังขยะสีเขียว ขยะอินทรีย์ ง. ถังขยะสีน้ำเงิน ขยะทั่วไป 10. ข้อใดเป็นขยะมูลฝอยท่ีใช้เวลาในการย่อยสลายนานท่ีสุด ก. ซากพืช/สัตว์ ข. เศษอาหาร ค. มูลสัตว์ ง. โฟม

คู่มอื ฐานการเรยี นรู้ที่ 9 ฐานการคัดแยกขยะ 33 แบบสอบถามความพงึ พอใจ ฐานการเรยี นรู้ที่...........ชื่อฐาน .................................................................. กิจกรรม ............................................................................. ****************************** คำชแ้ี จง แบบสอบถามความพงึ พอใจ มีจำนวน 3 ตอน ให้ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจทำเคร่ืองหมาย  ลงในช่อง ทตี่ รงกับความคดิ เห็นของท่านมากทสี่ ดุ เพียงข้อเดียว ตอนที่ 1 ข้อมลู ทัว่ ไป เพศ  ชาย  หญงิ  เพศทางเลือก (LGBTQ+) ระดับการศึกษา  ตำ่ กวา่ ป.6  ป.6/ประถมศึกษา  ม.3 หรือ ม.ตน้  ม.6 หรอื เทยี บเท่า  ปวส./อนปุ ริญญา  ปรญิ ญาตรขี ้นึ ไป อายุ  ต่ำกวา่ 15 ปี  15 - 20 ปี  21 - 30 ปี  31 - 40 ปี  41 - 50 ปี  51 - 60 ปี  61 ปขี ้ึนไป อาชีพ  นกั เรียน/นกั ศกึ ษา  รบั จา้ ง  เกษตรกร  คา้ ขาย  อื่น ๆ (ระบุ)............................................................................................. ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจท่ีมตี ่อฐานการเรียนรู้ โดยระดบั ความพงึ พอใจ แบ่งออกเปน็ 5 ระดับ ดงั นี้ 5 หมายถงึ มากทีส่ ุด 4 หมายถึง มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถงึ น้อย 1 หมายถึง นอ้ ยที่สดุ รายละเอยี ด ระดบั ความพึงพอใจ 5 4 321 1. ผเู้ รยี น/ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมไดร้ ับความรู้และมีความเข้าใจจากการเรียนรู้ ในฐานการเรยี นรู้ 2. ผู้เรยี น/ผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรมมีทกั ษะจากการเรยี นร้ใู นฐานการเรยี นรู้ 3. วสั ดุ/อุปกรณใ์ นการสาธิตหรือใหผ้ ูเ้ รียน/ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมได้ฝกึ ปฏบิ ตั ิเพยี งพอ 4. สอื่ ทใี่ ชใ้ นการจดั กจิ กรรมกระบวนการเรียนรู้มคี วามเหมาะสม หลากหลาย เพียงพอ และนา่ สนใจ 5. ผู้สอน/วิทยากร ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทำงานรว่ มกันเปน็ ทีม

คูม่ อื ฐานการเรียนรทู้ ี่ 9 ฐานการคัดแยกขยะ 34 รายละเอยี ด ระดบั ความพึงพอใจ 5 4 321 6. ผู้สอน/วทิ ยากร ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียน/ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมมีความคดิ ริเรมิ่ สรา้ งสรรค์ และคดิ เปน็ 7. ผ้สู อน/วิทยากร รบั ฟังความคิดเหน็ ท่ีแตกต่างของผู้เรียน/ผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม 8. ผสู้ อน/วิทยากร ใหค้ วามสนใจผู้เรยี น/ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม อยา่ งทั่วถงึ เท่าเทียม ไมเ่ ลอื กปฏบิ ัติ 9. ผสู้ อน/วิทยากร เปิดโอกาสให้ผู้เรียน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมซกั ถามปญั หาหรอื ขอ้ สงสยั 10. การจัดกระบวนการเรียนรู้ในฐานการเรียนรมู้ ีความสนุกสนานและนา่ สนใจ ตอนที่ 3 ขอ้ คิดเหน็ /ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................................................................................................................. ................... ขอขอบคุณในความร่วมมือ

คู่มอื ฐานการเรียนร้ทู ่ี 9 ฐานการคัดแยกขยะ 35 คณะผูจ้ ดั ทำ ที่ปรกึ ษา ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเมืองหนองบวั ลำภู 1. นายวนิ ัย แสงใส รกั ษาการในตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอสวุ รรณคหู า ครูผูช้ ่วย 2. นางสาวพิชชาพมิ พ์ เพช็ รเวยี ง ครูผ้ชู ว่ ย 3. นางสาวอารยา วชิ าสวัสด์ิ ครอู าสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียน 4. นายวชรพล เพียเทพ ครอู าสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรยี น 5. นายอภิชาติ สทุ ธโิ สม ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 6. นางสวุ รรณา สุทธิโสม คณะทำงาน ครู กศน.ตำบล 1. นางศภุ ชั ญา พรชัย ครู กศน.ตำบล 2. นายทรงศกั ด์ิ พรชัย ครู ศรช. 3. นางสาวปรียารตั น์ ท่นุ ใจ คณะเรยี บเรียงและจัดพิมพ์ ครู กศน.ตำบล นางศุภชั ญา พรชัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook