Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานสารบรรณ

งานสารบรรณ

Published by mrnok, 2021-03-24 13:33:23

Description: งานสารบรรณ

Search

Read the Text Version

๔๔

๔๕

๔๖

๔๗

๔๘

๔๙

๕๐

๕๑

๕๒

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

๕๗

๕๘

๕๙

๖๐

๖๑

๖๒

๖๓

๖๔

๖๕

๖๖

๖๗

๖๘

๖๙ ท่ี นร ๑๐๐๒/ว ๕๐ สาํ นักนายกรฐั มนตรี ทาํ เนยี บรฐั บาล กทม. ๑๐๓๐๐ ๑๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๐ เรื่อง การระบุคําวา “พ.ศ.” ในแบบคาํ สง่ั ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ หรอื หนังสือรับรอง เรียน เวยี นกระทรวง ทบวง กรม ดวยปรากฏวา มีสวนราชการตาง ๆ ถือปฏิบัติในการจัดทําหนังสือราชการตาม ระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ ประเภทตาง ๆ ดังตอไปน้ี คือ แบบคําสงั่ ระเบยี บ ขอ บงั คบั ประกาศ และหนงั สอื รบั รอง แตกตา งกนั กลา วคอื มที งั้ ทร่ี ะบแุ ละไมร ะบุ คําวา “พ.ศ.” ในหนงั สือดังกลาว ทาํ ใหก ารปฏิบัติในเรือ่ งนไ้ี มเ ปนแนวทางเดยี วกัน สํานกั นายกรฐั มนตรจี งึ ขอเรยี นซอ มความเขา ใจวา ตามระเบยี บฯ ขอ ๑๖ ขอ ๑๗ ขอ ๑๘ ขอ ๒๐ และขอ ๒๔ กําหนดวา หนงั สอื แตล ะชนดิ ตามขอ ตา ง ๆ ดงั กลา วใหจ ดั ทาํ ตามแบบทา ยระเบยี บ ซง่ึ ตามแบบที่ ๔ ถงึ แบบที่ ๗ และแบบที่ ๑๐ ทา ยระเบยี บกําหนดใหม คี ําวา “พ.ศ.” อยดู ว ย ในการจดั ทํา คาํ สงั่ ระเบยี บ ขอ บังคบั ประกาศ และหนงั สือรับรอง จงึ ตอ งระบุคาํ วา “พ.ศ.” ไวด วย ดงั ตัวอยาง ดงั ตอ ไปนี้ “สง่ั ณ วันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๐” “ประกาศ ณ วันท่ี ๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๓๐” “ใหไ ว ณ วันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๐” ตอไปดว ย จงึ เรยี นมาเพอื่ โปรดทราบ และกรณุ าแจง ใหส ว นราชการในสงั กดั ทราบและถอื ปฏบิ ตั ิ ขอแสดงความนับถอื (ŧª×Íè ) สุธี อากาศฤกษ (¹ÒÂÊ¸Ø Õ ÍÒ¡ÒÈÄ¡É) ปลัดสาํ นกั นายกรฐั มนตรี สาํ นกั งานปลัดสาํ นักนายกรฐั มนตรี กองกฎหมายและระเบยี บกลาง โทร.๒๘๒๒๖๙๔

๗๐

๗๑ ÀÒ¤¼¹Ç¡

๗๒

๗๓ ÀÒ¤¼¹Ç¡ ñ ¡ÒáíÒ˹´àÅ¢·Õè˹§Ñ ÊÍ× ÍÍ¡ รหัสตวั พยัญชนะและเลขประจาํ ของเจาของเรื่องตามระเบยี บขอ ๑๑.๑ ขอ ๑๒.๒ และ ขอ ๑๔.๑ ประกอบดวยรหัสตัวพยัญชนะสองตัวแลวตอ ดวยเลขประจาํ ของเจาของเร่อื ง ๑. รหัสตัวพยัญชนะสองตัว ใชแทนชื่อกระทรวง ทบวง หรือสวนราชการที่ไมสังกัด สาํ นกั นายกรฐั มนตรี กระทรวง ทบวง หรือจังหวัด การกาํ หนดรหัสตัวพยัญชนะนอกจากทก่ี ําหนดไวน้ี ใหป ลดั สาํ นกั นายกรฐั มนตรซี งึ่ เปน ผรู กั ษาการตามระเบยี บเปน ผกู าํ หนดรหสั ตวั พยญั ชนะ สาํ หรบั จงั หวดั ใหก าํ หนดโดยหารือกระทรวงมหาดไทยเพ่อื มิใหการกําหนดอักษรสองตัวนี้มีการซํา้ กนั ๑.๑ รหสั ตวั พยญั ชนะประจาํ กระทรวง ทบวง และสว นราชการทไี่ มส งั กดั สาํ นกั นายก รัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง ใหก ําหนดไว ดังนี้ สาํ นักนายกรฐั มนตรี นร กระทรวงกลาโหม กห กระทรวงการคลงั กค กระทรวงการตา งประเทศ กต กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา กก กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย พม กระทรวงเกษตรและสหกรณ กษ กระทรวงคมนาคม คค กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม ทส กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ทก กระทรวงพลังงาน พน กระทรวงพาณชิ ย พณ กระทรวงมหาดไทย มท กระทรวงยุตธิ รรม ยธ กระทรวงแรงงาน รง กระทรวงวฒั นธรรม วธ กระทรวงวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี วท กระทรวงศกึ ษาธิการ ศธ กระทรวงสาธารณสขุ สธ กระทรวงอตุ สาหกรรม อก สาํ นักราชเลขาธกิ าร รล

๗๔ สาํ นักพระราชวงั พว สาํ นกั งานพระพุทธศาสนาแหงชาติ พศ สํานกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพ่ือประสานงาน คร โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาํ ริ ปป สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต วช ในภาครัฐ รถ สาํ นกั งานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ ตช ราชบณั ฑิตยสถาน ปง สาํ นักงานตํารวจแหง ชาติ อส สาํ นักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงนิ ตผ สาํ นกั งานอัยการสงู สดุ สผ สาํ นักงานการตรวจเงนิ แผนดนิ สว สาํ นักงานเลขาธิการสภาผแู ทนราษฎร สํานักงานเลขาธกิ ารวุฒิสภา ๑.๒ รหัสตวั พยญั ชนะประจําจังหวดั และกรงุ เทพมหานคร ใหก าํ หนดไวด งั นี้ ลพ กระบ่ี กบ บุรรี มั ย บร ลําพนู กรงุ เทพมหานคร กท ปทมุ ธานี ปท เลย ลย กาญจนบุรี กจ ประจวบครี ขี นั ธ ปข ศรีสะเกษ ศก กาฬสินธุ กส ปราจนี บุรี ปจ สกลนคร สน กาํ แพงเพชร กพ ปต ตานี ปน สงขลา สข ขอนแกน ขก พะเยา พย สตูล สต จนั ทบุรี จบ พระนครศรอี ยธุ ยา อย สมทุ รปราการ สป ฉะเชงิ เทรา ฉช พังงา พง สมทุ รสงคราม สส ชลบรุ ี ชบ พัทลงุ พท สมทุ รสาคร สค ชยั นาท ชน พจิ ติ ร พจ สระแกว สก ชัยภมู ิ ชย พษิ ณโุ ลก พล สระบุรี สบ ชุมพร ชพ เพชรบรุ ี พบ สงิ หบรุ ี สห เชยี งราย ชร เพชรบรู ณ พช สุโขทัย สท เชียงใหม ชม แพร พร สุพรรณบุรี สพ ตรัง ตง ภเู ก็ต ภก สุราษฎรธ านี สฎ ตราด ตร มหาสารคาม มค สุรินทร สร

๗๕ ตาก ตก มกุ ดาหาร มห หนองคาย นค นครนายก นย แมฮองสอน มส หนองบวั ลําภู นภ นครปฐม นฐ ยโสธร ยส อางทอง อท นครพนม นพ ยะลา ยล อํานาจเจรญิ อจ นครราชสีมา นม รอยเอ็ด รอ อดุ รธานี อด นครศรธี รรมราช นศ ระนอง รน อุตรดิตถ อต นครสวรรค นว ระยอง รย อุทยั ธานี อน นนทบรุ ี นบ ราชบุรี รบ อบุ ลราชธานี อบ นราธวิ าส นธ ลพบุรี ลบ นา น นน ลาํ ปาง ลป ๒. เลขประจาํ ของเจาของเร่ือง ประกอบดว ยตวั เลขสีต่ วั ใหก ําหนดดังน้ี ๒.๑ สาํ หรับราชการบริหารสวนกลาง ๒.๑.๑ ตวั เลขสองตวั แรก สาํ หรบั กระทรวง หรอื ทบวง หมายถงึ สว นราชการ ระดับกรม โดยเร่ิมจากตัวเลข ๐๑ เรียงไปตามลําดับสวนราชการตามกฎหมายวาดวยการปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม หากมีการเปลีย่ นแปลงโดยยบุ สวนราชการใดใหป ลอยตวั เลขนัน้ วา ง หากมกี าร จดั ต้งั สวนราชการขึน้ ใหมใหใ ชเ รียงลําดับถดั ไป ในกรณีกระทรวง หรือทบวงใดมีกรม หรือสวนราชการที่เรียกช่ืออยางอื่น ทมี่ ฐี านะเปน กรม ตง้ั แต ๑๐๐ สว นราชการขน้ึ ไป ใหใ ชเ ลขไดส ามตวั โดยเรม่ิ จาก ๐๐๑ เรยี งไปตามลาํ ดบั สําหรับสวนราชการที่ไมสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง ใหใชต วั เลข ๐๐ ๒.๑.๒ ตัวเลขสองตวั หลงั หมายถงึ สาํ นกั กอง หรือสว นราชการที่มีฐานะ เทียบกอง โดยเริ่มจากตัวเลข ๐๑ เรียงไปตามลําดับสวนราชการ ตามกฎหมายวาดวยการแบง สวนราชการ หากมีการเปล่ียนแปลง โดยยุบสวนราชการใดใหปลอยตัวเลขน้ันวาง หากมีการจัดตั้ง สวนราชการขน้ึ ใหมใหใชเ รยี งลาํ ดบั ถดั ไป ในกรณีที่มีสํานัก กอง สวนราชการท่ีมีฐานะเทียบกอง หรือหนวยงาน ระดับกอง ตัง้ แต ๑๐๐ สว นราชการขนึ้ ไป ใหใชเ ลขไดสามตวั โดยเร่มิ จาก ๐๐๑ เรยี งไปตามลาํ ดบั ถามีกองหรือหนวยงานระดับกองที่มิไดจัดตั้งโดยกฎหมายวาดวยการแบง สวนราชการใหหัวหนาสวนราชการระดับกรมเปนผูกําหนดตัวเลขสองตัวหลัง โดยใชตัวเลขในลําดับ ตอ จากกองหรอื หนวยงานระดบั กอง ตามกฎหมายวาดวยการแบง สวนราชการ

๗๖ μÇÑ ÍÂÒ‹ §àÅ¢·ÕËè ¹Ñ§Ê×ÍÍÍ¡¢Í§ÃÒª¡ÒÃʋǹ¡ÅÒ§ สาํ นกั งานปลัดสาํ นักนายกรัฐมนตรี กองกลาง นร ๐๑๐๑ สาํ นักงานการตรวจเงินแผนดิน สํานกั งานบริหารงานกลาง ตผ ๐๐๑๓ ๒.๒ สาํ หรบั ราชการสว นภมู ภิ าค ๒.๒.๑ ตัวเลขสองตัวแรก หมายถึง อําเภอหรือก่ิงอําเภอ โดยเร่ิมจาก ตวั เลข ๐๑ ซงึ่ โดยปกติใหใชสําหรบั อําเภอเมอื งเรยี งไปตามลําดบั ตามที่กระทรวงมหาดไทยกาํ หนด สําหรับหนวยงานในราชการสวนภูมิภาคที่ขึ้นกับจังหวัดโดยตรง ตัวเลข สองตวั แรกใหใชต ัวเลข ๐๐ ๒.๒.๒ ตัวเลขสองตัวหลัง หมายถึง หนวยงานในราชการสวนภูมิภาค ท่ีสังกัดจงั หวัดหรอื อําเภอ โดยใหกาํ หนด ดังน้ี สํานักนายกรฐั มนตรี ประชาสัมพันธ ๐๑ กระทรวงกลาโหม สัสดี ๐๒ กระทรวงการคลงั คลงั ๐๓ กระทรวงการทอ งเที่ยวและกฬี า ทอ งเที่ยวและกีฬา ๐๔ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย พฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย ๐๕ กระทรวงเกษตรและสหกรณ เกษตรและสหกรณ ๐๖ ประมง ๐๗ ปศุสัตว ๐๘ เกษตร ๐๙ สหกรณ ๑๐ ปฏริ ปู ท่ีดิน ๑๑ กระทรวงคมนาคม ขนสง ๑๒ กระทรวงดจิ ทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คม สถติ ิ ๑๓

๗๗ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอม ๑๔ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงพลังงาน พลงั งาน ๑๕ กระทรวงพาณชิ ย พาณิชย ๑๖ กระทรวงมหาดไทย สาํ นักงานจังหวัด ๑๗ ปกครอง ๑๘ พฒั นาชุมชน ๑๙ ท่ดี ิน ๒๐ ปอ งกันและบรรเทาสาธารณภัย ๒๑ โยธาธกิ ารและผังเมอื ง ๒๒ สง เสริมการปกครองทอ งถิ่น ๒๓ กระทรวงยุติธรรม คุมประพฤติ ๒๔ เรอื นจํา ๒๕ บังคบั คดี ๒๖ กระทรวงแรงงาน แรงงาน ๒๗ จดั หางาน ๒๘ สวัสดิการและคมุ ครองแรงงาน ๒๙ ประกันสงั คม ๓๐ กระทรวงวัฒนธรรม วัฒนธรรม ๓๑ กระทรวงสาธารณสุข สาธารณสุข ๓๒ กระทรวงอุตสาหกรรม อตุ สาหกรรม ๓๓ สาํ นกั งานพระพุทธศาสนาแหง ชาติ พระพทุ ธศาสนา ๓๔ ในกรณที มี่ กี ารเปลย่ี นแปลงอาํ เภอ กง่ิ อาํ เภอ แผนกงานตา งๆ ของจงั หวดั หรอื หนว ยงาน ในราชการสวนภูมิภาคที่ขึ้นกับจังหวัดโดยตรง โดยยุบหนวยงานใดใหปลอยตัวเลขนั้นวาง หากมี การจัดตั้งหนวยงานข้นึ ใหมใ หใ ชเ รยี งลาํ ดบั ถัดไป

๗๘ μÑÇÍ‹ҧàÅ¢·Õè˹§Ñ Ê×ÍÍÍ¡¢Í§ÃÒª¡ÒÃÊÇ‹ ¹ÀÙÁÔÀÒ¤ จงั หวัดกระบ่ี กบ สาํ นักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัด กบ ๐๐๒๖ สาํ นักงานศึกษาธิการอาํ เภอเมืองกระบ่ี กบ ๐๑๒๖ ๒.๓ ใหม กี ารปรบั ปรงุ เลขประจาํ ของเจา ของเรอ่ื งใหเ ปน ไปตามลาํ ดบั ตามกฎหมาย วา ดว ยการปรบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม และกฎหมายวา ดว ยการแบง สว นราชการทกุ ๕ ป โดยถอื เอา ปพทุ ธศกั ราชท่ลี งทา ยดว ยเลข ๕ และเลข ๐ เปน หลัก ๒.๔ ในกรณที ก่ี ระทรวง ทบวง สว นราชการทไี่ มส งั กดั สาํ นกั นายกรฐั มนตรี กระทรวง ทบวง หรอื จงั หวดั ประสงคจ ะใหร ฐั วสิ าหกจิ หรอื หนว ยงานอนื่ ใด ทม่ี ไิ ดเ ปน สว นราชการซง่ึ อยใู นสงั กดั ใชร หัสตัวพยัญชนะของกระทรวง ทบวง สว นราชการทีไ่ มส งั กดั สํานักนายกรฐั มนตรี กระทรวง ทบวง หรอื จังหวดั แลวแตก รณี ใหใชตัวเลขสองตัวแรกเรม่ิ จาก ๕๑ เรยี งไปตามลําดบั หากกระทรวง หรือทบวงมีสวนราชการระดับกรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่อ อยางอ่ืนที่มีฐานะเปนกรมต้ังแต ๑๐๐ สวนราชการขึ้นไป การกําหนดเลขประจําของรัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานอื่นใด ท่ีมิไดเปนสวนราชการ ตามวรรคหนึ่ง ใหใชตัวเลขสามตัว โดยเริ่มจาก ๕๑๐ เรียงไปตามลําดบั ๓. เลขประจําของเจาของเรื่องซ่ึงสวนราชการใดกําหนดข้ึนเพิ่มเติมจากท่ีกําหนดใน ๑ และ ๒ ใหแจง ใหป ลัดสํานกั นายกรัฐมนตรีทราบดวย ๔. การกาํ หนดเลขทห่ี นงั สอื ออกของคณะกรรมการ ใหล งรหสั ตวั พยญั ชนะและเลขประจาํ เจา ของเร่อื ง ในกรณีท่ีคณะกรรมการประสงคจะกาํ หนดรหัสตวั พยัญชนะเพม่ิ ขึน้ ใหก ําหนดไดไ มเ กิน สต่ี วั โดยใหอ ยใู นวงเลบ็ ตอ จากรหสั ตวั พยญั ชนะของเจา ของเรอื่ งและรหสั ตวั พยญั ชนะดงั กลา ว จะตอ ง ไมซ้ํากบั รหัสตัวพยญั ชนะทกี่ าํ หนดไวใ นภาคผนวกน้ี แลวตอ ดว ยเลขประจาํ ของเจา ของเร่อื ง ๕. สาํ หรบั สว นราชการตา่ํ กวา ระดบั กรม หรอื จงั หวดั หากจาํ เปน ตอ งออกหนงั สอื ราชการ เอง หรือเพ่ือประโยชนแกการปฏิบัติงานสารบรรณ ใหสวนราชการระดับกรมเจาสังกัด หรือจังหวัด กําหนดเลขรหัสใหไมเกินสามตําแหนง โดยใหใสจุดหลังเลขประจําของเจาของเร่ืองตาม ๒ แลวตอ ดว ยเลขรหัสท่กี าํ หนดข้ึนดงั กลา ว การใหเ ลขรหสั ตามวรรคหนง่ึ ถา สามารถจดั เรยี งสว นราชการตามลาํ ดบั พยญั ชนะและสระ ไดกใ็ หเ รยี งตามน้ัน

๗๙ ¿“§ºπ«° Ú §”¢Èπ÷ μâπ  √√æπ“¡ §”≈ß∑⓬ „πÀπ—ß Õ◊ √“™°“√ ·≈–§”∑„’Ë ™„â π°“√®à“Àπ“â ´Õß º√⟠—∫Àπ—ß ◊Õ §”¢÷Èπμπâ  √√æπ“¡ §”≈ß∑⓬ §”∑„’Ë ™„â π°“√®“à Àπâ“´Õß Ò. æ√–√“™«ß»å Ò.Ò æ√–∫“∑ ¡‡¥Á® ¢Õ‡¥™–ΩÉ“≈–ÕÕß∏ÿ≈’ „μΩâ “É ≈–ÕÕß∏≈ÿ æ’ √–∫“∑ §«√¡§‘ «√·≈â«·μà®–∑√ß æ√–‡®“â Õ¬ŸÀà «— æ√–∫“∑ª°‡°≈â“- æ√–°√ÿ≥“‚ª√¥‡°≈“â ª°°√–À¡Õà ¡ ‚ª√¥°√–À¡Õà ¡ ¢Õ‡¥™– ¢“â æ√–æÿ∑∏‡®â“ (ÕÕ° ¢“â æ√–æ∑ÿ ∏‡®“â ...(≈ß™ÕË◊ ).. ™◊ÕË ‡®â“¢ÕßÀπ—ß ◊Õ) ¢Õ ¢â“æ√–æ∑ÿ ∏‡®“â ( À √◊ Õ ® – ‡ Õ “ §” «à “ æ√–√“™∑“πæ√–∫√¡- ¢Õ‡¥™– √“™«‚√°“ °√“∫∫ß— §¡ ¡“‰«∑â “â ¬™◊ÕË ‡®â“¢Õß ∑Ÿ≈æ√–°√ÿ≥“∑√“∫ΩÉ“ Àπ—ß Õ◊ °‰Á ¥â) ≈–ÕÕß∏≈ÿ ’æ√–∫“∑ Ò.Ú  ¡‡¥®Á æ√– ¢Õ‡¥™–Ω“É ≈–ÕÕß∏≈ÿ ’ „μΩâ “É ≈–ÕÕß∏≈ÿ æ’ √–∫“∑ ¢Õæ√–√“™∑“π ∑≈Ÿ ‡°≈“â ∑Ÿ≈ ∫√¡√“™‘ππ’ “∂ æ√–∫“∑ª°‡°≈“â - §«√¡§‘ «√·≈«â ·μ®à –∑√ß °√–À¡Õà ¡∂«“¬ ¢Õ‡¥™– ª°°√–À¡Õà ¡ æ√–°√ÿ≥“‚ª√¥‡°≈“â ¢“â æ√–æ∑ÿ ∏‡®“â (ÕÕ° ¢“â æ√–æÿ∑∏‡®â“ ‚ª√¥°√–À¡Õà ¡ ¢Õ‡¥™– ™ËÕ◊ ‡®“â ¢ÕßÀπ—ß ◊Õ) ¢Õ ¢“â æ√–æ∑ÿ ∏‡®“â ...(≈ß™ÕË◊ ).. æ√–√“™∑“πæ√–√“™ ( À √◊ Õ ® – ‡ Õ “ §” «à “ «‚√°“ °√“∫∫—ß§¡∑Ÿ≈ ¢Õ‡¥™– ∑√“∫Ω“É ≈–ÕÕß∏ÿ≈’ ¡“‰«∑â ⓬™◊ËÕ‡®â“¢Õß æ√–∫“∑ Àπ—ß ◊Õ°‰Á ¥)â Ò.Û  ¡‡¥®Á æ√– ∫√¡√“™‘π’  ¡‡¥®Á æ√– ¢Õæ√–√“™∑“π°√“∫ ∫√¡√“™™ππ’ §«√¡‘§«√·≈«â ·μà®–∑√ß ∫—ß§¡∑Ÿ≈... ¢Õæ√–√“™∑“π°√“∫ „μâΩÉ“≈–ÕÕßæ√–∫“∑ æ√–°√≥ÿ “‚ª√¥‡°≈â“ (√–∫ÿæ√–π“¡)...  ¡‡¥Á®æ√– ∫ß— §¡∑Ÿ≈.................. ‚ª√¥°√–À¡Õà ¡ ¬ÿæ√“™ ( ¬“¡ ..(ÕÕ°æ√–π“¡)...... ¢“â æ√–æ∑ÿ ∏‡®“â ...(≈ß™Õ◊Ë ).. ¡°ÿÆ√“™ ∑√“∫Ω“É ≈–ÕÕßæ√–∫“∑ ¢“â æ√–æÿ∑∏‡®“â °ÿ¡“√)  ¡‡¥®Á æ√– ∫√¡√“™°ÿ¡“√’

๘๐ ºâ√Ÿ ∫— Àπ—ß Õ◊ §”¢÷πÈ μâπ  √√æπ“¡ §”≈ß∑“â ¬ §”∑„Ë’ ™„â π°“√®“à Àπâ“´Õß Ò.Ù  ¡‡¥®Á ‡®â“øÑ“ ¢Õæ√–√“™∑“π°√“∫ „μΩâ “É æ√–∫“∑ §«√¡‘§«√·≈«â ·μà®– ¢Õæ√–√“™∑“π°√“∫∑≈Ÿ ∑≈Ÿ .....(ÕÕ°æ√–π“¡) ‚ª√¥‡°≈â“‚ª√¥°√–À¡àÕ¡ .....(√–∫æÿ √–π“¡)..... .....∑√“∫ΩÉ“æ√–∫“∑ ¢â“æ√–æÿ∑∏‡®“â ¢“â æ√–æ∑ÿ ∏‡®“â ...(≈ß™ÕË◊ )... Ò.ı æ√–∫√¡«ß»å ¢Õª√–∑“π°√“∫∑Ÿ≈ „μâΩÉ“æ√–∫“∑ §«√¡‘§«√·≈â«·μ®à – ¢Õæ√–√“™∑“π°√“∫∑≈Ÿ ™πÈ— æ√–Õß§‡å ®“â ......(ÕÕ°æ√–π“¡)....... ‚ª√¥‡°≈â“‚ª√¥°√–À¡àÕ¡ .....(√–∫æÿ √–π“¡)..... ∑√“∫Ω“É æ√–∫“∑ ¢â“æ√–æ∑ÿ ∏‡®â“ ¢“â æ√–æ∑ÿ ∏‡®“â ...(≈ß™ÕË◊ )... Ò.ˆ æ√–‡®“â «√«ß»‡å ∏Õ (∑¡’Ë ‘‰¥â∑√ß°√¡) °√“∫∑Ÿ≈ ΩÉ“æ√–∫“∑ §«√¡§‘ «√·≈«â ·μ®à –‚ª√¥ °√“∫∑≈Ÿ æ√–Õπ«ÿ ß»å™Èπ— .....(ÕÕ°æ√–π“¡)....... (™“¬)‡°≈“â °√–À¡Õà ¡ .....(√–∫æÿ √–π“¡)..... æ√–«√«ß»‡å ∏Õ ∑√“∫ΩÉ“æ√–∫“∑ (À≠ß‘ )‡°≈“â °√–À¡àÕ¡©π— (∑’∑Ë √ß°√¡) Ò.˜ æ√–Õπÿ«ß»å ∑≈Ÿ .....(ÕÕ°æ√–π“¡)... Ω“É æ√–∫“∑ §«√¡§‘ «√·≈«â ·μ®à –‚ª√¥ ∑≈Ÿ .....(√–∫æÿ √–π“¡)..... ™È—πæ√–«√«ß»å‡∏Õ ∑√“∫ΩÉ“æ√–∫“∑ (™“¬)°√–À¡Õà ¡ (∑¡Ë’ ‰‘ ¥∑â √ß°√¡) (À≠ß‘ )°√–À¡Õà ¡©—π Ò.¯ æ√–Õπÿ«ß»å ∑≈Ÿ .....(ÕÕ°æ√–π“¡)... ΩÉ“æ√–∫“∑ ·≈«â ·μà®–‚ª√¥ ∑≈Ÿ .....(√–∫æÿ √–π“¡)..... ™—ÈπÀ¡àÕ¡‡®â“ (™“¬)°√–À¡Õà ¡ (À≠ß‘ )°√–À¡Õà ¡©—π Ú. æ√–¿°‘ …ÿ Ú.Ò  ¡‡¥Á®æ√– ¢Õª√–∑“π°√“∫∑Ÿ≈ „μâΩ“É æ√–∫“∑ §«√¡§‘ «√·≈â«·μ®à – ¢Õª√–∑“π°√“∫∑Ÿ≈ ‚ª√¥‡°≈“â ‚ª√¥°√–À¡Õà ¡ .....(√–∫ÿæ√–π“¡).....  —ß¶√“™‡®“â .....(ÕÕ°æ√–π“¡)..... ¢“â æ√–æ∑ÿ ∏‡®“â Ú.Ú  ¡‡¥Á®æ√– °√“∫∑≈Ÿ ........................ Ω“É æ√–∫“∑ §«√¡§‘ «√·≈«â ·μ®à –‚ª√¥ °√“∫∑Ÿ≈  ß— ¶√“™ (™“¬)‡°≈“â °√–À¡àÕ¡ .....(√–∫æÿ √–π“¡)..... (À≠‘ß)‡°≈“â °√–À¡Õà ¡©—π Ú.Û  ¡‡¥®Á æ√– √“™“§≥– π¡ — °“√........................ æ√–§≥ÿ ‡®“â ¢Õπ¡ — °“√¥«â ¬§«“¡ π¡ — °“√........................ ‡§“√æÕ¬“à ߬‘Ëß √Õß ¡‡¥Á® °√–º¡-¥‘©π— æ√–√“™“§≥–

๘๑ ºâŸ√—∫Àπ—ß ◊Õ §”¢È÷πμâπ  √√æπ“¡ §”≈ß∑“â ¬ §”∑Ë’„™„â π°“√®“à Àπ“â ´Õß Ú.Ù æ√–√“™“§≥– π¡ — °“√...................... æ√–§ÿ≥∑à“π ¢Õπ¡ — °“√¥â«¬§«“¡ π¡— °“√...................... °√–º¡-¥‘©—𠇧“√æÕ¬“à ߠߟ Ú.ı æ√–¿°‘ … ÿ ß¶å π¡ — °“√...................... ∑“à π ¢Õπ¡— °“√¥«â ¬§«“¡ π¡ — °“√...................... ∑«—Ë ‰ª °√–º¡-¥‘©—𠇧“√æ Û. ∫§ÿ §≈∏√√¡¥“懑 »… Û.Ò ª√–∏“πÕß§¡πμ√’ 𓬰√—∞¡πμ√’ ª√–∏“π√—∞ ¿“ ª√–∏“π ¿“ ºâŸ·∑π√“…Æ√ ª√–∏“π«≤ÿ  ‘ ¿“ ª√–∏“π»“≈Æ’°“ ª√–∏“π»“≈√∞— ∏√√¡π≠Ÿ ª√–∏“π»“≈ª°§√Õß Ÿß ¥ÿ ª√–∏“π°√√¡°“√- °√“∫‡√¬’ π ¢â“懮ⓠ¢Õ· ¥ß§«“¡π∫— ∂◊Õ °√“∫‡√¬’ π °“√‡≈◊Õ°μÈ—ß °√–º¡-º¡ Õ¬à“ß¬Ë‘ß ª√–∏“π°√√¡°“√- ¥©‘ —π-∑“à π  ∑‘ ∏‘¡πÿ…¬™π ·Àßà ™“μ‘ ª√–∏“π°√√¡°“√- °“√ªÑÕß°—π·≈– ª√“∫ª√“¡°“√- ∑ÿ®√‘μ·Ààß™“μ‘ ª√–∏“π°√√¡°“√- μ√«®‡ß‘π ·ºàπ¥‘π ª√–∏“πºμ⟠√«®°“√·ºπà ¥π‘ À√Õ◊ ºμ⟠√«®°“√·ºπà ¥π‘ Õ¬— °“√ ßŸ  ¥ÿ √—∞∫√ÿ ÿ… Û.Ú ∫§ÿ §≈∏√√¡¥“ ‡√¬’ π ¢“â æ‡®â“ ¢Õ· ¥ß§«“¡π∫— ∂Õ◊ ‡√’¬π πÕ°®“° Û.Ò °√–º¡-º¡ ¥‘©—π-∑“à π À¡“¬‡Àμÿ (Ò) º∑⟠‡’Ë ™‘≠°√–· æ√–∫√¡√“™‚Õß°“√‰ª¬—ߺ„Ÿâ ¥ ‰¡àμâÕß„™â§”≈ß∑“â ¬„πÀπß—  ◊Õπ—Èπ (Ú) §”∑„’Ë ™„â πÀπß—  Õ◊ ∂ß÷ æ√–√“™«ß»·å ≈–æ√–¿°‘ …ÿ μ“¡ Ò ·≈– Ú „À„â ™§â ”√“™“»æ— ∑å À√Õ◊ ∂Õâ ¬§” ¿ÿ “æ ´ßË÷ ‡ªπì ‰ªμ“¡¢π∫∏√√¡‡π¬’ ¡ ª√–‡æ≥’ À√Õ◊ μ“¡∑∑Ë’ “ß√“™°“√°”Àπ¥ (Û) „π°√≥’∑Ë’¡’Àπ—ß ◊Õ∂÷ߺâŸ√—∫‡©æ“–μ”·Àπàß „Àℙ⧔¢È÷πμâπ  √√æπ“¡ §”≈ß∑⓬„π Àπß—  Õ◊ √“™°“√·≈–§”∑’„Ë ™„â π°“√®à“Àπ“â ´Õßμ“¡μ”·Àπàß

๘๒

๘๓ º··Õè ó สารบรรณตาํ รวจ ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤ ๑. เพ่ือใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ และสามารถอธิบายวิธีปฏิบัติในการจัดทํา เกย่ี วกบั การส่งั การ การบนั ทึกขอความ การจดั ทําหนังสอื การเสนองาน การรบั และการสงหนงั สอื การคัดสาํ เนา และการลงช่ือตรวจ ไดอ ยางถกู ตอ ง ๒. เพื่อใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ และสามารถอธิบายวิธีปฏิบัติการเขียนเลข สวนราชการประจาํ หนว ยงานภายในสํานกั งานตาํ รวจแหง ชาติ ไดอ ยางถกู ตอ ง ๓. เพ่อื ใหผูเ รียนมคี วามรู ความเขาใจ และสามารถอธบิ ายวธิ ปี ฏบิ ัติ วิธกี ารเขียนคํายอ ของหนวยงานภายในสํานักงานตาํ รวจแหงชาติ ไดอ ยางถูกตอ ง ʋǹนํา งานสารบรรณตํารวจ เปนระเบียบท่ีสํานักงานตํารวจแหงชาติ ไดกําหนดดานการจัดทํา เอกสารไวเปนการเฉพาะภายในสํานักงานตํารวจแหงชาติ เพ่ือใหขาราชการตํารวจยึดถือปฏิบัติ เปนแนวทางเดียวกัน ตามระเบียบสํานักงานตํารวจแหงชาติ วาดวยประมวลระเบียบการตํารวจ ไมเ กี่ยวกบั คดี ลกั ษณะท่ี ๕๔ งานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๕๖ §Ò¹ÊÒúÃóตําÃǨ ขอ ๑ คณะรฐั มนตรไี ดล งมตใิ หก ระทรวง ทบวง กรม ตา งถอื ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บสาํ นกั นายก รัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ สํานักงานตํารวจแหงชาติ ก็จักตองปฏิบัติตามระเบียบงานสารบรรณ นั้นดวย ฉะน้ัน เพื่อประโยชนในการปฏิบัติราชการ สํานักงานตํารวจแหงชาติ จึงไดวางวิธีปฏิบัติ เกยี่ วกับหนังสือ เปน การภายใน ไวบ างประการ เพ่อื ใหร ะเบยี บงานสารบรรณภายในสาํ นักงานตํารวจ แหงชาติ ดาํ เนนิ ไปโดยเหมาะสมรัดกมุ ยิง่ ขนึ้ ขอ ๒ ระเบยี บของสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ ไดแ ก ประมวลระเบยี บการตาํ รวจเกย่ี วกบั คดี ประมวลระเบยี บการตํารวจไมเกย่ี วกับคดี และระเบียบสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตทิ ีผ่ บู ัญชาการตํารวจ แหง ชาติไดกําหนดหรือสัง่ การไวเปน ระเบยี บแบบแผน เพือ่ ใหข า ราชการตํารวจถอื ปฏิบัติ ๒.๑ ประมวลระเบียบการตํารวจเก่ียวกับคดี เปนระเบียบที่วางไวเพื่อให ขาราชการตํารวจหรือพนักงานสอบสวนปฏิบัติการเกี่ยวกับการใชอํานาจ หรือการปฏิบัติหนาท่ีตาม ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญาหรือกฎหมายอ่ืน ๒.๒ ประมวลระเบยี บการตาํ รวจไมเ กยี่ วกบั คดี เปน ระเบยี บทวี่ างไวใ หข า ราชการ ตาํ รวจถือปฏิบตั ิ

๘๔ ๒.๓ ระเบยี บสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ เปน ระเบยี บทผี่ บู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ ไดว างไวโ ดยอาศัยอํานาจของกฎหมายอืน่ ขอ ๓ หนงั สอื ราชการภายในทใ่ี ชห รอื ตดิ ตอ กนั ภายในหนว ยงานสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ ใหปฏิบัติตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ และที่แกไขเพ่ิมเติม และตอ งปฏบิ ัติตามที่กาํ หนดไว ดงั นี้ ๓.๑ ชอื่ สวนราชการ วนั เดอื น ป และขอ ความที่ระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ และท่ีแกไขเพิ่มเติม มิไดกําหนดไว ถาสํานักงานตํารวจแหงชาติ ไดกาํ หนดวา ใหใชค าํ ยอ อยา งไร กใ็ หใชคาํ ยอ ตามน้นั ๓.๒ หนงั สอื ราชการหรอื เอกสารของสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตทิ ต่ี อ งสงวนเปน ความลบั ใหป ฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า ดว ยการรกั ษาความปลอดภยั แหง ชาติ หรอื ระเบียบวา ดว ยการรกั ษาความลบั ของทางราชการ ขอ ๔ การลงช่ือในหนังสือราชการ ใหลงลายมือชื่อเจาของหนังสือ และพิมพช่ือตัว ช่ือสกลุ ของเจา ของลายมอื ชอื่ ภายในวงเล็บไวใตลายมอื ช่ือและใหล งตําแหนงของเจาของหนังสอื การลงชอื่ ในบันทกึ ใหล งลายมอื ช่ือเจา ของหนงั สือ และพิมพชอ่ื ตวั ชอ่ื สกลุ ของเจา ของ ลายมือช่ือภายในวงเล็บไวใตลายมือช่ือและใหลงตําแหนงของผูบันทึก ในกรณีที่ไมใชกระดาษบันทึก ขอความใหลงวัน เดือน ป ทบ่ี ันทกึ ไวดวย การเขียนหรือพิมพชื่อบุคคล บริษัท หางราน และสถานท่ีของคนตางดาวเปนอักษร ภาษาไทยหากใชต วั อกั ษรไมถ กู ตอ งอาจทาํ ใหเ ขา ใจผดิ เปน คนละคนหรอื คนละแหง ได ดงั นน้ั ใหเ ขยี นชอื่ หรอื พิมพอ ักษรของภาษานนั้ หรอื ภาษาอังกฤษกาํ กับไวดวย ถาสามารถทําได การเขียนหรือพิมพชื่อของคนตางดาวในรายงานหรือหนังสือราชการที่ตองใหมีอักษร ภาษาอังกฤษกํากับไว ใหเขียนหรือพิมพแตช่ือท่ีอางในคร้ังแรกเทานั้น ไมตองเขียนหรือพิมพกํากับ ทุกคราวท่ีอาง หากคนตางดาวมีหนังสือเดินทางใหเขียนหรือพิมพช่ือคนตางดาวเปนภาษาอังกฤษ ตามหนังสือเดินทาง และชื่อบริษทั หางรา นตามเอกสารหนงั สอื รับรองการจดทะเบยี นนิตบิ ุคคลหรือ เอกสารการจดทะเบียนการคา ขอ ๕ การสั่งการ กระทําได ๔ วธิ ี ไดแ ก ๑.๑ กระทําดวยหนังสอื ๑.๒ กระทาํ ดวยวาจา ๑.๓ กระทําดวยเครอ่ื งมือสื่อสาร ๑.๔ กระทาํ ดว ยวธิ ีการทางอิเล็กทรอนิกส โดยปกตใิ หส ง่ั การดว ยหนงั สอื แตใ นบางกรณที เี่ ปน เรอ่ื งสาํ คญั เรง ดว น จาํ เปน อาจกระทาํ ดว ยวาจา หรือดว ยเคร่อื งมอื ส่ือสารหรอื ดว ยวิธีการทางอิเลก็ ทรอนิกส แลวใหมหี นังสือยืนยนั ตามไป โดยเรว็ ทส่ี ดุ เวน แตก ารสง่ั การทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สน นั้ ไดป ฏบิ ตั ติ ามวธิ กี ารทกี่ าํ หนดไวใ นพระราชบญั ญตั ิ วา ดว ยธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส พ.ศ.๒๕๔๔ และที่แกไขเพ่มิ เติม

๘๕ ขอ ๖ ใหห วั หนา หนว ยงานตามกฎหมายวา ดว ยแบง สว นราชการสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ ดาํ เนินการดังน้ี ๖.๑ แตงตัง้ เจา หนาท่ีสารบรรณกลางของหนวยงาน และ ๖.๒ แตงตั้งเจาหนาท่ีนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับและผูชวยนายทะเบียน ขอ มูลขา วสารลบั ตามระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ ¡ÒÃ㪌º¹Ñ ·¡Ö ¢ŒÍ¤ÇÒÁ ขอ ๑ หนังสือราชการภายในสํานักงานตํารวจแหงชาติ ใหใชกระดาษบันทึกขอความ ไมวาจะเปนการบันทึกขอความเสนอผูบังคับบัญชา บันทึกยอเร่ือง บันทึกรายงานท่ีตนไดปฏิบัติมา บันทึกความเห็น บันทึกติดตอ หรือบันทึกสั่งการ การบันทึกนอกจากตองปฏิบัติตามระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรีวา ดว ยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ และท่แี กไ ขเพม่ิ เตมิ แลว ใหสวนราชการในสํานักงาน ตาํ รวจแหง ชาติปฏบิ ตั ติ ามความในบทน้ี ขอ ๒ แบบบนั ทึกขอความมี ๒ ขนาด คอื ขนาดใหญ (เอ ๔) และขนาดเลก็ (เอ ๕) บันทึกขนาดใหญใชในการบันทึกเสนอเร่ืองที่มีขอความยาว ซึ่งไมสามารถบรรจุขอความที่จะเสนอ ลงในบนั ทึกขนาดเล็กไดหมด บนั ทกึ ขนาดเล็กใหใ ชใ นการบนั ทึกเสนอเรอ่ื งท่มี ีขอ ความสน้ั ขอ ๓ คําข้ึนตนในบันทึกขอความใหใชคําวา เรียน ในกรณีที่ผูบังคับบัญชาส่ังการ ผใู ตบังคับบญั ชาไมตองมคี ําวา เรียน ใหระบยุ ศ ชือ่ ตวั ชอ่ื สกุล หรือตาํ แหนง หรอื ยศ ชอื่ ตวั ช่อื สกลุ และตําแหนง ของผูใ ตบ งั คับบญั ชา ขอ ๔ การลงความเห็นของเจาหนาท่ี ตามปกติใหใชบันทึกฉบับเดียว ถาขอความส้ัน ใหเขียน ถา ขอความยาวใหพ ิมพ และหากมขี อความมากกวา ๑ หนา หนาตอ ไปใหใ ชก ระดาษไมตอง มีตราครฑุ แตใ หมีคุณภาพเชนเดียวหรือใกลเ คยี งกบั แผนแรก การลงความเห็นในกระดาษบันทึกนั้น ใหลงความเห็นตามลําดับตําแหนง และถาเปน เร่ืองที่จะตองเสนอตอไป ผูลงความเห็นทุกคนจะตองบันทึกความเห็นตามลําดับจนกวาจะถึงท่ีสุด สว นผบู งั คบั บญั ชาทมี่ อี าํ นาจสงั่ การในเรอ่ื งนนั้ จะสงั่ การในตอนทา ยของกระดาษบนั ทกึ หรอื จะบนั ทกึ สงั่ การในชองวา งของกระดาษบันทึกในหนา แรกก็ได กรณผี บู งั คบั บญั ชาไดม คี าํ สง่ั ปรากฏอยใู นกระดาษบนั ทกึ ขอ ความแลว ผรู บั คาํ สง่ั จะมคี วามเหน็ หรือคําส่ังอ่ืนใดอ่ืนไมได หากจะขอแกไขในเรื่องนั้นประการใด ใหบันทึกความเห็นเสนอข้ึนมาใหม หามใชบันทึกเดิม การลงช่ือ ใหวงเล็บชื่อตัว ชื่อสกุล ไวใตลายมือช่ือ และลงวัน เดือน ป ไวใตตําแหนง ทุกครง้ั ขอ ๕ กรณผี บู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาตไิ ดส งั่ งาน หรอื จเรตาํ รวจแหง ชาติ รองผบู ญั ชาการ ตํารวจแหงชาติ ผูชวยผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ หรือผูดํารงตําแหนงเทียบเทา ไดส่ังงานแทน ผูบญั ชาการตาํ รวจแหงชาติซึง่ บางเรือ่ งเปน ระเบยี บทีห่ นว ยงานตา ง ๆ จะตองถอื ปฏิบตั ิเปนเวลานาน

๘๖ สมควรจะมเี ลขทป่ี ระจาํ บนั ทกึ สง่ั หรอื การสงั่ การนนั้ ไวใ นทแ่ี หง เดยี วกนั เพอ่ื สะดวกในการคน หาไดง า ย จึงกําหนดการออกเลขท่กี ารสั่งการในใบบันทึกหรอื เร่ืองตาง ๆ ดังน้ี ๕.๑ เมื่อเจาหนาที่ของหนวยงานใดนําเร่ืองหรือบันทึกเสนอสํานักงานตํารวจ แหง ชาตเิ พอื่ สงั่ การ เมอื่ ผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ จเรตาํ รวจแหง ชาติ รองผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ ผชู วยผูบญั ชาการตํารวจแหงชาติ หรือผดู าํ รงตําแหนงเทียบเทา ไดล งชือ่ สง่ั การแลว ใหเ จาหนา ทข่ี อง หนวยงานน้ันนําเรื่องไปใหสํานักงานเลขานุการตํารวจแหงชาติออกเลขที่หนังสือสงและลงทะเบียน คมุ ไว แลว รบั เรื่องคนื เพือ่ ดําเนินการตอ ไป กรณีเปนเร่ืองลับใหปฏิบัติในการขอเลขที่เชนเดียวกับหนังสือราชการลับ กลาวคือ ใหเจาหนาท่ีแจงแกเจาหนาที่ผูออกเลขใหทราบวาเปนบันทึกลับ หรือเปนเร่ืองลับ และเปนเรื่องของหนวยงานใด จากใครถงึ ใคร วัน เดือน ปใ ด เปนตน ๕.๒ การส่ังการของผูบัญชาการตํารวจแหงชาติท่ีส่ังการใหบันทึกหรือในเรื่อง ดังกลา วตาม ๕.๑ ถาเปน การสงั่ การท่ีตองถือเปน ระเบยี บถาวร หรือจะตอ งมกี ารแกไขระเบยี บปฏบิ ตั ิ ในเร่อื งใดใหเ จาหนา ท่ขี องเร่อื งนั้นสง สาํ เนาบันทกึ ส่งั การ จํานวน ๓ ชุด ไปยงั กองกฎหมาย สํานักงาน กฎหมายและคดีเพ่อื รวบรวมไวเปน หลกั ฐานและดําเนนิ การในสวนท่ีเกยี่ วของ ๕.๓ ใหเจาหนาท่ีรับ-สงของสํานักงานเลขานุการตํารวจแหงชาติ จัดทําสมุด ทะเบยี นหนงั สือสง เพอ่ื เปนสมุดออกเลขทบ่ี ันทกึ ส่ังตามความในบทนี้ ๕.๔ การออกเลขที่ ใหอ อกตามลาํ ดบั ของเรอ่ื งตลอดปป ฏทิ นิ ตามระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ และท่แี กไ ขเพิ่มเตมิ โดยใหปรากฏในสมดุ ออกเลขท่ี ไวด วยวา เปนเรอื่ งของหนว ยงานใด วนั เดือน ปใด เพือ่ เปน หลกั ฐานในการตรวจคน หาเรอื่ งตอ ไป ¡ÒèѴทาํ ˹ѧÊÍ× การจัดทําหนังสือใหปฏิบัติตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ และทแ่ี กไ ขเพม่ิ เตมิ และการพจิ ารณาเรือ่ งเสนอใหปฏิบัติ ดังนี้ ขอ ๑ การจัดทําหนังสือเสนอตอสํานักงานตํารวจแหงชาติ หรือนายกรัฐมนตรี หรือ ผทู ไี่ ดร บั มอบหมาย จะตอ งประกอบดวยหวั ขอ ดงั น้ี ๑.๑ เร่ืองเดิมหรือตนเรื่อง หมายถึง ความเปนมาของเร่ืองน้ัน ๆ ตลอดจน ข้นั ตอนตา ง ๆ ทไี่ ดด าํ เนนิ การไปแลว บางกรณีอาจหมายถงึ เร่ืองท่ีเขามาใหม ๑.๒ ขอเท็จจริง หมายถึง การสรุปความเปนมาของเร่ือง หรือโดยการคนหา ขอมูลหรือเรอื่ งเดิมทีเ่ คยปฏบิ ตั มิ า หรอื ผลจากการติดตอประสานงาน โดยใสร ายละเอยี ดใหชดั เจน ๑.๓ ขอ กฎหมายหรอื ระเบยี บ หากมกี ฎหมายหรอื ระเบยี บทเี่ กยี่ วขอ งใหน าํ มา อา งองิ หรือใหส าํ เนาเอกสารของกฎหมายหรือระเบียบนัน้ ๆ แนบดวย

๘๗ ๑.๔ ขอพิจารณา หมายถึง การชี้ใหเห็นปญหาหรือขอสังเกต ประเด็นสําคัญ ของเรือ่ ง รวมทัง้ ความเหน็ ในการแกไขหรือดําเนนิ การตอ เรอ่ื งนัน้ ๆ บางกรณที ี่มีทางเลือกหลายทาง ก็ใหเสนอโดยเปรียบเทียบขอดี ขอเสีย ของแตละทางเลือกใหเห็นชัดเจน เพ่ือประกอบการตัดสินใจ ของผูบ งั คับบญั ชา ๑.๕ ขอ เสนอ หมายถงึ การสรปุ เพอ่ื ใหผ บู งั คบั บญั ชาทราบวา จะตอ งดาํ เนนิ การ อยางไรตอ หนงั สือหรอื เรอ่ื งที่เสนอ เชน จะใหท ราบเรือ่ งใด หรอื พิจารณาขอ ใด หรอื ลงชอ่ื ในหนงั สือ ฉบับใด เปน ตน การเสนอรายละเอียดในแตละหัวขอจะตองไมยืดยาวเกินความจําเปน ในขณะ เดยี วกนั ไมค วรสน้ั มากจนขาดความชดั เจน รวมทงั้ ใหช ป้ี ระเดน็ สาํ คญั ของเรอื่ งและสรปุ เสนอใหถ กู ตอ ง ชดั เจน เขา ใจงา ยและจะตอ งมขี อ พจิ ารณาหรอื ขอ เสนอใหผ บู งั คบั บญั ชาวนิ จิ ฉยั สงั่ การในกรณเี ปน เรอ่ื ง ท่ีตอ งอนญุ าต อนุมตั ิหรือใหความเหน็ ชอบ เอกสารประกอบเร่ือง ใหจัดอยางมีระเบียบและสะดวกในการท่ีจะตรวจสอบ และศกึ ษาประกอบการพิจารณา ขอ ๓ การพิมพที่ต้ังของสวนราชการเจาของหนังสือในหนังสือภายนอก ใหลงชื่อ สว นราชการ สถานท่ีราชการ ซงึ่ เปนเจาของหนังสือนั้น และโดยปกตใิ หลงท่ีตงั้ ไวดว ย ดังตวั อยา งน้ี สํานักงานตํารวจแหงชาติ ถนนพระรามที่ ๑ เขตปทมุ วัน กรงุ เทพมหานคร ๑๐๓๓๐ หนว ยงานใดทาํ หนงั สอื ในนามสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตเิ พอ่ื ใหผ บู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ จเรตํารวจแหงชาติ รองผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ ผูชวยผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ หรือผูดํารง ตําแหนงเทียบเทา ลงช่ือ ใหใชชื่อและที่ตั้งของสํานักงานตํารวจแหงชาติ สวนการออกเลขที่หนังสือ ใหลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขท่ีประจําสวนราชการของหนวยงานเจาของเร่ืองทับดวยลําดับเลขท่ี หนังสือสงของสํานกั งานตํารวจแหงชาติ ขอ ๖ การรับรองสําเนาหนังสือทุกชนิดใหใชคําวา “สําเนาถูกตอง” โดยใชขาราชการ ตํารวจยศรอยตํารวจตรีขึ้นไปของหนวยงานเจาของเรื่องลงชื่อรับรอง พรอมท้ังวงเล็บชื่อตัว ชื่อสกุล ตวั บรรจง ตาํ แหนง และวัน เดอื น ปไ วใตต ําแหนง ทีข่ อบลา งของหนังสอื ¡ÒÃàʹͧҹ ขอ ๑ การเสนองานใหเ สนอตอ ผบู งั คบั บญั ชาตามลาํ ดบั ชนั้ และตามสายการบงั คบั บญั ชา เวน แตเ รอ่ื งทมี่ รี ะเบยี บหรอื คาํ สงั่ กาํ หนดใหป ฏบิ ตั เิ ปน อยา งยง่ิ หรอื เปน กรณเี รง ดว นหากลา ชา อาจเกดิ การเสียหายตอทางราชการได

๘๘ ¡ÒÃÃѺáÅСÒÃÊ‹§Ë¹§Ñ ÊÍ× การปฏิบัติเก่ียวกับการรับและสงหนังสือ ใหปฏิบัติตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ และทีแ่ กไขเพ่ิมเตมิ และใหถ ือปฏบิ ตั ดิ งั นี้ ขอ ๑ หนงั สอื ทม่ี ถี งึ สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตโิ ดยจา หนา ซองระบตุ าํ แหนง ผบู ญั ชาการ ตํารวจแหงชาติ จเรตาํ รวจแหงชาติ รองผูบญั ชาการตาํ รวจแหงชาติ ผชู วยผบู ัญชาการตาํ รวจแหง ชาติ หรอื ตําแหนง เทยี บเทา หรือระบุช่ือสวนราชการสาํ นักงานตาํ รวจแหงชาติ ใหด ําเนนิ การดงั นี้ ๑.๑ ใหสํานักงานเลขานุการตํารวจแหงชาติจัดแยกสงใหหนวยงานในสังกัด สํานักงานผูบัญชาการตํารวจแหงชาติและกองบัญชาการหรือเทียบเทา ที่มีหนาที่เกี่ยวของมากท่ีสุด ตามกาํ หนดหนา ทก่ี ารงานรบั ไปดาํ เนนิ การในฐานะเจา ของเรอ่ื ง โดยไมต อ งนาํ เสนอผบู ญั ชาการตาํ รวจ แหงชาติหรือผูที่ไดร ับมอบหมายสัง่ การกอ น กรณีที่จาหนาซองระบุช่ือกับตําแหนง หรือระบุชื่ออยางเดียว ใหสํานักงาน เลขานุการตาํ รวจแหง ชาตลิ ง วัน เดือน ป ที่หนา ซองโดยไมต องเปด ซอง แลวสงถึงช่อื ทจ่ี า หนาซอง กอ น ฯลฯ ๑.๔ การแยกงานและสง งานคนื หากหนว ยงานซง่ึ ไดร บั งานทส่ี าํ นกั งานเลขานกุ าร ตํารวจแหงชาติแยกสงใหเห็นวางานเรื่องใดไมอยูในความรับผิดชอบของหนวยงาน ใหหนวยงานน้ัน รบี ทาํ หนงั สอื สง คนื สาํ นกั งานเลขานกุ ารตาํ รวจแหง ชาตภิ ายในวนั เดยี วกนั หรอื อยา งชา ภายในวนั รงุ ขนึ้ โดยผลู งชอื่ สง คนื ตอ งดาํ รงตาํ แหนง ไมต าํ่ กวา ผกู าํ กบั การ หรอื ตาํ แหนง เทยี บเทา พรอ มทง้ั เหตผุ ลทสี่ ง คนื หากทราบวาเปนงานของหนวยงานใดใหแจงดว ย ขอ ๒ ใหท กุ หนว ยงานในสงั กดั สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตกิ าํ หนดตวั เจา หนา ทรี่ บั -สง หนงั สอื และตดิ ตามงานใหช ดั เจน รวมทง้ั กาํ หนดผคู วบคมุ การปฏบิ ตั ใิ หม กี ารตดิ ตามผลอยา งใกลช ดิ โดยหนว ยงาน ท่ีมีท่ีตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร ใหแจงยศ ชื่อตัว ชื่อสกุล และตําแหนงของเจาหนาท่ีผูทําหนาท่ี รับ-สงหนงั สอื ของหนวยงานอยางนอ ย ๒ คน พรอ มหมายเลขโทรศัพท สงใหก ับงานรบั – สงหนงั สือ สาํ นกั งานเลขานกุ ารตํารวจแหง ชาติ หากมกี ารเปลี่ยนแปลงเจาหนา ทผี่ ูรบั ผิดชอบดังกลา ว ใหแจงการ เปลย่ี นแปลงใหท ราบดวยทกุ ครงั้ ขอ ๓ การติดตอราชการนอกจากดําเนินการโดยหนังสือท่ีเปนเอกสารแลว สามารถ ดาํ เนินการดวยระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนกิ สไ ดอ กี ทางหนึ่งดวย ในกรณีที่ติดตอราชการดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสใหผูสงตรวจสอบผลการสง ทุกคร้ังและใหผูรับแจงตอบรับเพื่อยืนยันวาหนังสือไดจัดสงไปยังผูรับเรียบรอยแลว และสวนราชการ ผูสงไมตองจัดสงหนังสือเปนเอกสาร เวนแตกรณีเปนเร่ืองสําคัญจําเปนตองยืนยันเปนเอกสาร ใหท ําเอกสารยืนยนั ตามไปทันที

๘๙ การสงขอความทางเครื่องมือสื่อสาร เชน โทรพิมพ โทรศัพท โทรสาร วิทยุส่ือสาร วิทยกุ ระจายเสยี ง หรอื วทิ ยุโทรทศั น เปน ตน ใหร ับปฏบิ ตั เิ ชน เดียวกบั ไดรับหนังสอื ในกรณที ี่จาํ เปน ตองยืนยนั เปนหนังสอื ใหทาํ หนงั สอื ยืนยนั ตามไปทันที การสงขอความทางเคร่ืองมือสื่อสารซึ่งไมมีหลักฐานปรากฏชัดเจน เชน ทางโทรศัพท วทิ ยสุ อื่ สาร วทิ ยกุ ระจายเสยี ง หรอื วทิ ยโุ ทรทศั น เปน ตน ใหผ สู ง และผรู บั บนั ทกึ ขอ ความไวเ ปน หลกั ฐาน ขอ ๔ การสง ไปรษณยี ข องหนว ยงานตา ง ๆ ของสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ ใหป ฏบิ ตั ติ าม เง่ือนไขของบริษทั ไปรษณยี ไ ทย จาํ กัด โดยใหเ จา หนาทผ่ี ูร ับผิดชอบในการฝากสง ตวั อยางลายมือชื่อ ใหท าํ หนาที่ทาํ การไปรษณยี ที่จะฝากสง ¡Òä´Ñ สําà¹Ò áÅСÒÃŧª×Íè μÃǨ ขอ ๑ การคัดสําเนาเอกสารกระทําไดหลายวิธีดวยกันซึ่งตองปฏิบัติตามระเบียบสํานัก นายกรฐั มนตรี วา ดว ยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และท่แี กไขเพิม่ เติม การคดั สาํ เนาหนังสอื และการ รบั ผดิ ชอบในสาํ เนาหนงั สอื ราชการของสํานักงานตํารวจแหง ชาติ จะตองคดั ขอความทป่ี รากฏในเรอื่ ง ทุกอยางท้งั หมดใหเ ปนไปอยางเดยี วกนั กับตน ฉบบั ทกุ ประการซงึ่ กระทําโดยการถายเอกสาร ถาจะใช วิธอี นื่ เชน การคัดจากตน ฉบบั หรอื ลอกจากตนฉบบั ซึง่ จะตองมกี ารตรวจทานใหถ ูกตองกบั ตนฉบบั อยา งแทจ รงิ สาํ เนาชนดิ นอ้ี าจผดิ พลาดไปจากตน ฉบบั ได ถา ผจู ดั ทาํ ไมม คี วามละเอยี ดรอบคอบถถี่ ว น เปน ตน ขอ ๒ หนังสือราชการท่ีทําในนามของสํานักงานตํารวจแหงชาติซึ่งผูบัญชาการตํารวจ แหงชาติหรือผูท่ีไดรับมอบหมายลงช่ือ ใหขาราชการตําแหนงสารวัตรหรือผูดํารงตําแหนงเทียบเทา ข้ึนไป ลงชื่อตรวจตามลําดับช้ัน กํากับรับผิดชอบไวในสําเนาที่มุมลางดานขวาของหนังสือราชการ ฉบบั นัน้ เวน แตถ าเปนเร่อื งสาํ คญั ตอ งเสนอใหผบู ัญชาการ หรอื ผดู ํารงตําแหนง เทยี บเทา ผบู งั คบั การ ในสังกัดสํานกั งานผูบ ัญชาการตํารวจแหงชาติ หรือผดู ํารงตําแหนง เทียบเทา แลวแตกรณี ลงชื่อตรวจ หนงั สือราชการฉบับนั้น ฯลฯ ขอ ๔ การสาํ เนาเรื่องตา ง ๆ ของสาํ นกั งานตาํ รวจแหงชาติ เชน สําเนาคําสง่ั ระเบยี บ ขอบังคับ คําแนะนํา เปนตน เพื่อสงใหหนวยงานตาง ๆ เปนหนาที่ความรับผิดชอบของหนวยงาน เจาของเร่ืองในการสาํ เนาสง เองทกุ เรือ่ งไป ¡ÒÃกํา˹´àÅ¢»ÃÐจาํ ˹Nj §ҹÀÒÂã¹สํานัก§Ò¹ตําÃǨá˧‹ ªÒμÔ ขอ ๑ สาํ นกั นายกรฐั มนตรไี ดก าํ หนดรหสั ตวั พยญั ชนะประจาํ กระทรวงและสว นราชการ ท่ีไมสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ และทแี่ กไ ขเพม่ิ เตมิ โดยกําหนดรหสั ตัวพยญั ชนะ “ตช” เปนรหสั ตัวพยญั ชนะสํานกั งาน

๙๐ ตาํ รวจแหง ชาตแิ ละสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตไิ ดก าํ หนดเลขประจาํ สว นราชการเจา ของเรอื่ งเรยี งไปตาม ลาํ ดบั สว นราชการตามกฎหมายวา ดว ยแบง สว นราชการสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ หากมกี ารเปลย่ี นแปลง โดยยบุ สว นราชการใดใหป ลอ ยตวั เลขนนั้ วา ง หากมกี ารจดั ตงั้ สว นราชการขนึ้ ใหม ใหใ ชเ รยี งลาํ ดบั ถดั ไป ขอ ๒ เพ่ือใหการกําหนดเลขประจําสวนราชการเจาของเร่ืองของหนวยงาน และ รัฐวิสาหกิจในสังกัดสํานักงานตํารวจแหงชาติเปนไปโดยสอดคลองกับระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ ที่แกไขเพิ่มเติม สํานักงานตํารวจแหงชาติจึงไดกําหนดเลขประจํา สว นราชการเจา ของเร่อื งใหก ับหนวยงาน ดงั น้ี ๒.๑ สาํ นักงานผูบงั คับบัญชาระดับสํานกั งานตํารวจแหง ชาติ สวนราชการ เลขประจําสว นราชการ ๑. สํานกั งานผบู ัญชาการตํารวจแหง ชาติ ตช ๐๐๐๑(...)/ ๒. สาํ นกั งานจเรตํารวจแหงชาติ ตช ๐๐๐๑(...)/ ๓. สาํ นกั งานรองผูบ ญั ชาการตํารวจแหงชาติ หรือเทียบเทา ตช ๐๐๐๑(...)/ ๔. สํานกั งานผชู ว ยผูบญั ชาการตํารวจแหงชาติ หรอื เทียบเทา ตช ๐๐๐๑(...)/ สํานักงานผูบัญชาการตํารวจแหงชาติใหใชตัวพยัญชนะตัวแรกของช่ือผูบัญชาการตํารวจ แหง ชาตลิ งภายในวงเลบ็ สว นสาํ นกั งานรองผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาตหิ รอื สาํ นกั งานผชู ว ยผบู ญั ชาการ ตํารวจแหงชาติ ใหใชอักษรยอลักษณะงานท่ีไดรับมอบหมายและหมายเลขลําดับอาวุโสแลวแตกรณี ภายในวงเลบ็ ท่ตี อ ทาย สาํ หรบั ตาํ แหนง เทยี บเทา รองผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ ผชู ว ยผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ ใหส ํานักงานเลขานุการแหง ชาติขออนุมัตใิ ชใ หสอดคลองกบั คาํ สง่ั มอบหมายหนา ท่ีการงาน แหงชาติ ๒.๒ หนว ยงานทจ่ี ดั ตง้ั ขน้ึ ตามกฎหมายวา ดว ยแบง สว นราชการสาํ นกั งานตาํ รวจ สวนราชการ เลขประจาํ สวนราชการ ๑. สํานกั งานเลขานกุ ารตาํ รวจแหง ชาติ ตช ๐๐๐๑ ๒. กองการตา งประเทศ ตช ๐๐๐๒ ๓. กองสารนเิ ทศ ตช ๐๐๐๓ ๔. สาํ นกั งานคณะกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติ ตช ๐๐๐๔ ๕. กองบินตํารวจ ตช ๐๐๐๕ ๖. กองวนิ ยั ตช ๐๐๐๖ ๗. สาํ นักงานยุทธศาสตรต าํ รวจ ตช ๐๐๐๗ ๘. สาํ นักงานสงกาํ ลงั บาํ รงุ ตช ๐๐๐๘ ๙. สาํ นักงานกําลังพล ตช ๐๐๐๙ ๑๐. สาํ นกั งานงบประมาณและการเงนิ ตช ๐๐๑๐

๙๑ ๑๑. สาํ นักงานกฎหมายและคดี ตช ๐๐๑๑ ๑๒. สาํ นักงานคณะกรรมการขา ราชการตํารวจ ตช ๐๐๑๒ ๑๓. สาํ นักงานจเรตาํ รวจ ตช ๐๐๑๓ ๑๔. สํานักงานตรวจสอบภายใน ตช ๐๐๑๔ ๑๕. กองบญั ชาการตํารวจนครบาล ตช ๐๐๑๕ ๑๖. ตํารวจภธู รภาค ๑ ตช ๐๐๑๖ ๑๗. ตาํ รวจภูธรภาค ๒ ตช ๐๐๑๗ ๑๘. ตํารวจภูธรภาค ๓ ตช ๐๐๑๘ ๑๙. ตํารวจภธู รภาค ๔ ตช ๐๐๑๙ ๒๐. ตํารวจภธู รภาค ๕ ตช ๐๐๒๐ ๒๑. ตาํ รวจภูธรภาค ๖ ตช ๐๐๒๑ ๒๒. ตาํ รวจภธู รภาค ๗ ตช ๐๐๒๒ ๒๓. ตาํ รวจภธู รภาค ๘ ตช ๐๐๒๓ ๒๔. ตาํ รวจภธู รภาค ๙ ตช ๐๐๒๔ ๒๕. ศูนยป ฏบิ ัตกิ ารตาํ รวจจงั หวัดชายแดนภาคใต ตช ๐๐๒๕ ๒๖. กองบญั ชาการตํารวจสอบสวนกลาง ตช ๐๐๒๖ ๒๗. กองบญั ชาการตํารวจปราบปรามยาเสพติด ตช ๐๐๒๗ ๒๘. กองบัญชาการตํารวจสันตบิ าล ตช ๐๐๒๘ ๒๙. สํานักงานตรวจคนเขา เมือง ตช ๐๐๒๙ ๓๐. กองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ตช ๐๐๓๐ ๓๑. สํานกั งานนายตํารวจราชสํานักประจํา ตช ๐๐๓๑ ๓๒. สํานกั งานพิสจู นห ลักฐานตาํ รวจ ตช ๐๐๓๒ ๓๓. สาํ นักงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตช ๐๐๓๓ ๓๔. กองบัญชาการศกึ ษา ตช ๐๐๓๔ ๓๕. โรงเรยี นนายรอยตาํ รวจ ตช ๐๐๓๕ ๓๖. โรงพยาบาลตาํ รวจ ตช ๐๐๓๖ ตาํ รวจแหง ชาติ ๒.๓ หนวยงานท่ีมิไดจัดต้ังข้ึนตามกฎหมายวาดวยแบงสวนราชการสํานักงาน สว นราชการ เลขประจาํ สว นราชการ ๑. ศูนยอ ํานวยการรักษาความสงบเรียบรอ ยการเลอื กต้งั ตช ๐๐๕๑ ๒. ศนู ยป ฏบิ ัตสิ ํานกั งานตํารวจแหง ชาติ (สว นหนา) ตช ๐๐๕๒ ๓. ศูนยป ฏบิ ัติการรกั ษาความสงบเรยี บรอ ยปลอดภยั และการจราจร ตช ๐๐๕๓

๙๒ ๔. สาํ นกั งานรองผบู ัญชาการตาํ รวจแหงชาติ (ทป่ี รกึ ษาศนู ยป ฏบิ ตั กิ าร ตช ๐๐๕๔ ตํารวจจังหวัดชายแดนภาคใตและศูนยปฏิบตั กิ ารสาํ นักงานตาํ รวจ ตช ๐๐๕๕ แหง ชาตสิ วนหนา ) ๕. ศูนยตดิ ตามและเฝาระวังการนาํ เสนอขอ มูลขา วสารทผ่ี ดิ กฎหมาย หรือไมเหมาะสมผา นระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ๒.๔ รฐั วิสาหกจิ ในสงั กัดสํานกั งานตํารวจแหงชาติ เลขประจาํ สว นราชการ สวนราชการ ตช ๕๑๐๐ โรงพมิ พต าํ รวจ ขอ ๓ สาํ หรับสวนราชการระดับต่าํ กวาท่ีกําหนดไวตามขอ ๒ หากจําเปนตองออก หนังสือราชการเองและใชอางอิงเมื่อรับหนังสือตอบหรือติดตามเรื่อง ใหหัวหนาสวนราชการระดับ กองบัญชาการ หรือหนวยงานในสังกัดสํานักงานผูบัญชาการตาํ รวจแหงชาติ หรือผูดาํ รงตําแหนง เทียบเทา เปนผูกําหนดเลขประจาํ ของสวนราชการเจาของเร่ืองใหกับสวนราชการระดับรองลงไป จนถงึ งานหรอื เทยี บเทา ตามแนวทางปฏิบัตแิ ละการใชตามขอ ๔ ขอ ๔ การกาํ หนดเลขประจาํ สวนราชการเจาของเร่ืองของสวนราชการระดับ กองบงั คบั การ กองกํากบั การ และงาน หรอื หนว ยงานเทยี บเทา ในสงั กดั สาํ นกั งานผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ และกองบัญชาการหรอื เทยี บเทา ดาํ เนนิ การดงั นี้ ๔.๑ กําหนดเลขประจําสวนราชการเจาของเรื่องใหกับสวนราชการระดับ กองบังคับการ กองกํากับการ และงานหรือเทียบเทา ใหหัวหนาสวนราชการตนสังกัดกาํ หนดเลขให ไมเกินสามตาํ แหนง โดยใหใสจดุ หลงั เลขประจําของสวนราชการเจา ของเร่อื งระดบั กองบญั ชาการและ กองบงั คับการในสงั กดั สาํ นักงานผบู ญั ชาการตํารวจแหงชาติ แลวตอ ดวยเลขทก่ี าํ หนดขน้ึ ดงั กลาว ๔.๒ การกําหนดเลขตาม ๔.๑ ใหเ รม่ิ จากเลข ๑ เรียงไปตามลาํ ดับสว นราชการ ตามกฎหมายวาดวยแบงสวนราชการสาํ นักงานตาํ รวจแหงชาติ หากสวนราชการใดมิไดจัดต้ังขึ้นตาม กฎหมายวาดวยแบงสวนราชการสํานักงานตาํ รวจแหงชาติ ก็ใหจัดเรียงไปตามลาํ ดับการจัดต้ัง สว นราชการน้ัน ๆ ๔.๓ ตําแหนง ของเลขทก่ี ําหนดใหม ไี ดไ มเ กนิ สามตําแหนง ตาม ๔.๑ แตล ะตาํ แหนง ใหใ ชแทนสว นราชการ ดงั น้ี ๔.๓.๑ สวนราชการระดับกองบัญชาการหรือเทียบเทา เลขหลังจุด ตาํ แหนง แรก ใหใ ชแ ทนกองบงั คบั การหรอื เทยี บเทา เลขหลงั จดุ ตาํ แหนง ทสี่ อง ใหใ ชแ ทนกองกาํ กบั การ หรอื เทยี บเทา และเลขหลงั สดุ ตาํ แหนง ทส่ี าม ใหใชแ ทนงานหรือเทยี บเทา ๔.๓.๒ สวนราชการระดับกองบังคับการในสังกัดสํานักงานผูบัญชาการ ตํารวจแหงชาติหรือเทียบเทา เลขหลังจุดตาํ แหนงแรก ใหใชแทนกองกํากับการหรือเทียบเทา และ เลขหลงั จุดตําแหนง ทส่ี อง ใหใ ชแทนงานหรอื เทียบเทา

๙๓ ขอ ๕ การใชรหสั พยญั ชนะและเลขประจําหนวยงาน ใหถอื ปฏบิ ตั ดิ ังนี้ ๕.๑ หนังสือท่ีมีไปยังหนวยงานภายในสังกัดสํานักงานตํารวจแหงชาติ ใหใช เลขท่ปี ระจําหนวยงานโดยไมต อ งมีรหัสตวั พยญั ชนะ “ตช” นําหนา เชน “๐๐๑/.....” ๕.๒ หนงั สอื ทมี่ ไี ปยงั สว นราชการภายนอกสาํ นกั งานตํารวจแหง ชาติ ใหใ ชร หสั ตัวพยัญชนะ “ตช” นาํ หนาและตามดวยเลขประจาํ หนว ยงานหลงั คาํ วา “ตช” เชน “ตช๐๐๐๑/....” ขอ ๖ สําหรับตาํ รวจภูธรจังหวัด การกําหนดเลขประจําหนวยงานใหตาํ รวจภูธรภาค ท่ีตาํ รวจภูธรจงั หวัดน้ัน ๆ สงั กัดอยเู ปนผกู าํ หนด โดยถือตามแนวทางปฏิบัตใิ นการกําหนดเลขประจํา สวนราชการเจาของเรอ่ื งตามขอ ๔ เชน ตาํ รวจภูธรจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา ใหใ ชคาํ วา “ตช ๐๐๑๖ (อย)/.....” การใชค าํ ยอ ในราชการตาํ รวจ คาํ ยอ ขอ ๑ ยศตาํ รวจใหใ ชคาํ ยอดงั นี้ พล.ต.อ. พล.ต.ท. คําเตม็ พล.ต.ต. พ.ต.อ. ๑.๑ พลตํารวจเอก พ.ต.ท. ๑.๒ พลตาํ รวจโท พ.ต.ต. ๑.๓ พลตํารวจตรี ร.ต.อ. ๑.๔ พันตํารวจเอก ร.ต.ท. ๑.๕ พนั ตํารวจโท ร.ต.ต. ๑.๖ พันตาํ รวจตรี ด.ต. ๑.๗ รอยตํารวจเอก จ.ส.ต. ๑.๘ รอ ยตํารวจโท ส.ต.อ. ๑.๙ รอยตาํ รวจตรี ส.ต.ท. ๑.๑๐ ดาบตํารวจ ส.ต.ต. ๑.๑๑ จาสบิ ตาํ รวจ ๑.๑๒ สบิ ตาํ รวจเอก ๑.๑๓ สบิ ตํารวจโท ๑.๑๔ สบิ ตํารวจตรี วาท่ีชั้นยศใดใหใชคาํ วา “วาท่ี” อยูขางหนาคาํ ยอสําหรับยศชั้นน้ัน สาํ หรับขาราชการ ตาํ รวจหญิงใหเ พมิ่ คําวา “หญิง” ทายยศตํารวจนน้ั ดวย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook