Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สิทธิมนุษยชนกับการปฏิบัติงานของตำรวจ

สิทธิมนุษยชนกับการปฏิบัติงานของตำรวจ

Published by mrnok, 2021-03-27 16:09:00

Description: สิทธิมนุษยชนกับการปฏิบัติงานของตำรวจ

Search

Read the Text Version

๙๔ (๔.๒) เมื่อพบบุคคลหน่ึงแทบจะทันทีทันใด หลังจากการกระทําผิดในถ่ินแถว ใกลเคียงกับที่เกิดเหตุน้ัน และมีสิ่งของท่ีไดมาจากการกระทําผิด หรือมีเครื่องมือ อาวุธ หรอื วัตถอุ ยา งอ่นื อนั สันนษิ ฐานไดวา ไดใชใ นการกระทาํ ผิด หรือมีรองรอยพิรุธเหน็ ประจักษทีเ่ สอื้ ผา หรือเนือ้ ตัวของผูนั้น àÁ×è;ººØ¤¤ÅÁÕ¾ÄμÔ¡ÒóÍѹ¤ÇÃʧÊÑÂNjҼٌ¹éѹ¹‹Ò¨Ð¡‹ÍàËμØÃŒÒÂãËŒà¡Ô´ÀÂѹμÃÒ ᡺‹ ¤Ø ¤ÅËÃÍ× ·Ã¾Ñ Âʏ ¹Ô ¢Í§¼ÍŒÙ ¹×è โดยมเี ครอื่ งมอื อาวธุ หรอื วตั ถอุ ยา งอนื่ อนั สามารถอาจใชใ นการกระทาํ ความผิด ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๗๘(๒) การจับตามกรณีนี้ เปนการจับในลักษณะของการปองกันการกระทําผิดหรือปองกันเหตุรายที่จะเกิดขึ้น คือ ผูกระทําผิด ยงั มิไดลงมือกระทาํ ผดิ เปนเพียงการตระเตรยี มหรือการเตรียมการทีจ่ ะกระทาํ ผดิ การตระเตรียมการ เชนวาน้ี ก็คือการมีเครื่องมือ อาวุธ หรือวัตถุอยางอ่ืนอันสามารถอาจใชในการกระทําผิดไดดังกลาว มาแลว และเม่ือมีการจับกุมผูกระทําผิดดังกลาวแลว เจาพนักงานตํารวจจะตองปฏิบัติตามขั้นตอน ตา งๆ ดงั นี้ (วรี พล กุลบุตร, ๒๕๔๘) (๑) การจับน้ันใชวิธีการจับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๘๓ โดยแจงใหผ ถู ูกจบั ทราบวา เขาจะตองถูกจับ (๒) หากเปนการจับในกรณีท่ีผูถูกจับยังไมไดลงมือกระทําความผิด อาจอยูในขั้น ตระเตรีมการกระทําผิดหรือกําลังจะกอเหตุอันตรายประการอื่น เมื่อจับกุมตัวผูกระทําความผิด สงพนักงานสอบสวนแลว พนักงานสอบสวนตองนําตัวผูถูกจับยื่นฟองตอพนักงานอัยการภายใน สี่สิบแปดช่ัวโมง เพ่ือใชวิธีการเพื่อความปลอดภัย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๔๖ และพระราชบัญญัตใิ หใชประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.๒๔๙๙ มาตรา ๗ ÁÕàËμØÍÍ¡ËÁÒ¨ѺºØ¤¤Å¡Ã³Õà˧´‹Ç¹ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๖๖(๒) แตมีความจําเปนเรงดวนท่ีไมอาจขอใหศาลออกหมายจับบุคคลน้ันได ความจําเปน เรงดวนทไี่ มอ าจขอใหศ าลออกหมายจบั นน้ั ตอ งมเี ง่อื นไข ดงั นี้ (๑) มีหลกั ฐานตามสมควรวาผนู ้ันนาจะกระทําความผดิ อาญา (๒) มีเหตุอันควรเช่ือวาจะหลบหนี หรือจะไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐานหรือกอเหตุ อนั ตรายประการอื่น (๓) ตองมีความจําเปนเรง ดว นไมอ าจขอใหศาลออกหมายจับบุคคลน้นั ได ¨Ñº¼ÙŒμŒÍ§ËÒËÃ×ͨíÒàÅ·Õè˹ջÃСѹã¹ÃÐËNjҧ¶Ù¡»Å‹ÍªèÑǤÃÒÇ ตามประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๗๘(๔) หรือมาตรา ๑๑๗ การจับผูตองหาในกรณีนี้จะกระทําได กต็ อ เม่อื (๑) เม่ือผูตองหาหรือจําเลยหนีหรือจะหลบหนีใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ ทีพ่ บการกระทาํ ดังกลา วมอี ํานาจจบั ผูตองหาหรอื จําเลยน้ันได

๙๕ (๒) แตในกรณีท่ีบุคคลซึ่งทําสัญญาประกันหรือเปนหลักประกันเปนผูพบเห็น การกระทําดงั กลาว อาจขอใหพนกั งานฝายปกครองหรือตาํ รวจท่ใี กลท ส่ี ุดจบั ผตู องหาหรือจาํ เลยได (๓) ถาไมสามารถขอความชวยเหลือจากเจาพนักงานไดทันทวงที ก็ใหมีอํานาจ จับผูต อ งหาหรอื จําเลยไดเ องแลวสงไปยังพนกั งานฝา ยปกครองหรือตาํ รวจทใี่ กลท ส่ี ดุ ๔) และใหเจาพนักงานนั้นรีบจัดสงผูตองหาหรือจําเลยไปยังเจาพนักงานหรือศาล โดยคดิ คาพาหนะจากบุคคลซงึ่ ทาํ สัญญาประกนั หรือเปน หลักประกนั นนั้ ¡ÒèºÑ ¢Í§ÃÒɮà ในการจับน้นั ราษฎรจะสามารถจบั ผูตองหาโดยไมม หี มายได ดวยเหตุ ดังตอไปน้ี (๑) เจาพนักงานขอใหช ว ยจับ (๒) จบั ผูก ระทําความผิดซงึ่ หนา ตามความผิดท่ีไดระบไุ วในบญั ชที ายประมวลกฎหมาย วธิ พี ิจารณาความอาญา เม่ือจับตัวผูตองหาไดแลว กรณีเปนการจับโดยเจาพนักงาน ณ สถานท่ีจับตามประมวล กฎหมายวธิ พี ิจารณาความอาญา มาตรา ๘๓ และ ๘๔ (๑) ตองแจงแกผถู ูกจบั วา เขาตองถูกจบั (๒) ถามีหมายจับใหแสดงหมายจับตอผถู กู จับ (๓) แจง ขอ กลาวหาใหผ ูถูกจับทราบ (๔) แจงสทิ ธิใหผ ูถูกจับทราบวา (๔.๑) มสี ทิ ธิทีจ่ ะใหการหรือไมใหก ารกไ็ ด (๔.๒) ถา ใหก าร ถอ ยคาํ ทใี่ หก ารนนั้ อาจใชเ ปน พยานหลกั ฐานในการพจิ ารณาคดไี ด (๔.๓) มีสทิ ธิท่ีจะพบและปรึกษาทนายความหรือผูซ่งึ จะเปน ทนายความ (๕) สั่งใหผูถูกจับไปยังที่ทําการของพนักงานสอบสวนแหงทองท่ีที่ถูกจับพรอมดวยผูจับ เวน แตสามารถนําไปทท่ี าํ การของพนกั งานสอบสวนผรู ับผิดชอบ ¢ŒÍ¤ÇÃÃÐÇ§Ñ กรณคี วามผิดตามพระราชบัญญตั จิ ราจร เจา หนา ท่ีตํารวจจับกมุ ตัวผูกระทํา ความผิดไมไ ด หากผูกระทาํ ความผดิ ขดั ขนื ไมไปพบพนกั งานสอบสวนใหอ อกใบส่ัง (๖) ถา จําเปน ก็ใหจบั ตัวไป (๗) ถา ผถู กู จบั ขดั ขวางการจบั หรอื หนหี รอื พยายามจะหลบหนี ผทู าํ การจบั มอี าํ นาจใชว ธิ ี หรือการปองกนั ท้ังหลายเทาที่เหมาะสมพฤตกิ ารณแ หง เร่ืองการจบั น้นั

๙๖ *ถา มกี ารตอ สขู ดั ขนื จะมคี วามผดิ ฐานตอ สขู ดั ขวางเจา พนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๓๘ *ถามีการทํารายรางกายเจาพนักงานจะมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๗๒, ๒๗๔ (๘) ถา ผถู ูกจบั ประสงคจะแจงใหญาติ หรือผูซงึ่ ตนไววางใจทราบถงึ การจบั กมุ ซง่ึ (๘.๑) สามารถดําเนนิ การไดโดยสะดวกและ (๘.๒) ไมเปนการขัดขวางการจับหรือการควบคุมผูถูกจับ หรือกอใหเกิดความไม ปลอดภยั แกบ คุ คลหน่งึ บุคคลใด (๙) ใหเจาพนักงานอนุญาตใหผูถูกจับดําเนินการไดตามสมควรแกกรณี และให เจา พนักงานผจู บั น้นั บนั ทึกการจับดังกลาวไวดวย (๑๐) ถาผถู กู จบั ไดรับบาดเจบ็ เจา พนักงานผจู บั จะจดั การพยาบาลผถู กู จบั เสยี กอนนําตวั สง พนกั งานสอบสวนก็ได (๑๑) ถอ ยคาํ ใดๆ ทผี่ ถู กู จบั ใหไ วต อ เจา พนกั งานผจู บั หรอื พนกั งานฝา ยปกครองหรอื ตาํ รวจ ในช้ันจบั กมุ ถาถอยคาํ นน้ั เปน คาํ รบั สารภาพของผถู กู จบั วาตนไดก ระทาํ ความผดิ หามมใิ หรบั ฟงเปน พยานหลกั ฐาน (๑๒) แตถาเปนถอยคําอื่น จะรับฟงเปนพยานหลักฐานในการพิสูจนความผิด ของผูถูกจับไดก็ตอเม่ือไดมีการแจงสิทธิตามวรรคสองของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๘๓ แกผ ถู กู จบั ¡ÒèºÑ â´Âà¨ÒŒ ¾¹Ñ¡§Ò¹μÒÁ»ÃÐÁÇÅ¡®ËÁÒÂÇÔ¸Õ¾¨Ô ÒóҤÇÒÁÍÒÞÒ ÁÒμÃÒ øô (๑) ใหผ จู ับแจงขอกลา วหาและรายละเอยี ดเกี่ยวกบั เหตุแหง การจับใหผ ูถกู จบั ทราบ (๒) ถามหี มายจบั ใหแจง ผูถ กู จบั ทราบและอานหมายจบั ใหฟ ง (๓) ถายงั ไมไ ดเ ขียนบนั ทกึ การจบั ใหเ ขยี นบันทกึ การจบั ¢ÍŒ ¤ÇÃÃÐÇѧ เจาพนกั งานทไี่ มไดร ว มจบั กุม น่ังอยูใ นหอ งแอรแตมารว มลงชื่อในบันทกึ การจบั กมุ ถอื วา เปน การปฏบิ ตั หิ นา ทโี่ ดยมชิ อบ ผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗ แตบ นั ทกึ การจบั กมุ น้ันไมเสียไป สามารถใชเปนพยานหลักฐานลงโทษผูกระทําผิดในชั้นศาลไดเพราะมีการจับจริง (โปรดดูแนวคําพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๒๖๑๒/๒๕๔๓) ใหอานบันทึกการจับกุมใหผูถูกจับฟง และถามีขอความใดเขียนผิดใหขีดฆาแลวเขียนใหมและใหเจาพนักงานลงช่ือกํากับตรงบรรทัดน้ัน แตถ า มกี ารแตง เตมิ หรอื เพมิ่ ถอ ยคาํ ใหเ จา พนกั งานลงชอื่ กาํ กบั ตรงตาํ แหนง ทแี่ ตง เตมิ หรอื เพม่ิ เตมิ ถอ ยคาํ นนั้ ทกุ แหง ในระหวา งทดี่ าํ เนนิ การยงั ไมเ สรจ็ สน้ิ น้ี เจา พนกั งานผจู บั มอี าํ นาจแกไ ขบนั ทกึ นน้ั ใหถกู ตองได แตเ ม่อื มกี ารสง มอบบันทกึ การจับกมุ น้ีใหพนกั งานสอบสวนแลว จะมาแกไ ขเพิ่มเตมิ ไมได ถา ทาํ มีความผิดฐานปลอมเอกสาร ตามประมวลกฎหมายอาญา

๙๗ (๔) มอบสําเนาบนั ทกึ การจบั ใหผ ูถกู จับนน้ั จํานวน ๑ ฉบบั ¢ŒÍ¤ÇÃÃÐหÇา§Ñ(๔กไ)มมมออบบสสําําเเนนาาบบันันททกึึกกกาารรจจับับใหมผีผถู ลูกดจังบั ตนอนั้ไปจนํานี้ เวจนาพ๑นฉักบงาบั นผูจับมีความผิดฐานละเวน การปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗ เจาพนักงานผูจับกระทํา ละเมดิ ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๔๒๐ ผถู กู จบั อาจฟอ งเรยี กคา สนิ ไหมทดแทน ทางแพงได และเจาพนักงานผูจับมีความผิดทางวินัยดวย ในกรณีท่ีเจาหนาที่ตํารวจไดใหผูถูกจับ ลงลายมอื ชอื่ ไวเ ปน หลกั ฐานวา (ไดร บั มอบสาํ เนาบนั ทกึ การจบั กมุ ไวแ ลว ) แตค วามจรงิ ไมไ ดม อบให ถือไดวาเจาพนักงานไมไดมอบสําเนาบันทึกดังกลาว เพราะเจาพนักงานไมมีการกระทําในเร่ืองนี้ จรงิ แตอยา งใด (๕) ใหสงตัวผูถูกจับแกพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจของที่ทําการพนักงานสอบสวน นั้น (๖) ถอยคําใดๆ ที่ผูถูกจับใหไวตอเจาพนักงานผูจับ หรือพนักงานฝายปกครอง หรือตํารวจในชั้นรับมอบตัวผูถูกจับ ถาถอยคําน้ันเปนคํารับสารภาพของผูถูกจับวาตนไดกระทํา ความผิดหา มมิใหร ับฟงเปน พยานหลักฐาน (๗) แตถาเปนถอยคําอื่น จะรับฟงเปนพยานหลักฐานในการพิสูจนความผิด ของผูถูกจับไดก็ตอเมื่อไดมีการแจงสิทธิตามวรรคหน่ึงของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๘๔ ¡ÒèºÑ â´ÂÃÒɮà ตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา มาตรา ๘๓ และ ๘๔ ¡Òû¯ÔºÑμÔ แจง ณ สถานท่ีจับ กรณีจับโดยราษฎร ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา มาตรา ๘๓ (๑) แจง แกผทู ี่จะถกู จับวาเขาตองถูกจบั (๒) สั่งใหผูถูกจับไปยังท่ีทําการของพนักงานสอบสวนแหงทองที่ท่ีถูกจับพรอมดวยผูจับ เวน แตสามารถนาํ ไปทที่ ําการของพนกั งานสอบสวนผรู ับผดิ ชอบ (๓) ถาจาํ เปน กใ็ หจ ับตวั ไป (๔) ถาผูจับขัดขวาง หรือจะขัดขวางการจับหรือหลบหนีหรือพยายามจะหลบหนี ผจู บั มีอํานาจใชวธิ หี รอื การปอ งกนั ทั้งหลายเทาทเ่ี หมาะสมแกพฤติการณแ หง เรือ่ งในการจับนน้ั (๕) ถา ผถู กู จบั ไดร บั บาดเจบ็ ราษฎรผทู าํ การจบั จะจดั การพยาบาลผถู กู จบั เสยี กอ นนาํ ตวั สง พนกั งานสอบสวนกไ็ ด ¡Òû¯ÔºÑμÔ แจง ณ ที่ทําการของพนักงานสอบสวน กรณีจับโดยราษฎร ตามประมวล กฎหมายวธิ ีพิจารณาความอาญา มาตรา ๘๔ (๑) ใหสงตัวผูถูกจับแกพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจของที่ทําการพนักงานสอบสวน น้นั

๙๘ (๒) ใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ ซ่ึงรับมอบตัวผูถูกจับเขียนบันทึกการจับ โดยบนั ทกึ ช่อื อาชพี ทอี่ ยูของผจู บั อีกท้ังขอ ความและพฤตกิ ารณแหง การจับน้ันไว (๓) ใหผูจ ับลงลายมือชอื่ ในบันทึกการจบั ไวเ ปน สําคญั (๔) ใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ แจงขอกลาวหาและรายละเอียดแหงการจับ ใหผูถกู จบั ทราบ (แจง คร้ังเดียว) (๕) ใหเ จา พนักงานผูรบั มอบตัวแจงสทิ ธิใหผ ถู ูกจบั ทราบวา (๕.๑) มสี ิทธิทีจ่ ะใหก ารหรอื ไมใหการกไ็ ด (๕.๒) ถา ใหก าร ถอ ยคาํ ของผถู กู จบั อาจใชเ ปน พยานหลกั ฐานในการพจิ ารณาคดไี ด (๖) เมื่อสงตัวผูถูกจับใหแกพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจของท่ีทําการของพนักงาน สอบสวนดงั กลา วแลว ใหพ นกั งานฝา ยปกครองหรอื ตาํ รวจ ซงึ่ มผี นู าํ ผถู กู จบั มาสง แจง ใหผ ถู กู จบั ทราบ ถึงสทิ ธิตามทีก่ าํ หนดไวในประมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณาความอาญา มาตรา ๗/๑ (๗) รวมทั้งจัดใหผูถูกจับสามารถติดตอกับญาติหรือผูซึ่งผูถูกจับไววางใจ เพื่อแจง ใหทราบถงึ การจับกุมและสถานท่ีทถ่ี กู ควบคุมไดในโอกาสแรกเมอ่ื ผูถ ูกจบั มาถงึ พนักงานสอบสวน (๘) หรอื ถา กรณผี ถู กู จบั รอ งขอใหพ นกั งานฝา ยปกครองหรอื ตาํ รวจเปน ผแู จง กใ็ หจ ดั การ ตามคํารอ งขอนนั้ โดยเร็ว (๙) และใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจบันทึกไว ในการนี้มิใหเรียกคาใชจายใดๆ จากผถู กู จับ ¢ŒÍáμ¡μ‹Ò§¢Í§¡ÒèºÑ â´Âà¨ÒŒ ¾¹Ñ¡§Ò¹áÅСÒèѺâ´ÂÃÒɮà ปรากฏดงั ตารางตอ ไปน้ี ลาํ ´Ñº ÊÒÃÐสํา¤ÞÑ การจบั โดยเจาพนกั งาน การจับโดยราษฎร ๑. การแจงขอกลาวหา ๒ ครง้ั คอื สถานทจี่ บั และทท่ี าํ การ ๑ ครัง้ คอื ทที่ าํ การของ ของพนักงานสอบสวน พนกั งานสอบสวน ๒. การแจงสทิ ธิ แจง ๓ ขอ แจง ๒ ขอ ๓. การลงชอื่ ในบนั ทึก - จะใหการหรือไมก ็ได - จะใหการหรอื ไมก ไ็ ด - ถอ ยคาํ ทใ่ี หอาจใชเปน พยาน - ถอ ยคําทใ่ี หอ าจใชเปน การจบั กมุ หลกั ฐานในชั้นศาลได พยานหลกั ฐานในชน้ั ศาลได - มีสิทธทิ ี่จะพบและปรึกษา ราษฎรมีอาํ นาจ ทนายความ ลงชอ่ื ในบันทกึ การจบั กุม เจาพนักงานผไู มไ ดจบั ลงช่อื ในบนั ทึกการจับกมุ ไมได

๙๙ ลํา´Ñº ÊÒÃÐสาํ ¤ÑÞ การจบั โดยเจาพนักงาน การจบั โดยราษฎร ๔. การแจงสิทธชิ ัน้ ผูจ บั และผูรับมอบตวั เปน คน ผูรบั มอบตวั มีหนา ที่เขยี น ละคนกนั ผรู บั มอบตัวมหี นา ท่ี บนั ทกึ การจบั กมุ และแจง สทิ ธิ รบั มอบตวั แจงสิทธิชน้ั รับมอบตวั ชั้นรบั มอบตัวดวย ๕. การมอบสาํ เนาบันทึก ตอ งมอบสําเนา ไมต องมอบสาํ เนา การจบั กุม ¡ÒèѺ¾ÃÐÀ¡Ô ÉÊØ ÒÁà³Ã ËÅÑ¡¡Òà กรณีที่พระภิกษุสามเณรกระทําความผิดอาญา เจาหนาที่ตํารวจสามารถทําการจับกุมได เชนเดียวบุคคลทั่วไป ไมมีกฎหมายใดหามมิใหจับกุมพระภิกษุดังกลาว แตพึงระลึกเสมอวาพระภิกษุ สามเณรเปนท่ีเคารพกราบไหวของพุทธศาสนิกชน การกระทําใดๆ ตอพระภิกษุสามเณรน้ันจะตอง กระทาํ ดว ยความเคารพสุภาพ และออนโยนในทุกกรณแี ละตอ งคาํ นึงถงึ หลกั สทิ ธิมนษุ ยชนดว ย á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ÔºÑμÔ (๑) นอกจากเจาหนาที่ตํารวจจะสามารถจับกุมพระภิกษุสามเณรไดนอกเหนือ จากการกระทาํ ผดิ ทางอาญาแลว เจา หนา ทต่ี าํ รวจยงั สามารถจบั กมุ พระภกิ ษสุ ามเณรทล่ี ะเมดิ พระพทุ ธ บัญญัติประถมปาราชิกอีกสวนหน่ึง และควบคุมตัวสงมอบใหกับสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ เพอ่ื ดําเนินการตอไป แตก ็ตอ งกระทําดวยความเคารพและสภุ าพออ นโยนทกุ กรณี (๒) เจาหนาท่ีตํารวจสามารถท่ีจะนําพา หรือพาตัวพระภิกษุสามเณรไปสงมอบ ใหแกเจาคณะทองถ่ินดําเนินการตอไปได กรณีท่ีพระภิกษุสามเณรนั้นไมเอ้ือเฟอปฏิบัติตามอาณัติ ของคณะสงฆดวยดี แตก็ตองกระทําดวยความเคารพและสุภาพออนโยนเชนเดิม การไมเอ้ือเฟอ ตอ อาณัตขิ องคณะสงฆด ังกลา วไดแ ก (๒.๑) การเทยี่ วเตร็ดเตร เปนพระจรจัดเปน พระไมม หี ลกั แหลง (๒.๒) การฉนั ยาทีม่ คี ติเหมือนสุราเมรัย (๒.๓) การเทย่ี วแทรกแซงในทชี่ มุ ชน คอื เท่ยี วดูการเลน ดูการกฬี าหรือการมหรสพ ในสถานทีต่ างๆ ปะปนกับประชาชน (๒.๔) การไมใหไปท่ีอโคจร คือ การเท่ียวไปในท่ีประชุมเกี่ยวกับการมหรสพ หรอื กระบวนแห หรือเขา ไปในทอ่ี โคจรเทย่ี วเบยี ดเสียดกับคฤหัสถใ นงานตางๆ (๒.๕) การฉันนมสด นมขนและเนยในเวลาวิกาล คือ เที่ยงวันลวงไปแลวจนถึง เชา ตรูวนั รุงขน้ึ แมจ ะใชเ จือปนในนํ้าชาหรอื กาแฟกไ็ มค วร

๑๐๐ (๒.๖) การฉนั น้าํ มหาผลในเวลาวกิ าล ซ่งึ ไดแก นํา้ มะพรา ว เปนตน ตง้ั แตเทย่ี งวัน ลวงไปจนถึงเชาตรูข องวันรุงข้ึน (๒.๗) การไมใ หส อบแขงขนั เพือ่ รับราชการและการอาชีพอยางคฤหสั ถ (๒.๘) การเทีย่ วสัญจรขอเงินชาวบาน และ (๒.๙) การจดสลากกินแบงและซือ้ หรอื มสี ลากกินแบง ไวเปนของตัว ถาเปนความผิดเล็กนอย ๙ ประการนี้ ใหจัดสงคณะสงฆพิจารณา เจาคณะตางๆ เปนผูดําเนินสึกตอไป แตหากวาเปนความผิดรายแรง เจาคณะตางๆ ส่ังใหสึก แตถาหากขัดขืน ไมยอมสึกใหดําเนินคดีอีกฐานหนึ่งได มีความผิดจําคุกไมเกินหกเดือน (พระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ.๒๕๐๕ หมวดท่ี ๔ “วาดวยนคิ หกรรมและการสละสมณเพศ” มาตรา ๔๒) ¡ÒèºÑ à´ç¡ËÃÍ× àÂÒǪ¹ ËÅÑ¡¡Òà โดยทว่ั ไปแลว หา มมิใหจบั กุมเดก็ ซ่งึ ตอ งหาวา กระทาํ ความผดิ เวน แตเ ดก็ น้ันไดก ระทําผดิ ซ่ึงหนา หรอื มหี มายจบั หรอื คาํ ส่ังของศาล สว นการจบั กุมเยาวชนน้ันใหเ ปน ไปตามประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญาและพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน และครอบครัว มาตรา ๖๖ á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ÔºμÑ Ô (๑) ตองแจง แกเดก็ หรอื เยาวชนวา เขาตอ งถูกจบั (๒) แจงขอกลา วหา รวมท้ังสิทธติ ามกฎหมายใหท ราบ (๓) หากมหี มายจับใหแ สดงตอ ผถู กู จบั (๔) กอนสงตัวผูถูกจับใหพนักงานสอบสวนแหงทองท่ีท่ีถูกจับใหเจาพนักงานทําบันทึก การจับกุม โดยแจง ขอกลาวหาและรายละเอียดเหตุแหงการถูกจบั แตห ามมิใหถามคําใหก ารผูถูกจบั (๕) นําตวั ผถู กู จบั ไปยงั ทีท่ ําการของพนกั งานสอบสวนทนั ที (๖) ถาขณะจับกุมมีบิดา มารดา ผูปกครอง บุคคลหรือผูแทนองคการซ่ึงเด็ก หรอื เยาวชนอาศยั อยดู วยในขณะน้นั ใหผูจ บั แจงเหตุแหง การจบั ใหบุคคลดงั กลาวทราบดว ย แตถ าใน ขณะนนั้ ไมม บี คุ คลดงั กลา วอยกู บั ผถู กู จบั ใหผ จู บั แจง ใหบ คุ คลดงั กลา วคนใดคนหนง่ึ ทราบถงึ การจบั กมุ ในโอกาสแรกเทาทีส่ ามารถกระทาํ ได (๗) หากผูถูกจับกุมประสงคจะติดตอส่ือสารหรือปรึกษาหารือกับบุคคลเหลาน้ัน ซึ่งไมเปนอุปสรรคตอการจับกุมและอยูในวิสัยที่จะดําเนินการได ใหผูจับดําเนินการตามควรแกกรณี โดยไมช กั ชา (๘) การจับกุมเด็กหรือเยาวชนตองกระทําโดยละมุนละมอม โดยคํานึงถึงศักดิ์ศรี ความเปนมนุษยและไมเ ปน การประจาน (๙) ในกรณีที่พนักงานสอบสวนไดรับตัวเด็กหรือเยาวชนซ่ึงถูกจับ ใหพนักงานสอบสวน นําตัวเด็กหรือเยาวชนไปศาลเพื่อตรวจสอบการจับกุมทันที ภายในย่ีสิบสี่ช่ัวโมงนับต้ังแตเวลาที่เด็ก หรือเยาวชนไปถึงทีท่ าํ การของพนกั งานสอบสวนผูร บั ผิดชอบ ไมน ับเวลาเดินทาง

๑๐๑ ¢ŒÍ¤ÇÃÃÐÇ§Ñ ๑) หามควบคมุ เด็กหรอื เยาวชนผูถูกจบั เกนิ กวาท่ีจาํ เปน ๒) หา มใชเ ครอื่ งพนั ธนาการแกเ ดก็ ผถู กู จบั เวน แตม คี วามจาํ เปน เพอื่ ปอ งกนั การหลบหนี หรอื เพ่ือความปลอดภัยของเด็ก ผูถ กู จับหรอื บุคคลอื่น ò. ¡Ò乌 ËÅ¡Ñ ¡Òà การคนตัวบุคคลหรือการกระทําการใดอันกระทบตอสิทธิและเสรีภาพ กลาวคือ สิทธิเสรีภาพในชีวิตและรางกายที่จะไมถูกทรมาน ถูกทารุณกรรมหรือถูกลงโทษดวยวิธีการโหดราย หรือไรมนุษยธรรม จะกระทํามิไดเวนแตมีเหตุตามที่กฎหมายบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๘ วรรคสาม á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ÔºμÑ Ô เจา พนกั งานฝา ยปกครองหรอื ตาํ รวจเทา นนั้ ทม่ี อี าํ นาจในการคน ได การคน มี ๒ กรณี คือ การคน โดยมีหมายคน และการคนโดยไมมหี มายคน ¡Ò䌹â´ÂäÁ‹ÁÕËÁÒ¤Œ¹ โดยทั่วไปแลวจะไมสามารถกระทําได เวนแตพนักงาน ฝายปกครองหรอื ตํารวจเปนผคู น ตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา มาตรา ๙๒ ในกรณี ดงั ตอ ไปน้เี ทานนั้ ¡Ò䌹â´ÂÁÕËÁÒ¤Œ¹ เหตุท่ีจะออกหมายคน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา มาตรา ๖๙ ได คอื (๑) เพื่อพบและยึดส่ิงของซ่ึงจะเปนพยานหลักฐานประกอบการสอบสวนไตสวน มลู ฟอ ง หรอื พจิ ารณา (๒) เพื่อพบและยึดส่ิงของมีไวเปนความผิดหรือไดมาโดยผิดกฎหมาย หรือมีเหตุ อนั ควรสงสยั วาไดใชห รอื ตงั้ ใจจะใชใ นการกระทําความผดิ (๓) เพื่อพบและชวยบคุ คลซ่งึ ไดถ กู หนวงเหน่ียว หรอื กักขังโดยมิชอบดว ยกฎหมาย (๔) เพ่ือพบบคุ คลซงึ่ มีหมายใหจับ (๕) เพอื่ พบและยดึ สง่ิ ของตามคาํ พพิ ากษาหรอื คาํ สง่ั ศาล ในกรณที จ่ี ะพบหรอื จะยดึ โดยวิธีอืน่ ไมไ ดแ ลว ¡Ò䌹 ẋ§μÒÁʶҹ·èÕ มี ๒ ประเภท คือ (๑) การคนในท่ีสาธารณะ (๒) และการคนทร่ี โหฐาน

๑๐๒ ¡Ò䌹㹷ÕèÊÒ¸ÒóРËÅÑ¡¡Òà (๑) หา มมใิ หท าํ การคน บคุ คลใดในทส่ี าธารณสถาน เวน แตเ จา พนกั งานฝา ยปกครอง หรอื ตาํ รวจเปน ผคู น ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๙๓ เมอ่ื มเี หตอุ นั ควรสงสยั ดงั น้ี (๒) มเี หตอุ นั ควรสงสยั วา บคุ คลนนั้ มสี งิ่ ของในความครอบครองเพอ่ื จะใชใ นการกระทาํ ความผิด (๓) มเี หตอุ นั ควรสงสยั วา บคุ คลนน้ั มสี ง่ิ ของในความครอบครองซงึ่ ไดม า โดยการกระทาํ ความผดิ (๔) มเี หตอุ นั ควรสงสยั วา บคุ คลนน้ั มสี งิ่ ของในความครอบครองซง่ึ มไี วเ ปน ความผดิ á¹Ç·Ò§¡Òû¯ÔºÑμÔ (๑) กอนการตรวจคนแสดงความบริสุทธิ์ใจของผูตรวจคน ใหผูถูกคนดูกอนลงมือ ตรวจคน (๒) การคน ผูหญงิ ตอ งใหเ จา หนา ท่ตี ํารวจหญงิ เปน ผูตรวจคน (๓) หากคนพบสิ่งของในความครอบครองซึ่งใชในการกระทําความผิด ไดมาโดย การกระทําความผิดหรือมีไวเปนความผิดใหทําบันทึกรายละเอียดแหงการคนและสิ่งของที่คนได และใหอานบันทึกการคน ใหผ ถู กู คนฟงและใหลงลายมือชอ่ื รับรองไว (๔) หากมกี ารขดั ขวางมยิ อมใหต รวจคน เจา พนกั งานผคู น มอี าํ นาจเอาตวั ผนู นั้ ควบคมุ ไวหรือใหอยูในความดูแลของเจาพนักงานในขณะท่ีทําการคนเทาท่ีจําเปน เพ่ือมิใหขัดขวางถึงกับ ทาํ ใหก ารคน นัน้ ไรผ ล ¢ŒÍ¤ÇÃÃÐÇѧ การท่ีเจาหนาท่ีพบเห็นผูตองหามีพฤติการณอันควรสงสัยวาจะกระทําความผิด และพาอาวธุ ปน ติดตวั ไปในเมืองโดยไมไ ดร ับอนญุ าต ซึง่ เปน ความผิดซงึ่ หนา แมจ ะไมมีหมายจบั แตไ ดแ สดงตวั วา เปน เจา พนกั งานตาํ รวจใหผ ตู อ งหาทราบแลว จงึ มอี าํ นาจตรวจคน และจบั ผตู อ งหาได ตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา มาตรา ๗๘(๑) (๓) และมาตรา ๙๓ การทผี่ ูตองหา ใชมือกดอาวุธปนไมใหเจาพนักงานที่ดึงออกมาจากเอวเพ่ือยึดเปนของกลาง จึงเปนการขัดขวาง เจาพนักงานในการปฏิบัติตามหนาที่โดยใชกําลังประทุษราย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๓๘ วรรคสอง (แนวคาํ พพิ ากษาศาลฎีกาท่ี ๓๙๑๒/๒๕๓๙)

๑๐๓ ¢ŒÍ¤ÇÃÃÐÇѧ การคนในที่สาธารณสถานไมมีการจํากัดเวลาในการคน สามารถคนในเวลากลางคืนได และการคนในท่ีสาธารณสถานไมจําเปนตองมีหมาย นอกจากน้ันยังไมจํากัดวาผูทําการคน ตอ งเปน พนกั งานตาํ รวจตาํ แหนง ใด แตก ารคน จะตอ งมเี หตผุ ลอนั สมควรและอยใู นขอบเขตทไ่ี มก อ ความเดอื ดรอ นราํ คาญใหก บั ประชาชน โดยใหพ ยายามปฏบิ ตั ใิ นหลกั การทาํ นองเดยี วกนั กบั การคน ในทร่ี โหฐานเทา ที่สามารถจะปฏบิ ตั ไิ ด (วรี พล กุลบุตร, ๒๕๕๐) ¡Ò乌 ã¹·ÃèÕ â˰ҹËÃÍ× ¤¹Œ ºŒÒ¹ ËÅ¡Ñ ¡Òà ทรี่ โหฐาน คอื สถานทีส่ ว นตัว ทบ่ี คุ คลท่วั ไปหรือประชาชนจะเขาออกตามอําเภอใจ ไมได เชน บานพักอาศัย คือ หามมิใหคนในที่รโหฐาน โดยไมมีหมายคนหรือคําสั่งของศาลเวนแต พนกั งานฝายปกครองหรือตาํ รวจเปนผคู นตามประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา มาตรา ๙๒ ในกรณีดังตอ ไปนี้ (๑) เมื่อมีเสียงรองใหชวยมาจากขางในท่ีรโหฐานนั้น หรือมีเสียงหรือมีพฤติการณ อนื่ ใดอันแสดงไดวามีเหตุรา ยเกิดขึน้ ในท่ีรโหฐานน้นั (๒) เมอ่ื ปรากฏความผดิ ซึง่ หนากาํ ลังกระทาํ ลงในทร่ี โหฐาน (๓) เมื่อบุคคลท่ีไดกระทําความผิดซ่ึงหนา ขณะท่ีถูกไลจับหนีเขาไป หรือมีเหตุ อนั แนน แฟน อนั ควรสงสยั วา ไดเ ขา ไปซกุ ซอ นตวั อยใู นทร่ี โหฐานนนั้ เชน สมศกั ด์ิ ลกั ทรพั ยแ ลว หลบหนไี ป ตํารวจเห็นเหตุการณในขณะลัก จึงวิ่งไลจับเพื่อจะจับแตสมศักด์ิว่ิงหลบหนีเขาไปในบานวิทยาเสีย ตํารวจติดตามเขาไปในบานนั้นเพื่อคนและจับสมศักดิ์ได แตถาตํารวจว่ิงไลหางไปหนอย ทําให คลาดสายตาตํารวจไปช่ัวระยะเวลาหน่ึง และเมื่อไลติดตามไป ปรากฏวาเห็นวามีบานอยูบริเวณนั้น เพยี งหลงั เดยี ว และสมศกั ดหิ์ ายไปเชน นี้ ถอื วา มเี หตอุ นั แนน แฟน ควรสงสยั วา สมศกั ดไ์ิ ดเ ขา ไปซกุ ซอ น ตวั อยใู นบา นนน้ั ตาํ รวจกเ็ ขา ไปทาํ การคน เพื่อจบั ได แมจ ะไมเหน็ ขณะท่วี ง่ิ เขาไปในบาน (๔) เมื่อมีพยานหลักฐานตามสมควรวาส่ิงของท่ีมีไวเปนความผิดหรือไดมา โดยการกระทาํ ความผดิ หรือไดใชห รอื มไี วเ พือ่ ใชในการกระทําความผิด หรอื อาจเปน พยานหลกั ฐาน พสิ จู นก ารกระทาํ ความผดิ ไดซ อ นหรอื อยใู นนนั้ ประกอบกบั ตอ งมเี หตอุ นั ควรเชอ่ื วา เนอ่ื งจากการเนน่ิ ชา กวาจะเอาหมายคนมาได สง่ิ ของนน้ั จะถูกโยกยายหรือทําลายเสยี กอน (๕) เม่ือท่ีรโหฐานนั้นผูจะตองถูกจับเปนเจาบาน และการจับนั้นมีหมายจับ หรอื จบั ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๗๘ ผตู อ งถกู จบั เปน เจา บา น ไมใ ชค นอนื่ ที่หลบหนีมาซุกซอนอยู คนใชหรอื ญาติอน่ื ทีอ่ าศยั อยูก็ไมเ ขา ขอนี้ เจาบา นหมายถงึ ผเู ปนหวั หนา ของ บุคคลท่ีพักอาศัยอยูในบานหลังนั้นและรวมตลอดถึงคูสมรสของผูเปนหัวหนาเทาน้ัน เพราะบุคคล

๑๐๔ ดังกลาวเปนผูรับผิดชอบในการครอบครองบานและปกครองผูอยูอาศัยในบานหลังน้ัน หาไดรวมถึง ผอู ยใู นบานทกุ คนไม ¡Ã³ÕμÑÇÍÂÒ‹ § จําเลยอยูในฐานะบุตร มิไดอยูในฐานะเจาบานการที่ผูเสียหายกับพวกเขาไปจับกุม จําเลยในบานดังกลาวตามหมายจับแตไมมีหมายคน เปนการจับกุมโดยไมชอบ จําเลยจึงชอบท่ีจะ ปอ งกนั สทิ ธขิ องตนได หากจาํ เลยชกตอ ยผเู สยี หายจรงิ กเ็ ปน การกระทาํ เพอ่ื ปอ งกนั ไมม คี วามผดิ ฐาน ตอสูขดั ขวางเจา พนักงาน (คาํ พพิ ากษาฎกี าที่ ๑๐๓๕/๒๕๓๖) á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ÔºμÑ Ô (๑) ใหพ นกั งานฝา ยปกครองหรอื ตาํ รวจสงั่ ใหเ จา ของหรอื คนทอ่ี ยใู นนน้ั หรอื ผรู กั ษา สถานที่น้ันใหยอมใหเขาไปและอํานวยความสะดวกในการคน โดยพนักงานผูคนตองแสดงหมายคน ถา เปนการคน ไดโดยไมมหี มายคน ตอ งแสดงนามและตําแหนง (๒) เจา ของหรอื คนทอี่ ยใู นนนั้ หรอื ผรู กั ษาสถานทไ่ี มย อมใหค น เจา พนกั งานมอี าํ นาจ จะใชก าํ ลงั เพอื่ เขา ไป ในกรณจี าํ เปน จะเปด หรอื ทาํ ลายประตบู า น หนา ตา ง รว้ั หรอื สง่ิ กดี ขวางอยา งอนื่ ทาํ นองเดียวกนั นน้ั ก็ได (๓) กอนลงมือคน เจาพนักงานผูคนตองแสดงความบริสุทธ์ิเสียกอน และใหคน ตอหนาผูครอบครองสถานที่หรือบุคคลในครอบครัวของผูนั้น ถาหาไมไดก็ตองคนตอหนาบุคคลอ่ืน อยา งนอ ยสองคน ท่ไี ดม าเปน พยาน (๔) การคนหาสิ่งของที่หาย จะใหเจาของหรือผูครอบครองส่ิงของนั้นหรือผูแทน ของเขาไปกับเจา พนกั งานในการคนก็ได (๕) การคนตองกระทําระหวา งพระอาทิตยข ้นึ และตก เวน แต (๕.๑) เมอ่ื ลงมอื คนในเวลากลางวนั แลวไมเสร็จ จะคนตอในเวลากลางคนื กไ็ ด (๕.๒) ในกรณีฉุกเฉินอยางยิ่ง หรือมีกฎหมายอ่ืนบัญญัติใหคนไดเปนพิเศษ จะทําการคนในเวลากลางคืนก็ได เชน กรณี มาตรา ๓๐(๑) ของพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖ ในกรณีมีเหตุอันควรเชื่อวา หากไมดําเนินการในทันทีเด็กอาจไดรับอันตรายแกรางกาย หรือจิตใจ หรือถูกนําพาไปสถานท่ีอ่ืนซึ่งยากแกการติดตามชวยเหลือ ก็ใหมีอํานาจเขาไปในเวลา ภายหลังพระอาทิตยตกได (๖) การคนเพื่อจับผูดุรายหรือผูรายสําคัญจะทําในเวลากลางคืนก็ได แตตองไดรับ อนญุ าตพิเศษจากศาล (๗) การคนจะคนไดเฉพาะเพ่ือหาตัวคนหรือสิ่งของที่ตองการคนเทาน้ัน แตมี ขอ ยกเวน ดังนี้ (๗.๑) ในกรณีที่คนหาส่ิงของโดยไมจํากัดส่ิง เจาพนักงานผูคนมีอํานาจยึด สง่ิ ของใดๆ ซ่งึ นาจะใชเ ปนพยานหลกั ฐานเพ่ือเปน ประโยชน หรอื ยนั ผูตองหาหรือจาํ เลย

๑๐๕ (๗.๒) เจาพนักงานซ่ึงทําการคนมีอํานาจจับกุมบุคคล หรือส่ิงของอื่นในท่ีคน นั้นไดเ มื่อมีหมายคนอกี ตา งหากหรือในกรณีความผดิ ซ่งึ หนา (๘) ในการคน เจา พนกั งานตอ งพยายามมใิ หม กี ารเสยี หาย และกระจดั กระจายเทา ท่ี จะทาํ ได (๙) ถามีเหตุอันควรสงสัยวา บุคคลซ่ึงอยูในท่ีซึ่งคนหรือจะถูกคน จะขัดขวาง ถึงกบั ทําใหการคนไรผล เจาพนกั งานคนมอี าํ นาจเอาตัวผูนัน้ มาควบคุมไว หรือใหอ ยูใ นความดูแลของ เจา พนกั งานในขณะที่ทาํ การคนเทาทจ่ี าํ เปน เพอื่ มิใหข ัดขวางถงึ กับการทําใหการคนนัน้ ไรผ ล (๑๐) ถามีเหตุอันควรสงสัยวา บุคคลท่ีจะคนน้ันไดเอาสิ่งของที่ตองการพบซุกซอน ในรางกาย เจาพนักงานผูคนมีอํานาจคนตัวผูนั้นได เชนเดียวกับพนักงานผูจับหรือรับตัวผูถูกจับไว ท่ีมีอํานาจคนตัวผูตองหาและยึดสิ่งของตางๆ ที่อาจใชเปนพยานหลักฐานได แตการคนตอง กระทําการดงั น้ี (๑๐.๑) การคนตอ งทําโดยสุภาพ ถาคนผหู ญงิ ตองใหหญงิ อน่ื เปน ผูคน (๑๐.๒) สิ่งของที่ยึดไว เจาพนักงานมีอํานาจยึดไวจนกวาคดีถึงท่ีสุด เมื่อคดี เสร็จแลว จึงใหคืนแกผูตองหาหรือแกผูอื่น ซ่ึงมีสิทธิเรียกรองขอคืนสิ่งของน้ัน เวนแตศาลจะส่ังเปน อยา งนนั้ (๑๑) การคนท่ีอยูหรือสํานักงานของผูตองหาหรือจําเลย ซึ่งถูกควบคุมหรือขังอยู ใหทําตอหนาผูน้ัน ถาผูน้ันไมสามารถหรือไมติดใจมากํากับ จะตั้งผูแทนหรือใหพยานมากํากับก็ได ถาผแู ทนหรอื พยานไมม ี ใหคน ตอหนา บคุ คลในครอบครัว หรอื ตอ หนา พยาน (๑๒) สงิ่ ของทย่ี ดึ ไดต อ งใหผ คู รอบครองสถานท่ี บคุ คลในครอบครวั ผตู อ งหา จาํ เลย ผูแทนหรอื พยานดูเพือ่ ใหร บั รองวาถกู ตอง ถาบคุ คลดังกลาวนัน้ รับรองหรอื ไมร ับรองกใ็ หบ นั ทกึ ไว (๑๓) เจาพนักงานผูคน ตองบันทึกรายละเอียดแหงการคนและสิ่งของท่ีคน ไดน้ันตองทําบัญชีรายละเอียดไวและใหอานบันทึกการคนและบัญชีส่ิงของใหผูครอบครองสถานที่ บคุ คลในครอบครวั ผตู อ งหา จาํ เลย ผแู ทนหรอื พยานฟง แลว แตก รณี แลว ใหผ นู น้ั ลงลายมอื ชอื่ รบั รองไว (๑๔) เจา พนกั งานทคี่ น โดยมหี มาย ตอ งรบี สง บนั ทกึ และบญั ชสี งิ่ ของพรอ มดว ยสงิ่ ของ ทย่ี ึดมา ถาพอจะสง ไดไปยังผอู อกหมายหรือเจาพนกั งานอ่นื ตามที่กําหนดไวใ นหมาย ¡Ò乌 μÑǺ¤Ø ¤Å การคนตัวบุคคลหรือกระทําการใดอันกระทบตอสิทธิและเสรีภาพจะกระทํามิได เวนแตม เี หตุตามทีก่ ฎหมายบญั ญตั ติ ามรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ.๒๕๖๐ มาตรา ๒๘ ¡Ò䌹μÑǺ¤Ø ¤ÅÁÕ ó ¡Ã³´Õ ŒÇ¡ѹ ¤Í× (๑) การคนบุคคลในสาธารณสถาน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๙๓ การคนตัวบุคคลในท่ีสาธารณะไมตองมีหมายคนโดยผูคนจะตองเปนเจาพนักงาน ฝายปกครองหรือตํารวจ และตองมีเหตุอันควรสงสัยวา บุคคลน้ันมีส่ิงของในความครอบครอง

๑๐๖ เพื่อจะใชในการกระทําผิด หรือซ่ึงไดมาโดยการกระทําความผิด หรือซ่ึงมีไวเปนความผิด เม่ือตรวจคนพบวาเปนความผิดซ่ึงหนา และสิ่งของนั้นไมจําเปนตองอยูท่ีตัวของผูท่ีถูกคน ซึ่งดูจาก พฤติการณหรอื เจตนาในการแสดงความครอบครองกเ็ พยี งพอแลว (๒) การคนตัวบุคคลในที่รโหฐาน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๐๐ วรรคสอง สืบเน่อื งจากการคนในที่รโหฐาน และมคี นในทน่ี น้ั ขัดขวางการคน โดยมีเหตุ อันควรสงสัยวาบุคคลน้ันไดเอาส่ิงของที่ตองการพบซุกซอนในรางกาย เจาพนักงานผูตรวจคน มีอาํ นาจคนตวั ผูน้นั ได (๓) การคนตัวผูตองหา ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๘๕ เจาพนักงานผูจับหรือผูรับตัวผูถูกจับ มีอํานาจตรวจคนตัวผูตองหาและยึดส่ิงของตางๆ ใชเปน พยานหลักฐานได ¡Ò䌹ÂÒ¹¾Ò˹Рยานพาหนะนน้ั ไมถ อื วา เปน ทร่ี โหฐาน ไมจ าํ เปน ตอ งมหี มายคน เจา พนกั งานฝา ยปกครอง หรือตํารวจสามารถตรวจคนเม่ือมีเหตุตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๙๓ หรอื เพื่อความเขาใจงายข้ึน ใหเปรยี บเทยี บวายานพาหนะก็คือ กระเปา ใบหนึ่งเทานั้น ¢ÍŒ ¤ÇÃÃÐÇ§Ñ กอนการตรวจคน ทกุ ครัง้ ผูตรวจคน ตองแสดงความบริสุทธใ์ิ จ ó. ¡ÒÃãªàŒ ¤Ãè×ͧ¾¹Ñ ¸¹Ò¡Òà ËÅÑ¡¡Òà การใชเคร่ืองพันธนาการในการควบคุมตัวผูกระทําความผิดนั้นจะกระทําไดก็ตอเม่ือ มคี วามจาํ เปน เพอื่ ปอ งกนั ไมใ หผ กู ระทาํ ความผดิ หลบหนไี ปจากการควบคมุ ของเจา หนา ท่ี อยา งไรกต็ าม ถึงแมวาเจาหนาที่ตํารวจจะมีอํานาจในการควบคุมตัว และมีอํานาจท่ีจะใชเคร่ืองพันธนาการ กับผูกระทําความผิดได แตก็เปนการใชอํานาจที่กระทบตอสิทธิเสรีภาพของบุคคล แตเม่ือบุคคลใด ก็ตามกระทําความผิดอันมีโทษตามกฎหมายก็สมควรที่จะตองไดรับการลงโทษ ซ่ึงการลงโทษ ผกู ระทาํ ความผดิ นนั้ เปน ไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๘ ไดแ ก ประหารชวี ิต จาํ คุก กกั ขงั ปรบั และรบิ ทรพั ย ซงึ่ การใชอ าํ นาจดงั กลา วของเจา หนาที่ตํารวจ ก็ตอ งคาํ นึงถงึ ศักด์ิศรีของความเปน มนุษยด วย á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ÔºÑμÔ (๑) ใชเ ทา ทจ่ี าํ เปน เพอ่ื ปอ งกนั มใิ หเ ขาหลบหนเี ทา นนั้ (ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณา ความอาญา มาตรา ๘๖) (๒) หากจําเปนตองใชเครื่องพันธนาการ เชน กุญแจมือกับโซรอย ในการควบคุม ผตู อ งหา เจา หนา ทตี่ าํ รวจไมจ าํ เปน ตอ งใชท กุ กรณี ดงั นนั้ กอ นทจ่ี ะใชเ ครอ่ื งพนั ธนาการจงึ ควรพจิ ารณา จากปจจยั หลายๆ ดา น ดงั น้ี (ระเบยี บการตาํ รวจเกี่ยวกับคดี ขอ ๑๔๖)

๑๐๗ (๒.๑) ใหพิจารณาถึงฐานความผิด วาเปนความผิดอุกฉกรรจหรือเล็กนอย หากเปนความผดิ อุกฉกรรจหรอื ไมแ นใ จวา จะหลบหนีกค็ วรใชกญุ แจมือ (๒.๒) ใหพิจารณาถึงตัวบุคคล หากเปนบคุ คลท่คี วรใหเกียรติ เชน การกระทาํ ความผิดของขาราชการท่ีรับราชการมีหลักฐานมั่นคง พระภิกษุ สามเณร นักพรตตางๆ ทหาร สวมเครื่องแบบ หญิงชรา เด็ก คนพิการและคนปวยเจ็บท่ีไมสามารถจะหลบหนีไดดวยกําลังตนเอง ถาไมไ ดก ระทาํ ความผดิ อกุ ฉกรรจ หรอื ไมไดแสดงกิรยิ าจะขดั ขืนหรือหลบหนีแลว ไมควรใชกุญแจมือ ¢ÍŒ ¤ÇÃÃÐÇ§Ñ หา มใชเ ครอ่ื งพนั ธนาการแกเ ดก็ ไมว า กรณใี ดๆ เวน แตม คี วามจาํ เปน เปน อยา งยง่ิ อนั มอิ าจหลกี เลยี่ งไดเ พอ่ื ปอ งกนั การหลบหนี หรอื เพอื่ ความปลอดภยั ของเดก็ ผถู กู จบั หรอื บคุ คลอน่ื (พระราชบัญญัติ ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีศาลเยาวชนและครอบครัวฯ มาตรา ๖๙ วรรคสาม) (๓) ใหพิจารณาถึงสถานที่ที่จะควบคุมไป หากเปนทางเปล่ียน มีโอกาสที่ผูตองหา จะหลบหนี หรือทาํ อนั ตรายแกผ คู วบคมุ ไดง ายควรใสกุญแจมอื (๔) ใหพิจารณาถึงเวลา หากเปนเวลาคํ่าคืนหรือจําเปนตองพักคางคืน ณ ท่ีใด ในระหวางทางท่ีไมมที ่คี วบคมุ เพื่อปอ งกนั การหลบหนแี ละการตอ สู ควรใชก ญุ แจมอื (๕) ใหพิจารณาถึงกิริยาและความประพฤติ วามีความประพฤติเปนอยางไร เชน เคยตองโทษอาญามาแลว หรือเคยหลบหนีการควบคุม มีอากัปกิริยาแสดงออกทําใหสงสัยวา คดิ จะทํารา ยผูควบคมุ ควรใชก ุญแจมอื (๖) หากตองใชกุญแจมือ ผูใสจะตองตรวจดูใหกุญแจมือพอดีกับขอมือผูตองหา คือ ตองไมใหหลวมหรือคับเกินไป เพราะถาหลวมมากก็จะหลุดจากขอมือไดงาย ถาคับมากก็จะ เปนการทรมานแกผ ตู อ งหา เม่ือใสก ญุ แจมอื แลว ในกรณที ีม่ คี วามจาํ เปน จะมีโซร อ ยสาํ หรับถือควบคมุ ไปกไ็ ด ใหผ ตู อ งหาเดนิ หนา ผคู วบคมุ ถอื ชายโซเ ดนิ ตามหลงั หรอื เดนิ ตามไปขา งๆ (ประมวลระเบยี บการ ตํารวจเกย่ี วกับคดี ขอ ๑๔๗) ô. ¡ÒÃμ§Ñé ¨´Ø μÃǨ¨Ø´Ê¡Ñ´ μÒÁËÅÑ¡Ê·Ô ¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹ ËÅ¡Ñ ¡Òà ภารกิจหลักของตํารวจอีกอยางหน่ึงก็คือ การปองกันและปราบปรามอาชญากรรม ซึ่งหากการปฏิบัติตามภารกิจมีประสิทธิภาพยอมทําใหเปาหมายในการปองกันอาชญากรรมบรรลุ ผลสําเร็จได ทั้งน้ีโดยตองระลึกอยูเสมอวาการปฏิบัติภารกิจใดๆ ก็ตาม ตองอยูภายใตขอบเขตของ กฎหมายท่ีใหอํานาจโดยคํานึงถึงหลักสิทธิเสรีภาพของประชาชนตามที่รัฐธรรมนูญกําหนด และ หลักสทิ ธมิ นษุ ยชนสากลดวย

๑๐๘ ¡ÒÃμ§éÑ ¨Ø´μÃǨ ¨Ø´Ê¡Ñ´ ÁÇÕ μÑ ¶»Ø ÃÐʧ¤·สèÕ ํา¤ÞÑ ¡¤ç ×Í (๑) เพื่อควบคุมพืน้ ทีล่ อ แหลมตอ การเกิดอาชญากรรม (๒) เพื่อเปน การปอ งกนั และปราบปรามการกระทําผิด (๓) เพื่อเปนการตัดชองโอกาสในการกระทําผิดโดยเฉพาะการปดเสนทางที่คนราย จะหลบหนี (๔) เพอ่ื ตรวจคน บคุ คล หรอื ยานพาหนะทผี่ า นเขา ออกพนื้ ที่ เพอื่ ปอ งกนั การกระทาํ ผดิ หลบหนี (๕) เพื่อคนหาสง่ิ ผิดกฎหมาย อาวธุ เครือ่ งมือเครือ่ งใชท ่ีจะใชใ นการกระทําผดิ á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ºÔ μÑ Ô (๑) การต้งั ดา นตรวจ จดุ ตรวจ หรอื จุดสกัดในเขตทางเดินรถหรือทางหลวง ใชเ ม่อื กรณีท่ีมเี หตุจําเปนหรือเหตุการณฉ ุกเฉินเรงดวน ตอ งมนี ายตํารวจชั้นสญั ญาบัตรเปนหัวหนาควบคุม โดยไดรับอนุมัติจากผูบังคับบัญชา โดยตองแตงกายเคร่ืองแบบในการปฏิบัติหนาท่ีและใหทุกหนวย ประสานการปฏิบตั ิระหวา งหนว ยใกลเคียงใหชัดเจนเพอ่ื ไมใหเกิดการซํ้าซอนกัน (๒) ตองปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ คําส่ังของหนว ยงาน (๓) มแี ผงกน้ั แสดงเครอ่ื งหมายวา “จดุ ตรวจ” และควรจดั ใหม สี ง่ิ กดี ขวางหรอื สญั ญาณ อื่นใดใหสังเกตไดงายในระยะไกล เชน กรวยยางคาดแถบสีสะทอนเพื่อชวยปองกันอุบัติเหตุท่ีอาจ เกดิ ขน้ึ (๔) ในเวลากลางคืนตองใหมีแสงไฟสองสวางใหมองเห็นไดอยางชัดเจน ในระยะ ไมน อ ยกวา ๑๕ เมตร กอ นถงึ จดุ ตรวจ (๕) กําหนด “เขตพื้นท่ีปลอดภัย” ไวสําหรับเปนบริเวณตรวจคน เพื่อใหเกิดความ ปลอดภยั ทัง้ แนวทีต่ รวจคน และเจา หนา ทีต่ ํารวจ ระหวา งทท่ี าํ การตรวจคน (๖) ควรวางกําลังสวนหน่ึงไวบริเวณทางแยกหรือจุดกลับรถกอนถึงจุดตรวจ หรือจดุ สกัด เพือ่ ไวท ําจุดสกัดกัน้ หรือไลตดิ ตามผทู เี่ ล้ยี ว หรือกลบั รถหลบหนกี ารตรวจคน (๗) พงึ ใชความระมัดระวงั และตัง้ อยใู นความไมประมาททกุ ขณะทําการตรวจคน (๘) พึงเปนผูมีมารยาทที่ดีงามและรักษากิริยาวาจาระหวางการตรวจคน เชน ไมสอ งไฟบรเิ วณใบหนาประชาชนผถู ูกตรวจคน โดยตรง และรูจ กั ใชคําพูดทีส่ ุภาพ (๙) ใชการสังเกตและใหความสนใจเปนพิเศษแกพาหนะที่มีลักษณะพิรุธ เชน รถจักรยานยนตไมติดแผนปายทะเบียนหรือพับงอแผนปายทะเบียนเพื่อปดบังอําพรางหมายเลข หรอื พาหนะที่มีการดดั แปลงสภาพ (๑๐) ในการต้ังจุดตรวจหรือจุดสกัด ใหคํานึงถึงความปลอดภัยของเจาหนาท่ีตํารวจ ทปี่ ฏิบตั ิงานและประชาชน และไมกอ ใหเกิดปญหาความเดือดรอ นแกป ระชาชนผูใ ชทางโดยไมจําเปน

๑๐๙ ¢Ñé¹μ͹¡Òû¯ºÔ ÑμÔ ¡ÒäǺ¤ÁØ áÅСÒÃμÃǨÊͺ¡Òû¯ºÔ μÑ Ô (๑) เรียกแถวตรวจยอดกําลังพล ตรวจความพรอมของเจาหนาท่ีตํารวจ ผูปฏบิ ัติ รวมทง้ั อปุ กรณเ ครื่องมือเครอื่ งใชในการต้ังจดุ ตรวจ (๒) อบรมชี้แจงสถานภาพอาชญากรรมการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ ในชวงเวลาทีผ่ า นมา แนวนโยบายและคาํ ส่ังของผูบ ังคบั บญั ชา และขอ ราชการตางๆ ทเ่ี กย่ี วของ (๓) กาํ หนดตวั เจา หนา ทต่ี าํ รวจผปู ฏบิ ตั ใิ นแตล ะสว นของพนื้ ทจี่ ดุ ตรวจ และทาํ ความ เขา ใจกบั บทบาทหนาทีข่ องแตล ะคนใหช ดั เจน (๔) การต้ังจุดตรวจหรือจุดสกัด ใหรายงานทางศูนยวิทยุ ใหผูบังคับบัญชาทราบ เมือ่ เรมิ่ ตน และเลกิ ปฏิบตั ิ (๕) เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติใหรายงานผลการปฏิบัติเปนลายลักษณอักษร เสนอผบู งั คบั บัญชาตามลําดับชนั้ จนถงึ ผูอ นมุ ตั ิ ภายในวนั ถัดไปเปนอยางชา (๖) ใหผูบังคับบัญชาต้ังแตระดับสารวัตรข้ึนไป ผลัดเปล่ียนหมุนเวียนกันควบคุม การปฏบิ ตั ิ รวมทงั้ รายละเอียดเกยี่ วกบั ลักษณะและพฤติการณแ หงการกระทําผดิ ใหละเอียดชดั เจน (๗) ในระหวางการปฏิบัติหนาที่ตรวจคนของเจาหนาที่ผูปฏิบัติ ผูที่ทําหนาที่เปน ผคู วบคมุ จะตอ งกาํ กบั ดแู ลใหเ ปน ไปตามระเบยี บกฎหมาย เพอื่ มใิ หเ จา หนา ทผ่ี ปู ฏบิ ตั แิ สวงหาประโยชน โดยมชิ อบเกดิ ขึ้นระหวา งการปฏิบัตหิ นาที่ ¢ÍŒ ¤ÇÃÃÐÇѧ ๑) ไมค วรตงั้ จุดตรวจหรอื จดุ สกัดในบริเวณทางโคง เชิงสะพาน ทล่ี าดชัน และบรเิ วณท่ี เปน มมุ อบั สายตา เพอื่ ปอ งกนั อบุ ตั เิ หตทุ อี่ าจเกดิ ขน้ึ จากการมองไมเ หน็ ของผขู บั ข่ี หรอื การหยดุ รถ ไมท ันในระยะกระชน้ั ชิด ๒) ในเวลากลางคนื ตองมแี สงสวา งอยา งพอเพยี ง ใหผ ูขับข่ีเหน็ ไดใ นระยะไกล อุปกรณ แสงสวางตองหมัน่ ตรวจสอบและปรบั ปรุงใหทาํ งานไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพอยเู สมอ ๓) ในการเรยี กรถใหห ยดุ ไมว ากรณีใดๆ อยาเอาตัวหรอื สว นของรา งกาย เชน แขน ขา เขาไปขวางหรือสกัดก้ันใหรถหยุด เพราะอาจถูกชนจากรถที่หยุดไมทัน ระหวางการตรวจคนใน “เขตพนื้ ทปี่ ลอดภยั ” อยา ยนื ขวางหนา รถทก่ี าํ ลงั ตรวจคน เพราะอาจจะถกู รถชนได กรณผี ตู อ งสงสยั พยายามขบั รถหลบหนกี ารตรวจคน ๔) ในกรณีท่ีผูขับขี่พยายามขับขี่รถฝาจุดตรวจเพื่อหลีกเล่ียงการตรวจคน เจาหนาที่ ตํารวจประจําจุดตรวจไมควรสรา งสงิ่ กีดขวางข้ึนอยางกะทนั หนั เชน ขบั รถเขา ขวาง หรอื เขน็ แผง ปายสัญญาณขวางทางเพื่อพยายามหยุดรถ เพราะอาจจะทําใหผูขับข่ีหยุดรถไมทันแลวหักหลบ สงิ่ กดี ขวางจนเกดิ อบุ ตั เิ หตเุ ฉย่ี วชนประชาชนหรอื เจา หนา ทตี่ าํ รวจทป่ี ฏบิ ตั หิ นา ทบี่ รเิ วณจดุ ตรวจได ๕) ในกรณีท่ีสงสัยวาคนรายอาจมีอาวุธอยูในรถ เจาหนาที่ตํารวจท้ังชุดตรวจคน และชุดคุมกันควรหาที่กําบังในขณะที่รถเขามาในบริเวณจุดสกัด และอาจใชเครื่องขยายเสียง จากรถยนตส ายตรวจบงั คบั รถเพ่ือตรวจคน

๑๑๐ õ. ¡ÒäǺ¤ÁØ ½§Ù ª¹/¡ÒûÃÒº¨ÅҨŠËÅ¡Ñ ¡Òà (๑) หลักการท่ีเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพของผูชุมนุม ประชาชนพลเมืองทุกคน ยอ มมสี ิทธเิ สรภี าพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวธุ การจํากัดเสรภี าพจะกระทํามไิ ด เวนแต โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เฉพาะในกรณีการชุมนุมสาธารณะและเพ่ือคุมครอง ความสะดวกของประชาชนทจี่ ะใชท ส่ี าธารณะ หรอื เพอื่ รกั ษาความสงบเรยี บรอ ยในระหวา งเวลาทป่ี ระเทศ อยูในภาวะสงครามหรือในระหวางเวลาท่ีมีประกาศสถานการณฉุกเฉินหรือประกาศใชกฎอัยการศึก บุคคลยอมมีเสรีภาพในการเปนสมาคม สหภาพ สหพันธ สหกรณกลุมเกษตรกร องคการเอกชน องคก ารพฒั นาเอกชนหรอื หมูคณะอน่ื ขาราชการหรอื เจา หนาที่ของรฐั ยอมมีเสรภี าพในการรวมกลุม เชนเดียวกับบุคคลทั่วไป แตท้ังนี้ตองไมกระทบกับประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผนดิน และ ความตอ เนอ่ื งในการจดั ทาํ บรกิ ารสาธารณะ ทงั้ นต้ี ามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ การจาํ กดั เสรภี าพตามวรรคหนง่ึ และวรรคสองจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติกฎหมาย เฉพาะเพื่อคุมครอง ประโยชนสวนรวมของประชาชน เพื่อรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพื่อปองกันมิใหมีการผูกขาดตัดตอนในทางเศรษฐกิจผูชุมนุมจะตองระมัดระวังใหการชุมนุม อยูภายใตขอบเขตของกฎหมาย มิฉะน้ันหากมีการกอความวุนวาย ใชกําลังขวางปาทําลายสิ่งของ ของบุคคลอื่นหรือกีดขวางทางสัญจรจนเกิดความเดือดรอนรําคาญ อาจเปนความผิดตามกฎหมาย ซ่ึงเจาพนกั งานอาจกลา วอางเปน ความผิดได ทัง้ ตามประมวลกฎหมายอาญา พระราชบัญญัติจราจร ทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ และพระราชบัญญตั ิควบคมุ การโฆษณาโดยใชเ ครอ่ื งขยายเสียง พ.ศ.๒๔๙๓ (๒) หลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนตามกตกิ าระหวา งประเทศเนอื่ งจากประเทศไทยเปน สมาชกิ ขององคการสหประชาชาติ จึงตองระมัดระวังมิใหมีการลวงละเมิดสิทธิมนุษยชนข้ึน มิฉะน้ันอาจถูก รองเรียน หรือสงรายงานการลวงละเมิดสิทธิมนุษยชนตอคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และสหประชาชาตอิ าจดาํ เนนิ มาตรการทมี่ ผี ลกระทบตอ ประเทศไทยได นอกจากน้ี การทปี่ ระเทศไทย ไดเขาเปนภาคีกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง พ.ศ.๒๕๐๙ ประเทศไทยจึงมีพันธกรณีที่จะตองพัฒนากฎหมายและดําเนินการใหสอดคลองกับบทบัญญัติ แหงกตกิ าดังกลา ว ซึ่งไดแก (๒.๑) ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนสหประชาชาติ พ.ศ.๒๔๙๑ (Universal Declaration of Human Rights, ๑๙๔๘) ขอ ๒๐(๑) บุคคลมีสิทธิในเสรีภาพ แหง การชุมนุมและการสมาคมโดยสงบ (๒.๒) กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง พ.ศ.๒๕๐๙ (International Covenant on Civil and Political Rights, ๑๙๖๖) ขอ ๒๑ สทิ ธใิ น การรว มประชมุ โดยสงบยอมไดรับการรบั รอง การจาํ กัดการใชสิทธนิ ้จี ะกระทาํ มิไดน อกจากจะกําหนด โดยกฎหมายและเพียงเทาท่ีจําเปนสําหรับสังคมประชาธิปไตยเพ่ือประโยชนแหงความมั่นคงของชาติ หรอื ความปลอดภยั ความสงบเรยี บรอ ย การสาธารณสขุ หรอื ศลี ธรรมของประชาชน หรอื การคมุ ครอง สทิ ธิและเสรภี าพของบุคคลอ่ืน

๑๑๑ á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ºÔ μÑ Ô กรณีมีการชุมนุมเรียกรองตองปฏิบัติตามนโยบายหลักของรัฐบาลและหนวยงาน ภาครัฐคือ การรักษาความสงบในการชุมนุมใหเปนไปดวยความเรียบรอยและกําหนดแผนข้ันตอนใน การปฏิบัติรองรับเม่ือเหตุการณลุกลามจนกลายเปนการจลาจล โดยใหเปนในทิศทางเดียวกันรวมทั้ง ตอ งมกี ารซกั ซอ มความเขา ใจใหก ารแกป ญ หาเปน ไปอยา งมรี ะบบและมปี ระสทิ ธภิ าพโดยยดึ ถอื หลกั ดงั น้ี (๑) ใชห ลกั เมตตาธรรม โดยใหค าํ นงึ ไวเ สมอวา ในการชมุ นมุ เรยี กรอ งของประชาชน ที่มารวมตัวกันนั้นมีความเดือดรอนจริงๆ ซึ่งตองการใหรัฐบาลชวยเหลือขาราชการและพนักงาน เจา หนา ทที่ ร่ี บั ผดิ ชอบกต็ อ งตรวจสอบขอ เทจ็ จรงิ วา มคี วามเดอื ดรอ นและมคี วามทกุ ขต ามขอ เรยี กรอ ง จรงิ หรอื ไม ถามจี รงิ กต็ องใหก ารชวยเหลอื ตามอํานาจหนาที่ (๒) การดําเนินการตั้งแตมีการชุมนุมโดยสงบไปจนกระท่ังเกิดการจลาจลนั้น ใหใชมาตรการการควบคุมฝูงชนจากเบาไปหาหนัก และมีการประกาศขั้นตอนในการปฏิบัติของ เจาหนาท่ีควบคุมฝูงชนใหทราบกอนทุกครั้ง พึงระลึกเสมอวาการชุมนุมในขอบเขตของกฎหมาย เปน สิทธิของผูช ุมนมุ ทจี่ ะกระทาํ ไดตามกฎหมายรฐั ธรรมนูญ ฉะนนั้ เจาหนาท่ีตํารวจทุกคนตองปฏิบัติ อยา งละมนุ ละมอม ใชก ารเจรจา ประชาสมั พันธ สรางความเขาใจ หลีกเลยี่ งการใชก าํ ลังจนถงึ ทสี่ ดุ (๓) การใชหลักกฎหมาย หากผูชุมนุมเรียกรองใชวิธีการรุนแรง โดยกระทําผิด กฎหมายและเปนการละเมิดสิทธิผูอ่ืนใหขาราชการและพนักงานเจาหนาที่ที่รับผิดชอบใชวิธีการ เจรจากอ นโดยเสนอแนะใหปฏิบัตใิ หถกู ตอ งตามกฎหมาย หากไมปฏบิ ัตติ ามกฎหมายหรอื ยังคงมกี าร กระทาํ ทก่ี า วรา ว รนุ แรงกใ็ หด าํ เนนิ การตามกฎหมายโดยใหด าํ เนนิ การในระดบั ถอ ยทถี อ ยอาศยั และตอ ง มองวาทุกคนเปนเพอ่ื นรว มชาติ (๔) หากจําเปนตองใชกําลังสลายการชุมนุม หลังจากมีการสลายการชุมนุมแลว ตองเขาสูกระบวนการฟนฟู สงตัวผูบาดเจ็บ หรือดําเนินการตางๆ ใหเกิดความปลอดภัยตอบุคคล สถานที่ที่เกิดเหตุ และควบคุมสถานการณใหอยูในภาวะปกติ มาตรการทั้งปวงในการรักษา ความเปน ระเบียบเรยี บรอยตอ งเคารพสิทธิมนุษยชน ไมเลอื กปฏบิ ตั แิ ละตอ งคาํ นงึ เสมอวา การจาํ กัด สทิ ธใิ ดๆ จะตอ งเปน ไปตามบทบญั ญตั ขิ องกฎหมายเทา นนั้ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ พอื่ ดาํ รงไวซ งึ่ ความเคารพ ในสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพของบุคคลอ่ืน เคารพในศีลธรรมจรรยา ความเปนระเบียบเรียบรอย ของสาธารณะและสวสั ดภิ าพทว่ั ไปของประชาชน ตอ งใชว ธิ กี ารทไี่ มใ ชค วามรนุ แรงเปน ลาํ ดบั แรกกอ นการ ใชก าํ ลงั กรณจี ะใชก าํ ลงั ไดต อ งเปน กรณจี าํ เปน อยา งยง่ิ และตอ งเปน ไปอยา งเหมาะสมและไดส ดั สว นกบั วตั ถปุ ระสงคที่ชอบดว ยกฎหมาย หากมผี บู าดเจ็บตอ งไดร บั การรกั ษาเยยี วยาทนั ที ตองไมมกี ารบังคบั ในขอ จาํ กดั ใดๆ ในเรอื่ งเสรภี าพความคดิ เหน็ การพดู การชมุ นมุ การคบหาสมาคมหรอื การเคลอ่ื นยา ย

๑๑๒ ö. ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁʧºã¹¡ÒêÁØ ¹ØÁàÃÕ¡ÃÍŒ § ËÅ¡Ñ ¡Òà การรักษาความสงบในการชุมนุมเรียกรองน้ัน จะตองคํานึงถึงสิทธิเสรีภาพ สว นบคุ คลและหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนเปน หลกั และจะตอ งพยายามหลกี เลยี่ งการใชก าํ ลงั และความรนุ แรง เปน สาํ คญั พยายามใชห ลกั การเจรจาและการปอ งกนั กอ นเปน อนั ดบั แรก แตห ากจะใชก าํ ลงั จรงิ ๆ กค็ วร จะใชในสถานการณท่ีคับขันถึงขีดสุดเทานั้น และจะตองใชใหไดสัดสวนกับความรุนแรงและชอบธรรม ตามกฎหมายเทาน้นั á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ÔºμÑ Ô (๑) ตองเตรียมกําลังใหพรอมท่ีจะจับกุมแกนนําและจับกุมกลุมผูชุมนุมขนาดใหญ เมื่อมีการทําผิดกฎหมายเกิดขึ้น ใหพรอมท่ีจะจับกุม แตตองเตรียมกําลังใหพนจากสายตาของกลุม ผูช มุ นุม และการแสดงกาํ ลงั นจี้ ะตอ งไมมลี ักษณะเปนการขม ขูผูช ุมนมุ ทีย่ ังไมมกี ารทําผดิ กฎหมาย (๒) โดยท่ัวไป การรักษาความสงบในการชุมนุมเรียกรอง ตํารวจตองทํางาน เปนหมขู ้นึ ไปจะไมแ ยกปฏบิ ตั เิ ปนรายบคุ คล (๓) ตํารวจผูปฏิบัติงานจัดการเหตุชุมนุมเรียกรองหรือควบคุมฝูงชนตองติด เครอื่ งหมายยศ สงั กดั ปา ยชอื่ ใหม คี วามสงู ของตวั อกั ษรอยา งนอ ยสองนวิ้ บนดา นนอกของเครอื่ งแบบ หรือบนหมวก ซึ่งจะทาํ ใหส ามารถตรวจสอบ ถงึ ชือ่ และสังกดั ได ไดชัดเจนในระยะพอสมควร (๔) การใชกําลังเขาควบคุมฝูงชนหรือการสลายฝูงชนถาเปนไปได ตองใชหนวยท่ี ไดร บั การฝก มาเพอื่ ทาํ หนา ทนี่ โ้ี ดยตรง หรอื หากจะใชเ จา หนา ทตี่ าํ รวจจากหนว ยอน่ื กค็ วรเปน เจา หนา ท่ี ตาํ รวจทไ่ี ดร บั การฝกฝนมาทางดานนโ้ี ดยเฉพาะ (๕) ไมว า การรวมตวั ของฝงู ชน จะถกู ตอ งเปน ไปตามกฎหมายหรอื ไม ตาํ รวจจะตอ ง อํานวยความสะดวกการจราจรและจัดการไมใหฝูงชนกีดขวางการจราจร ในการชุมนุมเรียกรอง ทไี่ มไ ดม กี ารเตรยี มการมากอ น ผบู ญั ชาการเหตกุ ารณ ตอ งตดั สนิ ใจโดยดจู าํ นวนผมู าชมุ นมุ วา จะใหเ ดนิ หรอื อยูบนทางเทา หรือจะใหใ ชถ นนชองทางใดชอ งทางหนง่ึ โดยพิจารณาปจจยั ความสมดลุ ระหวา ง สทิ ธใิ นการชมุ นมุ โดยสงบและปราศจากอาวธุ ในทส่ี าธารณะกบั การกดี ขวางการจราจรและการกระทบ สิทธิเสรีภาพของผูอ่ืนและสวนรวมในการเดินทาง ตํารวจตองติดตอกับผูประสานงานหรือแกนนํา ผชู มุ นมุ เพอื่ แกป ญ หาเหลา น้ี ดว ยการเจรจา การจดั การจราจรมคี วามจาํ เปน ทง้ั การรกั ษาความปลอดภยั ใหผูช ุมนุม และชว ยในการควบคุมพืน้ ทีช่ ุมนุม การจํากัดผลกระทบการชุมนมุ และการสลายการชุมนุม (๖) ตํารวจพึงระลึกไววาผูชุมนุมไมไดเปนผูกระทําผิดเหมือนกันทั้งหมด แมวา จะมีผูชุมนุมบางคนใชความรุนแรงหรือทําลายทรัพยสิน ซ่ึงกลุมผูชุมนุมที่ไมไดใชความรุนแรงดวย อาจถูกกักหรือก้ันไวไมใหออกจากพื้นท่ีชุมนุม ดังน้ันตํารวจจะตองคํานึงถึงความเสี่ยงในการจับกุม หรือใชกาํ ลงั กบั ผูช ุมนุมทไี่ มไดทําผดิ กฎหมาย หรือมีสวนกอ เหตรุ ุนแรงในระหวา งการชุมนุม

๑๑๓ (๗) ตํารวจตองหลีกเลี่ยงการโตเถียงหรือใชคําพูดดาทอกับกลุมผูชุมนุม การดาทอ ของกลมุ ผชู มุ นมุ หรอื ใชค าํ พดู หยาบคายดา วา ตาํ รวจ ไมเ ปน เหตเุ พยี งพอใหจ บั กมุ ผชู มุ นมุ แตล ะบคุ คล (๘) ตํารวจจะตองไมแสดงอาวุธหรือกําลังวาจะเขาใชกําลังในเหตุการณชุมนุม ท่ีไมผิดกฎหมาย จะแสดงไดเม่ือมีการแจงเตือนวาจะมีการสลายการชุมนุม หรือมีการแจงผูชุมนุม วาเปน การชมุ นมุ ท่ผี ดิ กฎหมายกอเหตุวนุ วาย ใหเ ลกิ การชมุ นมุ ตามท่ีกฎหมายกําหนด (๙) หนวยตํารวจจะตองไมสงตํารวจเขาไปเจรจาหรือพูดคุยกับกลุมผูชุมนุม ที่มีลักษณะใชความรุนแรง ตํารวจจะไมฝาฝูงชนเขาไปจับกุมผูชุมนุมเปนรายตัว ในพื้นที่การชุมนุม เวนแตผูชุมนุมที่กอเหตุรุนแรงดังกลาวไดกระทําผิดอยางรุนแรงและคําส่ังดังกลาวเปนคําส่ังของ ผูบญั ชาการเหตุการณ (๑๐) ผูบัญชาการเหตุการณและผูบังคับบัญชาจะตองใชความพยายามเพ่ือใหแนใจ วาภารกิจทไ่ี ดร ับมอบประสบความสาํ เรจ็ อยางมปี ระสิทธภิ าพและมคี วามละมนุ ละมอ ม ตามหลกั การ สากล โดยคาํ นงึ ถงึ สทิ ธมิ นษุ ยชนและเสรภี าพสว นบคุ คล และพยายามใชก าํ ลงั หรอื อาํ นาจแตน อ ยทส่ี ดุ เทา ทจ่ี ะทาํ ได การใชก าํ ลงั ตอ งเปน ไปตามกฎการใชก าํ ลงั และสงิ่ แวดลอ มหรอื ระดบั ของความจาํ เปน ของ สถานการณค วามรุนแรงของกลุมผูช ุมนุมทเ่ี ผชิญอยู ทง้ั น้มี ิไดห มายถงึ การตดั สทิ ธิการใชก าํ ลงั ปองกนั ตนเอง และการกระทาํ อนั จาํ เปน เพอ่ื ทจี่ ะปอ งกนั ภยนั ตรายทจี่ ะเกดิ ขนึ้ แกก ลมุ ผชู มุ นมุ ประชาชนทว่ั ไป และเจา หนาทีห่ รอื ตัวตํารวจเอง ÷. ¡®¡ÒÃ㪌กําÅ§Ñ ¨Ò¡àºÒä»ËÒ˹¡Ñ μÒÁËÅ¡Ñ ÊÒ¡Å ËÅ¡Ñ ¡Òà ผบู งั คบั บญั ชาทคี่ วบคมุ การปฏบิ ตั ใิ นแตล ะสถานการณ มหี นา ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบ ตอการใชกําลัง เครื่องมือเครื่องใชตลอดจนอาวุธอื่นใด โดยยึดหลักความจําเปน สมเหตุสมผล ภายใตก ฎหมาย เพอื่ คลค่ี ลายสถานการณ เพอ่ื รกั ษาสทิ ธเิ สรภี าพ สวสั ดภิ าพตลอดจนปอ งกนั มใิ หเ กดิ อนั ตรายหรอื ความเสยี หายตอ ชวี ติ และทรพั ยส นิ ของปวงชนทบี่ รสิ ทุ ธแ์ิ ละทไ่ี มเ กย่ี วขอ งไมว า กฎการใช กําลังจะไดกําหนดไวอยางไร ผูบังคับหนวยทุกระดับช้ันและผูปฏิบัติงานทุกนายพึงระลึกไวเสมอวา กฎการใชกําลังนั้นไมไดเปนขอจํากัดท่ีจะทําใหเจาพนักงานเสียสิทธิในการปองกันตามสมควรแกเหตุ เพอื่ ใหต นเอ่ งหรอื ผอู น่ื พน จากภยนั ตรายทใี่ กลจ ะถงึ และไมส ามารถหลกี เลย่ี งโดยวธิ อี นื่ ใดได เนอื่ งจาก ภยันตรายนั้นตนไดกอใหเกิดจากความผิดของตน อยางไรก็ดีก็จะตองคํานึงถึงสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคลตามหลกั รัฐธรรมนญู และสิทธมิ นษุ ยชนตามหลกั สากลเปนหลกั สําคญั ดว ย á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ºÔ ÑμÔ (๑) ใชกาํ ลงั นอยทสี่ ุดเทาท่จี าํ เปนของสถานการณ (๒) การปองกันเปนข้ันตอนท่ีจําเปนอยางยิ่ง และหากมีการใชสิทธิเสรีภาพ เกินกวาทีก่ ฎหมายบญั ญตั ไิ ว ใหเ จา พนกั งานดําเนินการดังนี้ (๒.๑) บันทกึ รายละเอยี ดและพฤตกิ ารณใ นการกระทาํ ผิด

๑๑๔ (๒.๒) การกระทําใดท่ีผิดกฎหมาย ประกาศโฆษณา ประชาสัมพันธ ใหย ุตกิ ารกระทาํ (๒.๓) กรณีไมแ นช ัดวาผิดกฎหมายหรอื ไมใ หรอ งขอตอศาลเพ่อื คมุ ครองสิทธิ (๒.๔) การปฏิบัติตอผูหญิง เด็ก และคนชราจะตองเพิ่มความระมัดระวัง และปฏบิ ัติเปน พิเศษ โดยใหเหมาะสม และคํานึงถึงสิทธมิ นษุ ยชนของคนเหลา นัน้ เปนหลกั ø. ¡ÒÃãªÍŒ ÒÇ¸Ø áÅÐà¤Ã×Íè §ÁÍ× ËÅ¡Ñ ¡Òà ในการใชอาวุธและเครื่องมือน้ัน ผูใชจะตองตระหนักถึง สิทธิและเสรีภาพของ บุคคลตามหลักรัฐธรรมนูญและสิทธิมนุษยชนที่เปนหลักสากลเปนหลัก จะตองพยายามไมใชวิธีการ ความรนุ แรง คอื พยายามใชว ธิ กี ารปอ งกนั หรอื ใชว ธิ กี ารเจรจาเปน อนั ดบั แรกกอ น หรอื หากจะใชก าํ ลงั กค็ วรใชเ ฉพาะสถานการณท วี่ กิ ฤต หรอื คบั ขนั ทไ่ี มส ามารถหลกี เลยี่ งไดจ รงิ ๆ เทา นนั้ และจะตอ งพยายาม ใชก าํ ลงั ใหน อ ยทสี่ ดุ เทา ทจ่ี ะทาํ ได และการใชก าํ ลงั จะตอ งเปน ไปตามกฎการใชก าํ ลงั จากเบาไปหาหนกั ตามหลกั สากลเปน หลกั เชน การใชอาวธุ ท่ีไมเปน อนั ตรายตอ ชวี ิตกอน เปน ตน á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ºÔ ÑμÔ (๑) ควรใชเฉพาะในสถานการณท่ีวิกฤต หรือสถานการณที่คับขันจริงๆ และ ไมสามารถหลกี เลี่ยงตอ การปกปอ งคุม ครองชวี ติ ไดเ ทา น้นั (๒) โดยใชเ ทา ทจ่ี าํ เปน เหมาะสมกบั สถานการณแ ละไดส ดั สว นระหวา งความรนุ แรง กับวตั ถปุ ระสงคใ นการใชท ่ชี อบดวยกฎหมาย หรือชอบธรรมเทา นนั้ (๓) เจาหนาท่ีตํารวจหรือผูบังคับใชกฎหมาย ควรใชวิธีการปองกันตนเองกอน กอนท่ีจะใชอาวุธและเครื่องมือ อยางเชน การใชโลหมวกกันน็อก เสื้อกันกระสุนฯ เหลานี้เพ่ือเปน การหลีกเลี่ยงการใชอ าวธุ ใดๆ ท่กี ลา วมาแลว (๔) หากมีการใชอาวุธ เมื่อวิธีการอื่นใดใชไมไดผลก็ควรจะตองใชอาวุธที่ไมเปน อันตรายตอชีวิต หรือไมเปนอันตรายถึงตาย (Non-Lethal Weapon) กอนเปนอันดับแรก กอ นท่ีจะไปใชอ าวุธที่เปนอันตรายแกชวี ติ (๕) ในกรณที ใี่ ชอ าวธุ ทไ่ี มเ ปน อนั ตรายแกช วี ติ ดงั กลา ว เจา หนา ทผ่ี ใู ชจ ะตอ งประเมนิ ความเสย่ี งทจ่ี ะกอ อนั ตรายตอ บคุ คล (The Risk of Endangering) อยา งระมดั ระวงั และจะตอ งเสย่ี ง ใหนอยทีส่ ดุ (๖) หากมกี ารใชอ าวธุ ทเี่ ปน อนั ตรายตอ ชวี ติ กรณกี ารใชป น จรงิ ในการควบคมุ ฝงู ชน ในเวลากลางวนั จะตองใชกระสนุ ปนซอมยงิ และควรยิงเฉพาะจดุ ที่ทาํ ใหไมเสยี ชวี ติ เทาน้ัน (๗) กรณีท่ีใชอาวุธท่ีไมเปนอันตรายแกชีวิตหรือถึงตายอาจเร่ิมเปนลําดับข้ัน โดยอาศยั ระยะหา งท่ีจะใชเครื่องมือเปนตวั กําหนด ดงั น้ี (๗.๑) การแสดงกาํ ลัง (ประมาณ ๓๐๐ หลา)

๑๑๕ (๗.๒) การประกาศแจง เตือน (ประมาณ ๒๕๐ หลา) (๗.๓) การใชเ ครอ่ื งเสยี งระยะไกล (ประมาณ ๒๐๐ หลา) (๗.๔) การใชแกส นาํ้ ตาชนดิ ยงิ (ประมาณ ๑๕๐ หลา) (๗.๕) ฉีดน้าํ ผสมแกส (ประมาณ ๕๐ หลา) (๗.๖) ฉีดนาํ้ ผสมสี (ประมาณ ๓๐ หลา) (๗.๗) การใชแกส นา้ํ ตาชนิดขวาง (ประมาณ ๒๕ หลา) (๗.๘) การใชฉีดนาํ้ แรงดัน (ประมาณ ๒๐ หลา) (๗.๙) การใชกระสนุ ยาง (ประมาณ ๑๕ หลา) (๗.๑๐) ปน ชอ็ ตไฟฟา (ประมาณ ๑๐ หลา) (๗.๑๑) ปนยิงแห (ประมาณ ๕ หลา) (๗.๑๒) แกสนา้ํ ตาชนดิ สเปรย (ประมาณ ๒.๕ หลา) (๗.๑๓) การใชก ระบอง (ประมาณ ๑ หลา) (สาํ นกั งานตํารวจแหง ชาต,ิ ๒๕๕๕) (๘) อุปกรณเคมีสารเคมี (Tactical Use of Riot Control Agents and Chemical Weapon) เชน แกส นาํ้ ตา สเปรยพ รกิ ไทย การใชจ ะตอ งคาํ นงึ ถงึ ความเขม ขน ทเ่ี หมาะสม อาณาบรเิ วณ สภาพการถา ยเทของอากาศ สาํ รวจทศิ ทาง ระยะปลอดภยั หลกี เลย่ี งการไปโดนตวั ผใู ดผหู นงึ่ พยายาม มุงใหตกที่พื้นเปนหลัก และระมัดระวังการโดนผูไมเก่ียวของ ผูมีอํานาจสั่งการวางแผนและตัดสินใจ จะตองอยูสถานที่ที่เกิดเหตุ ควรเปนผูท่ีมีความเปนผูนําอยางดีย่ิง สามารถกลั่นกรองสถานการณ และวางแผนใชขัน้ ตอนของกลยทุ ธไ ดโดยทันที (๙) กระบองหรืออุปกรณและอาวุธท่ีไมเปนอันตรายถึงตายอ่ืนๆ ใหใชเฉพาะ สถานการณวิกฤตไมสามารถหลีกเลี่ยงได โดยใชเทาที่จําเปนและไดสัดสวนเหมาะสมกับสถานการณ เทา น้ัน ù. ¡ÒÃ㪌กําÅ§Ñ áÅÐÍÒÇØ¸»„¹ ËÅ¡Ñ ¡Òà ตามหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชน บคุ คลยอ มมสี ทิ ธใิ นชวี ติ ความมน่ั คงปลอดภยั และมเี สรภี าพ จากการไมถูกทรมาน หรือการกระทําอื่นใดท่ีโหดราย ไรมนุษยธรรมหรือลดทอนย่ํายีศักดิ์ศรีของ ความเปนมนุษย การใชกําลังจะใชไดก็ตอเมื่อมีความจําเปนอยางย่ิงเทาน้ัน และจะตองใชอยาง เหมาะสมและไดส ดั สวนกับวตั ถปุ ระสงคทชี่ อบดวยกฎหมายเปน สาํ คญั á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ºÔ ÑμÔ (๑) เมื่อมีการชุมนุมหรือประทวง เจาหนาที่ตํารวจจะตองใชความอดทนอดกล้ัน ใหมากท่ีสุด ไมคุกคามหรือแสดงตัวเปนปฏิปกษกับผูชุมนุม หลีกเล่ียงการกระตุนย่ัวยุเพื่อปองกัน ไมใ หส ถานการณล กุ ลามบานปลาย (๒) ควรจัดใหม ีการติดตอ ประสานงาน เจรจาตอรองกับตวั แทนของผูช มุ นุม

๑๑๖ (๓) ตองมีการฝกอบรมอยางตอเนื่องและจริงจังเก่ียวกับการปฏิบัติตอการชุมนุม เรียกรองตางๆ ในเร่ืองการใชอุปกรณเคร่ืองมือการปฐมพยาบาลเบื้องตน รูปขบวน รวมถึงการใช จติ วทิ ยาในการเจรจา (๔) จดั ทําและบงั คบั ใชระเบยี บปฏบิ ัตงิ านที่ชัดเจนในเรือ่ งการใชก าํ ลงั และอาวุธ (๕) การควบคุมฝูงชนท่ีมีประสิทธิภาพท่ีสุด จะตองดํารงไวซ่ึงความเปนระเบียบ เรยี บรอย ความปลอดภยั ของสาธารณะและไมล ะเมิดสิทธมิ นุษยชน (๖) ในกรณีภาวะฉุกเฉิน จะตองมีประกาศอยางเปนทางการกอนจึงจะสามารถ ใชมาตรการพิเศษได แตยงั ตอ งเคารพในหลักสทิ ธมิ นษุ ยชน (๗) อาวุธปนจะใชไดตอเมื่อตกอยูในสถานการณคับขับสุดขีดเทานั้น และตองใช เพอ่ื ปอ งกนั ตนเองหรอื ผอู นื่ เพอื่ มใิ หเ สยี ชวี ติ หรอื ไดร บั บาดเจบ็ จากภยั คกุ คามทกี่ าํ ลงั จะมาถงึ เพอื่ การ จับกุมหรือปองกันการหลบหนีของบุคคลท่ีกอ อาชญากรรมรายแรงเปนพเิ ศษ ที่อาจนําไปสภู ัยคุกคาม รา ยแรงตอชีวิต (๘) ในเวลากลางคืนน้ัน ไมควรใชอาวุธปนอยางเด็ดขาดเพราะจะทําใหเกิดปญหา การจํากัดขอบเขตความรนุ แรง แตอาจใชอ าวธุ อยางอื่นที่ไมเ ปนอันตรายตอ ชวี ติ หรอื ถึงตายได (๙) ข้นั ตอนการใชอาวธุ ปน ตองแสดงตัวใหทราบวาเปนเจาหนาทต่ี าํ รวจ แลว ออก คําสั่งเตือนชัดเจนโดยตองใหเวลาที่เพียงพอสําหรับการปฏิบัติตามคําส่ังเตือนได แตถาหากทําตาม ขน้ั ตอนแลว ลา ชา อาจสง ผลใหเ จา หนา ทห่ี รอื บคุ คลอน่ื ไดร บั อนั ตรายถงึ แกช วี ติ หรอื ไดร บั บาดเจบ็ สาหสั ก็ไมจ าํ เปนตองปฏบิ ตั ติ ามขน้ั ตอนการใชอ าวธุ ปนได (๑๐) หากมีการใชอาวุธปน ก็จะตองระมัดระวังในการใชใหไดสัดสวนระหวาง ความรุนแรงของการกระทาํ ผดิ กบั วัตถุประสงคของการใชอ าวุธทถ่ี กู ตองและชอบธรรมตามกฎหมาย (๑๑) การใชอาวุธปนนั้น จะตองใชใหเกิดการสูญเสียและบาดเจ็บนอยที่สุด (Minimize Damage and Injury) และจะตอ งเคารพและรกั ษาไวซง่ึ ชวี ติ ของเพื่อนมนษุ ย (๑๒) ภายหลังที่มีการใชอาวุธปนแลวตองรีบใหการชวยเหลือทางการแพทยกับ ผูท ี่ไดร ับบาดเจบ็ แลวแจงใหญ าตหิ รือผูที่ไดร บั ผลกระทบจากเหตุดงั กลา วทราบ (๑๓)เมอื่ มกี ารใชอ าวธุ ปน แลว ตอ งมหี ลกั ประกนั วา ญาตหิ รอื เพอ่ื นสนทิ ของผทู ไี่ ดร บั บาดเจบ็ หรือของผทู ีไ่ ดรบั ผลกระทบ ตอ งไดรับการเคลื่อนยายออกจากบริเวณทเี่ กดิ เหตุใหเรว็ ทีส่ ดุ (๑๔)หมั่นฝกฝน และศึกษาหาความรูเกี่ยวกับการใชอาวุธปน รวมถึงเทคนิค การจูงใจ การไกลเ กลี่ย การเจรจาเพื่อหลีกเลี่ยงการใชก าํ ลงั หรอื อาวธุ ปนดังกลา ว

๑๑๗ ¢ÍŒ ¤ÇÃÃÐÇѧ¡ÒÃ㪌กําÅ§Ñ áÅÐÍÒÇ¸Ø »¹„ ๑) ตอ งอยูภายในขอบเขตของกฎหมายทใ่ี หอ าํ นาจ ๒) ตองใชความอดทนอดกลั้นและควบคุมอารมณของตนเองใหมากที่สุด พยายาม หลกี เลีย่ ง การใชกาํ ลงั และอาวธุ ๓) พยายามใชหลักจิตวิทยาช้ีแจงทําความเขาใจ ชักจูง โนมนาวใหผูชุมนุมเคารพ กฎหมาย รกั ษาความสงบเรยี บรอ ยเพอ่ื ความสงบสขุ และใหเ หน็ แกป ระโยชนข องประชาชนสว นใหญ กลุมอื่นๆ ดวย หากการชุมนุมทวีความรุนแรงมากขึ้นจนกลายเปนการจลาจลขึ้น เจาพนักงาน ผปู ฏบิ ตั งิ านจะตอ งรบี รายงานใหผ บู งั คบั บญั ชาเหนอื ชนั้ ขน้ึ ไปทราบและสง่ั การแกไ ขปญ หาโดยดว น หากไมส ามารถหลีกเล่ียงการใชก ําลังได เจา พนกั งานผปู ฏบิ ตั ิจะตอ งใชวิจารณญาณในการใชกาํ ลัง เทา ทจี่ าํ เปน โดยเฉพาะการเรม่ิ ใชอ าวธุ ทไ่ี มเ ปน อนั ตรายตอ ชวี ติ หรอื ถงึ ตายกอ นและการใชก าํ ลงั นน้ั จะตอ งไดสัดสวนกับความรุนแรงของฝูงชนนัน้ ดวย ๔) ตองคํานึงถึงหลักสิทธิเสรีภาพ สิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย ของผูชมุ นุมเสมอ ʋǹÊÃ»Ø ในการปฏิบัติหนาที่ของขาราชการตํารวจท่ีเก่ียวของกับหลักสิทธิมนุษยชนนั้นคือ การปฏิบัติงานท่ีไมสงผลกระทบตอสิทธิและเสรีภาพที่ประชาชนไดรับการรับรองและคุมครองไว ดังนั้นเจาหนาที่ตํารวจผูปฏิบัติจะตองมีกรอบและแนวทางการปฏิบัติหนาท่ี เพ่ือใหเปนมาตรฐาน ตามหลักสากลและเปนไปตามหลักกฎหมายที่บัญญัติใหการรับรองและคุมครองในเร่ืองสิทธิ มนุษยชนเอาไว ซึ่งกรอบและแนวทางในการปฏิบัติหนาที่ท่ีขาราชการตํารวจจะตองยึดถือ ไดแก การยดึ ถอื ปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานสทิ ธมิ นษุ ยชนสากลสาํ หรบั เจา หนา ทผี่ บู งั คบั ใชก ฎหมาย ซงึ่ ประกอบดว ย การยดึ ถอื ประมวลกฎหมายและจรยิ ธรรม การรกั ษาความสงบเรยี บรอ ยภายใตก ารปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย การไมเลือกปฏิบัติในการบังคับใชกฎหมาย เปนตน นอกจากนี้ในการปฏิบัติหนาท่ี เจาหนาที่ตํารวจจะตองมีหลักและแนวทางในการปฏิบัติหนาท่ีในดานตางๆ ตามหลักสิทธิมนุษยชน นนั้ คือการปฏบิ ตั หิ นา ท่ใี นดา นการสบื สวน การสอบสวน การสอบปากคํา การจบั การคน การควบคมุ รวมไปถงึ การใชก าํ ลงั และอาวธุ เพอื่ มใิ หก ารปฏบิ ตั หิ นา ทส่ี ง ผลกระทบตอ หลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนทปี่ ระชาชน ไดรับการคุมครองและยังเปน การสงเสรมิ และคมุ ครองสทิ ธิมนษุ ยชนอกี ดวย

๑๑๘ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ ๑. ใหอ ธบิ ายถงึ มาตรฐานสทิ ธมิ นษุ ยชนสากลสาํ หรบั เจา หนา ทต่ี าํ รวจผบู งั คบั ใชก ฎหมาย มาพอสังเขป พรอ มทัง้ ยกตวั อยา งประกอบคําอธบิ าย ๒. ใหอธิบายถึงแนวทางในการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีตํารวจในดานการปองกัน ปราบปรามอาชญากรรมตามหลักสิทธมิ นษุ ยชน ๓. กําหนดสถานการณสมมุติ โดยใหนักเรียนแสดงบทบาทเปนเจาหนาที่ตํารวจ ผูบังคับใชกฎหมายซ่ึงตองปฏิบัติหนาท่ีในสถานการณที่กําหนด เพื่อทดสอบความรูความเขาใจ และปฏิภาณไหวพริบในการปฏบิ ัติหนา ที่ใหเปน ไปตามกฎหมายและมาตรฐานสิทธมิ นษุ ยชนสากล

๑๑๙ àÍ¡ÊÒÃÍÒŒ §ÍÔ§ วนั ชยั ศรนี วลนดั และคณะ. (๒๕๕๖). ¤Á‹Ù Í× ¡Òû¯ºÔ μÑ §Ô Ò¹¢Í§à¨ÒŒ ˹Ҍ ·ตèÕ าํ ÃǨμÒÁËÅ¡Ñ Ê·Ô ¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹. กรงุ เทพฯ : สาํ นักงานคณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแหง ชาติ

๑๒๐ จัดพมิ พโ ดย โรงพิมพตํารวจ ถ.เศรษฐศิริ ดุสติ กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท ๐-๒๖๖๘-๒๘๑๑-๓ โทรสาร ๐-๒๒๔๑-๔๖๕๘

“เปนองคกรบังคับใชกฎหมายที่นําสมัย ในระดับมาตรฐานสากล เพ�อใหประชาชนเช�อมั่นศรัทธา” พลตํารวจเอก สุวัฒน แจงยอดสุข ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ