Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สิทธิมนุษยชนกับการปฏิบัติงานของตำรวจ

สิทธิมนุษยชนกับการปฏิบัติงานของตำรวจ

Published by mrnok, 2021-03-27 16:09:00

Description: สิทธิมนุษยชนกับการปฏิบัติงานของตำรวจ

Search

Read the Text Version

๔๔ ÊÇ‹ ¹·èÕ˹§Öè ๹Œ ยา้ํ ãËàŒ Ë¹ç ¤ÇÒÁàªÍè× สาํ ¤ÑÞàºéÍ× §μŒ¹¢Í§ËÅ¡Ñ ¡ÒÃÊ·Ô ¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹ นั่นคือ (ขอ ๑ และขอ ๒) ความเสมอภาค เทาเทียม หลักศักด์ิศรีความเปนมนุษย เชื่อวามนุษยมีเหตุ และผล และควรปฏิบัตติ อ กนั ฉันทครอบครวั สทิ ธิมนุษยชนพนื้ ฐานทปี่ ระกาศ ในปฏญิ ญานเี้ ปนของมนุษยทกุ คน ʋǹ·ÊèÕ Í§ ໚¹à¹é×ÍËÒ·Õãè ˤŒ ÇÒÁสาํ ¤ÞÑ ¡ºÑ ÊÔ·¸¢Ô ͧ¾ÅàÁÍ× §áÅÐÊÔ·¸·Ô Ò§¡ÒÃàÁÍ× § เชน (ขอ ๓ และขอ ๒๑) ความไมเปนทาส, การไมถูกลงโทษอยางโหดรายทารุณ, ไดรับการยอมรับ ทกุ หนแหง วา เปน บคุ คล, ความเสมอภาคกนั ตามกฎหมาย, การไดร บั การเยยี วยา จากรัฐ, ถูกจับกุม กักขัง เนรเทศตามอําเภอใจไมได, ไดรับการพิจารณาคดี ท่ีเปนธรรม, ไดรับการสันนิษฐานวาบริสุทธ์ิ, สิทธิไดรับสัญชาติ, สิทธิในการเคล่ือนยาย, สิทธิในครอบครัว, ศาสนา, การแสดงความคิดเห็น, การชุมนุม, มีสวนรว มในการปกครอง ฯลฯ ÊÇ‹ ¹·ÊÕè ÒÁ Áا‹ ๹Œ »ÃÐà´¹ç Ê·Ô ¸Ô·Ò§Êѧ¤Á àÈÃɰ¡¨Ô áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ เชน (ขอ ๒๒-ขอ ๒๗) สิทธิในการทาํ งาน, การพักผอน, การมีมาตรฐานการครองชีพ, การมคี ุณภาพ ชีวติ ท่ีดี, สิทธใิ นการศกึ ษา, สทิ ธใิ นวฒั นธรรมชมุ ชน ʋǹ·èÊÕ èÕ เปน การสรปุ วา ทกุ คนมสี ทิ ธใิ นสทิ ธมิ นษุ ยชนพน้ื ฐานน้ี ทง้ั นตี้ อ งใชส ทิ ธอิ ยภู ายใต (ขอ ๒๘-ขอ ๓๐) กรอบกฎหมายและเปนหนาท่ีของบุคคล รวมทั้งรัฐในการสรางใหเจตนารมณ แหงปฏิญญาน้ีเปน จรงิ ขน้ึ มา ¡Ô¨¡ÃÃÁ ๑. ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนมีการนําเอาหลักการสิทธิธรรมชาติ (Natural Rights) มาบรรจไุ วอ ยา งไรบาง ยกตวั อยางเนื้อหาสะทอนแนวคดิ สิทธธิ รรมชาตใิ นปฏิญญาฯ ๒. แบงกลุม นสต. ออกเปน กลุมละ ๑๐-๑๕ นาย แจกใบงานให นสต. โดยให นสต.พจิ ารณาขอ ความในปฏิญญาฯ แลวแสดงความเห็นวา ๒.๑ จากเนื้อหาขอ ๑-๒๗ ของปฏญิ ญาฯ สมาชกิ ในกลุมมมี ตวิ า ขอ ใดสาํ คญั ทีส่ ุด เพียงขอเดยี ว ๒.๒ นสต. ไมตองการสิทธิในขอใด หรือไมตองการใหคนในครอบครัวไดรับสิทธิ ในขอใดหรอื ไม ๒.๓ เน้ือหาขอ ๑-๒๗ ของปฏญิ ญา ขอ ใดบางเก่ยี วพนั กบั อาชพี ตํารวจ อธบิ าย เหตผุ ลประกอบ ËÁÒÂàËμØ : ใบงานแนบทายแผนการสอนหนวยท่สี าม

๔๕ ¡®ËÁÒÂËÅ¡Ñ ÃÐËÇÒ‹ §»ÃÐà·È´ÒŒ ¹Ê·Ô ¸ÁÔ ¹ØÉª¹จํา¹Ç¹ ù ©ºÑº ͹ØÊÑÞÞÒNjҴŒÇ¡Òâ¨´Ñ ¡ÒÃàÅ×Í¡»¯ÔºμÑ ·Ô Ò§àªéÍ× ªÒμÔ㹷ءû٠Ẻ (International Convention on the Elimination of all forms of Racial Discrimination : ICERD) ¢ÍŒ ÁÅÙ ·ÇèÑ ä» : ๒๑ ธ.ค. ๑๙๖๕ สมัชชาใหญส หประชาชาติรบั รอง ๔ ม.ค. ๑๙๖๙ มีผลบังคับใช ๑๘๒ ประเทศ (ขอ มูลป ๒๕๖๒) ประเทศท่ีเขารว มเปนภาคี อารัมภบท และเน้อื หาแบงเปน ๓ ภาค รวม ๒๕ ขอ เนอื้ หาประกอบดว ย ÊÒÃÐสาํ ¤ÑÞ ÀҤ˹§èÖ (¢ÍŒ ñ-÷) ไดใหนิยามแก “การเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ” (Racial Discrimination) วาหมายถึง การจําแนก การกีดกัน การจํากัดหรือการเลือก โดยต้ังอยูบนพ้ืนฐานของเช้ือชาติ สีผิว เช้ือสาย หรือชาติกําเนิด หรือเผาพันธุ กําเนิด ซึ่งมีเจตนารมณหรือมีผลทําใหเกิดการระงับหรือการกีดก้ัน การเคารพสทิ ธมิ นษุ ยชนและเสรภี าพขน้ั พน้ื ฐานของบคุ คลในทางการเมอื ง เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม และในดานอ่ืนๆ ของการดํารงชีวิตในสังคม รวมทั้งการระงับหรือกีดกั้นการใชสิทธิเหลาน้ัน อยางเสมอภาคของบุคคล รัฐตองทบทวนนโยบายของรัฐในทุกระดับเพื่อแกไขนโยบาย หรือกฎระเบียบใดๆ อันเปน การขยายการเลอื กปฏบิ ัติทางเชอื้ ชาติ รัฐตองสนับสนุนองคก รหรอื กิจกรรมใดๆ ทม่ี งุ ประสาน ความหลากหลายทางเชื้อชาติ รวมถงึ ระบถุ งึ การไดร บั การเยยี วยาตอ การกระทาํ ใดๆ อนั เปน การเลอื กปฏบิ ตั ทิ างเชอื้ ชาติ ซึ่งไดล ะเมดิ ตอ สทิ ธมิ นุษยชนและเสรีภาพขั้นพน้ื ฐานของบคุ คลนน้ั นอกจากน้ียังมีบทบัญญัติตางๆ สําหรับรัฐภาคีในการสงเสริมคุมครองไมใหมีการเลือก ปฏิบัติทางเช้ือชาติ การใหความสําคัญดานมาตรการในการศึกษา วัฒนธรรม และขอมูลเพื่อขจัด การเลือกปฏิบัติทางเช้อื ชาตอิ กี ดว ย ÀÒ¤Êͧ (¢ÍŒ ø-ñö) วา ดว ยการจดั ตง้ั คณะกรรมการวา ดว ยการขจดั การเลอื กปฏบิ ตั ทิ างเชอื้ ชาตจิ าํ นวน ๘ คน ท่ไี ดรบั เลือกต้งั จากรัฐภาคี และแนวทางการปฏบิ ตั ิงานของคณะกรรมการ รัฐภาคีตอ งเสนอรายงานตอ สหประชาชาตเิ กีย่ วกบั มาตรการตา งๆ ที่รฐั ไดกระทําการให สอดคลองกับเจตนารมณข องอนสุ ัญญา (ปกตริ ายงานทุกสองป) ขอกําหนดเร่ืองการรับขอรองเรียนจากรัฐภาคี, การไกลเกล่ียและยุติขอพิพาทของ คณะกรรมการ

๔๖ ÀÒ¤ÊÒÁ (¢ÍŒ ñ÷-òõ) เกย่ี วกบั การลงนามเขา เปน ภาค,ี การมผี ลใชบ งั คบั , เงอื่ นไขในการขอตงั้ ขอ สงวน และการ ถอนขอ สงวน, การเพกิ ถอนอนสุ ญั ญา, การเสนอขอ พพิ าทสศู าลยตุ ธิ รรมระหวา งประเทศ และการแกไ ข และเก็บรักษาตนฉบบั ทัง้ ๕ ภาษา (จนี อังกฤษ ฝร่งั เศส รสั เซีย และสเปน) ¡¨Ô ¡ÃÃÁ ๑. จากผลการสาํ รวจของเมอื่ ป ค.ศ.๒๐๑๕ พบวา สหรฐั อเมรกิ ามปี ญ หาการเลอื กปฏบิ ตั ิ ทางเชอ้ื ชาติ โดยผลการศกึ ษามีดงั นี้ ¢ŒÍ¤ÇÃÃÙŒ : z การเลือกปฏิบัติน้ันไมไดหมายถึงเฉพาะแตการจงใจเลือกปฏิบัติ (Intentional discrimination) หากหมายรวมถึงการเลือกปฏิบัติในทางออมตางๆ ดวย เชน กฎหมายท่ี “เนื้อหา” มีความเปนกลาง แต “ผลลัพธ” เปนไปทางตรงกันขา ม z การเลือกปฏบิ ัติทางเชอ้ื ชาตไิ มส ามารถทําไดท้งั ในระดบั บุคคล, กลมุ บคุ คล หรือสถาบัน z เปนเพียงหน่ึงในสามของสนธิสัญญาระหวางประเทศท่ีอนุญาตให “บุคคล” สามารถ รองเรยี นการถกู ละเมดิ สทิ ธิไปยงั คณะกรรมการไดโ ดยตรง (Individual complain)๔ z การรองเรียนตองเปนการใชมาตรการจัดการแกไขในระดับทองถ่ินจนหมดสิ้นแลว แตไมบังเกดิ ผลจงึ สงเรื่องมายังคณะกรรมการฯ z อนุสัญญานี้ จะไมใชกับการจําแนก การกีดกัน การจํากัด หรือการเลือก โดยรัฐภาคีของ อนสุ ัญญาน้ี ระหวางพลเมืองและบคุ คลท่มี ิใชพ ลเมือง ๔ อนุสญั ญาอีกสองฉบบั คอื The Optional Protocol to the International Covenant on Civil and Political Rights, and the Convention against Torture and Other Cruel or Inhuman Treatment or Punishment อานเพ่ิมเติมใน “Human Rights A Basic Handbook for UN Staff,” Office of the High Commissioner for Human Rights, สืบคนเม่ือ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๙, จาก http://www.ohchr.org/Documents/Publications/HRhandbooken.pdf.

๔๗ ให นสต. แบงกลมุ จาํ นวนกลุมละ ๑๐ คน เพ่ือ ๑.๑ สรุปผลจากงานวิจัยคร้ังนี้วาเก่ียวของกับการละเมิดหลักการสิทธิมนุษยชน อยา งไร อธบิ าย ๑.๒ รัฐควรมีมาตรการ/นโยบาย เชนไรบางเพื่อแกไขปญหาน้ีหากเกิดขึ้นในรัฐ ของตนเอง ให นสต. เสนอแนะเชงิ นโยบายเพอื่ ใหเปน ไปตามเจตนารมณข องอนสุ ญั ญาฯ

๔๘ ¡μ¡Ô ÒÃÐËÇÒ‹ §»ÃÐà·ÈNjҴnj ÂÊ·Ô ¸¾Ô ÅàÁ×ͧáÅÐÊ·Ô ¸·Ô Ò§¡ÒÃàÁ×ͧ (International Covenant on Civil and Political Rights : ICCPR) ¢ÍŒ ÁÅÙ ·èÑÇä» : ๑๖ ธ.ค. ๑๙๖๖ สมัชชาใหญส หประชาชาติรับรอง ๒๓ ม.ี ค. ๑๙๗๖ มผี ลบงั คบั ใช ๑๗๓ ประเทศ (ขอ มูลป ๒๕๖๒) ประเทศท่ีเขา รว มเปนภาคี อารัมภบท และเน้อื หาแบง เปน ๕ ภาค รวม ๕๓ ขอ เนอ้ื หาประกอบดว ย ÊÒÃÐสํา¤ÞÑ ÀҤ˹èÖ§ (¢ÍŒ ñ) กลา วถงึ บคุ คลมสี ทิ ธใิ นการกาํ หนดเจตจาํ นงของตนเอง (Right of self-determination) ประชาชนจะกําหนดสถานะทางการเมืองของตนอยางเสรี รวมทั้งดําเนินการอยางเสรีในการพัฒนา เศรษฐกจิ สงั คม และวัฒนธรรมของตน ÀÒ¤Êͧ (¢ÍŒ ò-õ) กลา วถงึ พนั ธกรณขี องรฐั ภาคที รี่ บั รองจะเคารพและประกนั สทิ ธขิ องบคุ คล รวมถงึ การหา ม การเลอื กปฏบิ ตั ิ ไมว าจะดวยเหตผุ ลทาง เชอ้ื ชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมอื ง สัญชาติ สถานะทางเศรษฐกิจ สังคม ถิน่ กําเนดิ หรอื สภาพอ่นื ใด ประกันวา บุคคลท่ถี กู ละเมิดจะไดรับการเยียวยา ไมว าบรุ ุษหรอื สตรจี ะไดรบั สทิ ธพิ ลเมอื ง และการเมอื งอยา งเทา เทยี มกัน การลิดรอนสทิ ธิในสถานการณฉ กุ เฉนิ และการหามการตีความกตกิ า ในอนั ที่จะไปจํากัดสทิ ธิและเสรีภาพอ่ืนๆ ลง ÀÒ¤ÊÒÁ (¢ÍŒ ö-ò÷) เนนย้ําวาทุกคนมีสิทธิในเจตจํานงของตนเอง รัฐตองวางมาตรการรับรองสิทธิตางๆ ของประชาชนโดยไมเลือกปฏิบัติ กลาวถึงสิทธิที่จะมีชีวิต การยกเลิกโทษประหารชีวิต สิทธิใน กระบวนการยุติธรรม เสรีภาพในการเลือกถ่ินท่ีอยูอาศัย ความเสมอภาคในดานกฎหมาย สิทธิใน ความเปนสวนตวั เสรภี าพทางความคิดและศาสนา สทิ ธิในการชมุ นมุ โดยสงบ การรวมตวั เปนสมาคม การคุมครองสิทธิครอบครัวและการสมรส สิทธิเด็กการมีทะเบียนเกิดและสัญชาติ การมีสวนรวม ในทางการเมือง และการท่ีพลเมืองทุกคนมีสิทธิที่จะมีสวนในกิจการสาธารณะ การรับรองวาบุคคล ท้ังปวงยอมเสมอภาคกันตามกฎหมายและไดรับการคุมครองอยางเทาเทียมกัน และสิทธิของ ชนกลุมนอย เปนตน

๔๙ ÀÒ¤ÊèÕ (¢ŒÍ òø-ôõ) เก่ียวกับการจัดต้ังและอํานาจหนาท่ีของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ซ่ึงมีหนาท่ี รับผิดชอบในการตรวจสอบการปฏิบัติตามพันธกรณีที่กําหนดไวในกติกา ICCPR รวมถึงพันธกรณี ในการเสนอรายงานของรฐั ภาคี ÀÒ¤ËŒÒ (¢ŒÍ ôö-ô÷) กลาวถึงการหามการตีความไปในทางขัดกับกฎหมายระหวางประเทศอ่ืนๆ รวมทั้ง การมใิ หตีความในการทจี่ ะลิดรอนสิทธิท่จี ะใชป ระโยชนจากทรพั ยากรธรรมชาติ และÀҤˡ (¢ŒÍ ôø-õó) วาดวยการลงนามเขาเปนภาคี, การมีผลใชบังคับ และการแกไขและเก็บรักษาตนฉบับ ทงั้ ๕ ภาษา ¡Ô¨¡ÃÃÁ นสต. แบงกลุมๆ ละ ๑๐-๑๕ นาย ใหเสนอปญหาท่ีเก่ียวกับสิทธิพลเมืองและสิทธิ ทางการเมอื งมาหนงึ่ กรณี พรอ มสาเหตขุ องปญ หานนั้ และเสนอแนะนโยบายเพอื่ แกไ ขปญ หาดงั กลา ว พรอ มออกมานําเสนออธบิ ายหนา ชัน้ เรียน

๕๐ ¡μÔ¡ÒÃÐËÇÒ‹ §»ÃÐà·ÈÇÒ‹ ´ÇŒ ÂÊ·Ô ¸Ô·Ò§àÈÃɰ¡Ô¨ 椄 ¤Á áÅÐÇ²Ñ ¹¸ÃÃÁ (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights : ICESCR) ¢ÍŒ ÁÅÙ ·ÇÑè ä» : ๑๖ ธ.ค. ๑๙๖๖ สมชั ชาใหญส หประชาชาติรบั รอง ๓ ม.ค. ๑๙๗๖ มีผลบังคับใช ๑๗๐ ประเทศ (ขอมูลป ๒๕๖๒) ประเทศท่เี ขา รวมเปน ภาคี อารัมภบท และเนื้อหาแบงเปน ๕ ภาค รวม ๓๑ ขอ เนื้อหาประกอบดวย ÊÒÃÐสาํ ¤ÑÞ ÀҤ˹§Öè (¢ŒÍ ñ) กลา วถงึ สิทธใิ นการกาํ หนดเจตจาํ นงตนเอง (Right of self-determination) ท้ังในทาง เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม ÀÒ¤Êͧ (¢ÍŒ ò-õ) กลาวถึงพันธกรณีของรัฐภาคีที่จะดําเนินมาตรการตางๆ อยางเหมาะสมตามลําดับข้ัน นับต้ังแตการเคารพ คุมครอง สงเสริม และทําใหเปนจริงอยางเต็มที่ โดยไมมีการเลือกปฏิบัติ ไมวา บุรุษหรอื สตรีไดรบั การปฏบิ ตั อิ ยางเทา เทยี ม ÀÒ¤ÊÒÁ (¢ÍŒ ö-ñõ) กําหนดถึงสิทธิตางๆ ในดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เชน การจางงานท่ีเปนธรรม, สิทธิในครอบครัว, มีมาตรฐานการครองชีพที่เหมาะสม, สิทธิในการมีสุขภาพกายและจิตท่ีไดดี, สิทธิทางการศึกษา, สิทธิและเสรีภาพในความเชื่อและวัฒนธรรม และประโยชนจากความกาวหนา ทางวิทยาศาสตร ÀÒ¤ÊÕè (¢ÍŒ ñö-òõ) กลาวถึงพันธกรณีในการจัดทํารายงานของรัฐภาคี บทบาทของคณะมนตรีเศรษฐกิจ และสงั คมในการตรวจสอบการปฏบิ ตั ติ ามพนั ธกรณขี องรฐั ภาคี เพอ่ื สรา งความรว มมอื ระหวา งประเทศ ในการสง เสริมสทิ ธิตามกติกาใหบ งั เกดิ ÀÒ¤ËŒÒ (¢ŒÍ òö-óñ) เกย่ี วขอ งกบั การลงนามเขา เปน ภาค,ี การมผี ลใชบ งั คบั และการแกไ ขและเกบ็ รกั ษาตน ฉบบั ท้งั ๕ ภาษา ¡¨Ô ¡ÃÃÁ นสต. แบงกลุมๆ ละ ๑๐-๑๕ นาย ใหเสนอปญหาท่ีเก่ียวกับสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวฒั นธรรมมาหนงึ่ กรณี พรอ มสาเหตขุ องปญ หานน้ั และเสนอแนะนโยบายเพอ่ื แกไ ขปญ หาดงั กลา ว พรอมออกมานาํ เสนออธิบายหนาชั้นเรียน

๕๑ Í¹ÊØ ÞÑ ÞÒNjҴŒÇ¡Òâ¨´Ñ ¡ÒÃàÅÍ× ¡»¯ÔºμÑ μÔ Í‹ ÊμÃãÕ ¹·¡Ø û٠Ẻ (Convention on the Elimination of all Forms of Discrimination against Women : CEDAW) ¢ŒÍÁÙÅ·ÑÇè ä» : ๑๘ ธ.ค. ๑๙๗๙ สัมชชาใหญส หประชาชาติรบั รอง ๓ ก.ย. ๑๙๘๑ มผี ลบงั คบั ใช ๑๘๙ ประเทศ (ขอ มลู ป ๒๕๖๒) ประเทศที่เขารวมเปน ภาคี อารัมภบท และเนือ้ หาแบง เปน ๖ ภาค รวม ๓๐ ขอ เนื้อหาประกอบดว ย ÊÒÃÐสํา¤ÞÑ ÀҤ˹֧è (¢ŒÍ ñ-ö) นยิ ามคาํ วา “การเลอื กปฏบิ ัติตอ สตรี” วาหมายถึง การแบงแยก การกีดกัน หรอื การจาํ กดั ใดๆ เพราะเหตุแหงเพศ ซ่ึงมีผลหรือความมุงประสงคที่จะทําลายหรือทําใหเส่ือมเสียการยอมรับ การไดอ ปุ โภค หรอื ใชส ทิ ธโิ ดยสตรี โดยไมค าํ นงึ ถงึ สถานภาพดา นการสมรส บนพนื้ ฐานของความเสมอภาค ของบุรษุ และสตรที งั้ ทางดานการเมือง เศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรมของพลเมอื งหรือดา นอ่ืนๆ รัฐตองกําจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ โดยสรางความเทาเทียมระหวาง ชายและหญิงในเชิงโครงสรางท้ังรัฐธรรมนูญและกฎระเบียบภายใน เพื่อไมใหมีการเลือกปฏิบัติ ทางเพศทัง้ ในระดบั องคกรและบุคคล ÀÒ¤Êͧ (¢ÍŒ ÷-ù) รัฐตองมีมาตรการท่ีเหมาะสมในการกําจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทางการเมือง ท้ังในดานการเลือกตั้ง การลงประชามติ การมีสวนรวมทางการเมือง การเขารวมองคกรตางๆ ที่มีวัตถุประสงคทางการเมืองหรือสังคม รวมถึงเปดโอกาสใหสตรีไดเปนตัวแทนรัฐบาลทั้งในระดับ ประเทศและระหวางประเทศ ตลอดจนสิทธใิ นชีวติ สมรส ÀÒ¤ÊÒÁ (¢ŒÍ ñð-ñô) เนื้อหาในสวนน้ียังระบุภารกิจของรัฐท่ีจะตองสงเสริม สนับสนุน ปกปองคุมครองสิทธิ ใหเ กดิ ความเสมอภาคแกส ตรใี นทกุ ดา น อาทิ โอกาสทางการศกึ ษา, การทาํ งาน, เศรษฐกจิ , วฒั นธรรม, การเขาถงึ บรกิ ารดานสุขภาพ ÀÒ¤ÊèÕ (¢ÍŒ ñõ-ñö) รัฐตองมีกฎหมายท่ีสรางความเปนธรรมและเทาเทียมระหวางเพศ และกําจัด การเลือกปฏบิ ัตใิ นชีวิตสมรสและครอบครัว

๕๒ ÀÒ¤ËÒŒ (¢ŒÍ ñ÷-òò) ระบใุ หม กี ารจดั ตง้ั และกาํ หนดเกยี่ วกบั การปฏบิ ตั หิ นา ทข่ี องคณะกรรมการวา ดว ยการขจดั การเลือกปฏบิ ัตติ อสตรี ÀҤˡ (¢ÍŒ òó-óð) วา ดวยการลงนามเขาเปน ภาค,ี การมผี ลใชบงั คับ, การแกไ ข, การตั้งขอ สงวน, การระงบั ขอ พิพาท และการเก็บรักษาตนฉบับทัง้ ๖ ภาษา (อาหรับ จีน อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซยี และสเปน) ¢ÍŒ ¤ÇÃÌ٠: z เพศตามอนุสัญญามเี พยี งสองเพศคอื ชายและหญงิ เทา นั้น z อนุสัญญานี้มีเจตนารมณสูงสุดเพ่ือความเสมอภาคทางเพศในทุกมิติ ทั้งทางการเมือง เศรษฐกจิ สังคม เพอื่ ใหผ ูห ญิงสามารถมชี วี ิตท่ีดี ¢ŒÍÁÙÅ»‚ òðñö ¢Í§ World Economic Forum ¨Ñ´Íѹ´Ñº»ÃÐà·È·èÕÁÕ¤ÇÒÁàÊÁÍÀÒ¤·Ò§à¾È â´Â ñð Íѹ´ºÑ áá 䴌ᡋ : Iceland, Finland, Norway, Sweden, Rwanda, Ireland, Philippines, Slovenia, New Zealand, Nicaragua แหลง ขอ มลู : http://reports.weforum.org/global-gender-gap-report-2016/top-ten/ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ ๑. จากสถติ ติ ามรปู ดา นลา งน้ี นสต. จะอธิบายประเดน็ ความเสมอภาคทางเพศอยา งไร ๒. ตามอนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ (CEDAW) ใหความสําคัญกับประเด็นความเสมอภาคทางการเมืองของสตรี นสต.คิดวาการท่ีใหผูหญิงมีสิทธิ ทางการเมืองจะสงผลตอ ความเสมอภาคและการไมเลอื กปฏิบัติตอสตรีเชนไร อธบิ าย

๕๓ Í¹ÊØ ÞÑ ÞÒμÍ‹ μŒÒ¹¡Ò÷ÃÁÒ¹áÅСÒû¯ºÔ μÑ ËÔ ÃÍ× ¡ÒÃŧâ·ÉÍè×¹·âèÕ Ë´ÃŒÒ äÃÁŒ ¹ØÉ¸ÃÃÁ ËÃ×Íย่ําÂÕÈÑ¡´ìÈÔ ÃÕ (Convention against Torture and other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment : CAT) ¢ÍŒ ÁÅÙ ·ÇÑè ä» : ๑๐ ธ.ค. ๑๙๘๔ สมัชชาใหญส หประชาชาตริ บั รอง ๒๖ มิ.ย. ๑๙๘๗ มผี ลบังคับใช ๑๖๙ ประเทศ (ขอมูลป ๒๕๖๒) ประเทศทเ่ี ขารวมเปนภาคี อารมั ภบท และเน้ือหาแบง เปน ๓ ภาค รวม ๓๓ ขอ เน้ือหาประกอบดว ย ÊÒÃÐสํา¤ÑÞ ÀҤ˹§èÖ (¢ÍŒ ñ-ñö) ใหความหมาย “การทรมาน” ไววาเปนการกระทําใดก็ตามโดยเจตนาที่ทําใหเกิดความ เจ็บปวดหรือความทกุ ขท รมานอยางสาหสั รวมทง้ั การบังคบั ขเู ขญ็ ไมวา ทาง “กายภาพ” หรอื “จติ ใจ” ตอ บคุ คลใดบคุ คลหน่งึ ดว ยมุงประสงคเพอ่ื ใหไ ดข อ มลู หรือคําสารภาพ วัตถุประสงคของอนุสัญญาฉบับน้ี เพื่อใหแตละรัฐสรางมาตรการในการระงับยับยั้ง การทรมาน รวมท้ังปองกันมิใหองคกร หรือเจาหนาที่รัฐกระทําการใดท่ีเปนการยุยง ยินยอม รูเห็นเปนใจ ขมขู หรือบงั คบั ขเู ข็ญ จัดใหมีการอบรมใหความรูแกบุคลากรผูรักษากฎหมาย เพื่อสงเสริมใหเจาหนาท่ีรัฐ ตระหนักในการคุมครองสิทธิมนุษยชน หากเกิดการกระทําอันละเมิดตออนุสัญญาแลว ผูไดรับ ความเสยี หายจากการทรมานควรจะตอ งไดร บั การชดเชย ฟน ฟู และเยยี วยาดว ย ÀÒ¤Êͧ (¢ÍŒ ñ÷-òô) ระบใุ หม กี ารจดั ตงั้ และขอ กําหนดหนา ที่ของคณะกรรมการตอตานการทรมาน ÀÒ¤ÊÒÁ (¢ÍŒ òõ-óó) กลาวถงึ การบงั คบั ใช, การแกไ ขเพ่ิมเตมิ , การแกไ ขขอพิพาทในการตคี วาม, การบอกเลิก อนสุ ญั ญาและการเก็บรกั ษาตน ฉบบั ทงั้ ๖ ภาษา ¢ÍŒ ¤ÇÃÃÙŒ : z หามการทรมาน ใหห มายถึง การหา มทรมานในทุกรปู แบบ และทกุ สถานการณ ไมวาจะใน ภาวะสงคราม หรือสถานการณฉ ุกเฉินใดๆ ก็ตาม z รัฐตองจัดใหมีการอบรมใหความรูแกบุคลากรผูรักษากฎหมาย เพ่ือสงเสริมใหเจาหนาท่ีรัฐ ตระหนักในการคมุ ครองสิทธมิ นุษยชน z หากเกิดการละเมิดโดยรัฐจะตอ งมกี ารเยยี วยา

๕๔ ¡Ô¨¡ÃÃÁ แบงกลุมรวมแสดงทัศนะ และออกมาแสดงความคิดเห็นหนาชั้นเรียน ในประเด็น การซอมทรมานโดยเจาหนาท่ีรัฐที่ปรากฏมาอยางตอเน่ืองยาวนานในสังคมไทย การกระทําเชนนี้ เปนการละเมิดปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนและพันธะสัญญาระหวางประเทศ ในประเดน็ ใดบา ง อธิบาย

๕๕ ͹ØÊÞÑ ÞÒÇÒ‹ ´ŒÇÂÊ·Ô ¸àÔ ´ç¡ (Convention on the Rights of the Child : CRC) ¢ÍŒ ÁÙÅ·ÑÇè ä» : ๒๐ พ.ย. ๑๙๘๙ สมชั ชาใหญส หประชาชาติรบั รอง ๒ ก.ย. ๑๙๙๐ มผี ลบังคบั ใช ๑๙๖ ประเทศ (ขอมลู ป ๒๕๖๒) ประเทศทเ่ี ขารว มเปน ภาคี อารมั ภบท และเน้ือหาแบง เปน ๓ ภาค รวม ๕๔ ขอ เน้อื หาประกอบดว ย ÊÒÃÐสาํ ¤ÞÑ ÀҤ˹èÖ§ (¢ÍŒ ñ-ôñ) กลา วถงึ สทิ ธขิ องเดก็ ในดา นตา งๆ ทรี่ ฐั พงึ เคารพและรบั รองใหน บั ตงั้ แตเ กดิ โดยไมค าํ นงึ ถงึ เชอื้ ชาติ สีผวิ เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมอื ง ชาติกาํ เนดิ สถานภาพสังคม ทรพั ยส นิ ความทพุ พลภาพ การเกดิ หรอื สถานะอนื่ ๆ ของเดก็ หรอื สทิ ธใิ นการอยรู ว มกบั บดิ า มารดา และหนา ที่ ของผปู กครองในการดูแลเดก็ รฐั ตอ งปองกนั การโยกยายเดก็ ออกนอกประเทศโดยผิดกฎหมาย รัฐตองใหความคุมครองในทุกๆ ดาน ท้ังทางสาธารณสุข การศึกษา วัฒนธรรม กระบวนการยตุ ธิ รรม การเขา ถงึ และการรบั รขู อ มลู ขา วสาร รวมถงึ สทิ ธใิ นการไดร บั ขอ มลู ทห่ี ลากหลาย แตกตางจากหลายกลุม การชมุ นุมสมาคม การเสนอความคดิ เห็นและแสดงออก รัฐตองจัดใหมีระบบการบริหารจัดการ ระบบกฎหมาย ระบบการศึกษาท่ีจะปกปองเด็ก จากการถูกทารุณทั้งรางกายและจิตใจ สิทธิในการขอลี้ภัย สิทธิเด็กชนกลุมนอยตองไมถูกปฏิเสธ การทํางานท่ีปลอดภัยและตองระบุอายุข้ันตํ่า รัฐตองปกปองเด็กจากการกระทําใดๆ ท่ีคุกคาม สวัสดิภาพของเดก็ ท้งั น้ีรัฐตอ งคํานงึ ถึงประโยชนสูงสุดของเด็กเปน สาํ คญั ÀÒ¤Êͧ (¢ŒÍ ôò-ôõ) วา ดว ยการปฏบิ ตั หิ นา ทขี่ องคณะกรรมการวา ดว ยสทิ ธเิ ดก็ , การเสนอรายงานของรฐั ภาค,ี การสง เสรมิ การปฏิบัตติ ามอนสุ ัญญาอยา งมีประสิทธิภาพภายใตความรวมมอื ระหวางประเทศ ÀÒ¤ÊÒÁ (¢ŒÍ ôö-õô) การลงนามเขาเปนภาคี, การมีผลบังคับใช, การแกไข, การตั้งและถอน ขอสงวน, การบอกเลกิ และการเกบ็ รกั ษาตนฉบับทัง้ ๖ ภาษา ¢ŒÍ¤ÇÃÃÙŒ : z เด็กตามอนุสญั ญานีห้ มายถงึ ผูท่มี อี ายุต่ํากวา ๑๘ ป z เด็กแตละคนแตละกลุมมีความแตกตางกัน ไมวาจากการเล้ียงดู การศึกษา ประสบการณ ชีวิต จึงตองปฏบิ ตั กิ ับเดก็ แตละกลุม อยางแตกตางและเขา ใจ

๕๖ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ แบง กลมุ นสต. กลมุ ละ ๑๐-๑๕ นาย เพ่ือแสดงทัศนะรวมกันในประเด็น ๑. ใหเสนอปญหาที่เก่ียวกับสิทธิเด็กมาหน่ึงกรณี พรอมสาเหตุของปญหานั้น และเสนอแนะนโยบายเพ่อื แกไขปญหาดงั กลา ว พรอ มออกมานาํ เสนออธิบายหนา ช้นั เรียน ๒. ในฐานะเจา หนา ทต่ี าํ รวจ หากตอ งปฏบิ ตั หิ นา ทใ่ี นกรณที ม่ี เี ดก็ เปน เหยอ่ื อาชญากรรม หรอื แมแ ตเ ปน ผกู อ เหตุ ทา นมแี นวทางปฏบิ ตั อิ ยา งไรบา งเพอื่ ใหเ ปน ไปตามเจตนารมณแ หง อนสุ ญั ญา วา ดว ยสิทธิเด็ก

๕๗ Í¹ÊØ ÑÞÞÒÇÒ‹ ´ÇŒ ¡ÒäŒØÁ¤ÃÍ§Ê·Ô ¸¢Ô ͧáç§Ò¹Í¾Â¾áÅÐÊÁÒª¡Ô ¤Ãͺ¤ÃÑÇ (International Convention on the Protection of the Rights of all Migrant Workers and Members of their Families : ICMW) ¢ŒÍÁÙÅ·ÑÇè ä» : ๑๘ ธ.ค. ๑๙๙๐ สมัชชาใหญส หประชาชาตริ บั รอง ๑ ก.ค. ๒๐๐๓ มีผลบงั คับใช ๕๕ ประเทศ (ขอมูลป ๒๕๖๒) ประเทศท่ีเขา รว มเปนภาคี อารัมภบท และเนอื้ หาแบง เปน ๙ ภาค รวม ๙๓ ขอ เนอ้ื หาประกอบดวย ÊÒÃÐÊÒí ¤ÑÞ ÀҤ˹§Öè (¢ÍŒ ñ-ö) “แรงงานอพยพ” ในอนุสัญญาน้ีหมายถึง บุคคลที่เก่ียวของกับกิจกรรมที่มีคาตอบแทน และตอ งอาศยั อยใู นประเทศอน่ื ทไี่ มใ ชป ระเทศบา นเกดิ ของตนเอง เนอ้ื หาครอบคลมุ ทง้ั ผทู เ่ี ปน แรงงาน อพยพ ตลอดจนครอบครัว ซึ่งสมควรไดรับสิทธิในฐานะมนุษยอยางสมบูรณในทุกขั้นตอนตั้งแต การเตรยี มการกอ นโยกยา ย (Preparation for migration), ผานทาง (Transit), อยอู าศัย (Entire period of stay) และเดินทางกลับภมู ิลําเนา (Departure) ÀÒ¤Êͧ (¢ŒÍ ÷) การไมเลือกปฏิบัติตอแรงงานอพยพและครอบครัว เหตุเนื่องจากความแตกตาง ทางเชือ้ ชาติ ภาษา ศาสนา สผี วิ ความเช่อื เปน ตน ÀÒ¤ÊÒÁ (¢ŒÍ ø-óõ) กลาวถึงสิทธิมนุษยชนพื้นฐานที่แรงงานอพยพและครอบครัวพึงไดรับ อาทิ สิทธิ ในการโยกยาย, สิทธิในชีวิตและครอบครัว, สิทธิที่จะไมถูกทรมาน ไมถูกใชเปนทาส หรือบังคับใช แรงงาน, เสรภี าพในความคดิ , เสรภี าพในการแสดงความคดิ เหน็ , สทิ ธคิ วามเปน สว นตวั , ความเชอื่ ทาง ศาสนา, แรงงานอพยพและครอบครัว ไดรบั การปฏิบัติโดยเคารพในศักด์ิศรแี ละวัฒนธรรมทีแ่ ตกตาง, สิทธิในกระบวนการยุติธรรม รวมท้ังการรักษาพยาบาล, สิทธิในการรวมกลุมสมาคม, สิทธิทาง การศึกษา, บุตรของแรงงานอพยพควรไดรับสิทธิข้ันพื้นฐาน เชน การมีชื่อเสียงเรียงนาม การไดรับ การรบั รองการเกิดและไดรบั สญั ชาต,ิ การไดรับการศกึ ษาสทิ ธทิ างการเงนิ ฯลฯ ÀÒ¤ÊèáÕ ÅÐÀÒ¤ËÒŒ (¢ÍŒ óö-öó) เปนสวนท่ีระบุถึงสิทธิอ่ืนๆ ของแรงงานอพยพและครอบครัวที่มีเอกสารครบถวน หรอื เขา มาในสถานการณป กติ แรงงานอพยพและครอบครวั มสี ทิ ธเิ สรภี าพในการเคลอ่ื นยา ยภายในรฐั และเลือกท่ีอยูอาศัยได, มีสิทธิในการรวมกลุม สมาคม, การเขารวมกิจกรรมทางสังคมและการเมือง ของรฐั ทม่ี กี ารจา งงานได, การไดรับการคุมครองจากรฐั ท่เี ขา มาใชแรงงาน เปน ตน

๕๘ ÀҤˡ (¢ÍŒ öô-÷ñ) การสงเสริมสภาพท่ีเปนธรรมแกแรงงานและครอบครัว รัฐกําหนดนโยบายท่ีเหมาะสม แกแรงงานเพื่อนําไปสูการปฏิบัติ, รัฐควรรวมมือกันในการแกไขปญาหาการเคลื่อนไหว การจางงาน คนงานอพยพท่ีลักลอบกระทําอยางผิดกฎหมาย, รัฐควรดําเนินการเพ่ือประกันวาสภาพการทํางาน และความเปน อยูข องแรงงานอพยพและครอบครัวสามารถดาํ รงอยูในมาตรฐานทเี่ หมาะสม หากมีความจําเปนรัฐควรอํานวยการในการสงศพของแรงงานหรือสมาชิกครอบครัว ซึง่ เสียชีวติ กลบั รฐั ตนทาง ÀÒ¤à¨ç´ (¢ÍŒ ÷ò-÷ø) ใหรายละเอียดเก่ียวกับการจัดตั้ง และหนาที่ของคณะกรรมการวาดวยการปองกัน สิทธิแรงงานอพยพและครอบครัว ÀҤỴ (¢ÍŒ ÷ù-øô) เนนยํ้าใหรัฐตองกําหนดกลไกภายใน เพื่อใหเปนไปตามความมุงหมายของอนุสัญญาฯ ตลอดจนการทาํ สนธสิ ญั ญาระหวา งรฐั เพอ่ื เออื้ ใหเ กดิ การปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน ธรรมและคาํ นงึ ถงึ สทิ ธมิ นษุ ยชน ของแรงงานอพยพและครอบครัว ÀÒ¤à¡ŒÒ (¢ÍŒ øõ-ùó) กลาวถึงการลงนามเขาเปน ภาค,ี การมผี ลบังคบั ใช, การแกไ ข, การตง้ั และถอนขอสงวน, การบอกเลิกและการเกบ็ รกั ษาตนฉบับท้งั ๖ ภาษา ¢ŒÍ¤ÇÃÃÙŒ : z ตามอนสุ ญั ญาน้ี แรงงานขา มชาตทิ ไ่ี ดร บั ความคมุ ครอง หมายถงึ แรงงานขา มชาติ ซง่ึ ทาํ ถกู ตอ ง ตามกฎหมายเปน หลกั ทวาก็มคี วามมุงหมายทจ่ี ะทําใหปญ หาแรงงานขา มชาติทผ่ี ดิ กฎหมายหมดไป ¡Ô¨¡ÃÃÁ นสต. แบงกลุมๆ ละ ๑๐-๑๕ นาย ใหเสนอปญหาท่ีเกี่ยวกับแรงงานอพยพ และสมาชิกครอบครัวมาหน่ึงกรณี พรอมสาเหตุของปญหาน้ัน และเสนอแนะนโยบายเพ่ือแกไข ปญหาดังกลา ว พรอมออกมานาํ เสนออธิบายหนาชน้ั เรียน

๕๙ ͹ØÊÞÑ ÞÒNjҴŒÇÂÊÔ·¸Ô¢Í§¤¹¾Ô¡Òà (Convention on the Rights of Persons with Disabilities : CRPD) ¢ŒÍÁÙÅ·ÑèÇä» : ๑๓ ธ.ค. ๒๐๐๖ สมัชชาใหญส หประชาชาตริ ับรอง ๓ พ.ค. ๒๐๐๘ มีผลบงั คับใช ๑๘๑ ประเทศ (ขอมูลป ๒๕๖๒) ประเทศทีเ่ ขา รว มเปนภาคี อารัมภบท และบทบัญญัติ รวม ๕๐ ขอ เนอ้ื หาประกอบดว ย ÊÒÃÐสาํ ¤ÑÞ ภายใตอนุสัญญาฉบับนี้ “ผูพิการ” หมายถึง บุคคลท่ีบกพรองท้ังทางรางกาย จิตใจ สตปิ ญญา หรอื ประสาทสัมผสั ในระยะยาว ซ่ึงกีดขวางการเขารวมกับสงั คมอยา งเตม็ ท่ี ดงั นัน้ รฐั ภาคี จงึ มพี นั ธกรณที จี่ ะตอ งขจดั การเลอื กปฏบิ ตั ติ อ ผพู กิ ารในทกุ รปู แบบ เพอ่ื ใหผ พู กิ ารใชช วี ติ ไดอ ยา งปกตสิ ขุ “การเลอื กปฏบิ ตั เิ พราะเหตแุ หง ความพกิ าร” หมายถงึ ความแตกตา งกดี กนั หรอื การจาํ กดั บนพื้นฐานความพิการซึ่งมีความมุงประสงคหรือสงผลใหเปนการเสื่อมเสียการใชสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพขัน้ พืน้ ฐานรวมถึงการปฏิเสธการชว ยเหลือท่สี มเหตสุ มผล รัฐควรคํานึงถึงเด็ก และสตรีพิการเพ่ือประกันวาคนเหลานี้จะสามารถไดรับการปฏิบัติ โดยคํานงึ ถงึ สิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขน้ั พ้นื ฐาน ในเชิงโครงสรางสังคม รัฐตองกําหนดกฎหมาย มาตรการตางๆ ท่ีเหมาะสมเพื่อประกัน การเขา ถึงและใชป ระโยชนใหแกผูพกิ าร สรางสภาพแวดลอ มทางกายภาพ เชน พฒั นาระบบคมนาคม ขนสง ขอมูลขาวสารและการบริการสาธารณะใหเหมาะสม รัฐตองทําใหเกิดความเทาเทียมกัน ของคนพิการในทางกฎหมาย เพิ่มโอกาสในการศึกษา การเขาทํางาน รักษาพยาบาล ประกันสิทธิ และโอกาสที่จะมีสวนรวมทางการเมือง การเขาถึงกระบวนยุติธรรม สวนในระดับปจเจกชน มงุ ใหคนท่ัวๆ ไปมเี จตคติทด่ี ีตอ ผูพกิ าร ¢ŒÍ¤ÇÃÌ٠: z ผูพิการในอนุสัญญานี้กินความหมายกวาง โดยหมายความรวมทั้งผูพิการทางจิตใจ และดา นพฒั นาการดวย z เพ่อื ใหผ ูพ กิ ารไดใชช วี ิตไดอ ยา งปกตสิ ขุ z เนนการลดอคติและสรางความเขาใจท่ีดตี อผพู ิการ ¡Ô¨¡ÃÃÁ นสต. แบงกลุมๆ ๑๐-๑๕ นาย ใหเสนอปญหาท่ีเก่ียวกับสิทธิผูพิการมาหนึ่งกรณี พรอมสาเหตุของปญหานั้น และเสนอแนะนโยบายเพื่อแกไขปญหาดังกลาว พรอมออกมานําเสนอ อธบิ ายหนาชั้นเรียน

๖๐ Í¹ÊØ ÞÑ ÞÒNjҴnj ¡ÒäŒÁØ ¤ÃͧÁãÔ ËŒºØ¤¤Å¶Ù¡º§Ñ ¤ÑºãËŒÊÙÞËÒ (International Convention for the Protection of All Persons from Enforced Disappearance : ICPED) ¢ŒÍÁÅÙ ·ÑèÇä» : ๒๐ ธ.ค. ๒๐๐๖ สมชั ชาใหญส หประชาชาติรบั รอง ๒๓ ธ.ค. ๒๐๑๐ มผี ลบังคบั ใช ๖๒ ประเทศ (ขอมลู ป ๒๕๖๒) ประเทศทเ่ี ขารวมเปนภาคี อารมั ภบท และเนอื้ หาแบง เปน ๓ ภาค รวม ๔๕ ขอ เน้อื หาประกอบดวย ÊÒÃÐสํา¤ÞÑ ÀҤ˹è§Ö (¢ÍŒ ñ-òõ) ในทน่ี ้ี “การหายสาบสญู โดยถกู บงั คบั ” หมายถงึ การจบั กมุ กกั ขงั ลกั พาตวั หรอื การกระทาํ ในรูปแบบอื่นใดท่ีเปนการลิดรอนเสรีภาพโดยเจาหนาท่ีของรัฐ บุคคลหรือกลุมบุคคลซ่ึงดําเนินการ โดยไดรบั การอนุญาต การสนับสนุน หรอื การยอมรับโดยปริยายของรัฐ ตามอนุสัญญาน้ี ไมสามารถที่จะอางสถานการณพิเศษใดๆ ไมวาจะเปนภาวะสงคราม หรือสถานการณฉุกเฉินก็ตาม ซ่ึงใชมาเปนขออางไดเลย ท่ีสําคัญรัฐจะตองออกกฎหมายกําหนดให การบังคับใหหายสาบสูญเปน ความผิดตามกฎหมาย ÀÒ¤Êͧ (¢ŒÍ òö-óö) วาดวยการจัดตั้ง และการปฏิบัติงานของคณะกรรมการวาดวยการหายสาบสูญ โดยถูกบังคบั ÀÒ¤ÊÒÁ (¢ÍŒ ó÷-ôõ) เก่ียวกับการลงนามเขาเปนภาคี, การมีผลใชบังคับ, การแกไข, การระงับขอพิพาท และการเกบ็ รักษาตนฉบับทงั้ ๖ ภาษา ¢ÍŒ ¤ÇÃÃÙŒ : z ใหค วามสาํ คัญตอ การกระทําของเจาหนาท่ีรฐั หรอื กระทําในนามของรัฐ ไมว าจะกระทําตอ ประชาชนภายในรัฐหรอื ทม่ี าจากรัฐอ่ืนกต็ าม ¡Ô¨¡ÃÃÁ การบังคับใหบุคคลสูญหายถือเปนการกระทําที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางไร และใหเสนอมาตรการแกไ ขปญหานี้

๖๑ ÊÃØ»ÊÒÃÐสํา¤ÞÑ ¢Í§¾Ñ¹¸ÐÊÞÑ ÞÒÃÐËNjҧ»ÃÐà·È´ÒŒ ¹Ê·Ô ¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹·é§Ñ ù ©ºÑº : z หามเลอื กปฏบิ ตั ิ (No discrimination) z เปนพันธะของรฐั ภาคที ่จี ะตอ งสงเสรมิ และปกปอ งคมุ ครองสทิ ธิ z รัฐมีหนาที่ทบทวนกฎหมาย ระเบียบ นโยบายเพื่อสงเสริมตอการสรางสิทธิ ในแตละดา น z ขา ราชการในฐานะกลไกหนงึ่ ของรฐั จงึ ตอ งตอบสนองตอ เจตนารมณแ หง พนั ธะสญั ญา เหลาน้ีดว ยเชนกนั z การรองเรียนเพ่ือใหมีผลบังคับทางกฎหมายระหวางประเทศในกรณีรัฐละเมิด สิทธมิ นษุ ยชน ตองเปนการทีร่ ัฐไมแ กไ ขเยยี วยาเพราะถอื หลกั อธปิ ไตยของรฐั z ณ ปจจุบัน รัฐไทยเขารวมเปนภาคีและใหสัตยาบันสนธิสัญญาระหวางประเทศ ท่ีเก่ยี วขอ งกบั สทิ ธมิ นุษยชนจาํ นวน ๗ ฉบับ ไดแก ❍ อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (International Convention on the Elimination of all forms of Racial Discrimination : ICERD) ❍ กตกิ าระหวา งประเทศวา ดว ยสทิ ธพิ ลเมอื งและสทิ ธทิ างการเมอื ง (International Covenant on Civil and Political Rights : ICCPR) ❍ กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights : ICESCR) ❍ อนสุ ัญญาวา ดวยการขจัดการเลอื กปฏบิ ัตติ อสตรใี นทกุ รูปแบบ (Convention on the Elimination of all Forms of Discrimination against Women : CEDAW) ❍ อนุสัญญาตอตานการทรมานและการปฏิบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดราย ไรมนุษยธรรม หรอื ย่ํายศี กั ดิศ์ รี (Convention against Torture and other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment : CAT) ❍ อนสุ ัญญาวาดวยการสิทธิเดก็ (Convention on the Rights of the Child : CRC) ❍ อนสุ ญั ญาวา ดว ยสทิ ธขิ องคนพกิ าร (Convention on the Rights of Persons with Disabilities : CRPD)

๖๒ ʋǹÊÃ»Ø ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) เปน เอกสารทางประวตั ศิ าสตรใ นการวางรากฐานดา นสทิ ธมิ นษุ ยชนฉบบั แรกของโลกและเปน พน้ื ฐานของ กฎหมายระหวา งประเทศดา นสทิ ธมิ นษุ ยชนทมี่ อี ยใู นปจ จบุ นั ปฏญิ ญาสากลวา ดว ยสทิ ธมิ นษุ ยชนเปน เพยี ง ขอตกลงหรือการใหคําม่ันสัญญาของประเทศตางๆ ท่ีรวมกันกําหนดขอปฏิบัติในการใหการคุมครอง สทิ ธิมนษุ ยชน จึงไมม ีสภาพบงั คับ ดงั นั้น การไดรบั ความคมุ ครองในเรอ่ื งสทิ ธมิ นษุ ยชนของประชาชน ในประเทศตา งๆ จึงมีความแตกตางกนั ประเทศท่ีใหความสาํ คัญและยดึ ถือตามคาํ ม่นั สัญญา กส็ งผล ใหป ระชาชนในประเทศนนั้ ไดร บั การคมุ ครองทส่ี มบรู ณต ามทตี่ กลงไว สว นประเทศทไ่ี มใ หค วามสาํ คญั หรือไมยึดถือตามคํามั่นสัญญา ประชาชนของประเทศดังกลาวก็ไมไดรับการคุมครองที่สมบูรณตาม ขอ ตกลง ตอ มาองคก ารสหประชาชาตจิ งึ ไดก าํ หนดรปู แบบการคมุ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชนในรปู ของกฎหมาย ระหวางประเทศวาดวยสิทธิมนุษยชน ซ่ึงมีสภาพบังคับในการปฏิบัติ จึงทําใหประชาชนของประเทศ ที่เปนสมาชิกสหประชาชาติที่อยูในสภาพบังคับของกฎหมายดังกลาว ไดรับการคุมครองในเร่ืองสิทธิ มนุษยชนที่สมบูรณและเต็มท่ี ตอมาจึงไดมีการกําหนดการคุมครองสิทธิมนุษยชนท่ีมีสภาพบังคับ ในรปู ของขอ ตกลงระหวา งประเทศวา ดว ยสทิ ธมิ นษุ ยชน ประเทศทเี่ ขา เปน สมาชกิ จะตอ งถอื ปฏบิ ตั ติ าม ขอ ตกลงโดยเครง ครดั ถา ไมป ฏบิ ตั ติ ามกจ็ ะถกู ลงโทษ ปจ จบุ นั สหประชาชาตไิ ดม มี ตริ บั รองสนธสิ ญั ญา สิทธิมนษุ ยชนระหวา งประเทศ จาํ นวน ๙ ฉบับ ดังกลา วแลว àÍ¡ÊÒÃÍÒŒ §ÍÔ§ ÊË»ÃЪҪÒμÔ : Ê¹Ñ μÀÔ Ò¾¡Ñº¡ÒþѲ¹Ò. เน่อื งในวาระครบรอบ ๕๐ ป ของการสถาปนาองคก าร สหประชาชาติ, กรุงเทพฯ : โรงพิมพเทคนคิ , (๒๕๓๘) หนา ๘๐. Office of the high Commissioner for Human Rights, Human Rights A Basic Handbook for UN Staff. สบื คนเม่อื ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ จาก http://www.mohchr.org/Documents/Publications/HRhandbooken.pdf. United Nations, Human Rights Day. สืบคน เม่ือ ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙ จาก http://www.un.org/en/events/humanrightsday. UN Welcomes 193rd Member State, United Nations Regional Information Centre for Western Europe. สืบคน เมื่อ ๒๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙ จาก http://www.unric.org/en/latest-un-buzz/26841-un-welcomes-193rd- member-state.

๖๓ º··èÕ ô ÊÔ·¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹ã¹ÃѰä·Â ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤ ๑. อธบิ ายสาระสําคญั ของรัฐธรรมนญู ทเี่ ก่ียวเน่อื งกบั ประเดน็ สทิ ธมิ นษุ ยชน ๒. อธิบายความสําคัญของแผนสิทธิมนุษยชนตอการวางแนวทางพัฒนา คุมครอง สทิ ธมิ นษุ ยชน ๓. อธบิ ายความสําคญั ขององคกรหลักในการคมุ ครองสทิ ธิมนุษยชนของรัฐไทย á¼¹¡ÒÃÊ͹»ÃÐจํา˹‹ÇÂ ÇªÔ Ò สิทธิมนษุ ยชน ˹‹Ç·èÕ ô สทิ ธิมนุษยชนในรัฐไทย μ͹·Õè ๔.๑ พัฒนาการสทิ ธมิ นษุ ยชนของรฐั ไทย ๔.๒ รฐั ธรรมนญู ๔.๓ แผนสิทธิมนษุ ยชนแหง ชาติ ๔.๔ องคก รคมุ ครองสทิ ธิ á¹Ç¤Ô´ ๑. เพื่อใหผูเรียนเขาใจถึงความเช่ือมโยงระหวางการเคลื่อนไหวในประเด็น สิทธิมนุษยชนระดับสากลท่ีสงผลตอการปรับตัวภายในประเทศเพื่อตอบสนองตอหลักการเร่ือง สทิ ธมิ นุษยชน ๒. เพอื่ ใหผ เู รยี นมคี วามรคู วามเขา ใจถงึ กลไกสาํ คญั ภายในประเทศในสว นทเี่ กย่ี วขอ งกบั การใหความคมุ ครองสิทธมิ นษุ ยชน ÇμÑ ¶Ø»ÃÐʧ¤ เมื่อ นสต. ไดเรียนรูหนวยที่ ๔ แลว นสต. สามารถ ๑. อธบิ ายสาระสาํ คัญของรฐั ธรรมนูญที่เกี่ยวเน่ืองกับประเด็นสทิ ธิมนุษยชน ๒. อธิบายความสําคัญของแผนสิทธิมนุษยชนตอการวางแนวทางพัฒนา คุมครอง สิทธิมนษุ ยชน ๓. อธบิ ายความสําคัญขององคกรหลักในการคมุ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชนของรฐั ไทย

๖๔ ¡¨Ô ¡ÃÃÁÃÐËNjҧàÃÂÕ ¹ ๑. ศึกษาเอกสารการสอน ตอนที่ ๔.๑-๔.๔ ๒. ปฏบิ ตั ิกิจกรรมตามทไี่ ดร บั มอบหมายในเอกสารการสอนแตล ะตอน Ê×èÍ¡ÒÃÊ͹ ๑. เอกสารการสอน ๒. Power Point ¡ÒûÃÐàÁÔ¹¼Å ประเมินผลจากมสี วนรว มและแสดงความคิดเห็น

๖๕ μ͹·èÕ ô.ñ ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃÊÔ·¸ÁÔ ¹ØÉª¹¢Í§ÃѰä·Â ËÇÑ àÃÍè× § ๔.๑ พฒั นาการสิทธมิ นษุ ยชนของรัฐไทย á¹Ç¤Ô´ สําหรับประเทศไทยมีพัฒนาการดานสิทธิมนุษยชนที่สอดคลองไปกับความเปล่ียนแปลง ของกระแสสิทธิมนุษยชนของโลกเชนเดียวกัน โดยมีชวงเวลาต้ังแตการเขาเปนสมาชิกองคการรักษา สันติภาพของโลก คอื สหประชาชาติ (United Nations) เปน จดุ สําคัญในการจัดระเบยี บรัฐใหเปน ไป ตามหลักการสทิ ธิมนุษยชนสากล ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤ เมอื่ นสต. ไดเรียนรูหนวยท่ี ๔.๑ แลว นสต. สามารถอธิบายพัฒนาการสิทธมิ นุษยชน ของรัฐไทยไดอ ยางถูกตอง ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃÊ·Ô ¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹¢Í§Ã°Ñ ä·Â แมวาโดยรากฐานของแนวคิด “สทิ ธิมนษุ ยชน” จะมาจากฝากฝง โลกตะวันตกซ่ึงสามารถ อธิบายยอนกลับไปไดถึงปรัชญาเกาแกในยุคกรีกอยางเร่ือง “สิทธิมนุษยชน” (Natural rights) ท่ีมองวา มนษุ ยทกุ คนมสี ทิ ธบิ างอยา งตดิ ตัวต้ังแตถอื กําเนิดข้นึ มา ดังท่ีอธบิ ายไวในบทท่ีหนง่ึ แนวคดิ “สิทธิธรรมชาติ” คอยๆ ไดรับการรับรูและขยายวงกวางตามชวงสมัยแหงพัฒนาการของสังคมโลก จนเหน็ ผลอยา งเปน รูปธรรม และไดพฒั นาสูค วามเปนสากลในปจ จบุ นั สําหรับประเทศไทยเองก็มีพัฒนาการดานสิทธิมนุษยชนที่คอนขางสอดคลองไปกับ ความเปลยี่ นแปลงของโลกเชน เดยี วกนั ถงึ กระนนั้ ตอ งเขา ใจกอ นวา ประเดน็ เรอ่ื ง “สทิ ธ”ิ ในประวตั ศิ าสตรไ ทย มีความเปนมายาวนาน แตเปนสิทธิที่ไดมาและมีอยูตามฐานะและยศถาบรรดาศักด์ิ ซ่ึงลักษณะ เชนนี้มีฐานความคิดตางไปจากอุดมการณ “สิทธิมนุษยชน”อยางไรก็ดี พัฒนาการเร่ืองสิทธิใน สังคมไทยมีมาตอเนื่อง โดยเฉพาะการรับรูในอุดมการณ สิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคของกลุม คนรุนใหมที่มีอิทธิพลตอสังคม และใหความสําคัญกับกลุมสามัญชนมากข้ึน จึงเกิดการเรียกรอง ความเปล่ียนแปลงเชิงโครงสราง เพื่อเปล่ียนผานไปสูสังคมที่ใหความหมายตอสิทธิความเปนมนุษย๑ แมจ ะยงั ไมมลี กั ษณะสมบรู ณต ามคติตะวนั ตก แตก ็ไดส รางความเปล่ียนแปลงแกสงั คมไทยอยไู มนอย ๑ สรปุ จาก ธเนศ อาภรณสุวรรณ, กาํ เนดิ และความเปน มาของสทิ ธิมนษุ ยชน, (กรงุ เทพฯ: โครงการจดั พิมพคบไฟ, ๒๕๔๙), หนา ๑๕-๕๘.

๖๖ บทน้ีมุงนําเสนอภาพความเปล่ียนแปลงของ “รัฐไทย” ภายใตกระแสสิทธิมนุษยชนโลก โดยใชชวงเวลาตั้งแตการเขาเปนสมาชิกองคการรักษาสันติภาพของโลก คือ สหประชาชาติ (United Nations) เปนจุดเร่ิมตนการอธิบาย๒ เนื่องดวยเปนชวงเวลาท่ีแนวคิดสิทธิมนุษยชน ถูกกระจายไปในวงกวางและไดรับการรับรองในระดับนานาชาติ ประกอบกับการจัดทําสนธิสัญญา ระหวา งประเทศดา นสทิ ธมิ นษุ ยชนหลายฉบบั ทปี่ ระเทศไทยเองไดเ ขา รว มเปน ภาคี ในสว นตอ ไปจงึ เนน พจิ ารณาผลการดาํ เนินการของรฐั ไทยในการวางกรอบ กลไก กติกาภายในประเทศท่เี ปน การสงเสริม สนับสนนุ และปองกันไมใ หเกดิ การละเมิดสทิ ธมิ นษุ ยชนในดานตา งๆ ตามหลักสากลเปน สาํ คญั ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃÊ·Ô ¸ÁÔ ¹ØÉª¹¢Í§ÃѰä·Â พัฒนาการความกาวหนาของสังคมมีผลตอการใหคุณคาตอ “คน” เปลี่ยนผันไป เปนท่ที ราบกันดีวาในอดีต รฐั ไทยมกี ารจดั วางชนชน้ั ทางสงั คมท่ีลดหล่นั เหล่ือมลํ้า เชน เจา ขนุ มูลนาย ไพรทาส การขยับชนช้ันไมใชเร่ืองงายเทากับยอมรับในชะตาชีวิตของตนเอง มโนทัศนเร่ือง “สิทธิ” ยงั ไมอยใู นความรบั รูข องสงั คมคนสวนใหญ วาทกรรมเรื่อง “สิทธิของบุคคล” และ “สิทธิธรรมชาติ” เกิดในภายหลังเม่ือมีกลุมคน ท่ไี ดรับการศึกษาจากตะวันตก มีแนวคิดปฏิเสธระบบไพร และมีโลกทัศนสมัยใหมที่เปนวิทยาศาสตร มากข้ึน คนเหลานี้มักเขามาทํางานในแวดวงนักเขียน งานหนังสือพิมพ และในระบบราชการ ความเปลี่ยนแปลงสําคัญเร่ิมชัดเจนข้ึนเร่ือยมาต้ังแตสมัยรัชกาลท่ี ๔ เม่ือภูมิปญญาแบบตะวันตก ขยายวงกวา ง เกดิ การใหค ณุ คา บนฐานทเ่ี ทา เทยี มแก “ปจ เจกบคุ คล” โดยมกี ฎหมายรบั รองอยา งชดั เจน ตวั อยา งเชน เกดิ กฎหมายอาญา หากกระทาํ ผดิ ตอ งไดร บั โทษ เทยี บกบั กฎหมายเกา นน้ั ถา ผกู ระทาํ ผดิ เปน บคุ คลในระดบั ชน้ั ยศหรอื มศี กั ดนิ าทส่ี งู กวา เชน มลู นายกระทาํ ตอ ทาสยงั ไมถ อื วา เปน การกระทาํ ผดิ ในทันใด๓ ราษฎรเริ่มตระหนักถึงบทบาทและความสําคัญของตนข้ึนเรื่อยๆ นําไปสูการบั่นทอน ความเชอ่ื เดมิ เรอื่ ง “ชาตกิ าํ เนดิ ” ทว่ี า คนเกดิ มามบี ญุ บารมไี มเ ทา กนั จงึ ตอ งกม หนา ยอมรบั ในชะตากรรม ในสมัยรัชกาลท่ี ๕ ดวยตองปรับปรุงประเทศใหมีความเปนอารยะเพื่อตอบโต การคืบคลานเขามาของลทั ธจิ กั รวรรดนิ ยิ ม หลายแนวคิดตามคติตะวันตกกลายเปนกระแสท่ีกอใหเ กิด การเปล่ียนแปลงตามมา เชน เปล่ียนการพิจารณาคดีตามหลักจารีตมาสูการอางอิงหลักฐานและ พยานมากขนึ้ ปองกนั ไมใ หเจาหนา ทลี่ ุแกอ ํานาจ๔ ๒ ประเทศไทยเขาเปนสมาชิกสหประชาชาตลิ าํ ดับท่ี ๕๕ เม่อื วันท่ี ๑๖ ธนั วาคม ๒๔๘๙ ภายหลังสหประชาชาตกิ อ ตง้ั ๑ ป เหตุผลที่ใชในการเขาเปนสมาชิกองคการสหประชาชาติเปนจุดเร่ิมตนอธิบายสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย เน่ืองจากเปน ชวงเวลาท่ีสิทธิมนุษยชนถูกทําใหเปนประเด็นสากลและไดรับการกลาวถึงในระดับนานาชาติ ประกอบกับมีกลไกระดับ นานาชาติเกิดขึ้นมากมายเพื่อสนับสนุนแนวคิดนี้ กอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงขนานใหญนี้ ทําใหรัฐไทยตองปรับตัว และสรางความเปลย่ี นแปลงภายในรัฐอยางมากดว ยเชน เดยี วกนั ๓ ธเนศ อาภรณส ุวรรณ, อางแลว หนา ๗๙-๘๓. ๔ ธเนศ อาภรณสวุ รรณ, เพ่ิงอา ง, หนา ๙๖-๙๙.

๖๗ การขยายตัวของแนวคิด “สิทธิมนุษยชน” ในกรณีของไทยในชวงแรกจึงเปนลักษณะ ของการตอตา นหรอื ตอ งการลดทอนอํานาจรฐั เพอ่ื ใหกระจายอํานาจลงสูป ระชาชนมากยิ่งขน้ึ เพอื่ ให ราษฎรทกุ คนมีสิทธิและเสรภี าพ และมีฐานะเปนเจาของประเทศรวมกัน ดังปรากฏชดั เจนในประกาศ ของคณะราษฎรฉบับท่ี ๑ เมอ่ื วันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕๕ การปฏิวัติเปล่ียนแปลงการปกครอง เมื่อ พ.ศ.๒๔๗๕ ถือเปนชวงเวลาสําคัญของสิทธิ มนุษยชนไทย ทําใหราษฎรไดเขาถึงสิทธิเสรีภาพชนิดที่ไมเคยมีมากอน ดังท่ีระบุวา “...ราษฎรจะได รับความปลอดภยั ทกุ คนจะตองมีงานทํา ไมตองอดตาย ทกุ คนจะมสี ิทธิเสมอกัน และมีเสรีภาพพน จากการเปน ไพร เปน ขา เปนทาส พวกเจา ...” อยางไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงขนานใหญของสังคมไทยตอประเด็น “สิทธิมนุษยชน” เกิดภายหลังการเขาเปนสมาชิกองคการสหประชาชาติแลว เพราะเทากับยอมรับในหลักการสําคัญ ของสหประชาชาติ น่ันคอื การรักษาสันตภิ าพ ความสงบสขุ และการเคารพในศักดิ์ศรคี วามเปนมนุษย ทาํ ใหร ฐั ไทยตอ งปรบั ตวั และสรา งกลไกในประเทศเพอื่ สอดคลอ งกบั เจตนารมณข ององคก รในฐานะชาติ สมาชิก การประกาศใชปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน (The Universal Declaration of Human Rights) เมือ่ วันที่ ๑๐ ธันวาคม ค.ศ. ๑๙๔๘ เปนการทาํ ใหนิยามสทิ ธมิ นุษยชนทค่ี อ นขาง เปนนามธรรมมีความชัดเจนยิ่งข้ึน แนวทางปฏิบัติของอนุสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน หลายๆ ฉบับท่ีออกตามมา ประเทศสมาชิกองคการสหประชาชาติจากท่ัวทุกมุมโลก รวมทั้งรัฐไทย ที่เขารวมเปนภาคีจึงตองขอขยับขยายบทบาทในประเทศเพ่ือแสดงวาไดนําหลักการสิทธิมนุษยชน มาใชใ นทางปฏบิ ัติ นอกจากปฏญิ ญาสากลวา ดว ยสทิ ธมิ นษุ ยชนแลว สนธสิ ญั ญาระหวา งประเทศทเ่ี กย่ี วขอ ง กับสิทธิมนุษยชนโดยการรับรองของสหประชาชาติฉบับสําคัญท่ีประเทศไทยเขารวมเปนภาคี และให สัตยาบันมจี ํานวนทงั้ ส้นิ ๗ ฉบับ ไดแก ๕ ขา ราชการ ทหาร และพลเรอื นระดบั กลางจาํ นวน ๑๐๒ คน ในนามของ “คณะราษฎร” ไดท าํ การยดึ อาํ นาจจากพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจา อยหู วั รชั กาลที่ ๗ เพอ่ื เปลย่ี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยไ ปสรู ะบอบประชาธปิ ไตย และออกประกาศคณะราษฎรฉบับท่ี ๑ และวางหลัก ๖ ประการ ดังน้ี ๑. จะตอ งรักษาความเปนเอกราชท้งั หลายของประเทศไวใหม น่ั คง ๒. จะตอ งรกั ษาความปลอดภยั ภายในประเทศ ๓. ตองบํารุงความสขุ สมบรู ณข องราษฎรในทางเศรษฐกิจ ๔. ตอ งใหราษฎรมีสิทธเิ สมอภาคกนั (ไมใ ชพวกเจามีสทิ ธิย่งิ กวาราษฎรเชน ท่เี ปน อยนู )้ี ๕. จะตอ งใหราษฎรไดมีเสรีภาพ มีความเปน อิสระ ๖. จะตองใหก ารศึกษาอยา งเตม็ ทแี่ กราษฎร สรุปจากธเนศ อาภรณส ุวรรณ, หนา ๙๖-๙๙.

๖๘ ๑. อนุสญั ญาวาดว ยการขจดั การเลอื กปฏิบตั ติ อ สตรใี นทกุ รูปแบบ เปนภาคี ๙ ส.ค.๒๕๒๘ (Convention on the Elimination of All Forms of บงั คับใช ๘ ก.ย. ๒๕๒๘ Discrimination against Women : CEDAW) ๒. อนุสัญญาวา ดว ยสทิ ธเิ ดก็ เปน ภาคี ๒๗ ม.ี ค. ๒๕๓๕ (Convention on the Rights of the Child : CRC) บงั คบั ใช ๒๖ เม.ย. ๒๕๓๕ ๓. กตกิ าระหวา งประเทศวา ดวยสิทธพิ ลเมอื งและสิทธิทางการเมอื ง เปน ภาคี ๒๙ ต.ค. ๒๕๓๙ (International Covenant on Civil and Political Rights : บังคบั ใช ๓๐ ม.ค. ๒๕๔๐ ICCPR) ๔. กตกิ าระหวา งประเทศวา ดว ยสทิ ธิ ทางเศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม เปน ภาคี ๕ ก.ย. ๒๕๔๒ (International Covenant on Economic, Social and Cultural บงั คับใช ๕ ธ.ค. ๒๕๔๒ Rights : ICESCR) ๕. อนสุ ัญญาวาดว ยการขจัดการเลอื กปฏิบัติทางเชอื้ ชาติ เปน ภาคี ๒๘ ม.ค. ๒๕๔๖ ในทกุ รูปแบบ บังคับใช ๒๗ ก.พ. ๒๕๔๖ (International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination : ICERD) ๖. อนุสัญญาตอตานการทรมานและการปฏิบัติหรือการลงโทษอื่น เปนภาคี ๒ ต.ค. ๒๕๕๐ ทีโ่ หดรา ย ไรม นุษยธรรม หรือยา่ํ ยศี กั ดศ์ิ รี บงั คบั ใช ๑ พ.ย. ๒๕๕๐ (Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment : CAT) ๗. อนสุ ญั ญาวาดว ยสิทธขิ องคนพิการ เปนภาคี ๒๙ ก.ค. ๒๕๕๑ (Convention on the Rights of Persons with Disabilities บงั คบั ใช ๒๘ ส.ค. ๒๕๕๑ : CRPD) การเปนสมาชิกองคการสหประชาชาติ และการเขารวมภาคีสนธิสัญญาระหวางประเทศ ขางตน การเขารวมประชุมระดับนานาชาติตางๆ ลวนเปนสวนสําคัญผลักดันใหมีความเปลี่ยนแปลง ภายในประเทศในประเดน็ ดา นสทิ ธมิ นษุ ยชนในระดบั โครงสรา งหลายมติ ิ อาทิ บทบญั ญตั ใิ นรฐั ธรรมนญู , แผนสิทธมิ นษุ ยชนแหง ชาต,ิ การตรา แกไ ข และเพิ่มเตมิ กฎหมายหลายฉบับ เพื่อใหส อดคลองเปน ไป ตามมาตรฐานสากลมากยิง่ ขึน้ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ ประเทศไทยไดยอมรับหลักการสิทธิมนุษยชนสากลในรูปแบบใด และสงผลตอประเทศ อยางไรบา ง

๖๙ μ͹·èÕ ô.ò ÃѰ¸ÃÃÁ¹ÞÙ ËÇÑ àÃÍ×è § ๔.๒ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย á¹Ç¤´Ô รัฐธรรมนูญถือเปนกติกาสูงสุดของประเทศในการกําหนดกรอบนโยบาย กฎหมาย กฎระเบยี บตา งๆ ดงั นน้ั เนอื้ หาและเจตนารมณแ หง รฐั ธรรมนญู จงึ มคี วามสาํ คญั อยา งยง่ิ ตอ การสง เสรมิ และสนบั สนนุ สทิ ธิมนษุ ยชนใหเปนรปู ธรรม ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤ เม่ือ นสต. ไดเ รยี นรหู นว ยท่ี ๔.๒ แลว นสต. สามารถ อธิบายความสําคญั ของรัฐธรรมนญู ตอการสง เสรมิ แนวคดิ สทิ ธิมนษุ ยชน Ã°Ñ ¸ÃÃÁ¹ÞÙ áË‹§ÃÒªÍҳҨѡÃä·Â หากถามวา “สทิ ธมิ นษุ ยชน” ไดร บั การรบั รองชดั แจง โดยกฎหมายทมี่ สี ถานะสงู สดุ เปน ครงั้ แรก เมื่อใดน้ัน คงตองหยิบยกรัฐธรรมนูญฉบับป ๒๕๔๐ ขึ้นมาพิจารณากอน จากน้ันจึงคอยกลาวถึง รัฐธรรมนูญฉบบั ป ๒๕๕๐ และรฐั ธรรมนูญฉบบั ปจจุบัน พ.ศ.๒๕๖๐ Ã°Ñ ¸ÃÃÁ¹ÙÞáË‹§ÃÒªÍÒ³Ò¨¡Ñ Ãä·Â ¾·Ø ¸ÈÑ¡ÃÒª òõôð กาํ เนิดขึน้ บนแนวคดิ “ปฏริ ปู การเมือง” (Political reform) ประชาชนเขา มามสี วนรวม ในกระบวนการยกรางรัฐธรรมนูญมากมายอยางท่ีไมเคยมีมากอน จนไดรับการกลาวถึงวาเปน “รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” รัฐธรรมนูญฉบับนี้นับเปนรัฐธรรมนูญฉบับท่ี ๑๖ ของไทย ประกาศใช เมอื่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๐ มที ง้ั สน้ิ ๓๓๖ มาตรา ความโดดเดน ในดานสิทธิมนษุ ยชนของรัฐธรรมนญู ฉบับนี้ คอื ๑. คําปรารภมีขอความชัดเจนระบุวา “รัฐธรรมนูญฉบับน้ีมีสาระสําคัญเพื่อสงเสริม คุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ใหประชาชนมีสวนรวมในการปกครองและตรวจสอบ อํานาจรฐั มากข้นึ ” ๒. ท่ีสําคัญมีการใชคําวา “ศักด์ิศรีความเปนมนุษย” (มาตรา ๔ หมวดท่ัวไป) อันเปน หลักการสําคัญของสิทธิมนุษยชนเปนครั้งแรกในรัฐธรรมนูญของประเทศไทย๖ จึงถือเปนเจตนารมณ ๖ คําวาศักดิ์ศรีความเปนมนุษยถูกระบุคร้ังแรกในรัฐธรรมนูญคร้ังแรกของโลก คือ รัฐธรรมนูญเยอรมัน ซ่ึงมีประวัติศาสตร อันเจ็บปวดจากการเขนฆาชีวิตผูคนในชวงสงครามโลกครั้งท่ีสอง เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองส้ินสุด เยอรมันรางรัฐธรรมนูญ ฉบบั ๑๙๔๙ (หา ปใ หห ลงั จากสงครามสนิ้ สดุ ) ไดบ ทบญั ญตั ใิ นมาตรา ๑ วา ศกั ดศ์ิ รคี วามเปน มนษุ ยเ ปน สงิ่ ทไี่ มอ าจลว งละเมดิ ได เปนภาระหนาท่ีของรัฐที่จะตองใหความเคารพและใหความคุมครองตอศักดิ์ศรีความเปนมนุษย, บรรเจิด สิงคะเนติ, หลักพื้นฐานเกี่ยวกับสิทธเิ สรีภาพ และศักด์ศิ รีความเปน มนษุ ย, (กรงุ เทพฯ : วญิ ูชน, ๒๕๕๘), หนา ๘๖-๘๗.

๗๐ ของรฐั และเปน ขอ ผกู พนั ของรฐั ทจี่ ะตอ งใหค วามคมุ ครองตอ ศกั ดศิ์ รคี วามเปน มนษุ ย พจิ ารณาเพม่ิ เตมิ ไดจากมาตรา ๒๖ บัญญัติวา “การใชอํานาจโดยองคกรของรัฐทุกองคกร ตองคํานึงถึงศักด์ิศรี ความเปน มนษุ ย สทิ ธิ และเสรีภาพ...” ๓. ในสวนของเนื้อหามีการประกันสิทธิเสรีภาพใหมๆ ไวเปนจํานวนมาก รัฐธรรมนูญ สง เสรมิ คมุ ครองเสรภี าพในดา นตา งๆ ของประชาชน โดยเฉพาะอยา งยงิ่ สทิ ธมิ นษุ ยชนขน้ั พน้ื ฐานกาํ หนด ใหช ายและหญงิ มีสทิ ธิเทา เทยี มกนั (มาตรา ๓๐), สิทธใิ นกระบวนการยตุ ธิ รรมมเี นื้อหาใหมๆ ที่บรรจุ เขา มา เชน ในคดอี าญาหา มจบั เม่อื ไมม หี มายศาล และเจาหนาทตี่ อ งนาํ ตัวผูถ กู จับสง ศาลภายใน ๔๘ ชว่ั โมง (มาตรา ๒๓๗), ในคดอี าญาผตู อ งหาหรอื จาํ เลยยอ มมสี ทิ ธไิ ดร บั การสอบสวน หรอื พจิ ารณาคดี ดวยความรวดเรว็ ตอเนอ่ื ง และเปน ธรรม (มาตรา ๒๔๑) ๔. มีองคกรคุมครองสิทธิที่ถูกจัดต้ังขึ้นมาใหมจากรัฐธรรมนูญฉบับนี้ อาทิ ศาลปกครอง พิจารณาคดีพิพาทเนื่องจากการปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย การออกกฎ คําส่ัง โดยไมชอบดวยกฎหมาย, ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยขอขัดแยงระหวางรัฐธรรมนูญกับกฎหมายอื่น, ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา (ชื่อในขณะนั้น) พิจารณาและสอบสวนขอเท็จจริงเกี่ยวกับการปฏิบัติ หนาที่ของเจาหนาท่ีรัฐทุกระดับวาไมปฏิบัติตามกฎหมายหรือกอใหเกิดความเสียหายแกประชาชน โดยไมเปนธรรม, คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือการ ละเลยการกระทาํ ท่เี ปนการละเมดิ สิทธมิ นุษยธรรม ÃѰ¸ÃÃÁ¹ÙÞá˧‹ ÃÒªÍÒ³Ò¨¡Ñ Ãä·Â ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõð รัฐธรรมนูญฉบับน้ีถือเปนรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทยที่ผานกระบวนการออกเสียง ประชามติ เมอ่ื วันท่ี ๑๙ สงิ หาคม ๒๕๕๐ มผี ลใชบังคบั เมอ่ื ๒๔ สงิ หาคม ๒๕๕๐ รวมจํานวน ๓๐๙ มาตรา เนอื้ หาโดยรวมสว นใหญย งั คงอา งองิ รฐั ธรรมนญู ฉบบั ป ๒๕๔๐ ทวา มบี างสว นทไ่ี ดร บั การแกไ ข ขนานใหญ ÊÒÃÐสํา¤ÞÑ ·Õ蹋Òʹã¨à¡èÂÕ Ç¡ÑºàÃ×Íè §ÊÔ·¸ÁÔ ¹ØÉª¹ã¹ÃѰ¸ÃÃÁ¹ÞÙ ©ºÑº¹Õé 䴌ᡋ ๑. “หมวดสทิ ธแิ ละเสรภี าพของชนชาวไทย” (หมวด ๓) นบั เปน หนง่ึ ในความเปลย่ี นแปลง ใหญข องเนอ้ื หาในรฐั ธรรมนญู พ.ศ.๒๕๕๐ โดยถกู แบง หมวดหมแู ยกประเดน็ สทิ ธแิ ละเสรภี าพออกเปน ๑๓ สวน เพ่อื ใหชัดเจนและงา ยตอการทําความเขา ใจของประชาชนทว่ั ไป๗ ๒. รฐั ธรรมนญู นย้ี งั มกี ารบญั ญตั ศิ พั ทใ หมใ นเนอ้ื หาเปน ครง้ั แรก ซงึ่ เกยี่ วโยงและสง เสรมิ หลกั ปฏบิ ตั เิ พอื่ คมุ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชนอยอู ยา งมาก เชน คาํ วา “หลกั นติ ธิ รรม” (มาตรา ๓, มาตรา ๗๘) และคาํ วา “หลกั ธรรมาภบิ าล” (มาตรา ๗๔, มาตรา ๘๔) ๗ เชน หมวด ๓ สิทธเิ สรีภาพของชนชาวไทย แบงออกเปน ๑๓ สว น เร่มิ จาก บทท่ัวไป (มาตรา ๒๖-๒๙), ความเสมอภาค (มาตรา ๓๐-๓๑), สิทธิและเสรีภาพสวนบุคคล (มาตรา ๓๒-๓๘), สิทธิในกระบวนการยุติธรรม (มาตรา ๓๙-๔๐), สทิ ธใิ นทรพั ยส นิ (มาตรา ๔๑-๔๒), สทิ ธแิ ละเสรภี าพในการประกอบอาชพี (มาตรา ๔๓-๔๔), เสรภี าพในการแสดงความคดิ เหน็ ของบุคคลและสื่อมวลชน (มาตรา ๔๕-๔๘), สิทธิและเสรีภาพในการศึกษา (มาตรา ๔๙-๕๐), สิทธิและเสรีภาพในการ ไดร บั การบรกิ ารสาธารณสขุ และสวสั ดกิ ารจากรฐั (มาตรา ๕๑-๕๕), สทิ ธใิ นขอ มลู ขา วสารและการรอ งเรยี น (มาตรา ๕๖-๖๒), เสรภี าพในการชุมนมุ และสมาคม (มาตรา ๖๓-๖๕), สิทธชิ มุ ชน (มาตรา ๖๖-๖๗), สทิ ธพิ ิทกั ษรัฐธรรมนญู (มาตรา ๖๘-๖๙) เปน ตน

๗๑ ๓. มกี ารระบปุ ระเดน็ สทิ ธเิ สรภี าพใหมๆ เขา มาในรฐั ธรรมนญู ดว ย เชน มาตรา ๕๕ ระบวุ า บุคคลซึ่งไรท่ีอาศัยและไมมีรายไดเพียงพอแกการยังชีพ ยอมมีสิทธิไดรับความชวยเหลือที่เหมาะสม จากรัฐ, ใหสิทธิอํานาจแกพลเมืองมากข้ึน เชน มีการเปดโอกาสใหประชาชน ๕๐,๐๐๐ คน เขาช่ือ เพ่ือเสนอขอแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญได ตามมาตรา ๒๙๑ และลดจํานวนเพ่ือมีสิทธิเสนอชื่อแกไข กฎหมายลงเหลอื จาก ๕๐,๐๐๐ ชอื่ เหลอื เพียง ๑๐,๐๐๐ คน ดงั ระบใุ นมาตรา ๑๖๓ ÃѰ¸ÃÃÁ¹ÞÙ á˧‹ ÃÒªÍÒ³Ò¨¡Ñ Ãä·Â©ººÑ ªèÑǤÃÒÇ ¾·Ø ¸ÈÑ¡ÃÒª òõõ÷ มีเพยี ง ๔๘ มาตรา บทบญั ญตั ิวา ดวยสิทธเิ สรภี าพ และประเด็นเกยี่ วกบั สิทธมิ นุษยชน ถกู กําหนดไวใ นมาตรา ๔ มาตราเดียว โดยมีขอ ความวา “ภายใตบังคับบทบญั ญตั แิ หงรัฐธรรมนูญน้ี ศกั ดิ์ศรีความเปนมนุษย สทิ ธิ เสรภี าพและความเสมอภาค บรรดาที่ชนชาวไทยเคยไดรับการคุม ครอง ตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และตามพันธกรณีระหวางประเทศที่ประเทศไทยมีอยูแลว ยอมไดรับการคุมครองตามรัฐธรรมนูญนี้” เน้ือหาที่เกี่ยวของกับสิทธิเสรีภาพจึงถูกลดทอนลงเปนอยางมาก และถูกผนวกรวมใหเหลือเพียง มาตราเดยี วเทา น้ัน ซึ่งยอมกอ ใหเกิดความคลมุ เครอื ในการใชการตีความได แตถ งึ กระนั้น รฐั กต็ องให ความใสใจตอสิทธิมนุษยชนข้ันพื้นฐาน และยืนยันดวยลายลักษณอักษรวาพันธกรณีระหวางประเทศ ดานสิทธิมนษุ ยชนที่ไทยเคยเขา รวมยังจะตองไดรับความคุม ครองตอ ไป Ã°Ñ ¸ÃÃÁ¹ÙÞá˧‹ ÃÒªÍҳҨѡÃä·Â ¾·Ø ¸ÈÑ¡ÃÒª òõöð รัฐธรรมนูญฉบบั ท่ี ๒๐ ของประเทศไทยทผี่ านการลงประชามตเิ หน็ ชอบรางรัฐธรรมนูญ ท่ีรางขึ้นโดยคณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญ (กรธ.) และมีผลประกาศใชเม่ือ ๖ เมษายน ๒๕๖๐ ดวยเนื้อหาทง้ั สิ้นจาํ นวน ๒๗๙ มาตรา ÊÒÃÐÊÒí ¤ÑÞ·Õ蹋Òʹã¨à¡ÕèÂÇ¡ºÑ àÃ×Íè §ÊÔ·¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹ã¹ÃѰ¸ÃÃÁ¹ÞÙ ©ºÑº¹Õé 䴌ᡋ ๑. ระบหุ ลกั การสําคญั ของสทิ ธิมนุษยชน ไวในมาตรา ๔ ซึ่งระบุวา “ศักดิศ์ รีความเปน มนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลยอมไดรับความคุมครอง ปวงชนชาวไทย ยอมไดรับความคมุ ครองตามรฐั ธรรมนูญเสมอกนั ” ๒. ประเด็นสิทธิเสรีภาพถูกกําหนดไวใน หมวด ๓ “สิทธิและเสรีภาพของปวงชน ชาวไทย” มาตรา ๒๕-๔๙ ซึ่งระบุถึงสิทธิเสรีภาพในหลายๆ ดาน อาทิ ความเสมอภาคทางเพศ, สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและรางกาย, สิทธิในกระบวนการยุติธรรม, เสรีภาพในการนับถือศาสนา, สทิ ธิในความเปนสวนตัว, เสรภี าพในการแสดงความคิดเห็น, เสรภี าพของสือ่ , เสรีภาพในการเดนิ ทาง, เสรีภาพในการประกอบอาชีพ, สทิ ธชิ ุมชน, เสรภี าพในการชุมชน, สทิ ธผิ บู รโิ ภค เปนตน ๓. ในรัฐธรรมนูญฉบับน้ีแมจะมีการใหสิทธิเสรีภาพแกประชาชนแตก็กํากับการใชสิทธิ เสรีภาพนน้ั ดว ยคาํ วา “ตอ งไมเ ปน ปฏปิ กษต อหนาทีข่ องปวงชนชาวไทย”

๗๒ μ͹·Õè ô.ó á¼¹Ê·Ô ¸ÔÁ¹ØÉª¹áË‹§ªÒμÔ ËÇÑ àÃ×èͧ ๔.๓ แผนสิทธิมนุษยชนแหง ชาติ á¹Ç¤Ô´ การจัดทําแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติเกิดจากการเขารวมประชุมเวทีระดับโลกวาดวย สทิ ธมิ นษุ ยชนทจ่ี ดั ขน้ึ ในกรงุ เวยี นนา เมอื่ ป ๒๕๓๖ การประชมุ นสี้ ง ผลใหบ รรยากาศดา นสทิ ธมิ นษุ ยชน เบงบาน แผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติจึงเปนขอกําหนดใหหนวยงานรัฐเรงสรางมาตรการสงเสริม สทิ ธมิ นษุ ยชน ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤ เม่อื นสต. ไดเรยี นรูหนวยที่ ๔.๓ แลว นสต. สามารถ อธิบายความสําคัญและสาระสําคัญของแผนสิทธิมนุษยชนตอการสงเสริมแนวคิด สิทธิมนษุ ยชน á¼¹Ê·Ô ¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹áË‹§ªÒμÔ การจัดทําแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติเกิดจากการเขารวมประชุมเวทีระดับโลกวาดวย สทิ ธมิ นษุ ยชนทจี่ ดั ขนึ้ ในกรงุ เวยี นนา เมอื่ ป ๒๕๓๖ การประชมุ นส้ี ง ผลใหบ รรยากาศดา นสทิ ธมิ นษุ ยชน เบง บาน พรอ มความหวงั วา ความขดั แยง จนนาํ ไปสคู วามสญู เสยี จากสงครามโลก ตามดว ยสงครามเยน็ ท่ีเพิ่งจะส้ินสุดลงจะไมเกิดข้ึนอีก รูปธรรมจากผลการประชุมคือ การประกาศ “ปฏิญญาเวียนนา” (Vienna Declaration) สาระสาํ คญั ของปฏญิ ญาดงั กลา วเนน ถงึ ความจาํ เปน ในการสรา งอนาคตรว มกนั บนพนื้ ฐานของความเปน มนษุ ยชาตทิ ม่ี คี วามหลากหลาย นอกจากนยี้ งั มขี อ กาํ หนดใหร ฐั ตา งๆ พจิ ารณา จดั ทํารางแผนปฏิบัตกิ ารแหงชาตดิ านสทิ ธิมนุษยชนของประเทศตนเองขึ้นดวย á¼¹Ê·Ô ¸ÁÔ ¹ØÉª¹áË‹§ªÒμÔ ©ººÑ ·èÕ ñ (¾.È. òõôô-òõôø) ประเทศไทยไดดําเนินการจัดทําแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติข้ึนเปนคร้ังแรกในป ๒๕๔๓ ใชเปนแผนแมบทในการดําเนินนโยบายดานการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนของภาครัฐ รวมถึงแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนใหเปนไปตามมาตรฐานสากล ขณะเดียวกันก็คํานึงถึง ความเหมาะสมของสังคมไทยดวย โดยในการจัดทําแผนฯ ไดนําปจจัยพ้ืนฐานทางสังคม วัฒนธรรม ตลอดจนสภาพปญหาในประเทศมาพิจารณาประกอบ ท้ังนี้ คณะรัฐมนตรีไดใหความเห็นชอบ แผนฉบบั ดังกลา ว เม่ือวนั ที่ ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๔๓ เพ่อื ใหม ีผลใชบ งั คบั ระหวา งป ๒๕๔๔-๒๕๔๘๘ ๘ แมตามแผนจะครอบคลมุ ระยะเวลา ๔ ป แตกถ็ ูกใชต อเน่อื งในชวงระหวางทก่ี ระบวนการจดั ทําแผนฉบับที่ ๒ ยังไมแลวเสร็จ

๗๓ แผนสิทธิมนุษยชนแหง ชาตฉิ บบั แรกน้ีประกอบดว ยแผนคมุ ครองสทิ ธิมนษุ ยชน ๑๑ ดา น คือ การศึกษา, วัฒนธรรม, อาชีพ, สาธารณสุข, ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม, ที่อยูอาศัย, สิทธิเสรีภาพในการรวมกลุม, การไดรับขอมูลขาวสารของราชการ, สิทธิเสรีภาพดานสื่อมวลชน, การเมืองการปกครอง และศาสนา ครอบคลุมกลุมเปาหมาย ๒๐ กลุม โดยพิจารณากลุม ผูดอยโอกาสท่ีมีโอกาสสูงท่ีจะถูกลวงละเมิดสิทธิไดงาย ไมวาจะเปนเด็ก, สตรี, ผูสูงอายุ, คนพิการ, ผูปวย, ผูติดเชื้อเอชไอวี/ผูปวยเอดส, ชนกลุมนอย, คนตางดาว, ผูหนีภัย, คนไรสัญชาติ, คนจน, ผใู ชแรงงาน, เกษตรกร, ผูบริโภค, ผปู ฏิบตั ิงานดา นสิทธิมนษุ ยชน, ผตู อ งคุมขัง, ผพู นโทษ, ผเู สยี หาย ในคดอี าญา, ชุมชน และผรู บั บริการสงเคราะหจากรฐั โดยหนว ยงานภาครฐั ในทุกระดบั ทง้ั สวนกลาง สวนภมู ิภาค และทองถน่ิ รวมถงึ รัฐวสิ าหกจิ องคกรอสิ ระตา งๆ สถาบันอุดมศึกษา มีหนา ที่นําแผนน้ี ไปปฏบิ ัติ á¼¹ÊÔ·¸ÔÁ¹ÉØ Âª¹á˧‹ ªÒμÔ ©ºÑº·èÕ ò (¾.È.òõõò-òõõö) การจัดทําแผนสิทธิมนุษยชนของประเทศไทยเสมือนการคอยๆ เรียนรูและปรับตัว เพ่ือใหแผนฉบับตอมามีความเหมาะสม และมีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน มีความเปนไปไดมากข้ึน ซึ่งในแผนฉบับแรกน้ันไมไดกําหนดกลยุทธเชิงปฏิบัติการแตอยางใด การจัดทําแผนฉบับน้ีจึงเปน การระดับความคิดเห็น เนนการมีสวนรวมจากภาคสวนตางๆ โดยนําเจตนารมณของปฏิญญาสากล วาดวยสิทธิมนุษยชน และสนธิสัญญาระหวางประเทศทั้ง ๗ ฉบับ ท่ีไทยเขารวมเปนภาคีเปนกรอบ จัดทําแผนฯ เพื่อเปาหมายสูงสุดคือ “สรางสังคมแหงการเคารพศักด์ิศรีความเปนมนุษย” สังคม ตองรวมกันปกปองสงเสริมไมใหมีการละเมิดสิทธิมนุษยชน รวมถึงมีมาตรการเยียวยาแกผูถูกละเมิด สทิ ธพิ น้ื ฐานของความเปน มนุษย ซึง่ คณะรัฐมนตรีมมี ติใหความเห็นชอบเมอื่ วันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๒ แผนสิทธมิ นุษยชนแหง ชาติฉบับท่ี ๒ กําหนดใหม ี ๔ ยทุ ธศาสตร คอื ปอ งกัน, คุมครอง, พัฒนากฎหมาย และพัฒนาเครือขา ย ˹èÖ§ ÂØ·¸ÈÒÊμÏ´ŒÒ¹¡Òû‡Í§¡Ñ¹ ์¹ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒ จัดอบรมดานสิทธิมนุษยชนยังกลุม ตางๆ ในสังคมจากยุทธศาสตรน เ้ี องทีท่ าํ ใหห วั ขอ สิทธิมนษุ ยชนถูกกําหนดอยูในหลกั สูตรของสถาบนั การศกึ ษาและหลกั สตู รอบรมตา งๆ โดยเฉพาะอยา งยง่ิ สาํ หรบั เจา หนา ทข่ี องรฐั ยทุ ธศาสตรด า นการปอ งกนั ยงั เนน การสรา งชอ งทางส่ือสารเพอื่ รวมปอ งกันการละเมิดสทิ ธมิ นษุ ยชนอีกดว ย Êͧ Â·Ø ¸ÈÒÊμô ÒŒ ¹¡ÒäÁŒØ ¤Ãͧ เนน ใหห นว ยงานรฐั บรกิ ารประชาชนโดยอยบู นพน้ื ฐาน ของหลักการสิทธิมนุษยชน หนวยงานรัฐตองมีชองทางรองเรียนเม่ือเกิดการละเมิดข้ึน และท่ีสําคัญ รวมกันทํางานเพื่อเยียวยา ชวยเหลือ ฟนฟูผูซ่ึงไดรับผลกระทบจากการละเมิดสิทธิความเปนมนุษย ความเปลี่ยนแปลงหนึ่งเห็นชัดเจนจากการกําหนดยุทธศาสตรขอน้ี คือ หนวยงานภาครัฐใหบริการ บนพ้ืนฐานของการเคารพสิทธิมนุษยชนมากข้ึนเพื่อสรางความเสมอภาค และเทาเทียม ยกตัวอยาง เชน การกําหนดใหหนวยงานรัฐทําทางข้ึนสําหรับผูพิการ, การลดหยอนคาโดยสารของบริษัทขนสง แกผสู งู อายุ-ผพู กิ าร, การมชี องทางรองเรียนของหนวยงานตางๆ

๗๔ ÊÒÁ ÂØ·¸ÈÒÊμÏ´ŒÒ¹¡ÒþѲ¹Ò¡®ËÁÒ ปรับปรุงแกไขกฎหมายใหสอดคลองกับสิทธิ และเสรีภาพตามท่ีกําหนดในรัฐธรรมนูญไทย และเปนไปตามเจตนารมณแหงพันธะสัญญาระหวาง ประเทศดานสิทธิมนุษยชนท่ีไทยรวมลงนาม โดยอาศัยการรวมแสดงความคิดเห็นของประชาชน กลุมตา งๆ ยุทธศาสตรนย้ี งั มุง ใหเกดิ การบงั คบั ใชกฎหมายอยางเปน ธรรมอีกดว ย ÊèÕ Â·Ø ¸ÈÒÊμô ÒŒ ¹¡Òþ²Ñ ¹Òà¤ÃÍ× ¢Ò‹  สง เสรมิ การมสี ว นรว มและพฒั นาเครอื ขา ยภาครฐั เอกชนและประชาชน ท้ังในระดับประเทศและระดบั ชาติในการปกปองคุมครองสงเสริมสิทธิมนษุ ยชน ใหครอบคลุมทุกพื้นท่ี พัฒนาบุคลากรใหมีความรูทักษะในการปกปองคุมครองสิทธิดานตางๆ และพฒั นาองคค วามรดู า นสทิ ธมิ นษุ ยชนในบรบิ ทของสงั คมไทย โดยเฉพาะเจา หนา ทร่ี ฐั ตอ งเขา ใจพนื้ ฐาน ทางดา นวิถชี ีวติ และวฒั นธรรมที่แตกตา ง เพอื่ มิใหลว งละเมิดสทิ ธิเสรภี าพของประชาชน á¼¹ÊÔ·¸ÔÁ¹ØÉª¹áË‹§ªÒμÔ ©ººÑ ·èÕ ó (¾.È.òõõ÷-òõöñ) ประกาศใชเมื่อวันท่ี ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เปาหมายสําคัญคือ ทําใหสังคม ไทย “เปนสังคมท่ีสงเสริม สิทธิ เสรีภาพ และความเทาเทียม โดยคํานึงถึงศักด์ิศรีความเปนมนุษย เพ่ือนําไปสูสังคมสันติสุข” โดยครอบคลุมประเด็นสิทธิมนุษยชน ๑๑ ดาน ไดแก สาธารณสุข, การศึกษา, เศรษฐกิจ, ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, ที่อยูอาศัย, วัฒนธรรมและศาสนา, ขอ มลู ขา วสาร ขา วสารเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร, ขนสง , การเมอื งการปกครอง, กระบวนการ ยุติธรรม, ความมั่นคงทางสังคม และมีกลุมเปาหมาย ๑๕ กลุม ไดแก ผูตองหา/ผูตองขัง, ผพู นโทษ, ผูต อ งหาคดยี าเสพติด, เหยื่อ/ผเู สยี หาย, ผตู ดิ เช้ือ HIV/เอดส, ผูใชแรงงาน, คนจน/ผไู ดรับ ผลกระทบจากการพฒั นา, เกษตรกร, ผูสงู อาย,ุ เดก็ และเยาวชน, สตร,ี คนพิการ, ผไู รร ัฐ ชาติพนั ธุ และกลุมผูแสวงหาที่พักพิงหรือผูหนีภัยการสูรบ, ผูไดรับผลกระทบจากสถานการณความรุนแรง และกลมุ หลากหลายทางเพศ/อตั ลักษณทางเพศ ตัวอยางที่เปนรูปธรรมหน่ึงอันเปนผลของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐ คือ การตั้ง “กรมคมุ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพ” ขึ้นในสงั กดั กระทรวงยตุ ิธรรม เมือ่ ป ๒๕๔๕ มีภารกิจหลกั เก่ยี วกบั การดูแลสิทธิและเสรีภาพที่ประชาชนพึงไดรับตามกฎหมาย โดยการจัดวางระบบและสงเสริม ใหประชาชนมีความรูเก่ียวกับสิทธิและเสรีภาพ ตลอดจนการดําเนินการใหพยาน ผูเสียหาย และจาํ เลยในคดีอาญาไดรบั การคุม ครองชวยเหลอื เยียวยาในเบอื้ งตน อกี ทง้ั ยงั นาํ ไปสกู ารตรา “พระราชบญั ญตั กิ องทนุ ยตุ ธิ รรม พ.ศ.๒๕๕๘” ตง้ั กองทนุ ยตุ ธิ รรม ข้ึนมาชวยเหลือผูขาดโอกาสทางทุนทรัพยในการตอสูคดี เชน คาใชจายทนาย คาธรรมเนียมศาล และการใชเ งินจากกองทนุ เปนหลักทรัพยในการประกนั ตวั ๙ ๙ รายงานผลการปฏิบัติงานของกองทุนยุติธรรม ประจําป ๒๕๕๘ พบวามีผูย่ืนคําขอรับความชวยเหลือ ๔,๕๔๒ ราย จายเงินชวยเหลือไปแลว ๓,๖๒๕ ราย เปนเงิน ๑๗๖,๕๑๒,๙๖๔ บาท กวารอยละ ๘๐ ใชเพ่ือเปนเงินประกันตัว โดยคดลี ักทรัพย, บกุ รุก และพยายามฆา มผี ยู น่ื ขอเงินชว ยเหลอื มากเปนสามอนั ดับแรก กรุงเทพฯ และจงั หวดั ในภาคกลาง ยืน่ คาํ ขอมาเปน ลาํ ดับตน ๆ

๗๕ ขณะนป้ี ระเทศไทยอยรู ะหวา งจดั ทาํ แผนสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง ชาติ ฉบบั ที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๖) ซงึ่ รา งแผนสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง ชาติ ฉบบั ท่ี ๔ นน้ั จดุ เนน สาํ คญั ของแผนฯ ฉบบั นคี้ อื การผสมผสาน บริบทไทย อาทิ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ ยุทธศาสตร (๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) Thailand 4.0 วาระแหง ชาติ ดานสิทธิมนุษยชนกับบริบทระหวางประเทศ อาทิ ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน สนธิสัญญา ระหวางประเทศดา นสทิ ธมิ นุษยชน สาระสาํ คญั ของแผนสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง ชาติ ฉบบั ท่ี ๔ เปา หมายคอื สงั คมไทยเปน สงั คมท่ี สง เสรมิ สทิ ธิ เสรภี าพ และความเทา เทยี ม โดยคาํ นงึ ถงึ ศกั ดศิ์ รคี วามเปน มนษุ ย ขบั เคลอื่ นสทิ ธมิ นษุ ยชน อยางบูรณาการท่ีภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคประชาสังคมเพ่ือนําไปสูสังคมที่พัฒนาอยางยั่งยืน เนนกลุมเปา หมาย ๑๒ กลมุ ไดแก เด็กและเยาวชน ผูส ูงอายุ สตรี ผพู ิการ เกษตรกร และกลมุ แรงงาน ผูปวย ชาติพันธุ ผูไรรัฐและผูแสวงหาท่ีพักพิง ความหลากหลายทางเพศ นักปกปองสิทธิมนุษยชน ผตู องขงั ผูพน โทษ ผูเสียหาย ผูต กเปนเหยอื่ และพยาน

๗๖ μ͹·èÕ ô.ô ͧ¤¡Ã¤ŒØÁ¤ÃÍ§Ê·Ô ¸Ô ËÇÑ àÃèÍ× § ๔.๔ องคกรคุม ครองสิทธิ á¹Ç¤´Ô ๑. การเกิดขึ้นขององคกรใหมๆ ในภาครัฐท่ีภารกิจรับผิดชอบเรื่องน้ีโดยตรง อยางคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ตลอดจนองคกรอ่ืนที่มีบทบาทเก่ียวเน่ือง ไดแก ผูตรวจการแผนดิน, ศาลปกครองและศาลรัฐธรรมนูญ ซ่ึงทั้งสี่องคกรคือผลจากรัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ.๒๕๔๐ และทาํ หนา ทีต่ อเนอ่ื งมาจนปจจบุ นั ๒. องคกรตางๆ เหลาน้ีลวนมีเปาหมายสําคัญน่ันคือ การปกปองและคุมครองสิทธิ เสรภี าพพืน้ ฐานของพลเมือง ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤ เมื่อ นสต. ไดเ รยี นรูหนวยท่ี ๔.๔ แลว นสต. สามารถ ๑. อธิบายความสําคัญขององคกรคมุ ครองสทิ ธิในประเทศไทยไดอ ยา งถกู ตอง ๒. อธบิ ายหนาท่ีขององคกรคมุ ครองสิทธิไดอ ยางถูกตอง ͧ¤¡ ä،Á¤ÃͧÊÔ·¸Ô ความเปล่ียนแปลงในเรื่องสิทธิมนุษยชนท่ีไมกลาวถึงไมได คือ การเกิดขึ้นขององคกร ใหมๆ ในภาครัฐท่ีภารกิจรับผิดชอบเร่ืองน้ีโดยตรง อยางคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ตลอดจนองคก รอนื่ ทมี่ บี ทบาทเกย่ี วเนอื่ ง ไดแ ก ผตู รวจการแผน ดนิ , ศาลปกครอง และศาลรฐั ธรรมนญู ซงึ่ ท้งั สอ่ี งคก รคอื ผลจากรัฐธรรมนญู ฉบบั ป พ.ศ.๒๕๔๐ และทําหนา ทต่ี อ เนือ่ งมาจนปจ จบุ นั ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÊÔ·¸ÔÁ¹ØÉª¹áË‹§ªÒμÔ (กสม.) (อังกฤษ : National Human Rights Commission - NHRC) เปน องคก รอสิ ระตามรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย ประกอบดว ยกรรมการ จํานวนเจด็ คน ซึ่งพระมหากษัตริยท รงแตง ตั้งตามคาํ แนะนําของวฒุ ิสภา จากผเู ปนกลางทางการเมอื ง และมคี วามรแู ละประสบการณด า นการคมุ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพของประชาชนเปน ทปี่ ระจกั ษเ ปน เวลา ไมนอยกวาสิบปในดานดังตอไปนี้ อยา งนอยดา นละหนึ่งคนแตจะเกินดา นละสองคนมไิ ด ๑. มปี ระสบการณในการทํางานดานสิทธมิ นุษยชนตอเน่อื งกัน ๒. มีความรูความเช่ียวชาญในการสอนหรือทํางานวิจัยเก่ียวกับสิทธิมนุษยชนในระดับ อุดมศึกษา ๓. มีความรูความเช่ียวชาญดานกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนท้ังภายในประเทศ และตา งประเทศท่จี ะยงั ประโยชนตอ การปฏบิ ตั หิ นา ที่ของคณะกรรมการ

๗๗ ๔. มีความรูและประสบการณดานการบริหารงานภาครัฐท่ีเกี่ยวกับการสงเสริมและ คุมครองสิทธิมนุษยชน ๕. มีความรูและประสบการณดานปรัชญา วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของไทย เปนท่ีประจกั ษทจ่ี ะยังประโยชนใ นการสง เสริมและคมุ ครองสิทธิมนุษยชน กรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง ชาติ มวี าระการดาํ รงตาํ แหนง เจด็ ปน บั แตว นั ทพ่ี ระมหากษตั รยิ  ทรงแตง ตง้ั และใหด าํ รงตาํ แหนง ไดเ พยี งวาระเดยี ว นอกจากน้ี ยงั มสี าํ นกั งานคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชน แหง ชาติ เปนสวนราชการและมฐี านะเปน นิติบคุ คล อยภู ายใตก ารกาํ กับดูแลของคณะกรรมการ â¤Ã§ÊÃÒŒ §สํา¹¡Ñ §Ò¹¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÊ·Ô ¸ÁÔ ¹ØÉª¹áË‹§ªÒμÔ แบง ออกเปน ๙ สาํ นกั ไดแ ก สาํ นกั บรหิ ารกลาง สาํ นกั กจิ การคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชน แหงชาติ สํานักคุมครองสิทธิมนุษยชน สํานักสงเสริมการเคารพสิทธิมนุษยชน สํานักเฝาระวัง และประเมินสถานการณสิทธิมนุษยชน สํานักมาตรฐานและติดตามการคุมครองสิทธิมนุษยชน สํานักสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ สํานักกฎหมาย และสํานักดิจิทัลสิทธิมนุษยชน นอกจากนี้ ยังมีหนวยตรวจสอบภายใน ๑ หนว ย อํา¹Ò¨Ë¹ÒŒ ·Õè (๑) ตรวจสอบและรายงานขอ เทจ็ จรงิ ทถี่ กู ตอ งเกย่ี วกบั การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนทกุ กรณี โดยไมลาชาและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางท่ีเหมาะสมในการปองกันหรือแกไขการละเมิด สิทธิมนุษยชน รวมทั้งการเยียวยาผูไดรับความเสียหายจากการละเมิดสิทธิมนุษยชนตอหนวยงาน ของรัฐหรือเอกชนท่ีเกี่ยวของ (๒) จัดทํารายงานผลการประเมินสถานการณดานสิทธิมนุษยชนของประเทศเสนอตอ รัฐสภา และคณะรฐั มนตรี และเผยแพรตอประชาชน (๓) เสนอแนะมาตรการหรอื แนวทางในการสง เสรมิ และคมุ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชนตอ รฐั สภา คณะรัฐมนตรี และหนว ยงานที่เกย่ี วขอ ง รวมตลอดทัง้ การแกไ ขปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือ คําส่ังใดๆ เพอ่ื ใหสอดคลองกับหลักสิทธมิ นุษยชน (๔) ชแี้ จงและรายงานขอ เทจ็ จรงิ ทถ่ี กู ตอ งโดยไมช กั ชา ในกรณที ม่ี กี ารรายงานสถานการณ เก่ยี วกับสิทธมิ นุษยชนในประเทศไทยโดยไมถกู ตอ งหรือไมเปนธรรม (๕) สรา งเสริมทกุ ภาคสว นของสังคมใหตระหนกั ถึงความสาํ คญั ของสิทธิมนุษยชน (๖) หนา ทแ่ี ละอํานาจอื่นตามทก่ี ฎหมายบัญญตั ิ เมอ่ื รบั ทราบรายงานตาม (๑) และ (๒) หรอื ขอ เสนอแนะตาม (๓) ใหค ณะรฐั มนตรดี าํ เนนิ การ ปรบั ปรงุ แกไ ขตามความเหมาะสมโดยเรว็ กรณใี ดไมอ าจดาํ เนนิ การไดห รอื ตอ งใชเ วลาในการดาํ เนนิ การ ใหแจงเหตุผลใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติทราบโดยไมชักชา ในการปฏิบัติหนาที่ คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง ชาตติ อ งคํานึงถงึ ความผาสกุ ของประชาชนชาวไทยและผลประโยชน สว นรวมของชาตเิ ปนสาํ คญั ดวย

๗๘ ¼ŒÙμÃǨ¡ÒÃἋ¹´¹Ô ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา (Ombudsman) ไดรับการจัดต้ังครั้งแรกเมื่อป พ.ศ.๒๕๔๓ ในฐานะ “องคก รอสิ ระ” ตามรฐั ธรรมนญู พ.ศ.๒๕๔๐๑๔ และเปลย่ี นชอื่ เปน “ผตู รวจแผน ดนิ ” เม่อื มกี ารประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทยพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ ¼μŒÙ ÃǨ¡ÒÃá¼¹‹ ´¹Ô (เดมิ เรยี กวา ¼μŒÙ ÃǨ¡ÒÃá¼¹‹ ´¹Ô ¢Í§Ã°Ñ ÊÀÒ) คอื บคุ คลทพี่ ระมหากษตั รยิ  ทรงแตงตั้งตามคําแนะนําของวุฒิสภาจากผูซึ่งเปนที่ยอมรับนับถือของประชาชน มีความรอบรู และมีประสบการณในการบริหารราชการแผนดิน วิสาหกิจ หรือกิจกรรมอันเปนประโยชนรวมกัน ของสาธารณะ และมีความซื่อสัตยส ุจรติ เปน ที่ประจกั ษ ผตู รวจการแผน ดนิ มจี าํ นวนสามคนซงึ่ พระมหากษตั รยิ ท รงแตง ตง้ั ตามคาํ แนะนาํ ของวฒุ สิ ภา จากผูซ่ึงไดรับการสรรหาโดยคณะกรรมการสรรหาผูซ่ึงไดรับการสรรหาตองเปนผูมีความซ่ือสัตยสุจริต เปนที่ประจักษ และมีความรู ความเชี่ยวชาญและประสบการณเก่ียวกับการบริหารราชการแผนดิน ไมตํ่ากวาอธิบดีหรือหัวหนาสวนราชการที่เทียบเทาหรือหัวหนาหนวยงานของรัฐท่ีเทียบไดไมต่ํากวา กรมตามท่ีคณะกรรมการสรรหาประกาศกําหนด โดยตองดํารงตําแหนงดังกลาวเปนเวลาไมนอยกวา หาป จํานวนสองคน และเปนผูมีประสบการณในการดําเนินกิจการอันเปนสาธารณะมาแลว ไมน อ ยกวา ยี่สบิ ป จาํ นวนหนึง่ คน ผูตรวจการแผนดินมีวาระการดํารงตําแหนงเจ็ดปนับแตวันท่ีพระมหากษัตริยทรงแตงต้ัง และใหดาํ รงตําแหนงไดเ พียงวาระเดียว »ÃÐÇÑμÔ¤ÇÒÁ໹š ÁҢͧ¼ÙŒμÃǨ¡ÒÃἋ¹´Ô¹ ตําแหนงผูตรวจการแผนดิน มีแนวคิดมาจากประเทศแถบสแกนดิเนเวียท่ีปกครองดวย ระบอบกษตั ริย มตี ําแหนงท่ีเรียกวา “ÍÍÁºØ´ÊáÁ¹” (Ombudsman) เพ่อื ทําหนา ทดี่ แู ลปด เปาเร่ือง ทกุ ขร อ นของประชาชนแทนพระมหากษตั รยิ  และมกี ารพฒั นามาสรู ะบอบประชาธปิ ไตยในระบบรฐั สภา อนั มพี ระมหากษตั รยิ เ ปน ประมขุ ในประเทศไทยเรมิ่ มกี ารจดั ตงั้ ครง้ั แรกในป พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยใชช อื่ วา “¼μŒÙ ÃǨ¡ÒÃἋ¹´Ô¹¢Í§ÃѰÊÀÒ” อาํ ¹Ò¨Ë¹ŒÒ·èÕ หนาที่และอํานาจของผูตรวจการแผนดิน (ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐) มาตรา ๒๓๐ มีดงั ตอ ไปนี้ (๑) เสนอแนะตอ หนว ยงานของรฐั ทเ่ี กยี่ วขอ งเพอ่ื ใหม กี ารปรบั ปรงุ กฎหมาย กฎ ขอ บงั คบั ระเบยี บ หรอื คาํ สง่ั หรอื ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ านใดๆ บรรดาทก่ี อ ใหเ กดิ ความเดอื ดรอ นหรอื ความไมเ ปน ธรรม แกป ระชาชน หรือเปน ภาระแกป ระชาชนโดยไมจาํ เปน หรอื เกินสมควรแกเหตุ (๒) แสวงหาขอเท็จจริงเมื่อเห็นวามีผูไดรับความเดือดรอนหรือความไมเปนธรรม อันเนื่องมาจากการไมปฏิบัติตามกฎหมายหรือปฏิบัตินอกเหนือหนาที่และอํานาจตามกฎหมาย ๑๔ ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาถูกบัญญัติอยูในมาตรา ๑๙๖-๑๙๘ ของรัฐธรรมนูญฉบับป ๒๕๔๐ ผูตรวจการแผนดินซ่ึงมี จาํ นวน ๓ คน จะมวี าระการดาํ รงตาํ แหนง ๖ ป และเปน ไดเพียงวาระเดียว

๗๙ ของหนวยงานของรัฐ หรือเจาหนาท่ีของรัฐ เพ่ือเสนอแนะตอหนวยงานของรัฐท่ีเกี่ยวของใหขจัด หรือระงบั ความเดือดรอ น หรือความไมเปน ธรรมนน้ั (๓) เสนอตอคณะรัฐมนตรีใหทราบถึงการที่หนวยงานของรัฐยังมิไดปฏิบัติใหถูกตอง ครบถวนตามหมวด ๕ หนา ทขี่ องรฐั ในกรณที หี่ นว ยงานของรฐั ทเ่ี กย่ี วขอ งไมด าํ เนนิ การตามขอ เสนอแนะของผตู รวจการแผน ดนิ ตาม (๑) หรือ (๒) โดยไมมีเหตุผลอันสมควร ใหผูตรวจการแผนดินแจงใหคณะรัฐมนตรีทราบ เพือ่ พจิ ารณาส่ังการ ตามที่เหน็ สมควรตอไป ในการดําเนินการตาม (๑) หรือ (๒) หากเปนกรณีท่ีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน ใหผตู รวจการแผนดนิ สงเรอ่ื งใหค ณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแหงชาตดิ าํ เนินการตอ ไป มาตรา ๒๓๑ ในการปฏิบัติหนา ทต่ี ามมาตรา ๒๓๐ ผูตรวจการแผนดินอาจเสนอเรอื่ งตอ ศาลรฐั ธรรมนูญหรอื ศาลปกครองไดเ ม่อื เห็นวามกี รณี ดงั ตอไปน้ี ๑. บทบญั ญตั แิ หง กฎหมายใดมปี ญ หาเกย่ี วกบั ความชอบดว ยรฐั ธรรมนญู ใหเ สนอเรอ่ื ง พรอมดวยความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญ และใหศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยโดยไมชักชา ท้ังนี้ ตามพระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพจิ ารณาของศาลรัฐธรรมนูญ ๒. กฎ คาํ สง่ั หรือการกระทําอืน่ ใดของหนวยงานของรัฐหรอื เจาหนา ท่ีของรัฐ มปี ญ หา เกยี่ วกบั ความชอบดว ยรฐั ธรรมนญู หรอื กฎหมาย ใหเ สนอเรอ่ื งพรอ มดว ยความเหน็ ตอ ศาลปกครอง และ ใหศ าลปกครองพจิ ารณาวนิ จิ ฉยั โดยไมช กั ชา ทงั้ นี้ ตามกฎหมายวา ดว ยการจดั ตงั้ ศาลปกครอง และวธิ ี พจิ ารณาคดปี กครอง ÈÒÅ»¡¤Ãͧ แนวความคดิ ทจี่ ะจดั ตง้ั ศาลทด่ี แู ลคดที างปกครองแยกออกจากระบบศาลยตุ ธิ รรมมมี านาน แลว ในสงั คมไทย แตเ พง่ิ จะเกดิ ขนึ้ จรงิ เมอื่ ประกาศใชร ฐั ธรรมนญู พ.ศ.๒๕๔๐ ซง่ึ บญั ญตั ใิ หม กี ารจดั ตง้ั ศาลปกครองขนึ้ เพอ่ื ใหเ ขา มาทาํ หนา ทชี่ ขี้ าดคดปี กครองโดยเฉพาะ ซง่ึ เปน ขอ พพิ าทระหวา งประชาชน กบั เจาหนาทีข่ องรัฐในการปฏบิ ตั ิหนาที่ หรอื ระหวา งหนวยงานรฐั ดว ยกันเอง นําไปสพู ระราชบญั ญัติ จดั ต้งั ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ.๒๕๔๒ ในเวลาตอมา ศาลปกครองมี ๒ ระดบั ไดแก ศาลปกครองสูงสุด และศาลปกครองชั้นตน ÈÒÅ»¡¤ÃÍ§Ê§Ù Ê´Ø มฐี านะเปน ศาลสงู ในระบบศาลปกครอง ซงึ่ คดที จี่ ะขนึ้ สศู าลปกครอง สูงสุดได ตองเก่ียวของกับคดีพิพาทเรื่องความชอบดวยกฎหมายของพระราชกฤษฎีกาหรือกฎ ท่ีออกโดยคณะรัฐมนตรีหรือโดยความเปนชอบของคณะรัฐมนตรี ตลอดจนคดีที่อุทธรณคําพิพากษา หรือคาํ ส่ังของศาลปกครองชัน้ ตน ข้ึนมา ÈÒÅ»¡¤ÃͧªÑé¹μŒ¹ แบงออกเปนศาลปกครองกลาง ดูแลรับผิดชอบเขตกรุงเทพฯ และจังหวดั ในภาคกลาง และศาลปกครองสวนภมู ภิ าคทก่ี ระจายอยทู ว่ั ประเทศอกี จาํ นวน ๑๑ แหง

๘๐ คดที ีอ่ ยูใ นเขตอาํ นาจของศาลปกครองคือ ๑. วนิ จิ ฉยั การดาํ เนนิ การของเจา หนา ทขี่ องรฐั วา ไดด าํ เนนิ การไปโดยชอบดว ยกฎหมาย หรือไม ถาการดําเนินการของเจาหนาที่ของรัฐไมถูกตอง สามารถสั่งใหยกเลิก เพิกถอนคําสั่ง หรือการกระทํานนั้ ได ๒. เปน คดีพิพาทระหวางหนวยราชการ หนว ยงานของรฐั รฐั วิสาหกจิ องคกรปกครอง สว นทองถิ่นหรือองคก รตามรฐั ธรรมนูญ หรอื เจา หนาที่ของรฐั กบั เอกชน หรือระหวางหนว ยราชการ หนว ยงานของรฐั รัฐวิสาหกิจ องคกรปกครองสว นทอ งถิน่ หรือองคกรตามรัฐธรรมนญู หรือเจา หนา ที่ ของรัฐดว ยกัน ๓. เปน ขอ พพิ าทอนั เนอื่ งมาจากการใชอ าํ นาจทางปกครองตามกฎหมาย หรอื เนอื่ งมาจาก การดําเนินกิจการทางปกครองของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องคกรปกครอง สวนทองถ่นิ หรือองคกรตามรัฐธรรมนูญ หรอื เจา หนา ท่ีของรฐั ท้ังนี้ ตามทกี่ ฎหมายบญั ญัติ ต้ังแตศาลปกครองเร่ิมรับคดีในป พ.ศ.๒๕๔๔ จวบจนปจจุบัน มีคดีปกครองกวา หนึ่งแสนคดี ที่เขาสูกระบวนการพิจารณา คดีสวนใหญเปนเรื่องการบริหารงานบุคคลและวินัย, คดีเกี่ยวกับการเวนคืนอสังหาริมทรัพย, การควบคุมอาคาร ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม, การพสั ดแุ ละสญั ญาทางปกครอง เปน ตน ตวั อยา งผลงานในคดีสาํ คญั ของศาลปกครอง เชน คดกี ารออกประกาศเพกิ ถอนสญั ชาติ ชาวบานอําเภอแมอาย ศาลปกครองสูงสุดตัดสินใหคืนสัญชาติแกผูถูกกระทบทั้งส้ิน ๑,๒๔๓ คน, คดีทนายพิการถูกตัดสิทธิสอบคัดเลือกเปนอัยการผูชวยเน่ืองจากกายพิการ ศาลปกครองสูงสุด พพิ ากษาใหเ พกิ ถอนมตทิ ไี่ มร บั สมคั รเหตเุ นอื่ งจากความพกิ ารของทนายคนน,้ี คดสี ารตะกว่ั ในลาํ หว ย คลิตี้ ทําใหชาวบานเจ็บปวยและไมสามารถดํารงชีวิตไดอยางปกติสุข ศาลปกครองสูงสุดมีคําส่ังให กรมควบคุมมลพิษชดใชคาเสยี หายแกช าวบา นและฟน ฟสู ภาพของลําหวย๑๖ ¢ÍŒ ¤ÇÃÃÙŒ : z การฟอ งคดยี ดึ หลกั ใหท าํ ไดโ ดยงา ย ไมส รา งภาระแกผ ปู ระสงคจ ะฟอ งคดี โดยเฉพาะในเรอื่ ง ของคา ใชจ า ย และไมจําเปน ตอ งใชท นายความในกระบวนการไตสวน z สามารถยื่นฟองไดดวยตนเองตอเจาหนาท่ีของศาลปกครอง หรือสงคําฟองทางไปรษณีย ลงทะเบยี นก็ได z เรื่องที่ไมเขาขายฟองตอศาลปกครอง เชน เปนคดีความระหวางประชาชนดวยกัน, ผถู กู ฟอ งคดเี ปน รฐั วสิ าหกจิ ทไี่ ดจ ดั ตงั้ ขน้ึ ตามประมวลกฎหมายแพง เชน ธนาคารไทยธนาคาร จาํ กดั , บรษิ ทั ทา อากาศยานสากลกรงุ เทพแหง ใหม จาํ กดั , ธนาคารกรงุ ไทย จาํ กดั , เรอื่ งทผ่ี ถู กู ฟอ งคดเี ปน เจา หนา ทขี่ องรฐั แตกระทําความเดือดรอนหรือเสียหายแกผูฟองคดีโดยการกระทําสวนตัว หรือความเดือดรอนเสียหาย หมดสน้ิ ไป หรือไดร บั การเยียวยาแลว ขณะทม่ี ายนื่ คําฟอ ง ๑๖ “สารคดบี ทเรยี นชีวติ จากคดีปกครอง,” ศาลปกครอง, สืบคนเมอ่ื ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๕๙, จาก http://www.admincourt. go.th/admincourt/site/

๘๑ ÈÒÅÃѰ¸ÃÃÁ¹ÙÞ ศาลรัฐธรรมนูญ คือ อีกหน่ึงองคกรตุลาการท่ีมีสวนเกี่ยวของในการคุมครองสิทธิ และเสรีภาพผานคําวินิจฉัยที่ออกมาในคดีตางๆ กอต้ังคร้ังแรกตามรัฐธรรมนูญป ๒๕๔๐ เชนกัน ทําหนาที่หลักในการพิทักษรัฐธรรมนูญ ซ่ึงไดบรรจุสาระวาดวยสิทธิเสรีภาพเอาไวมากมายดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งในการตรวจสอบกฎหมายของฝายนิติบัญญัติมิใหขัดหรือแยงตอบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนญู เพอื่ รกั ษาความศกั ดส์ิ ิทธ์ิของความเปนกฎหมายสูงสุด อาํ ¹Ò¨Ë¹ÒŒ ·Õ·è Õèสํา¤ÑޢͧÈÒÅÃѰ¸ÃÃÁ¹ÙÞ ๑. วินิจฉัยความชอบดวยรัฐธรรมนูญของรางกฎหมายและรางขอบังคับการประชุม ของฝายนติ ิบัญญัติกอนทีจ่ ะประกาศใชบ ังคับมิใหข ัดหรอื แยงตอรัฐธรรมนูญ ๒. วินิจฉัยความชอบดวยรัฐธรรมนูญของบทบัญญัติแหงกฎหมายที่ประกาศใชบังคับ แลว ๓. วนิ จิ ฉัยความชอบดว ยรัฐธรรมนญู ของเงือ่ นไขการตราพระราชกาํ หนด ๔. วินิจฉัยปญหาความขัดแยงเก่ียวกับอํานาจหนาที่ระหวางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือองคก รตามรฐั ธรรมนูญ จากสถิติคดีของศาลรัฐธรรมนูญ มีการรับเร่ืองเขาสูกระบวนการรวมกวา ๑,๒๐๐ เร่ือง (๑๑ เมษายน ๒๕๔๑-/๓ กรกฎาคม ๒๕๕๘) เรือ่ งที่ขอใหศ าลรัฐธรรมนูญวนิ ิจฉยั สวนใหญเ ปน เรอื่ ง การพิจารณาวินิจฉัยกรณีบุคคลหรือพรรคการเมืองใชสิทธิและเสรีภาพในทางการเมืองโดยมิชอบ ดวยรัฐธรรมนูญ, การวินิจฉัยวาบทบัญญัติแหงกฎหมายขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญหรือไม และการวินิจฉัยคํารองของบุคคลซ่ึงถูกละเมิดสิทธิและเสรีภาพเพื่อมีคําวินิจฉัยวาบทบัญญัติ แหง กฎหมายขดั หรือแยงตอรัฐธรรมนญู ตัวอยางคดีสําคัญของศาลรัฐธรรมนูญ เชน การช้ีขาดวาพระราชบัญญัติชื่อบุคคล พ.ศ.๒๕๐๕ ในสวนที่บังคับให “...หญิงมีสามี ใหใชช่ือสกุลของสามี...” ขัดตอรัฐธรรมนูญท่ีรับรอง เรอ่ื งความเสมอภาคทางเพศเอาไว (คําวินจิ ฉยั ที่ ๒๑/๒๕๔๖), การวินิจฉยั วาพระราชบญั ญัติระเบยี บ ขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ.๒๕๔๓ ท่ีระบุคุณสมบัติของผูพิพากษาไววาจะตองไมมี “...กาย หรือจิตใจไมเหมาะสม...” จนทําใหทนายความผูพิการรายหน่ึงถูกตัดสิทธิออกจากการ สอบคดั เลอื กนนั้ มปี ญ หาความชอบดว ยรฐั ธรรมนญู เนอื่ งจากไปขดั ตอ หลกั การไมเ ลอื กปฏบิ ตั ติ อ บคุ คล (คําวนิ จิ ฉัยที่ ๑๕/๒๕๕)

๘๒ ÊÃ»Ø ในฐานะทเี่ ปน สมาชกิ ขององคก ารสหประชาชาติ และรฐั ภาคใี นสนธสิ ญั ญาระหวา งประเทศ ดานสิทธิมนุษยชนอีกหลายฉบับ รัฐไทยจึงตองดําเนินการในดานสิทธิมนุษยชนหลายประการเพ่ือให ไดรับการยอมรับจากประชาคมโลก โดยเฉพาะอยางย่ิงในเชิงโครงสรางกฎหมาย ต้ังแตรัฐธรรมนูญ ลงมาถึงกฎหมายระดับรองอีกเปนจํานวนมาก การประกาศใชแผนแมบทดานสิทธิมนุษยชน ตลอดทง้ั การจดั ตง้ั องคก รใหม เพอ่ื ใหเ ปน กลไกหลกั ทที่ าํ งานในดา นนโ้ี ดยตรง อยา งคณะกรรมการสทิ ธิ มนษุ ยชนแหง ชาติ รวมถงึ องคก รทท่ี าํ หนา ทตี่ วั เชอ่ื มอยา งผตู รวจการแผน ดนิ ซงึ่ แนน อนวา ในทางปฏบิ ตั ิ ยังคงเต็มไปดวยปญหาขอจํากัดมากมาย จึงจําเปนอยางย่ิงที่จะตองพึ่งพากระบวนยุติธรรม ในการรับรองใหสิทธิดังกลาวเปนจริงขึ้นมา ซึ่งก็คือ บทบาทของศาลปกครอง และศาลรัฐธรรมนูญ ดงั กลา วมาแลวนั่นเอง ¡Ô¨¡ÃÃÁ ๑. ใหนักเรยี นอธิบายพัฒนาการสทิ ธิมนษุ ยชนของรัฐไทย ๒. ใหน กั เรยี นอธบิ ายสาระสาํ คญั ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย ทเ่ี กย่ี วเนอื่ งกบั สิทธมิ นษุ ยชน ๓. ใหนักเรียนอธิบายความสําคัญขององคกรหลักในการคุมครองสิทธิมนุษยชน ของรฐั ไทย

๘๓ àÍ¡ÊÒÃ͌ҧÍÔ§ ธเนศ อาภรณส วุ รรณ, กาํ à¹´Ô áÅФÇÒÁ໹š ÁÒ¢Í§Ê·Ô ¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹. กรงุ เทพฯ : โครงการจดั พมิ พค บไฟ, (๒๕๔๙) หนา ๑๕-๕๘, ๗๙-๘๓, ๙๖-๙๙ บรรเจิด สิงคะเนติ, ËÅÑ¡¾×é¹°Ò¹à¡ÕèÂǡѺÊÔ·¸ÔàÊÃÕÀÒ¾ áÅÐÈÑ¡´ÔìÈÃÕ¤ÇÒÁ໚¹Á¹ØÉ. กรุงเทพฯ : วญิ ชู น, (๒๕๕๘) หนา ๘๖-๘๗ คณะกรรมการสิทธมิ นุษยชนแหงชาต,ิ สบื คน เมือ่ ๑ ธนั วาคม ๒๕๕๙ จาก http://www.nhrc.or.th. AboutUs/The-Commission/Profiles-of-Commissioners.aspx?str=1. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ, ʶÔμÔàÃè×ͧÌͧàÃÕ¹. สืบคนเมื่อ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๙ จาก http://www.nhrc.co.th. NHRCT-Work/Statistical-information/ Statistical-information-on-complaints/Yearly-(2548-Now).aspx. ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒÃสําÃǨ¤ÇÒÁ¤Ô´àË繢ͧ»ÃЪҪ¹μ‹Í¡ÒÃãËŒºÃÔ¡ÒÃÊÒ¸ÒóÐáÅСÒ÷íÒ§Ò¹ ¢Í§Ë¹Ç‹ §ҹμÒ‹ §æ ¾.È.òõõ÷, สบื คน เมอื่ ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๕๙ จาก http:/kpi.ac.th/ media/pdf/M10_579.pdf. วรลักษณ สงวนแกว , á¹Ç·Ò§»¯Ôû٠ʶҺѹÊÔ·¸ÔÁ¹ÉØ Âª¹áË‹§ªÒμÔ·àÕè ËÁÒÐÊÁสาํ ËÃѺ»ÃÐà·Èä·Â. สืบคนเม่ือ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๙ จาก http://203.114.122.85/download/Journals/ 2558//e-book208-1-58-2-3.pdf. ภาคภูมิ ฤกขะเมธ และ สตธิ ร ธนานิธิโชต, ¼ÙμŒ ÃǨ¡ÒÃἋ¹´Ô¹. สืบคน เม่อื ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๙ จาก http://kpi.ac.th/media/pdf/M10_332.pdf. ศาลปกครอง, ÊÒä´Õº·àÃÂÕ ¹ªÕÇμÔ ¨Ò¡¤´»Õ ¡¤Ãͧ. สบื คนเม่อื ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๕๙ จาก http://www.admincourt.go.th/admincourt/site.

๘๔

๘๕ º··èÕ õ ÁÒμÃ°Ò¹Ê·Ô ¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹ÊÒ¡ÅสําËÃºÑ à¨ÒŒ ˹ŒÒ·Õ¼è ŒÙº§Ñ ¤ÑºãªŒ¡®ËÁÒ ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤ ผูเรียนมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับมาตรฐานสิทธิมนุษยชนสากล และมีทักษะ ในการปฏิบตั ิหนาท่ตี ามกฎหมายและมาตรฐานสทิ ธิมนษุ ยชนสากล ʋǹนาํ กฎหมายใหการรับรองและคุมครองสิทธิมนุษยชนไวอยางกวางขวาง ผูรักษากฎหมาย ถือเปนกลไกสําคัญในการคุมครองสิทธิมนุษยชน เจาหนาท่ีตํารวจเปนบุคลากรสําคัญของรัฐ ท่ีมีอํานาจหนาท่ีในการบังคับใชกฎหมาย รักษาความสงบเรียบรอยและดูแลทุกขสุขของประชาชน ในสังคม กฎหมายไดใหอํานาจเจาหนาท่ีตํารวจในการดําเนินการตอผูท่ีฝาฝนกฎหมาย ทั้งนี้ในการ ดาํ เนนิ การตามอาํ นาจหนา ทดี่ งั กลา วมสี ว นเกย่ี วขอ งสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชนเปน อยา งมาก กฎหมาย จงึ ใหก ารคมุ ครองสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชน เพอ่ื เปน เกราะปอ งกนั การใชอ าํ นาจหนา ทใ่ี นการคกุ คาม สิทธิเสรีภาพของประชาชนจากผูบังคับใชกฎหมาย เจาหนาที่ตํารวจในฐานะผูรักษากฎหมายจึงมี ความเกี่ยวของในการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนในสวนที่เก่ียวของกับกฎหมายอาญา และความสงบสุขของประชาชน ดังนั้นในการปฏิบัติงานของตํารวจจะตองมีกรอบแนวทางการปฏิบัติ เพอ่ื ใหเปนไปตามหลกั การตามทีป่ ระชาชนไดร ับการคุมครองในเรอ่ื งสิทธมิ นษุ ยชน ÁÒμðҹÊÔ·¸ÔÁ¹ØÉª¹ÊÒ¡ÅสําËÃѺà¨ÒŒ ˹Ҍ ·Õ輺ŒÙ §Ñ ¤ºÑ 㪡Œ ®ËÁÒ องคการสหประชาชาติไดกําหนดมาตรฐานสิทธิมนุษยชนสากล ซึ่งถือวาเปนมาตรฐาน ขนั้ ตาํ่ ทแ่ี ตล ะประเทศควรดาํ เนนิ การใหไ ดห รอื จะกาํ หนดมาตรฐานทสี่ งู กวา กไ็ ด และมาตรฐานดงั กลา ว ยอมมีผลผูกพันกบั ตัวแทนของประเทศ รวมทง้ั เจา หนาทผ่ี บู งั คบั ใชกฎหมายของประเทศเหลานั้นดว ย ดงั นน้ั เจา หนา ทผ่ี บู งั คบั ใชก ฎหมายจะตอ งรู และใชม าตรฐานสทิ ธมิ นษุ ยชนอยา งถกู ตอ งและชอบธรรม (Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights, ๒๐๐๔) ในการ ปฏบิ ตั งิ านของเจา หนา ทผ่ี บู งั คบั ใชก ฎหมาย จะตอ งมหี ลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารยดึ ถอื ปฏบิ ตั ิ เพอ่ื จะไดเ ปน มาตรฐานในการยอมรับของประชาชนผอู ยูภ ายใตการบงั คับใชก ฎหมาย ดังน้ี ñ. »ÃÐÁÇÅ¡®ËÁÒÂáÅШÃÂÔ ¸ÃÃÁ ËÅÑ¡¡Òà สทิ ธมิ นษุ ยชนเปน ศกั ดศ์ิ รที ตี่ ดิ ตวั มนษุ ยม าตง้ั แตเ กดิ ซง่ึ เจา หนา ทผ่ี บู งั คบั ใชก ฎหมาย จะตอ งเคารพและปฏบิ ตั ิตามกฎหมายอยตู ลอดเวลาเพอื่ ปกปองคุมครองศกั ดิ์ศรีแหง ความเปนมนุษย

๘๖ á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ÔºÑμÔ (๑) การเชอ่ื ฟง และปฏบิ ตั ติ ามคาํ สงั่ ของผบู งั คบั บญั ชา จะนาํ มาสรา งความชอบธรรม ในการละเมดิ ตอ สทิ ธิมนุษยชนไมได (๒) เจาหนาท่ีผูบังคับใชกฎหมายจะตองมีความรูความเขาใจในเร่ืองอํานาจ ตามกฎหมาย และขอจาํ กัดของอํานาจดงั กลา วน้ันดว ย ò. ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁʧºàÃÂÕ ºÃÍŒ ÂÀÒÂãμŒÃкͺ»ÃЪҸԻäμ ËÅÑ¡¡Òà ตาํ รวจตอ งปกปอ งคมุ ครอง รกั ษาความปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส นิ ของประชาชน และตองคุมครองสิทธิของบุคคลทั้งปวงดวย ภายใตขอจํากัดตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย การจํากัด การใชสิทธิและเสรีภาพนั้น จะทําไดเทาท่ีจําเปน เพ่ือรักษาไวซ่ึงการใหการยอมรับและเคารพในสิทธิ ของผอู ่นื และเปนไปอยางสมเหตุสมผล á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ºÔ μÑ Ô เจา หนา ทต่ี าํ รวจจะตอ งรกั ษาความเปน กลางทางการเมอื ง ปฏบิ ตั หิ นา ทอ่ี ยา งยตุ ธิ รรม โดยไมเ ลือกปฏบิ ัติ และตองรกั ษาความเปนระเบยี บเรยี บรอ ยของสังคมไว ó. ¡ÒÃäÁ‹àÅÍ× ¡»¯ºÔ ÑμãÔ ¹¡Òúѧ¤ºÑ 㪌¡®ËÁÒ ËÅ¡Ñ ¡Òà มนษุ ยท กุ คนเกดิ มาโดยมเี สรภี าพ และความเทา เทยี มกนั ทงั้ ในเรอ่ื งสทิ ธแิ ละศกั ดศ์ิ รี บุคคลทั้งปวง มีความเทาเทียมกันตามกฎหมายและมีสิทธิไดรับการปกปองคุมครองตามกฎหมาย อยางเทาเทียมกัน เวนแตบางกรณีท่ีมีการใชมาตรการพิเศษบางอยาง เพ่ือใชกับบุคคลท่ีตองไดรับ การปฏบิ ตั เิ ปน พเิ ศษ แตกตา งจากบคุ คลปกติ เชน สตรี เดก็ และเยาวชน คนปว ย คนชรา และบคุ คลอนื่ ทต่ี อ ง ไดรับการปฏิบัตเิ ปน พิเศษตามมาตรฐานสทิ ธมิ นุษยชน ไมถ ือวาเปน การเลอื กปฏิบัติ á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ÔºμÑ Ô (๑) สรางความคุนเคยกับชุมชน เชน การเขารวมกิจกรรมของชุมชน รับฟง ความตอ งการ ขอรอ งเรยี น และคําแนะนาํ ของชมุ ชน (๒) ตอ งมจี ติ สาํ นกึ ใหร บั รถู งึ ความสาํ คญั ของการมคี วามสมั พนั ธอ นั ดกี บั ประชาชน การท่ีตองมีความยุติธรรม และการบังคับใชก ฎหมายโดยไมเลอื กปฏิบัติ ô. ¡ÒÃÊ׺Êǹ¢Í§à¨ÒŒ ˹ŒÒ·ตèÕ ําÃǨ ËÅÑ¡¡Òà ในการสืบสวนคดีตางๆ นั้น นอกจากเจาหนาที่ตํารวจตองคํานึงถึงผลแหงคดีแลว ยงั จะตอ งใหค วามสาํ คญั กบั สทิ ธขิ องพยานเหยอ่ื หรอื ผตู อ งสงั สยั ดว ย เชน สทิ ธใิ นความมนั่ คงปลอดภยั สวนบุคคลตองไมถูกแทรกแซงความเปนสวนตัวโดยพลการ หรือการปฏิบัติท่ีเปนการยํ่ายีศักดิ์ศรี เปนตน ดังนั้นการกระทําของเจาหนาที่สืบสวนตอเหย่ือหรือพยานตองชอบดวยกฎหมาย เปนการปฏิบัติอยางมีเมตตา ปราศจากอคติ โดยตองคํานึงเสมอวาบุคคลยอมเปนผูบริสุทธิ์ จนกวา จะถกู พสิ จู นว ามีความผดิ ในการพจิ ารณาคดีอยา งยตุ ธิ รรม

๘๗ á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ºÔ ÑμÔ (๑) กอนจะเริ่มการสืบสวนคดีใดๆ ใหถามตัวเองวา “ถูกกฎหมายหรือไม” “นําไปใชในศาลไดไ หม” “จาํ เปน หรือไม” และ “เปนการกระทาํ ทเ่ี กินกวา เหตุหรือไม” (๒) ผบู งั คบั บญั ชาตอ งมบี ทลงโทษทเ่ี ขม งวด สาํ หรบั การกระทาํ ผดิ ระเบยี บขอ บงั คบั หรอื กฎหมายที่เก่ียวของกับการสบื สวน õ. ¡ÒèѺ¡ØÁ ËÅÑ¡¡Òà บุคคลยอมมีสิทธิในความมีเสรีภาพและความม่ันคงปลอดภัยของตนและเสรีภาพ ในการเคล่ือนยาย จะตองไมถูกจับกุมหรือคุมขังโดยพลการ เวนแตเปนไปตามกฎหมาย เมื่อบุคคล ถูกจับกุมแลวจะตองไดรับการแจงเหตุแหงการจับกุม ขอกลาวหา ตลอดจนสิทธิตางๆ ของผูถูกจับ ในทันที ณ ขณะเวลาท่ีถูกจับกุม หามบีบบังคับใหรับสารภาพ และจะตองแจงใหครอบครัว ของผูถ กู คมุ ขังทราบโดยทนั ทีในเร่อื งการถกู จบั กมุ และสถานทค่ี มุ ขงั á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ºÔ μÑ Ô เจา หนา ที่ตาํ รวจผจู บั กมุ จะตองยดึ บทบัญญตั ิแหงกฎหมายเปน หลกั ใชค วามสุภาพ ละมนุ ละมอ มในการจบั กมุ จะใชอ าํ นาจอยา งจรงิ จงั กต็ อ เมอ่ื มคี วามจาํ เปน เทา นนั้ และควรพกบนั ทกึ ขอความแจงสิทธิของผูถูกจับกุมติดตัว เพื่อจะสามารถแจงใหผูถูกจับกุมทราบในทันทีท่ีควบคุมตัว ไดแลว และหากผถู กู จับกมุ ตองการใชสทิ ธนิ ้นั ๆ จะตองดําเนินการใหต ามทก่ี ฎหมายกําหนด ö. ¡ÒäÁØ ¢§Ñ ËÅ¡Ñ ¡Òà บุคคลทั้งปวงท่ีถูกลิดรอนเสรีภาพ จะตองไดรับการปฏิบัติอยางมีมนุษยธรรม และเคารพศักดิ์ศรีในความเปนมนุษยโดยใหสันนิษฐานไวกอนวา บุคคลท่ีถูกกลาวหาวากระทําผิด ทางอาญาเปน ผบู ริสทุ ธิ์ จนกวาจะพิสจู นไ ดว า กระทําผิด ในการพจิ ารณาคดอี ยางยุตธิ รรม ผูถกู คุมขงั ตอ งไดร บั แจง ถงึ เหตผุ ลในการคมุ ขงั ตอ งไมถ กู ทรมานหรอื ไดร บั การปฏบิ ตั อิ น่ื ใดทโ่ี หดรา ย ไรม นษุ ยธรรม และตอ งถกู คมุ ขงั ในสถานทท่ี เ่ี ปน ทรี่ จู กั อยา งเปน ทางการเทา นนั้ โดยตอ งแจง ขอ มลู ขา วสารใหค รอบครวั หรือตัวแทนทางกฎหมายของบุคคลเหลานั้นทราบอยางครบถวน สถานที่คุมขังเด็กและเยาวชน จะตองแยกจากผูใหญ ผูหญิงตองแยกจากผูชาย ผูตองหาตองแยกจากผูตองโทษ สถานท่ีคุมขัง ตอ งมสี ภาพแวดลอมและสขุ อนามยั ที่เออ้ื ตอความเปนมนษุ ย ทั้งยังตองไดร ับอาหาร น้าํ ทีห่ ลับนอน เส้ือผา การรักษาพยาบาล การออกกําลังกายและสิ่งของเครื่องใชเพื่อสุขอนามัยอยางพอเพียง ตอ งใหค วามเคารพในเรอื่ งความเช่อื ทางศาสนาและหลกั ศลี ธรรมจรรยาของผูถูกคมุ ขัง และผถู ูกคมุ ขงั ตองมีสิทธิท่ีจะติดตอกับโลกภายนอก เชน ไดรับการเย่ียมเยียน พบและปรึกษาผูแทนตามกฎหมาย อยา งเปน สวนตัวแบบตัวตอตัวดวย

๘๘ á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ÔºÑμÔ (๑) อาํ นวยความสะดวก และจดั สถานทใ่ี นการเขา เยยี่ มและพบผแู ทนทางกฎหมาย ใหเหมาะสม รวมถึงอํานวยความสะดวกในการใชอุปกรณเพ่ือความบันเทิง หนังสือ และอุปกรณ เครอ่ื งเขียนตา งๆ (๒) ตรวจสอบผูถูกคุมขังเปนระยะ เพ่ือความมั่นคงปลอดภัย และหามพกอาวุธ เขาไปในสถานคุมขัง ตลอดจนหามใชอุปกรณเคร่ืองมือในการระงับยับย้ังในการลงโทษ จะใชได ในความจาํ เปน เพอ่ื ปอ งกนั การหลบหนีเทานัน้ (๓) ควรมีเจาหนาที่ในการดูแลทางจิตวิทยา รวมท้ังใหคําปรึกษา เพื่อปองกัน การฆาตัวตาย อยปู ฏบิ ตั หิ นาที่ตลอดเวลา (๔) ตอ งใสใจในสภาพความเปน อยู รวมทั้งอาการเจ็บปวยของผถู กู คุมขัง ÷. ¡ÒÃãªกŒ ําÅѧáÅÐÍÒÇ¸Ø »„¹ ËÅÑ¡¡Òà บุคคลมีสิทธิในชีวิต ความม่ันคงปลอดภัยและเสรีภาพจากการไมถูกทรมาน หรือการกระทําอ่ืนใดท่ีโหดราย ไรมนุษยธรรม หรือลดทอนย่ํายีศักดิ์ศรี การใชกําลังใชไดตอเม่ือมี ความจําเปนอยางย่ิงเทาน้ัน และตองถูกใชโดยมีจุดมุงหมายในการบังคับใชกฎหมายที่ชอบ ดว ยกฎหมายเทาน้ันจะตอ งเหมาะสมและไดส ดั สวนกับวัตถุประสงคที่ชอบดว ยกฎหมาย á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ÔºμÑ Ô (๑) อาวุธปนจะใชไดตอเม่ือตกอยูในสถานการณคับขันสุดขีดเทาน้ัน และตอง ใชเพ่ือปองกันตนเองหรือผูอ่ืน จากการเสียชีวิตหรือไดรับบาดเจ็บจากภัยคุกคามที่กําลังจะมาถึง เพ่ือการจับกุมหรือปองกันการหลบหนีของบุคคลท่ีกออาชญากรรมรายแรงเปนพิเศษที่อาจนําไปสู ภยั คกุ คามรา ยแรงตอชีวติ ได (๒) ขั้นตอนในการใชอาวุธปน ตองแสดงตัวใหทราบวาเปนเจาหนาท่ีตํารวจ แลวใหคําส่ังเตือนท่ีชัดเจนโดยตองใหเวลาที่เพียงพอสําหรับการปฏิบัติตามคําสั่งเตือนน้ัน แตถาหากทําตามข้ันตอนแลวลาชา อาจสงผลใหเจาหนาที่หรือบุคคลอ่ืนไดรับอันตรายถึงแกชีวิต หรือไดร บั บาดเจบ็ สาหัส ก็ไมจาํ เปน ตอ งปฏบิ ัตติ ามข้ันตอนการใชอ าวุธปนได (๓) ภายหลังมีการใชอาวุธปนแลวตองรีบใหการชวยเหลือทางการแพทย กบั ผไู ดรบั บาดเจ็บทุกคน แลวแจงใหญาตหิ รอื ผทู ีไ่ ดร บั ผลกระทบจากเหตุดงั กลาวทราบ (๔) เกบ็ รกั ษาอาวธุ ปน ทไ่ี ดร บั แจกจา ยมาเปน อยา งดแี ละปลอดภยั และตอ งสนั นษิ ฐาน ไวก อ นวา อาวธุ ปน ทกุ กระบอกมกี ระสนุ บรรจอุ ยู หา มนาํ ไปทดลองยงิ กอ นมกี ารตรวจสอบกระสนุ ในรงั เพลงิ (๕) มนั่ ฝก ฝน และศกึ ษาหาความรเู กย่ี วกบั การใชอ าวธุ ปน รวมถงึ เทคนคิ ในการจงู ใจ การไกลเ กลี่ยและการเจรจาเพ่อื หลีกเลีย่ งการใชกาํ ลังหรืออาวุธปน

๘๙ ø. ¡Òá͋ ¤ÇÒÁǹ‹Ø ÇÒ ÀÒÇЩءà©Ô¹ áÅФÇÒÁ¢´Ñ áÂŒ§·èÕÁ¡Õ ÒÃãªกŒ าํ ÅѧÍÒÇØ¸ ËÅ¡Ñ ¡Òà มาตรการท้งั ปวงในการรกั ษาความเปนระเบียบเรยี บรอย ตองเคารพสทิ ธมิ นุษยชน ไมเลือกปฏิบัติ และตองคํานึงเสมอวาการจํากัดสิทธิใดๆ จะตองเปนไปตามบทบัญญัติของกฎหมาย เทา นนั้ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ พอื่ ดาํ รงไวซ ง่ึ ความเคารพในสทิ ธมิ นษุ ยชนและเสรภี าพของบคุ คลอนื่ เคารพ ในศีลธรรมจรรยา ความเปนระเบียบเรียบรอยของสาธารณะและสวัสดิภาพโดยทั่วไปของประชาชน ตอ งใชว ธิ กี ารทไี่ มใ ชค วามรนุ แรงเปน ลาํ ดบั แรกกอ นการใชก าํ ลงั ซงึ่ จะใชก าํ ลงั ไดก ต็ อ เมอ่ื มคี วามจาํ เปน อยางยิ่งเทาน้ันและตองเปนไปอยางเหมาะสมและไดสัดสวนกับวัตถุประสงคที่ชอบดวยกฎหมาย ในการบงั คบั ใชก ฎหมาย หากมผี ไู ดร บั บาดเจบ็ จะตอ งไดร บั การรกั ษาเยยี วยาโดยทนั ที ตอ งไมม กี ารบงั คบั ในขอ จาํ กดั ใดๆ ในเรอ่ื ง เสรภี าพในความคดิ เหน็ การพดู การชมุ นมุ การคบหาสมาคม หรอื การเคลอ่ื นยา ย á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ÔºμÑ Ô (๑) เม่ือมีการชุมนุมหรือประทวง เจาหนาที่ตํารวจจะตองใชความอดทนอดกลั้น ตอ การชมุ นมุ ไมค กุ คามหรอื แสดงตวั เปน ปฏปิ ก ษต อ ผรู ว มชมุ นมุ หลกี เลยี่ งการกระตนุ ยวั่ ยุ เพอ่ื ปอ งกนั ไมใ ชสถานการณล ุกลามบานปลาย (๒) ควรจะใหมีการติดตอประสานงาน เจรจาตอรองกับตัวแทนผูชุมนุม เพอื่ หาแนวทางแกไขรว มกนั (๓) เม่ือจําเปนตองมีการสลายการชุมนุม ตองเร่ิมจากมาตรการเบาไปหาหนัก และตอ งเปด ทางหลบหนีที่เห็นไดช ัดเจนเสมอ (๔) ตองมีการฝกอบรมอยางตอเนื่องและจริงจังเกี่ยวกับการปฏิบัติตอการชุมนุม เรียกรองตางๆ เชน การใชอุปกรณเครื่องมือ การปฐมพยาบาลเบื้องตน รูปขบวนการจัดกําลัง รวมถงึ การใชจติ วิทยาในการเจรจาตอรอง (๕) ตอ งจดั ทาํ และบงั คบั ใชร ะเบยี บปฏบิ ตั งิ านทช่ี ดั เจนในเรอื่ งการใชก าํ ลงั และอาวธุ (๖) การควบคุมฝูงชนท่ีมีประสิทธิภาพท่ีสุด จะตองดํารงรักษาไวซึ่งความเปน ระเบียบเรยี บรอย ความปลอดภยั ของสาธารณะและไมละเมิดสทิ ธมิ นุษยชน 㹡óÀÕ ÒÇЩءà©Ô¹ ¨ÐμÍŒ §Á»Õ ÃСÒÈÍ‹ҧ໚¹·Ò§¡Òá‹Í¹ ¨Ö§¨ÐÊÒÁÒö㪌ÁÒμáÒþàÔ ÈÉä´Œ áμË‹ Å¡Ñ ÊÔ·¸ÁÔ ¹ØÉª¹¡ç处 ¤§Í‹Ù

๙๐ ù. ¡ÒÃãËŒ¤ÇÒÁ¤ØŒÁ¤Ãͧᡋഡç áÅÐàÂÒǪ¹ ËÅ¡Ñ ¡Òà เด็กตองไดรับประโยชนจากหลักสิทธิมนุษยชนเชนเดียวกับผูใหญและมีมาตรการ พิเศษอื่นๆ อีก การคุมขังหรือกักขังเด็ก ควรเปนมาตรการรุนแรงที่ใชในโอกาสสุดทายเทานั้น และระยะเวลาในการคุมขังน้ันตองส้ันท่ีสุดเทาที่จะเปนไปได สถานที่คุมขังเด็กตองแยกตางหาก จากผูใหญและเด็กตองไดรับการเย่ียมเยียน ติดตอจากสมาชิกในครอบครัว และควรกําหนดอายุ ที่นอยที่สุดที่จะตองรับผิดทางอาญา ไมควรใชการระงับยับยั้งกระทําตอรางกาย และใชกําลังตอเด็ก จะใชไ ดต อ เมอื่ ไดใ ชม าตรการควบคมุ ทง้ั หมดแลว แตล ม เหลวและควรใชใ นเวลาสนั้ ทส่ี ดุ เทา ทเ่ี ปน ไปได ไมค วรพกอาวุธในสถานท่คี ุมขังเด็ก ผปู กครองตอ งไดรับแจง ใหท ราบในเรื่องของการจับกุม การคมุ ขัง การโยกยา ย การเจ็บปว ย และการบาดเจบ็ หรือการเสียชวี ิตของเด็ก á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ºÔ μÑ Ô (๑) หากพบเหน็ การละเลยไมเ อาใจใส กระทาํ ทารณุ ตอ เดก็ หรอื แสวงหาผลประโยชน จากเดก็ ตอ งรบี สบื สวนในทนั ที (๒) ควรทําความรูจักเด็กและผูปกครองในพ้ืนท่ีพอสมควรและจัดทําขอมูลประวัติ เด็กท่ีกระทําผิดหรือถูกคุมขังซึ่งประกอบดวยเอกลักษณบุคคล เหตุผลในการกระทําผิด วันเวลา ในการรับเขามา โยกยาย และการปลอยตัว เก็บรวบรวมเปนขอมูลโดยแยกออกจากผูใหญ และตอ งเปนความลับ ñð. Ê·Ô ¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹¢Í§ÊμÃÕ ËÅÑ¡¡Òà สตรียอมมีสิทธิและเสรีภาพเทาเทียมกับบุคคลทั่วไปทุกประการ เจาหนาที่ตํารวจ ตองใชความระมัดระวังในการปองกัน สืบสวน ตรวจคน (การตรวจคนตัวสตรีตองใชเจาหนาที่ ทเ่ี ปน สตร)ี และจบั กุมสตรี เพราะการกระทาํ รุนแรงตอสตรใี นทุกรปู แบบเปน การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน และเสรภี าพขน้ั พนื้ ฐาน และเจา หนา ทตี่ าํ รวจยงั มหี นา ทต่ี อ งปกปอ งคมุ ครองสตรไี มใ หถ กู กระทาํ รนุ แรง หรือถูกแสวงหาผลประโยชนโดยมิชอบทุกรูปแบบ สตรีมีครรภหรือมีลูกออนตองไดรับส่ิงอํานวย ความสะดวกเพ่มิ พิเศษในสถานคมุ ขัง á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ÔºμÑ Ô (๑) เมอ่ื ไดร บั แจง เหตวุ า มกี ารกระทาํ รนุ แรงในครอบครวั หรอื กระทาํ รนุ แรงทางเพศ ตองรีบชว ยเหลือและทําการสบื สวนสอบสวนในทนั ที (๒) แยกผูตองขังสตรีจากชาย และควรใหเจาหนาท่ีสตรีเปนผูควบคุมดูแล และตรวจคน ผตู องขังสตรี (๓) หากเหยื่ออาชญากรรมเปนสตรี ควรมอบหมายใหเจาหนาที่สตรี เปนผดู ําเนนิ การ

๙๑ (๔) ควรละเวนการพดู คยุ หรอื แสดงออกในลกั ษณะท่ีไมใ หเ กียรติแกสตรเี พศ (๕) จัดสิ่งอํานวยความสะดวกเพิ่มพิเศษใหกับสตรีมีครรภหรือมีลูกออนในสถาน คมุ ขงั ññ. ¼ÅÙŒ éÀÕ ÂÑ áÅкؤ¤ÅäÃÊŒ ÞÑ ªÒμÔ ËÅ¡Ñ ¡Òà บุคคลทุกคนยอมมีสิทธิท่ีจะแสวงหาและไดรับท่ีหลบภัยในประเทศอ่ืนเพื่อหลบหนี การถกู กดขขี่ มเหง ผลู ี้ภยั ซ่ึงเปน บคุ คลที่หวาดกลัวจากการถกู กดขี่ขมเหงเพราะเหตแุ หงความแตกตาง ระหวางเชื้อชาติ ศาสนา สัญชาติ ความเห็นทางการเมือง ยอมไดรับซ่ึงสิทธิมนุษยชนข้ันพื้นฐาน ทุกประการ ยกเวนสิทธิทางการเมืองบางประการ และการอยูอาศัยอยางผิดกฎหมายน้ันจะตองถูก จํากัดสิทธิบางประการเก่ียวกับการเคล่ือนท่ีโยกยาย เพื่อความเปนระเบียบเรียบรอยของสาธารณะ และเหตผุ ลทางดา นสาธารณสขุ บคุ คลไรส ญั ชาตทิ เ่ี ขา มาพาํ นกั อยา งถกู กฎหมาย ยอ มไดร บั การคมุ ครอง ตามหลักสทิ ธิมนุษยชนในทกุ ประการ ยกเวนสทิ ธทิ างการเมืองบางประการ á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ÔºÑμÔ (๑) การปฏิบัติกับผูล้ีภัยหรือบุคคลไรสัญชาติควรประสานงานอยางใกลชิดกับ สํานักงานตรวจคนเขาเมอื ง และหนว ยงานทางสังคมทเ่ี กี่ยวของ โดยตองยึดหลักสิทธิมนุษยชน (๒) เจาหนาท่ีตํารวจท่ีรับผิดชอบควบคุมดูแลตามแนวชายแดน และสํานักงาน ตรวจคนเขา เมอื ง ควรศกึ ษาหาความรเู ก่ยี วกับสทิ ธขิ องผลู ภ้ี ยั และบคุ คลไรส ญั ชาติ ñò. ÊÔ·¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹¢Í§àËÂèÍ× ËÅ¡Ñ ¡Òà ผูตกเปนเหย่ือจากอาชญากรรม และจากการใชอํานาจโดยมิชอบ หรือจาก การถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนทุกคน จะตองไดรับการปฏิบัติชวยเหลือดวยความเมตตาและเคารพ ในศกั ดศ์ิ รขี องความเปน มนุษยอยางรวดเร็ว ยุตธิ รรม ปลอดภยั และเหมาะสม á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ºÔ μÑ Ô ในการปฏิบัติหนาท่ี เจาหนาท่ีตํารวจตองแจงใหเหยื่อทราบถึงสิทธิและบทบาท ในเรื่องของคดี รวมถึงใหการชวยเหลือสนับสนุนทางดานกฎหมาย ดานการแพทย ดานวัตถุ ดา นจิตวิทยาและดานสังคม หากเหย่ือตอ งการ ñó. ¡Òúѧ¤ºÑ ºÑÞªÒáÅкÃËÔ ÒèѴ¡ÒâͧμÒí ÃǨ ËÅ¡Ñ ¡Òà เจาหนาท่ีตํารวจจะตองปฏิบัติหนาท่ีของตนตามกฎหมายอยางเต็มความสามารถ ตลอดเวลา ดวยการรับใชชุมชน และใหการปกปองคุมครองประชาชนจากการกระทําที่ผิดกฎหมาย จะตองไมยุงเก่ียวกับการกระทําท่ีเปนการทุจริตประพฤติมิชอบตอหนาท่ี ใหความเคารพและปกปอง คมุ ครองศกั ดศิ์ รแี หง ความเปน มนษุ ย ทง้ั ตอ งดาํ รงรกั ษาและสนบั สนนุ สง เสรมิ สทิ ธมิ นษุ ยชนของบคุ คล

๙๒ ทง้ั ปวง จดั ใหม กี ารฝก อบรมสําหรบั การปฏิบัตงิ านทกุ ชนดิ ของตาํ รวจท่ีสงผลกระทบตอ สทิ ธมิ นษุ ยชน และมีการพัฒนายุทธศาสตรในการบังคับใชกฎหมายใหมีประสิทธิผล ชอบดวยกฎหมายและเคารพ ในหลักสิทธิมนุษยชน á¹Ç·Ò§¡Òû¯ÔºμÑ Ô ผูบังคับบัญชาหรือผูท่ีมีอํานาจควรมีการสุมตรวจการทํางาน หรือสถานที่ทําการ โดยไมบอกลวงหนา เพ่ือใหแนใจวาการปฏิบัติหนาท่ีของเจาหนาท่ีตํารวจเปนไปตามระเบียบ และกฎหมาย ñô. ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁʧºàÃÂÕ ºÃŒÍÂá¡‹ªÁØ ª¹ ËÅÑ¡¡Òà เจาหนาที่ตํารวจจะตองนําแผนปฏิบัติการและนโยบายชุมชนสัมพันธมาใช สรางความใกลชิดกับชุมชนโดยผานการรวมกิจกรรมกับชุมชน ซ่ึงกิจกรรมนั้นจะตองไมเกี่ยวกับ การบังคับใชกฎหมาย á¹Ç·Ò§¡Òû¯ºÔ ÑμÔ (๑) จัดตั้งศูนยชุมชนสัมพันธ และโครงการขอมูลขาวสารสาธารณะ โดยใหชุมชน เขา มามีสว นรวม และใหช ุมชนไดช ีใ้ หเห็นถึงปญ หาตา งๆ และขอหวงใยของชมุ ชนน้นั ๆ (๒) มกี ารประสานงานกบั องคก รอนื่ ทเ่ี กย่ี วขอ งทงั้ ภาครฐั และภาคเอกชนใหเ ขา รว ม กจิ กรรมกับชุมชนดวย ñõ. ¡Òû‡Í§¡Ñ¹¡ÒÃÅÐàÁÔ´ÊÔ·¸ÔÁ¹ØÉª¹â´Â਌Ò˹ŒÒ·èμÕ Òí ÃǨ ËÅ¡Ñ ¡Òà เจาหนาที่ตํารวจตองเคารพและใหการปกปองคุมครองศักดิ์ศรีแหงความเปนมนุษย และคาํ นึงถึงหลกั สทิ ธมิ นุษยชนของบุคคลทงั้ ปวงดวย á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ºÔ ÑμÔ (๑) การสืบสวนสอบสวนในเรื่องของการใชความรุนแรงตองกระทําในทันที อยา งเต็มความสามารถ ละเอยี ดถ่ีถว น ยตุ ธิ รรมและปราศจากอคติ (๒) การเช่ือฟงและปฏิบัติตามคําส่ังของผูบังคับบัญชาไมสามารถยกเปนขออาง ในกรณกี ารใชค วามรนุ แรงท่ีกระทําโดยเจา หนาที่ตํารวจได

๙๓ á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ÔºμÑ §Ô Ò¹¢Í§à¨ŒÒ˹ŒÒ·èตÕ ําÃǨμÒÁËÅ¡Ñ Ê·Ô ¸ÁÔ ¹ØÉª¹ เจาหนาท่ีตํารวจมีหนาท่ีหลักในการรักษาความสงบเรียบรอยใหสังคม และปองกัน และปราบปรามการกระทาํ ความผดิ ในทางอาญา ซงึ่ มเี ครอ่ื งมอื ทใี่ ชใ นการปฏบิ ตั หิ นา ท่ี ไดแ ก กฎหมาย ท่ีใหอํานาจเจาหนาท่ีตํารวจในการกระทําที่สงผลกระทบตอสิทธิและเสรีภาพในชีวิตรางกาย ดังนั้น การปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีตํารวจตามอํานาจตางๆ จะตองมีแนวทางในการดําเนินการ เพ่ือให เปน ไปตามหลักสิทธมิ นุษยชนที่บคุ คลไดร บั การคมุ ครอง ดังน้ี ñ. ¡ÒèѺ ËÅÑ¡¡Òà การจับน้ันโดยปกติแลวกฎหมายใหอํานาจแกพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ เปนผูมีอํานาจในการจับ โดยเจาพนักงานดังกลาวจะทําการจับไดตองมีหมายจับหรือมีกฎหมาย ใหอํานาจทําการจับได แมจะไมมีหมายจับซึ่งเปนหลักที่เปนไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐ มาตรา ๒๘ วรรคสอง ที่บัญญัติไววา การจับและการคุมขังบุคคล จะกระทํามิได เวนแตมีคําส่ังหรือหมายของศาลหรือมีเหตุอยางอ่ืนตามที่กฎหมายบัญญัติ การจับมี ๒ กรณดี ว ยกนั คอื การจบั โดยมหี มายจับและการจับโดยไมมหี มายจับ á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ºÔ ÑμÔ ¡ÒèºÑ â´ÂäÁÁ‹ ËÕ ÁÒ¨ºÑ ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๗๘ (๑) มีการกระทําความผิดซ่ึงหนา ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๘๐ (๒) การกระทําความผิดซ่ึงหนา ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๘๐ นหี้ มายถงึ ความผดิ ซงึ่ เหน็ กาํ ลงั กระทาํ หรอื เปน การพบในอาการใดซง่ึ แทบจะไมต อ งสงสยั เลยวาเขาไดกระทําผิดมาแลวสดๆ หรืออาจกลาวไดวา เปนการกระทําผิดที่เจาพนักงานน้ันไดเห็น กบั ตาตนเองไมใชเ ปน การบอกเลาท่ีมาจากคนอ่ืนอีกทอดหน่งึ (๓) กรณีท่ีจะวินิจฉัยวาเปนความผิดซึ่งหนา เชน การทะเลาะวิวาท ซ่ึงไดยุติลง ไปกอนหนาน้ีแลว ไมใชการกระทําความผิดซึ่งหนา เจาพนักงานตํารวจซ่ึงมาภายหลังเกิดเหตุ ไมมี อํานาจจบั โดยไมม ีหมายจับ กรณตี วั อยา งของ จาสิบตํารวจ ส. และรอ ยตํารวจเอก ป. จับจําเลยได ในขณะทจี่ าํ เลยกาํ ลงั ขายวตั ถอุ อกฤทธใิ์ หก บั จา สบิ ตาํ รวจ ส. ผลู อ ซอื้ กรณเี ชน นถ้ี อื วา เปน ความผดิ ซง่ึ หนา (วเิ ชียร ดิเรกอุดมศกั ดิ,์ ๒๕๕๔ โปรดดูแนวคําพิพากษาศาลฎกี าที่ ๔๔๖๑/๒๕๔๐) (๔) นอกจากน้ัน คําวาซึ่งหนายังหมายรวมถึงความผิดอาญาดังระบุไวในบัญชี ทายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา คือ ใหถือวาความผิดนั้นเปนความผิดซึ่งหนาในกรณี ดงั ตอไปน้ี (๔.๑) เมื่อบุคคลหนึ่งถกู ไลจ ับ ดงั ผูกระทาํ โดยมีเสียงรอ งเอะอะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook