๔๔ *กฎ ก.ตร. ตามมาตราน้ี ไดแ ก กฎ ก.ตร.วา ดว ยหลักเกณฑแ ละวธิ กี ารแตงตั้งยศตํารวจ ชน้ั ประทวนเปนกรณีพเิ ศษ พ.ศ.๒๕๔๗ ÁÒμÃÒ òø การถอดหรอื การออกจากยศตาํ รวจชนั้ สญั ญาบตั ร ใหเ ปน ไปตามระเบยี บ สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ และใหท าํ โดยประกาศพระบรมราชโองการ *ระเบยี บสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ ตามมาตรานี้ ไดแ ก ระเบยี บสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ วา ดว ยการถอดยศตํารวจ พ.ศ.๒๕๔๗ ÁÒμÃÒ òù การใหอ อกจากวา ทยี่ ศตาํ รวจชนั้ สญั ญาบตั รหรอื การถอดหรอื การออกจาก ยศตํารวจชนั้ ประทวน ใหผ มู อี าํ นาจสั่งตามมาตรา ๒๖ วรรคสาม หรอื มาตรา ๒๗ แลว แตกรณี สง่ั ได ตามระเบียบสาํ นกั งานตํารวจแหงชาติ Ẻ½¡ƒ ËÑ´ คาํ ถาม จงอธบิ ายความเปน มาและเจตนารมณใ นการตรา, เรอื่ งบทนาํ , บททว่ั ไป, การจดั ระเบยี บ ราชการในสํานักงานตาํ รวจแหงชาต,ิ ยศ และชนั้ ขาราชการตาํ รวจ มาพอสงั เขป พรอ มทง้ั ยกตวั อยา ง ประกอบคาํ อธิบาย
๔๕ àÍ¡ÊÒÃ͌ҧÍÔ§ กฎ ก.ตร.วา ดว ยหลกั เกณฑและวธิ กี ารแตง ตงั้ ยศ พ.ศ.๒๕๕๔. (๒๕๕๔, ๓๑ พฤษภาคม). ÃÒª¡Ô¨¨Ò¹àØ º¡ÉÒ. เลม ๑๒๘ ตอนที่ ๔๓ ก หนา ๘ – ๑๓. กฎ ก.ตร.วา ดวยหลกั เกณฑและวธิ ีการแตงตง้ั ยศตํารวจชน้ั ประทวนเปน กรณพี เิ ศษ พ.ศ. ๒๕๔๗. (๒๕๔๗, ๒ กันยายน). ÃÒª¡Ô¨¨Ò¹àØ º¡ÉÒ. เลม ๑๒๑ ตอนท่ี ๕๖ ก หนา ๒๕ – ๒๖. กฎกระทรวงแบงสวนราชการเปน กองบงั คับการหรือสว นราชการอยา งอนื่ ในสํานักงานตาํ รวจแหงชาติ (ฉบบั ท่ี ๑๓) ๒๕๖๓. (๒๕๖๓, ๑ กรกฎาคม). ÃÒª¡¨Ô ¨Ò¹àØ º¡ÉÒ. เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๔๙ ก กฎกระทรวงแบงสวนราชการเปน กองบงั คบั การหรอื สว นราชการอยา งอ่นื ในสํานักงานตํารวจแหง ชาติ (ฉบบั ที่ ๑๔) ๒๕๖๓. (๒๕๖๓, ๑ กรกฎาคม). ÃÒª¡¨Ô ¨Ò¹àØ º¡ÉÒ. เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๔๙ ก กฎกระทรวงแบงสวนราชการเปนกองบังคับการหรอื สวนราชการอยา งอื่นในสํานกั งานตาํ รวจแหงชาติ (ฉบบั ที่ ๑๕) ๒๕๖๓. (๒๕๖๓, ๑ กรกฎาคม). ÃÒª¡¨Ô ¨Ò¹àØ º¡ÉÒ. เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๔๙ ก กฎกระทรวงแบงสวนราชการเปนกองบังคับการหรอื สวนราชการอยา งอน่ื ในสํานักงานตํารวจแหง ชาติ (ฉบบั ที่ ๑๖) ๒๕๖๓. (๒๕๖๓, ๒๕ กรกฎาคม). ÃÒª¡¨Ô ¨Ò¹àØ º¡ÉÒ. เลม ๑๓๗ ตอนท่ี ๖๐ ก กฎกระทรวงแบงสวนราชการเปน กองบังคับการหรอื สว นราชการอยางอน่ื ในสํานักงานตาํ รวจแหงชาติ (ฉบบั ท่ี ๑๗) ๒๕๖๓. (๒๕๖๓, ๙ กนั ยายน). ÃÒª¡Ô¨¨Ò¹ØມÉÒ. เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๗๒ ก คาํ สงั่ หวั หนา คณะรกั ษาความสงบแหง ชาติ ท่ี ๗/๒๕๕๙ เรอ่ื งการกาํ หนดตาํ แหนง ของขา ราชการตํารวจ ซงึ่ มอี ํานาจหนา ทใี่ นการสอบสวน. (๒๕๕๙, ๕ กมุ ภาพนั ธ) . ÃÒª¡¨Ô ¨Ò¹àØ º¡ÉÒ. เลม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๓๖ ง หนา ๗ – ๑๐. ประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่ ๑๑๑/๒๕๕๗ เร่ืองการแกไขเพิ่มเติมกฎหมายวาดวย ตาํ รวจแหง ชาต.ิ (๒๕๕๗, ๓๐ กรกฎาคม). ÃÒª¡¨Ô ¨Ò¹àØ º¡ÉÒ. เลม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๑๔๓ ง หนา ๒๔. ประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่ ๑๑๔/๒๕๕๗ เรื่องการแกไขเพิ่มเติมกฎหมายวาดวย ตาํ รวจแหง ชาต.ิ (๒๕๕๗, ๓๐ กรกฎาคม). ÃÒª¡¨Ô ¨Ò¹àØ º¡ÉÒ. เลม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๑๔๓ ง หนา ๒๘. พระราชกฤษฎกี าโอนกรมตาํ รวจ กระทรวงมหาดไทย ไปจัดตงั้ เปน สาํ นักงานตาํ รวจแหง ชาติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๑. (๒๕๔๑, ๑๖ ตลุ าคม). ÃÒª¡¨Ô ¨Ò¹àØ º¡ÉÒ. เลม ท่ี ๑๑๕ ตอนที่ ๗๓ ก หนา ๑๕ – ๑๗. พระราชกฤษฎกี าขา ราชการตาํ รวจประเภทไมมยี ศ พ.ศ.๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๒๖ สิงหาคม). ÃÒª¡¨Ô ¨Ò¹ØມÉÒ. เลม ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๐ ก หนา ๓๒ – ๔๑. พระราชกฤษฎกี าแบง สว นราชการสํานักงานตาํ รวจแหงชาติ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ.๒๕๖๓. (๒๕๖๓, ๘ กนั ยายน). ÃÒª¡¨Ô ¨Ò¹ØມÉÒ. เลม ๑๓๗ ตอนท่ี ๗๑ ก
๔๖ พระราชบัญญตั ิปรับปรงุ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.๒๕๔๕. (๒๕๔๕, ๒ ตลุ าคม). ÃÒª¡¨Ô ¨Ò¹ØມÉÒ. เลม ๑๑๙ ตอนท่ี ๙๙ ก หนา ๑๔ – ๓๔. พระราชบญั ญตั ติ ํารวจแหง ชาติ พ.ศ.๒๕๔๗. (๒๕๔๗, ๑๔ กุมภาพันธ) . ÃÒª¡¨Ô ¨Ò¹àØ º¡ÉÒ. เลม ๑๒๑ ตอนท่ี ๑๘ ก หนา ๑ – ๔๖. มัลลิกา ลับไพรี. (๒๕๒๙). ¡ÒáËҧ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÔ. สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการ สภาผูแทนราษฎร : กรุงเทพฯ. วฒุ ิสภา. (๒ มิถุนายน ๒๕๔๖). ÃÒ§ҹ¡ÒûÃЪØÁÇزÊÔ ÀÒ ¤Ã§Ñé ·èÕ ò÷ àÅ‹Á ò (ÊÁÂÑ ÊÒÁÑÞ·ÑèÇä») ໹š ¾ÔàÈÉ. กรงุ เทพฯ : วฒุ ิสภา. วุฒิสภา. (๒๒ สงิ หาคม ๒๕๔๖). ÃÒ§ҹ¡ÒûÃЪÁØ Ç²Ø ÔÊÀÒ ¤ÃÑ§é ·Õè ö (ÊÁÑÂÊÒÁÞÑ ¹μÔ ºÔ ÑÞÞÑμ)Ô . กรุงเทพฯ : วุฒิสภา. วฒุ สิ ภา, สาํ นักงาน, สํานักการประชุม, กลมุ งานชวเลข. (๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๖). ÃÒ§ҹ¡ÒûÃЪÁØ Ç²Ø ÔÊÀÒ ¤ÃÑ駷Õè ÷ (ÊÁÂÑ ÊÒÁÞÑ ¹ÔμÔºÑÞÞÑμÔ) ໹š ¾àÔ ÈÉ. กรงุ เทพฯ : วุฒสิ ภา. วุฒิสภา, สํานักกรรมาธิการ ๒, สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา. ÃÒ§ҹ¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁÒ¸Ô¡Òà ÇÔÊÒÁÑÞ¾¨Ô ÒóÒËҧ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞÑμμÔ Òí ÃǨá˧‹ ªÒμÔ ÇزÔÊÀÒ. กรงุ เทพฯ : วุฒิสภา. วุฒิสภา. (๒๘ สิงหาคม ๒๕๔๖). ÃÒ§ҹ¡ÒûÃЪØÁÇزÔÊÀÒ ¤ÃÑ§é ·èÕ ø (ÊÁÑÂÊÒÁÑÞ¹μÔ ºÔ ÑÞÞμÑ Ô) ໚¹¾àÔ ÈÉ. กรงุ เทพฯ : วุฒิสภา. วฒุ ิสภา, สาํ นกั งาน, สาํ นักการประชมุ , กลมุ งานชวเลข. (๒๙ สิงหาคม ๒๕๔๖). ÃÒ§ҹ¡ÒûÃЪØÁ Ç²Ø ÊÔ ÀÒ ¤Ãéѧ·èÕ ù (ÊÁÂÑ ÊÒÁÑÞ¹ÔμºÔ ÞÑ ÞÑμ)Ô à»š¹¾ÔàÈÉ. กรงุ เทพฯ : วฒุ ิสภา.
๔๗ º··èÕ ó ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒùâºÒÂตําÃǨá˧‹ ªÒμÔ ÁÒμÃÒ ñö ใหม คี ณะกรรมการนโยบายตาํ รวจแหง ชาตคิ ณะหนง่ึ เรยี กโดยยอ วา “ก.ต.ช.” มอี าํ นาจหนา ทใี่ นการกาํ หนดนโยบายการบรหิ ารราชการตาํ รวจ และกาํ กบั ดแู ลสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ ใหปฏบิ ัตติ ามนโยบาย ระเบียบแบบแผน มตคิ ณะรฐั มนตรี และกฎหมาย ÁÒμÃÒ ñ÷õ ให ก.ต.ช. ประกอบดว ย (๑) นายกรฐั มนตรี เปนประธานกรรมการ (๒) รองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เปนรองประธาน กรรมการ (๓) ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวง ยตุ ธิ รรม และผูอํานวยการสํานกั งบประมาณ เปนกรรมการโดยตําแหนง (๔) กรรมการผูท รงคุณวุฒิ ซง่ึ ไดร ับการเลอื กจากวุฒิสภาจาํ นวนสองคน ใหผ บู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาตเิ ปน กรรมการและเลขานกุ าร และใหป ระธาน กรรมการโดยคาํ แนะนาํ ของผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ แตง ตงั้ ขา ราชการตาํ รวจยศพลตาํ รวจตรขี นึ้ ไป จํานวนไมเกนิ สองคนเปนผูช วยเลขานกุ าร ÁÒμÃÒ ñø นอกจากอาํ นาจหนา ทต่ี ามมาตรา ๑๖ ให ก.ต.ช. มอี าํ นาจหนา ทด่ี งั ตอ ไปนี้ ดวย (๑) ออกระเบียบ ประกาศ หรอื มีมตใิ นเรอ่ื งทเ่ี กย่ี วกบั การบริหารราชการ ตํารวจ และวิธีปฏิบัติราชการของขาราชการตาํ รวจ ใหเปนไปตามแบบแผนและนโยบายที่ ก.ต.ช. กําหนด (๒) เสนอแนะใหม ีการตราพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา ๖ วรรคสอง (๓)๖ พจิ ารณาดาํ เนนิ การคดั เลอื กขา ราชการตาํ รวจเพอ่ื ดาํ เนนิ การแตง ตงั้ ผูบญั ชาการตํารวจแหง ชาตติ ามท่ีผูบัญชาการตาํ รวจแหง ชาติเสนอ (๔) กําหนดกระบวนการและขั้นตอนในการกระจายอํานาจระหวาง สํานักงานตํารวจแหงชาติกับตํารวจภูธรจังหวัด และราชการสวนทองถิ่น ในกรณีที่ ก.ต.ช. เห็นวา มีความจําเปน และเหมาะสม (๕) แตง ต้งั คณะอนุกรรมการเพื่อปฏบิ ัตงิ านตามท่ี ก.ต.ช. มอบหมาย ๕ มาตรา ๑๗ แกไ ขเพมิ่ เตมิ โดยประกาศคณะรกั ษาความสงบแหง ชาติ ฉบบั ที่ ๘๘/๒๕๕๗ เรอื่ ง การแกไ ขเพม่ิ เตมิ กฎหมาย วาดวยตํารวจแหงชาติ (เลม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๑๓๔ ง วนั ท่ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗) ๖ มาตรา ๑๘ (๓) แกไ ขเพิ่มเตมิ โดยประกาศคณะรักษาความสงบแหง ชาติ ฉบบั ท่ี ๘๘/๒๕๕๗ เรือ่ ง การแกไขเพิ่มเติม กฎหมายวา ดว ยตาํ รวจแหง ชาติ (เลม ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๑๓๔ ง วนั ท่ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗)
๔๘ (๖) ตรวจสอบการปฏบิ ตั ติ ามนโยบายการบรหิ ารราชการตาํ รวจใหเ ปน ไป ตามพระราชบญั ญตั นิ แ้ี ละกฎหมายอนื่ ในการน้ี ใหม คี ณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงาน ตํารวจของกรุงเทพมหานคร จังหวัดและสถานีตํารวจตาง ๆ เพ่ือตรวจสอบ ติดตามและประเมินผล การปฏิบตั งิ านของขา ราชการตํารวจในเขตพนื้ ทดี่ งั กลาว แลว รายงาน ก.ต.ช. เพือ่ พิจารณาดําเนนิ การ ตามควรแกก รณตี อไป องคป ระกอบ การดาํ รงตาํ แหนง การพน จากตาํ แหนง หลกั เกณฑแ ละวธิ กี าร สรรหา และอาํ นาจหนา ทข่ี องคณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงานตาํ รวจใหเ ปน ไปตาม ระเบียบที่ ก.ต.ช. กําหนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา (๗) ปฏบิ ตั หิ นา ทอ่ี นื่ ตามทคี่ ณะรฐั มนตรมี อบหมายหรอื ตามทมี่ กี ฎหมาย กาํ หนดไวใหเปนอํานาจหนา ทข่ี อง ก.ต.ช. ระเบียบหรือประกาศตาม (๑) เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใ ชบ งั คบั ได ÁÒμÃÒ ñù กรรมการผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๑๗(๒) ตองมีความเช่ียวชาญ หรือ ประสบการณในดานกฎหมาย การงบประมาณ การพฒั นาองคก ร การวางแผน หรือการบริหารและ จดั การ ÁÒμÃÒ òð กรรมการผทู รงคณุ วฒุ ติ อ งมคี ณุ สมบตั แิ ละไมม ลี กั ษณะตอ งหา มดงั ตอ ไปน้ี (๑) มสี ญั ชาตไิ ทยโดยการเกิด (๒) มอี ายุไมต่าํ กวาส่สี ิบปบรบิ รู ณ (๓) ไมเ ปน สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร สมาชกิ วฒุ สิ ภา ขา ราชการการเมอื ง สมาชิกสภาทองถิ่น ผูบริหารทองถิ่น หรือเปนที่ปรึกษาของขาราชการการเมืองหรือของสมาชิก สภาผูแทนราษฎรหรือสมาชกิ วุฒิสภา ไมวาจะมีคา ตอบแทนหรือไมก ต็ าม (๔) ไมเปนผูดํารงตาํ แหนงใดๆ ในพรรคการเมือง (๕) ไมเปนคนไรความสามารถ คนเสมือนไรความสามารถ คนวิกลจริต หรอื จติ ฟน เฟอนไมสมประกอบ (๖) ไมเปน บคุ คลลม ละลาย (๗) ไมเปนผูเคยไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงท่ีสุดใหจําคุก เวนแต เปนโทษสาํ หรบั ความผดิ ทีไ่ ดกระทาํ โดยประมาทหรอื ความผิดลหุโทษ (๘) ไมเปนผูเคยถูกลงโทษไลออก ปลดออก หรือใหออกจากราชการ หนว ยงานของรัฐ หรือรัฐวสิ าหกจิ (๙) ไมเคยตองคําพิพากษาหรือคําส่ังของศาลใหทรัพยสินตกเปนของ แผนดนิ เพราะรา่ํ รวยผดิ ปกตหิ รอื มีทรัพยส ินเพม่ิ ขน้ึ ผิดปกติ
๔๙ (๑๐) ไมเปน กรรมการผจู ดั การ หรือผูจดั การ หรือดาํ รงตาํ แหนง อื่นใดทม่ี ี ลกั ษณะงานคลา ยคลงึ กนั น้นั ในหางหุนสว นหรือบรษิ ัท ÁÒμÃÒ òñ กรรมการผทู รงคุณวฒุ ิมีวาระการดาํ รงตําแหนง คราวละส่ปี และอาจไดร บั แตงตงั้ ใหมได แตจะดาํ รงตาํ แหนง เกินสองวาระตดิ ตอกนั ไมได ใหก รรมการผทู รงคณุ วฒุ ซิ ง่ึ พน จากตาํ แหนง ตามวาระปฏบิ ตั หิ นา ทตี่ อ ไปจนกวา กรรมการ ผทู รงคุณวุฒิซ่งึ ไดร ับสรรหาใหมเขารับหนาที่ ÁÒμÃÒ òò นอกจากการพน จากตาํ แหนง ตามวาระตามมาตรา ๒๑ กรรมการผทู รงคณุ วฒุ ิ พน จากตาํ แหนง เม่ือ (๑) ตาย (๒) มอี ายคุ รบเจ็ดสิบปบริบูรณ (๓) ลาออก (๔) ขาดคุณสมบตั หิ รือมลี กั ษณะตองหา มตามมาตรา ๒๐ (๕) ก.ต.ช. มมี ตดิ ว ยคะแนนเสยี งไมน อ ยกวา สองในสามของจาํ นวนกรรมการ ทั้งหมดใหพนจากตําแหนง เนื่องจากมีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือมีการกระทํา หรือมีคุณลักษณะ ไมเ หมาะสมตอการปฏิบตั ิหนา ทก่ี รรมการ ในกรณที กี่ รรมการผทู รงคณุ วฒุ พิ น จากตาํ แหนง กอ นวาระ ใหด าํ เนนิ การสรรหาและแตง ตงั้ บคุ คลเปน กรรมการแทน เวน แตว าระการดาํ รงตาํ แหนง ของกรรมการผทู รงคณุ วฒุ จิ ะเหลอื ไมถ งึ เกา สบิ วนั ในกรณีนจี้ ะไมดาํ เนนิ การใหมกี ารสรรหาก็ได ใหก รรมการผทู รงคณุ วฒุ ซิ งึ่ ไดร บั แตง ตง้ั ใหด าํ รงตาํ แหนง แทนอยใู นตาํ แหนง เพยี งเทา วาระ ทีเ่ หลืออยูข องผูซึง่ ตนแทน ÁÒμÃÒ òó การประชมุ ของ ก.ต.ช. ตองมกี รรมการมาประชุมไมนอ ยกวาก่ึงหนึ่งของ จาํ นวนกรรมการทง้ั หมด จงึ จะเปนองคป ระชมุ ในการประชุม ก.ต.ช. ถาประธานกรรมการไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาท่ีไดให กรรมการทีม่ าประชมุ เลือกกรรมการคนหนึ่งเปน ประธานในที่ประชมุ ประธานกรรมการและกรรมการโดยตาํ แหนง จะมอบหมายบคุ คลใดใหม าประชมุ แทนไมไ ด ให ก.ต.ช. มีอํานาจออกขอบังคับวาดวยการประชุมและการลงมติของ ก.ต.ช. คณะอนกุ รรมการตามมาตรา ๑๘(๕) และของคณะกรรมการตามมาตรา ๑๘(๖) *ขอ บังคับ ก.ต.ช. ตามมาตราน้ี ไดแก ขอ บงั คับ ก.ต.ช.วาดว ยการประชุมและการลงมติ ของ ก.ต.ช.และของคณะอนกุ รรมการ ก.ต.ช. พ.ศ.๒๕๔๗
๕๐ ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒâҌ ÃÒª¡ÒÃตาํ ÃǨ ÁÒμÃÒ óð÷ ใหมีคณะกรรมการขาราชการตํารวจคณะหน่ึง เรียกโดยยอวา “ก.ตร.” ประกอบดว ย (๑) นายกรัฐมนตรี เปน ประธานกรรมการขา ราชการตํารวจ (๒) ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ เปนรองประธานกรรมการขาราชการ ตํารวจ (๓) เลขาธกิ าร ก.พ. จเรตาํ รวจแหง ชาติ และรองผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ เปน กรรมการขา ราชการตาํ รวจโดยตาํ แหนง (๔) กรรมการขาราชการตํารวจผูทรงคุณวุฒิ ซ่ึงไดรับเลือกจากวุฒิสภา จาํ นวนสองคน ใหผ บู ญั ชาการสาํ นกั งานคณะกรรมการขา ราชการตาํ รวจเปน เลขานกุ าร และรองผบู ญั ชาการ สาํ นักงานคณะกรรมการขาราชการตาํ รวจเปนผูช วยเลขานุการ ÁÒμÃÒ óñ ให ก.ตร. มอี าํ นาจหนา ทด่ี ังตอ ไปน้ี (๑) กําหนดนโยบายและมาตรฐานการบริหารงานบุคคลของขาราชการ ตํารวจและจัดระบบราชการตํารวจ รวมตลอดทั้งการอบรมและพัฒนาขาราชการตํารวจ ในการนี้ หาก ก.ต.ช. ไดกาํ หนดระเบียบแบบแผนและนโยบายไวเปนการท่ัวไป การกาํ หนดในเรอ่ื งดงั กลา วของ ก.ตร. ตองสอดคลองกับระเบียบแบบแผนและนโยบายของ ก.ต.ช. และให ก.ตร. แจง การดาํ เนินการ นัน้ ให ก.ต.ช. ทราบดวย (๒) ออกกฎ ก.ตร. ระเบยี บ ขอ บงั คบั ขอ กาํ หนด ประกาศ หรอื มมี ตเิ กยี่ วกบั การบรหิ ารงานบคุ คล เพือ่ ปฏบิ ัตกิ ารตามพระราชบัญญตั นิ ี้ (๓) กํากบั ดแู ล ตรวจสอบ และแนะนํา เพื่อใหส ํานักงานตํารวจแหงชาติ บรหิ ารงานบคุ คลใหเ ปน ไปตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ และใหม อี าํ นาจออกระเบยี บใหส าํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ รายงานเกี่ยวกับการสอบ การบรรจุ การแตงต้ัง การเลื่อนขั้นเงินเดือน การดําเนินการทางวินัย การออกจากราชการ และการปฏบิ ัตกิ ารอ่นื เกี่ยวกบั การบริหารงานบุคคลตามพระราชบัญญัตนิ ้ี (๔) รายงานคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาปรับปรุงเงินเดือน เงินประจํา ตาํ แหนง เงนิ เพม่ิ คา ครองชพี สวสั ดกิ าร หรอื ประโยชนเ กอื้ กลู อน่ื สาํ หรบั ขา ราชการตาํ รวจใหเ หมาะสม (๕) กาํ หนดชน้ั ยศทคี่ วรบรรจแุ ตง ตง้ั และอตั ราเงนิ เดอื นทค่ี วรไดร บั สาํ หรบั วฒุ ิปรญิ ญาหรือประกาศนียบตั รตางๆ (๖) กําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการปฏิบัติการเก่ียวกับการบริหารงาน บุคคลตามพระราชบัญญัติน้ี ๗ มาตรา ๓๐ แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยประกาศคณะรกั ษาความสงบแหง ชาติ ฉบบั ที่ ๘๘/๒๕๕๗ เรอ่ื ง การแกไ ขเพมิ่ เตมิ กฎหมาย วาดวยตํารวจแหง ชาติ (เลม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๑๓๔ ง วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗)
๕๑ (๗) พจิ ารณาอนมุ ตั แิ กไ ขทะเบยี นประวตั เิ กย่ี วกบั วนั เดอื นปเ กดิ และการ ควบคมุ เกษยี ณอายุของขาราชการตํารวจ (๘) ในกรณที พี่ จิ ารณาเหน็ วา การปฏบิ ตั กิ ารเกยี่ วกบั การบรหิ ารงานบคุ คล ของสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตไิ มเ หมาะสมหรอื ไมเ ปน ไปตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี ใหม มี ตสิ งั่ การใหส าํ นกั งาน ตาํ รวจแหง ชาตปิ ฏบิ ตั กิ ารใหถ กู ตอ งเหมาะสม ถา สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตไิ มป ฏบิ ตั กิ ารตามมตดิ งั กลา ว ใหร ายงานตอ นายกรัฐมนตรีเพ่ือพจิ ารณาและส่งั การตอไป (๙) แตง ตงั้ คณะอนุกรรมการเพอื่ ปฏิบัตงิ านตามท่ี ก.ตร. มอบหมาย (๑๐) ปฏิบัติการตามอํานาจหนาที่ที่บัญญัติไวในมาตราอ่ืนแหงพระราช บญั ญัตินแี้ ละกฎหมายอน่ื กฎ ก.ตร. เม่ือประกาศในราชกิจจานเุ บกษาแลว ใหใชบงั คับได ÁÒμÃÒ óòø เพ่ือรักษาความเท่ียงธรรมในการแตงต้ังและโยกยายขาราชการตํารวจ ให ก.ตร.ออกกฎ ก.ตร. กาํ หนดหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารแตง ตง้ั และโยกยา ยขา ราชการตาํ รวจไวใ หช ดั เจน แนนอน กฎ ก.ตร. ดงั กลา วใหม ีผลใชบ ังคับตง้ั แตว นั ถัดจากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน ตนไป *กฎ ก.ตร. ตามมาตรานี้ ไดแ ก กฎ ก.ตร.วา ดว ยการแตง ตง้ั ขา ราชการตาํ รวจ พ.ศ. ๒๕๖๑ กฎ ก.ตร. วาดวยการแตงต้ังขาราชการตํารวจ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ และประกาศคณะรักษา ความสงบแหงชาติ ฉบับที่ ๘๙/๒๕๕๗ เรอื่ งหลกั เกณฑการแตงต้ังขาราชการตาํ รวจ มาตรา ๓๓ ๙ (ยกเลกิ ) มาตรา ๓๔ ๑๐ (ยกเลิก) มาตรา ๓๕ ๑๑ (ยกเลกิ ) มาตรา ๓๖ ๑๒ (ยกเลิก) มาตรา ๓๗ ๑๓ (ยกเลกิ ) ๘ มาตรา ๓๒ แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยคาํ สง่ั หวั หนา คณะรกั ษาความสงบแหง ชาติ ที่ ๔๔/๒๕๕๘ เรอื่ ง การแกไ ขปญ หาการบรหิ าร งานบุคคลของขา ราชการตํารวจ (เลม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๒๒ ง วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๕๘) ๙ มาตรา ๓๓ ยกเลิกโดยประกาศคณะรกั ษาความสงบแหงชาติ ฉบบั ท่ี ๘๘/๒๕๕๗ เรอื่ ง การแกไขเพ่ิมเตมิ กฎหมาย วาดว ยตาํ รวจแหงชาติ (เลม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๑๓๔ ง วนั ที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗) ๑๐ มาตรา ๓๔ ยกเลกิ โดยประกาศคณะรักษาความสงบแหง ชาติ ฉบบั ท่ี ๘๘/๒๕๕๗ เรื่อง การแกไ ขเพ่ิมเติมกฎหมาย วา ดวยตาํ รวจแหง ชาติ (เลม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๑๓๔ ง วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗) ๑๑ มาตรา ๓๕ ยกเลิกโดยประกาศคณะรกั ษาความสงบแหง ชาติ ฉบับท่ี ๘๘/๒๕๕๗ เร่อื ง การแกไขเพิม่ เตมิ กฎหมาย วา ดว ยตาํ รวจแหงชาติ (เลม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๑๓๔ ง วนั ที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗) ๑๒ มาตรา ๓๖ ยกเลิกโดยประกาศคณะรกั ษาความสงบแหง ชาติ ฉบับที่ ๘๘/๒๕๕๗ เรื่อง การแกไ ขเพิม่ เติมกฎหมาย วา ดวยตาํ รวจแหงชาติ (เลม ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๑๓๔ ง วันท่ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗) ๑๓ มาตรา ๓๗ ยกเลิกโดยประกาศคณะรกั ษาความสงบแหง ชาติ ฉบบั ที่ ๘๘/๒๕๕๗ เร่อื ง การแกไ ขเพิ่มเติมกฎหมาย วาดว ยตาํ รวจแหง ชาติ (เลม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๑๓๔ ง วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗)
๕๒ มาตรา ๓๘ ๑๔ (ยกเลิก) มาตรา ๓๙ ๑๕ (ยกเลิก) มาตรา ๔๐ ๑๖ (ยกเลิก) มาตรา ๔๑ ๑๗ (ยกเลกิ ) ÁÒμÃÒ ôò การประชมุ ก.ตร. ตองมกี รรมการขา ราชการตํารวจมาประชุมไมนอยกวา ก่ึงหน่ึงของจาํ นวนกรรมการขาราชการตํารวจท้งั หมด จึงจะเปนองคประชุม ในกรณีที่ประธานกรรมการขาราชการตํารวจไมอยูหรือไมสามารถปฏิบัติหนาท่ีได ใหก รรมการขา ราชการตาํ รวจทมี่ าประชมุ เลอื กกรรมการขา ราชการตาํ รวจคนหนงึ่ เปน ประธานในทปี่ ระชมุ ใหป ระธานกรรมการขา ราชการตาํ รวจเปน ผเู รยี กประชมุ แตใ นกรณที ก่ี รรมการขา ราชการ ตาํ รวจไมน อ ยกวา หกคนรอ งขอใหเ รยี กประชมุ ใหป ระธานกรรมการขา ราชการตาํ รวจเรยี กประชมุ ภายใน เจ็ดวันนบั แตวันไดรบั รอ งขอ ให ก.ตร. มีอํานาจออกขอบังคับวาดวยการประชุมและการลงมติของ ก.ตร. และของ คณะอนุกรรมการตามมาตรา ๓๑(๙) *ขอ บงั คบั ก.ตร. ตามมาตราน้ี ไดแ ก ขอ บงั คบั ก.ตร.วา ดว ยการประชมุ และการลงมตขิ อง ก.ตร. และของคณะอนุกรรมการ ก.ตร. พ.ศ.๒๕๔๗ และท่แี กไขเพม่ิ เตมิ ÁÒμÃÒ ôó ในกรณที ่ี ก.ตร. มหี นา ทต่ี ามทบี่ ญั ญตั ไิ วใ นพระราชบญั ญตั นิ ้ี ใหผ บู ญั ชาการ ตํารวจแหงชาติเปนผูเสนอเรื่องตอ ก.ตร. แตท้ังนี้ไมตัดสิทธิกรรมการขาราชการตํารวจคนหน่ึงคนใด ท่ีจะเสนอ Ẻ½ƒ¡Ë´Ñ คําถาม จงอธิบายคณะกรรมการท่ีสําคัญของสํานักงานตํารวจแหงชาติ มาพอสังเขป พรอมท้ัง ยกตวั อยา งประกอบคําอธิบาย ๑๔ มาตรา ๓๘ ยกเลิกโดยประกาศคณะรักษาความสงบแหง ชาติ ฉบับท่ี ๘๘/๒๕๕๗ เรือ่ ง การแกไขเพิ่มเติมกฎหมาย วา ดว ยตํารวจแหง ชาติ (เลม ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๑๓๔ ง วนั ท่ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗) ๑๕ มาตรา ๓๙ ยกเลิกโดยประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับท่ี ๘๘/๒๕๕๗ เร่อื ง การแกไ ขเพ่มิ เติมกฎหมาย วา ดวยตํารวจแหง ชาติ (เลม ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๑๓๔ ง วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗) ๑๖ มาตรา ๔๐ ยกเลิกโดยประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่ ๘๘/๒๕๕๗ เรื่อง การแกไขเพิ่มเติมกฎหมาย วาดว ยตํารวจแหงชาติ (เลม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๑๓๔ ง วันท่ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗) ๑๗ มาตรา ๔๑ ยกเลิกโดยประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่ ๘๘/๒๕๕๗ เร่ือง การแกไขเพ่ิมเติมกฎหมาย วา ดวยตํารวจแหงชาติ (เลม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๑๓๔ ง วนั ที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗)
๕๓ àÍ¡ÊÒÃÍŒÒ§Í§Ô กฎ ก.ตร. วา ดว ยการแตง ตง้ั ขา ราชการตาํ รวจ พ.ศ. ๒๕๕๙. (๒๕๕๙, ๑๕ กรกฎาคม).ÃÒª¡¨Ô ¨Ò¹àØ º¡ÉÒ. เลม ๑๓๓ ตอนท่ี ๖๐ ก หนา ๑ – ๑๐. กฎ ก.ตร.วาดวยหลักเกณฑและวิธีการแตงตั้งยศ พ.ศ.๒๕๕๔. (๒๕๕๔, ๓๑ พฤษภาคม). ÃÒª¡Ô¨¨Ò¹ØມÉÒ. เลม ๑๒๘ ตอนที่ ๔๓ ก หนา ๘ – ๑๓. ประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับท่ี ๘๘/๒๕๕๗ เรื่องการแกไขเพิ่มเติมกฎหมายวาดวย ตาํ รวจแหง ชาต.ิ (๒๕๕๗, ๒๑ กรกฎาคม). ÃÒª¡¨Ô ¨Ò¹àØ º¡ÉÒ. เลม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๑๓๔ ง หนา ๒๐ – ๒๒. . ประกาศคณะรกั ษาความสงบแหง ชาติ ฉบบั ที่ ๘๙/๒๕๕๗ เรอ่ื งหลกั เกณฑก ารแตง ตงั้ ขา ราชการตาํ รวจ. (๒๕๕๗, ๒๑ กรกฎาคม). ÃÒª¡¨Ô ¨Ò¹ØມÉÒ. เลม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๑๓๔ ง หนา ๒๓.
๕๔
๕๕ º··Õè ô ÃÐàºÕº¢ÒŒ ÃÒª¡ÒÃตําÃǨ ตาํ á˹‹§áÅСÒÃกํา˹´ตาํ á˹§‹ ÁÒμÃÒ ôôñø ตําแหนงขาราชการตํารวจ มดี ังตอ ไปนี้ (๑) ผบู ัญชาการตํารวจแหงชาติ (๒) จเรตาํ รวจแหง ชาติ และรองผบู ัญชาการตํารวจแหงชาติ (๓) ผูชว ยผบู ัญชาการตํารวจแหงชาติ (๔) ผูบัญชาการ (๕) รองผูบัญชาการ (๖) ผบู งั คับการ (๗) รองผูบังคับการ (๘) ผูก าํ กบั การ (๙) รองผูกาํ กับการ (๑๐) สารวตั ร (๑๑) รองสารวตั ร (๑๒) ผบู งั คับหมู (๑๓) รองผูบ งั คบั หมู ก.ตร. จะกําหนดใหมีตําแหนงที่เรียกช่ืออยางอ่ืน โดยจะใหมีช่ือตําแหนงใดเทียบกับ ตาํ แหนงตามวรรคหน่งึ ก็ได โดยใหกําหนดไวใ นกฎ ก.ตร. *กฎ ก.ตร. ตามมาตรานี้ ไดแก กฎ ก.ตร.วาดว ยการกาํ หนดช่อื ตําแหนงขา ราชการตาํ รวจ ที่เรียกช่ืออยางอ่ืนและการเทียบตําแหนงขาราชการตํารวจท่ีเรียกช่ืออยางอื่นกับตําแหนงขาราชการ ตาํ รวจ พ.ศ.๒๕๔๘ และทแ่ี กไขเพิ่มเติม ÁÒμÃÒ ôõ ในสวนราชการตางๆ ของสํานักงานตํารวจแหงชาติ จะใหมีตําแหนง ขาราชการตํารวจตาํ แหนงใด จาํ นวนเทา ใด และคุณสมบตั เิ ฉพาะสาํ หรบั ตําแหนงอยา งใด และจะใหม ี ยศหรอื ไม และถา ใหม ยี ศจะใหม ยี ศใด รวมตลอดถงึ การตดั โอนตาํ แหนง จากสว นราชการหนงึ่ ไปเพม่ิ ให อกี สว นราชการหนงึ่ ใหเ ปน ไปตามที่ ก.ตร. กาํ หนด โดยใหค าํ นงึ ถงึ ลกั ษณะหนา ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบ ปรมิ าณและคุณภาพของงาน รวมท้งั ความมปี ระสิทธิภาพและการประหยัด ๑๘ มาตรา ๔๔ แกไขเพิ่มเตมิ โดยคําส่ังหัวหนา คณะรักษาความสงบแหงชาติ ท่ี ๗/๒๕๕๙ เรือ่ ง การกําหนดตําแหนงของ ขาราชการตาํ รวจซ่งึ มีอาํ นาจหนา ท่ใี นการสอบสวน (เลม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๓๖ ง วันที่ ๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๙)
๕๖ *กฎ ก.ตร. ตามมาตรานี้ ไดแ ก กฎ ก.ตร.วา ดว ยการแตง ต้งั ขา ราชการตาํ รวจ พ.ศ.๒๕๖๑ การกําหนดจํานวนตําแหนงขาราชการตํารวจต้ังแตตําแหนงผูบังคับการ หรือตําแหนง เทยี บเทาขน้ึ ไปในสวนราชการตาง ๆ ตอ งไดร ับความเห็นชอบจาก ก.ต.ช. กอน๑๙ ÁÒμÃÒ ôö ใหขาราชการตํารวจซงึ่ ดาํ รงตาํ แหนงตามมาตรา ๔๔ (๙) (๑๐) และ (๑๑) ที่มีอํานาจและหนาท่ีทําการสอบสวนและอยูในสายงานสอบสวน ไดรับเงินเพิ่มเปนกรณีพิเศษ ตามระเบียบที่ ก.ตร. กาํ หนดโดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลัง๒๐ ในการกําหนดจํานวนเงินเพิ่มเปนกรณีพิเศษตามวรรคหนึ่ง ใหคํานึงถึงคาใชจายในการ ปฏิบัติงานและการดํารงตนอยูในความยุติธรรมไดอยางมีเกียรติโดยเปรียบเทียบกับคาตอบแทนที่รัฐ จายใหแ กข า ราชการฝายอ่ืนทเี่ กยี่ วกบั กระบวนการยตุ ิธรรมประกอบดวย ÁÒμÃÒ ô÷òñ (ยกเลกิ ) ¡ÒúÃÃ¨Ø ¡ÒÃá짋 μéѧáÅСÒÃàÅ×Íè ¹¢¹Ñé à§¹Ô à´Í× ¹ ÁÒμÃÒ ôø ผทู จี่ ะไดร บั การบรรจเุ ขา รบั ราชการเปน ขา ราชการตาํ รวจ ตอ งมคี ณุ สมบตั ิ และไมม ีลักษณะตอ งหามดงั ตอ ไปน้ี (๑) มสี ญั ชาตไิ ทยโดยการเกิด (๒) มอี ายไุ มตา่ํ กวา สิบแปดปบ ริบูรณ (๓) เปน ผเู ลอื่ มใสในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมขุ (๔) ไมเปนขาราชการการเมือง ผูดํารงตําแหนงทางการเมือง สมาชิก สภาทองถนิ่ หรอื ผบู รหิ ารทอ งถน่ิ (๕) ไมเปนผดู าํ รงตาํ แหนง ใดๆ ในพรรคการเมอื ง (๖) มีคุณสมบัตแิ ละไมม ลี ักษณะตอ งหามอื่นตามที่กําหนดในกฎ ก.ตร. *กฎ ก.ตร. ตามมาตราน้ี ไดแ ก กฎ ก.ตร.วา ดว ยคณุ สมบตั แิ ละลกั ษณะตอ งหา มของการเปน ขาราชการตํารวจ พ.ศ.๒๕๔๗ และทีแ่ กไขเพ่มิ เตมิ ÁÒμÃÒ ôù การบรรจบุ คุ คลเขา รบั ราชการเปน ขา ราชการตาํ รวจตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ ใหผบู ังคับบัญชาตามที่กําหนดในระเบียบ ก.ตร. เปน ผมู ีอาํ นาจส่ังบรรจุและแตง ตั้ง *ระเบยี บ ก.ตร. ตามมาตรานี้ ไดแ ก ระเบยี บ ก.ตร.วาดว ยผูมีอาํ นาจส่ังบรรจุและแตง ตัง้ บุคคลเขา รับราชการเปน ขา ราชการตํารวจ พ.ศ.๒๕๔๗ ๑๙ มาตรา ๔๕ วรรคสอง แกไขเพ่มิ เตมิ โดยคําส่ังหวั หนาคณะรกั ษาความสงบแหง ชาติ ท่ี ๗/๒๕๕๙ เร่ือง การกาํ หนด ตําแหนง ของขาราชการตํารวจซึง่ มอี ํานาจหนา ท่ใี นการสอบสวน (เลม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๓๖ ง วันท่ี ๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๙) ๒๐ มาตรา ๔๖ วรรคหนงึ่ แกไ ขเพ่ิมเตมิ โดยคําสั่งหวั หนา คณะรกั ษาความสงบแหงชาติ ที่ ๗/๒๕๕๙ เร่ือง การกําหนด ตําแหนง ของขา ราชการตาํ รวจซึง่ มีอํานาจหนา ท่ีในการสอบสวน (เลม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๓๖ ง วนั ท่ี ๕ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๙) ๒๑ มาตรา ๔๗ ยกเลกิ โดยคาํ สงั่ หวั หนา คณะรกั ษาความสงบแหง ชาติ ที่ ๗/๒๕๕๙ เรอ่ื ง การกาํ หนดตาํ แหนง ของขา ราชการ ตํารวจซง่ึ มอี ํานาจหนา ที่ในการสอบสวน (เลม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๓๖ ง วนั ที่ ๕ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๙)
๕๗ ÁÒμÃÒ õð การบรรจุบุคคลเขารับราชการเปนขาราชการตํารวจชั้นพลตํารวจ ช้ันประทวน และชน้ั สัญญาบัตร ใหบ รรจุจากบคุ คลผไู ดรับคดั เลือกหรอื สอบแขงขันได หลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารคดั เลอื กหรอื การสอบแขง ขนั ใหเ ปน ไปตามทก่ี าํ หนดในกฎ ก.ตร.และ ใหผูบัญชาการตํารวจแหงชาติหรือผูบังคับบัญชาที่ไดรับมอบอํานาจจากผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ เปนผดู ําเนนิ การคัดเลอื กหรือสอบแขง ขัน *กฎ ก.ตร. ตามมาตรานี้ ไดแก กฎ ก.ตร.วาดวยหลักเกณฑและวิธีการคัดเลือกหรือ การสอบแขงขันบคุ คลเพ่อื บรรจเุ ขารบั ราชการเปน ขาราชการตาํ รวจ พ.ศ.๒๕๔๗ และทีแ่ กไ ขเพิ่มเติม ÁÒμÃÒ õñ การแตงต้ังขาราชการตํารวจใหดํารงตําแหนง ใหแตงตั้งตามหลักเกณฑ ดังตอ ไปน้ี (๑) ตาํ แหนง ผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ จะไดท รงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ แตง ตงั้ จากขาราชการตาํ รวจยศพลตํารวจเอก (๒) ตาํ แหนงจเรตาํ รวจแหงชาติ และรองผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ จะไดท รงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตง ตง้ั จากขาราชการตํารวจยศพลตาํ รวจโทหรือพลตาํ รวจเอก (๓) ตําแหนงผูชวยผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ จะไดทรงพระกรุณา โปรดเกลาฯ แตงตง้ั จากขา ราชการตาํ รวจยศพลตํารวจโท (๔) ตําแหนงผูบัญชาการ จะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งจาก ขาราชการตาํ รวจยศพลตํารวจตรีหรือพลตํารวจโท (๕) ตาํ แหนง รองผบู ญั ชาการ จะไดท รงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ แตง ตง้ั จาก ขาราชการตํารวจยศพลตาํ รวจตรี (๖)๒๒ ตําแหนงผูบ งั คบั การ จะไดทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ แตงตัง้ จาก ขาราชการตํารวจยศพันตํารวจเอก ซงึ่ ไดรบั อตั ราเงินเดือนพนั ตํารวจเอก (พิเศษ) หรือพลตาํ รวจตรี (๗)๒๓ ตําแหนงรองผูบังคับการ ใหแตงตั้งจากขาราชการตํารวจ ยศพนั ตํารวจเอกหรอื พนั ตํารวจเอกซงึ่ ไดรับอัตราเงนิ เดอื นพนั ตํารวจเอก (พิเศษ) (๘)๒๔ ตาํ แหนง ผกู าํ กบั การ ใหแ ตง ตง้ั จากขา ราชการตาํ รวจยศพนั ตาํ รวจโท หรอื พันตาํ รวจเอก ๒๒ มาตรา ๕๑ (๖) แกไขเพิม่ เติมโดยคําสง่ั หัวหนา คณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ ๗/๒๕๕๙ เรื่อง การกาํ หนดตําแหนง ของขาราชการตํารวจซึ่งมอี าํ นาจหนา ที่ในการสอบสวน (เลม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๓๖ ง วนั ท่ี ๕ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๙) ๒๓ มาตรา ๕๑ (๗) แกไขเพ่ิมเติมโดยคําสัง่ หวั หนาคณะรกั ษาความสงบแหงชาติ ที่ ๗/๒๕๕๙ เรือ่ ง การกาํ หนดตําแหนง ของขา ราชการตํารวจซง่ึ มีอํานาจหนาทใ่ี นการสอบสวน (เลม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๓๖ ง วันที่ ๕ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๙) ๒๔ มาตรา ๕๑ (๘) แกไ ขเพ่ิมเตมิ โดยคาํ ส่ังหวั หนา คณะรกั ษาความสงบแหง ชาติ ที่ ๗/๒๕๕๙ เรอ่ื ง การกาํ หนดตําแหนง ของขา ราชการตาํ รวจซึ่งมอี าํ นาจหนา ท่ใี นการสอบสวน (เลม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๓๖ ง วนั ที่ ๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๙)
๕๘ (๙)๒๕ ตําแหนงรองผูกํากับการ ใหแตงต้ังจากขาราชการตํารวจยศ พนั ตํารวจโท (๑๐)๒๖ ตาํ แหนง สารวตั ร ใหแ ตง ตงั้ จากขา ราชการตาํ รวจยศรอ ยตาํ รวจเอก ขนึ้ ไปแตไ มสงู กวา พนั ตํารวจโท (๑๑)๒๗ ตาํ แหนง รองสารวตั ร ใหแ ตง ตงั้ จากขา ราชการตาํ รวจยศรอ ยตาํ รวจตรี ข้ึนไปแตไ มส งู กวารอ ยตํารวจเอก (๑๒) ตาํ แหนง ผบู งั คบั หมู ใหแ ตง ตงั้ จากขา ราชการตาํ รวจยศสบิ ตาํ รวจตรี ขึ้นไปแตไ มส ูงกวา ดาบตํารวจ (๑๓) ตาํ แหนง รองผบู งั คบั หมู ใหแ ตง ตงั้ จากขา ราชการตาํ รวจชน้ั พลตาํ รวจ การแตง ตง้ั ขา ราชการตาํ รวจใหด าํ รงตาํ แหนง ตาม (๒) ถงึ (๑๓) อาจแตง ตง้ั ใหด าํ รงตาํ แหนง เทียบเทา ดว ยกไ็ ด ÁÒμÃÒ õò ขา ราชการตาํ รวจซงึ่ ดาํ รงตาํ แหนง ตามมาตรา ๕๑(๑๒) หรอื (๑๓) อาจไดร บั การคัดเลือกและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงและมียศตามมาตรา ๕๑(๑๑) ไดตามหลักเกณฑและวิธีการ ท่ีกาํ หนดในกฎ ก.ตร. ขา ราชการตาํ รวจซง่ึ ดาํ รงตาํ แหนง ตามมาตรา ๕๑(๑๓) อาจไดร บั การคดั เลอื กและแตง ตงั้ ใหดํารงตาํ แหนง และมียศตามมาตรา ๕๑(๑๒) ไดตามหลกั เกณฑแ ละวิธีการทก่ี าํ หนดในกฎ ก.ตร. *กฎ ก.ตร. ตามมาตราน้ี ไดแ ก กฎ ก.ตร.วา ดว ยการคดั เลอื กและแตง ตง้ั ขา ราชการตาํ รวจ ชน้ั พลตาํ รวจเปน ขา ราชการตาํ รวจชน้ั ประทวนและการคดั เลอื กและแตง ตง้ั ขา ราชการตาํ รวจชนั้ ประทวน หรอื ช้ันพลตํารวจเปน ขา ราชการตาํ รวจสัญญาบัตร พ.ศ.๒๕๔๗ และทแ่ี กไ ขเพิม่ เติม ÁÒμÃÒ õóòø การแตงตั้งขาราชการตํารวจใหดํารงตําแหนงตามมาตรา ๔๔(๑) (๒) (๓) (๔) (๕) และ (๖) ใหเปน ไปตามหลักเกณฑด ังตอ ไปนี้ (๑) การแตงต้ังขาราชการตํารวจใหดํารงตําแหนงตามมาตรา ๔๔(๑) ใหผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ คัดเลือกรายชื่อขาราชการตํารวจท่ีดํารงตําแหนงจเรตํารวจแหงชาติ หรือรองผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ แลวเสนอ ก.ต.ช. เพ่ือพิจารณาใหความเห็นชอบกอน แลวให นายกรัฐมนตรีนําความกราบบงั คมทลู เพ่ือทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ แตงตง้ั ๒๕ มาตรา ๕๑ (๙) แกไ ขเพ่ิมเตมิ โดยคําส่ังหวั หนา คณะรักษาความสงบแหงชาติ ท่ี ๗/๒๕๕๙ เรื่อง การกาํ หนดตําแหนง ของขา ราชการตาํ รวจซ่ึงมอี าํ นาจหนาทใ่ี นการสอบสวน (เลม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๓๖ ง วันที่ ๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๙) ๒๖ มาตรา ๕๑ (๑๐) แกไ ขเพ่ิมเตมิ โดยคําสง่ั หัวหนา คณะรกั ษาความสงบแหง ชาติ ที่ ๗/๒๕๕๙ เรอื่ ง การกาํ หนดตําแหนง ของขาราชการตํารวจซึง่ มอี าํ นาจหนา ที่ในการสอบสวน (เลม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๓๖ ง วนั ที่ ๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๙) ๒๗ มาตรา ๕๑ (๑๑) แกไ ขเพิม่ เตมิ โดยคาํ สงั่ หวั หนา คณะรกั ษาความสงบแหง ชาติ ที่ ๗/๒๕๕๙ เรอื่ ง การกาํ หนดตําแหนง ของขาราชการตาํ รวจซง่ึ มอี าํ นาจหนาทใ่ี นการสอบสวน (เลม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๓๖ ง วนั ที่ ๕ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๙) ๒๘ มาตรา ๕๓ แกไขเพิ่มเติมโดยคําส่ังหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ ๔๔/๒๕๕๘ เรื่อง การแกไขปญหา การบริหารงานบคุ คลของขา ราชการตาํ รวจ (เลม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๒๒ ง วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๘)
๕๙ (๒) การแตงต้ังขาราชการตํารวจใหดํารงตําแหนงตามมาตรา ๔๔(๒) (๓) (๔) (๕) และ (๖) ใหผูบัญชาการตํารวจแหงชาติคัดเลือกรายชื่อขาราชการตํารวจเสนอ ก.ตร. เพ่ือพิจารณาใหความเห็นชอบกอน แลวใหนายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณา โปรดเกลาฯ แตงต้ัง ÁÒμÃÒ õôòù การแตงตั้งขา ราชการตาํ รวจใหด ํารงตาํ แหนง ตัง้ แตม าตรา ๔๔ (๗) ลงมา ใหผ บู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ หรอื ผทู ไี่ ดร บั มอบหมายจากผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาตซิ ง่ึ ดาํ รงตาํ แหนง ไมต ่ํากวาผบู ญั ชาการเปนผูสง่ั แตงต้ัง โดยใหเ ปน ไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และขัน้ ตอน ดงั ตอไปน้ี (๑) ใหหัวหนาสวนราชการหรือหนวยงานระดับกองบังคับการ แตงต้ัง คณะกรรมการกลนั่ กรองการแตง ตง้ั ขา ราชการตาํ รวจระดบั กองบงั คบั การ โดยอยา งนอ ยตอ งประกอบดว ย รองหัวหนาสวนราชการหรือหนวยงานนั้นทุกคนเปนกรรมการ เพื่อทําหนาที่พิจารณาการแตงต้ัง ขาราชการตํารวจใหดํารงตําแหนงตาง ๆ ในสวนราชการหรือหนวยงานนั้น แลวเสนอตอ หัวหนาสวนราชการหรือหนวยงานระดับกองบัญชาการเพื่อดําเนินการตาม (๒) หรือเสนอตอ ผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาตหิ รอื ผทู ไ่ี ดร บั มอบหมายใหเ ปน ผสู งั่ แตง ตงั้ ในกรณกี ารแตง ตงั้ ขา ราชการตาํ รวจ ในสังกัดสาํ นักงานผบู ญั ชาการตํารวจแหง ชาตเิ พอื่ ดาํ เนินการตาม (๓) ตอไป แลวแตกรณี (๒) ใหหัวหนาสวนราชการหรือหนวยงานระดับกองบัญชาการแตงต้ัง คณะกรรมการกลนั่ กรองการแตง ตงั้ ขา ราชการตาํ รวจระดบั กองบญั ชาการ โดยอยา งนอ ยตอ งประกอบดว ย รองหัวหนาสวนราชการหรือหนวยงานน้ันทุกคนเปนกรรมการ เพื่อทําหนาที่พิจารณาการแตงตั้ง ขา ราชการตาํ รวจใหด าํ รงตาํ แหนงตา ง ๆ ในสวนราชการหรอื หนว ยงานนัน้ และการแตงตงั้ ขาราชการ ตํารวจที่ไดรับการเสนอตาม (๑) แลวเสนอตอผูบัญชาการตํารวจแหงชาติหรือผูท่ีไดรับมอบหมาย ใหเ ปน ผสู ั่งแตง ตัง้ เพอ่ื ดาํ เนนิ การตาม (๓) หรือดาํ เนินการแตง ตง้ั ตอ ไป แลวแตก รณี (๓) ใหผ บู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาตแิ ตง ตง้ั คณะกรรมการกลน่ั กรองการแตง ตงั้ ขา ราชการตาํ รวจโดยอยา งนอ ยตอ งประกอบดว ยจเรตาํ รวจแหง ชาตแิ ละรองผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ ทกุ คนเปน กรรมการเพอื่ ทาํ หนา ทพี่ จิ ารณาการแตง ตงั้ ขา ราชการตาํ รวจใหด าํ รงตาํ แหนง ตา ง ๆ ในสงั กดั สาํ นกั งานผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ และการแตง ตงั้ ขา ราชการตาํ รวจทไ่ี ดร บั การเสนอตาม (๑) หรอื (๒) แลวเสนอตอผูบัญชาการตํารวจแหงชาติหรือผูที่ไดรับมอบหมายใหเปนผูส่ังแตงตั้งเพ่ือดําเนินการ แตงต้งั ตอไป กรณที ผ่ี สู งั่ แตง ตง้ั เหน็ วา รายชอื่ ขา ราชการตาํ รวจตามวรรคหนง่ึ ผใู ดมคี วาม ไมเ หมาะสมหรอื มขี า ราชการตาํ รวจซงึ่ เหน็ สมควรดาํ รงตาํ แหนง ตา ง ๆ เพอ่ื ประโยชนแ กก ารบรหิ ารงาน บคุ คลของขา ราชการตาํ รวจใหเ กดิ ประสทิ ธภิ าพ ใหผ สู งั่ แตง ตง้ั มอี าํ นาจแกไ ขเปลยี่ นแปลง หรอื เพม่ิ เตมิ ๒๙ มาตรา ๕๔ แกไขเพิ่มเติมโดยคําส่ังหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ ๗/๒๕๖๐ เรื่อง การปรับปรุงระบบ การพิจารณาแตงตั้งขา ราชการตาํ รวจ (เลม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๔๓ ง วนั ที่ ๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๖๐)
๖๐ การแตง ตั้งขา ราชการตาํ รวจใหดาํ รงตาํ แหนง ตา ง ๆ แลวดําเนนิ การแตง ตง้ั หรอื สง่ั ใหพิจารณาทบทวน การเสนอแตงตงั้ ไดต ามควรแกกรณี ÁÒμÃÒ õõóð (ยกเลกิ ) ÁÒμÃÒ õöóñ ในกรณที ผี่ บู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาตเิ หน็ วา การใชอ าํ นาจในการแตง ตงั้ ของ ผบู ญั ชาการไมเ ปน ธรรม หรอื มกี รณไี มช อบดว ยหลกั เกณฑห รอื วธิ กี ารท่ี ก.ตร. กาํ หนดตามมาตรา ๕๗ หรือมีเหตุผลความจําเปนอยางย่ิงท่ีจะตองใหขาราชการตํารวจซ่ึงดํารงตําแหนงตั้งแตมาตรา ๔๔(๗) ลงมาพนจากพ้ืนที่หรือหนาที่ หรือเห็นวาหากดํารงตําแหนงเดิมตอไปจะกอใหเกิดความเสียหายแก ทางราชการ หรอื มเี หตุพิเศษตามท่ี ก.ตร. กําหนด ใหผูบ ัญชาการตาํ รวจแหง ชาตมิ ีอาํ นาจสั่งแตง ต้งั ขาราชการตาํ รวจ ใหดาํ รงตาํ แหนงตามมาตรา ๔๔(๗) ลงมา ไดตามควรแกก รณี ÁÒμÃÒ õ÷ การคัดเลอื ก การทําความตกลงกนั การใหค วามเหน็ ชอบ และการแตง ตั้ง ขา ราชการตาํ รวจตามมาตรา ๕๓(๒) มาตรา ๕๔ และมาตรา ๕๕ ใหพ จิ ารณาโดยคาํ นงึ ถงึ ความอาวโุ ส ประวตั ิการรบั ราชการ ผลการปฏบิ ัตงิ าน ความประพฤติ และความรูความสามารถประกอบกัน ทัง้ น้ี ตามหลกั เกณฑและวิธกี ารท่ีกาํ หนดในกฎ ก.ตร. *กฎ ก.ตร. ตามมาตรานี้ ไดแก กฎ ก.ตร.วาดว ยการแตงตงั้ ขา ราชการตาํ รวจ พ.ศ.๒๕๖๑ และ กฎ ก.ตร. วาดว ยการแตง ตง้ั ขาราชการตํารวจ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ (วรรคสอง) (ยกเลกิ ) ๓๒ (วรรคสาม) (ยกเลกิ ) ๓๓ ÁÒμÃÒ õø ภายใตบงั คบั มาตรา ๖๘ ขา ราชการตํารวจผูใดมคี ุณวฒุ ิสูงขึ้น และมสี ิทธิ ไดรบั เงินเดือนสูงขนึ้ ตามที่ ก.ตร. กําหนด ใหผ มู อี าํ นาจตามมาตรา ๖๔ เปนผมู ีอาํ นาจส่งั เลอ่ื น ÁÒμÃÒ õù การบรรจบุ คุ คลเขา รบั ราชการเปน ขา ราชการตาํ รวจหรอื การแตง ตงั้ ขา ราชการ ตาํ รวจใหด าํ รงตาํ แหนง ใด ผไู ดร บั การบรรจหุ รอื ไดร บั การแตง ตงั้ ตอ งมคี ณุ สมบตั เิ ฉพาะสาํ หรบั ตาํ แหนง ตามที่ ก.ตร. กําหนดตามมาตรา ๔๕ เวน แตมีเหตุผลและความจาํ เปน ก.ตร. อาจอนุมตั ิใหบรรจหุ รอื แตงต้งั ขาราชการตํารวจทไี่ มมีคุณสมบตั เิ ฉพาะสาํ หรบั ตาํ แหนง ตามทก่ี าํ หนดไวก ไ็ ด การแตงต้ังขาราชการตํารวจไปดํารงตําแหนงอ่ืนในสํานักงานตํารวจแหงชาติตองแตงต้ัง ใหด าํ รงตําแหนงที่ไมต่ํากวา ตาํ แหนง เดมิ เวนแตมเี หตุผลและความจําเปน ก.ตร. อาจอนุมัตใิ หแตง ตงั้ ใหดาํ รงตําแหนง ที่ตาํ่ กวา ตาํ แหนงเดมิ เปนพเิ ศษเฉพาะรายได ๓๐ มาตรา ๕๕ ยกเลกิ โดยประกาศคณะรกั ษาความสงบแหง ชาติ ฉบบั ท่ี ๘๘/๒๕๕๗ เรอ่ื ง การแกไ ขเพิ่มเตมิ กฎหมาย วาดว ยตํารวจแหงชาติ (เลม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๑๓๔ ง วนั ที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗) ๓๑ มาตรา ๕๖ แกไขเพิ่มเติมโดยคําส่ังหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ท่ี ๔๔/๒๕๕๘ เร่ือง การแกไขปญหา การบรหิ ารงานบคุ คลของขาราชการตํารวจ (เลม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๒๒ ง วันท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๕๘) ๓๒ มาตรา ๕๗ วรรคสอง ยกเลิกโดยประกาศคณะรกั ษาความสงบแหงชาติ ฉบับท่ี ๘๘/๒๕๕๗ เรอ่ื ง การแกไ ขเพ่มิ เติม กฎหมายวา ดว ยตํารวจแหง ชาติ (เลม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๑๓๔ ง วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗) ๓๓ มาตรา ๕๗ วรรคสาม ยกเลิกโดยประกาศคณะรกั ษาความสงบแหงชาติ ฉบับท่ี ๘๘/๒๕๕๗ เรื่อง การแกไ ขเพม่ิ เติม กฎหมายวา ดว ยตาํ รวจแหงชาติ (เลม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๑๓๔ ง วนั ที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗)
๖๑ ÁÒμÃÒ öð ผูไดรับการบรรจุเขารับราชการเปนขาราชการตํารวจตามมาตรา ๕๐ ใหท ดลองปฏบิ ตั หิ นาทรี่ าชการในตําแหนงที่ไดร บั แตงตง้ั โดยมกี ําหนดระยะเวลาไมน อยกวา หกเดือน หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการทดลอง การประเมินผลการทดลอง การรายงานผล การทดลอง และการยกเวนไมตองทดลองปฏิบัติหนาท่ีราชการ รวมทั้งการส่ังใหออกจากราชการ อนั เนอ่ื งมาจากการทดลองปฏบิ ตั หิ นา ทร่ี าชการใหเปนไปตามทก่ี ําหนดในกฎ ก.ตร. ผใู ดถกู สงั่ ใหอ อกจากราชการระหวา งทดลองปฏบิ ตั หิ นา ทรี่ าชการ ไมใ หถ อื วา ผนู นั้ เคยเปน ขา ราชการตาํ รวจ แตท ้งั นี้ ไมก ระทบกระเทือนถึงการปฏบิ ตั หิ นา ที่ราชการ หรอื การรับเงนิ เดือนหรือ ผลประโยชนอ่นื ทไ่ี ดร บั จากทางราชการในระหวา งท่ีผนู ัน้ ทดลองปฏิบัติหนาท่ีราชการ *กฎ ก.ตร. ตามมาตราน้ี ไดแก กฎ ก.ตร.วาดวยการทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ พ.ศ.๒๕๔๗ ÁÒμÃÒ öñ การสงั่ ใหข า ราชการตาํ รวจประจาํ สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ หรอื สว นราชการใด หรือสํารองราชการในสวนราชการใด โดยใหพนจากตําแหนงหนาท่ีเดิมและโดยจะใหขาดจากอัตรา เงินเดือนในตําแหนงเดิมหรือไมก็ได ใหผูมีอํานาจดังตอไปนี้เปนผูสั่งไดตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงอ่ื นไขท่ีกําหนดใน กฎ ก.ตร. (๑) นายกรัฐมนตรสี าํ หรบั ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ (๒) ผบู ญั ชาการตาํ รวจแหงชาติสําหรบั ขา ราชการตํารวจทุกตาํ แหนง (๓) ผูบัญชาการสําหรับขาราชการตํารวจในกองบัญชาการหรือใน สวนราชการทีเ่ รียกชอื่ อยางอ่นื ที่มฐี านะเทียบเทา กองบญั ชาการ *กฎ ก.ตร. ตามมาตราน้ี ไดแ ก กฎ ก.ตร.วา ดว ยการสงั่ ใหข า ราชการตาํ รวจประจาํ สาํ นกั งาน ตาํ รวจแหง ชาติหรอื สวนราชการใด หรอื สํารองราชการในสวนราชการใด พ.ศ.๒๕๔๘ ÁÒμÃÒ öò การโอนขาราชการตํารวจไปรับราชการในสวนราชการหรือหนวยงานอ่ืน จะกระทําไดเม่ือเจาตัวสมัครใจและสวนราชการหรือหนวยงานตองการจะรับโอนผูน้ัน โดยให สว นราชการหรือหนวยงานท่ขี อรบั โอนทาํ ความตกลงกบั สํานกั งานตํารวจแหงชาติ ÁÒμÃÒ öó ใหผูมอี าํ นาจตามมาตรา ๔๙ เปน ผสู ่งั บรรจใุ นกรณีดังตอ ไปน้ี (๑) การโอนขา ราชการซงึ่ ไมใ ชข า ราชการตาํ รวจหรอื การโอนพนกั งานของ องคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ มาบรรจเุ ปน ขา ราชการตาํ รวจ ยกเวน ขา ราชการการเมอื ง ขา ราชการ ซงึ่ อยู ในระหวา งทดลองปฏบิ ตั หิ นา ทรี่ าชการ และพนกั งานขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ซงึ่ อยใู นระหวา ง ทดลองปฏบิ ตั งิ าน ใหก ระทาํ ไดเ มอื่ เจา ตวั สมคั รใจและสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตติ อ งการจะรบั โอนผนู น้ั โดยใหสํานักงานตํารวจแหงชาติทําความตกลงกับผูมีอํานาจสั่งบรรจุของสวนราชการหรือหนวยงาน สังกัดเดิม ในการนี้ ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติพิจารณาโดยคํานึงถึงประโยชนท่ีทางราชการตํารวจ จะไดร บั ทง้ั น้ี ในการดาํ เนนิ การรบั โอน การกาํ หนดตาํ แหนง ชน้ั ยศและอตั ราเงนิ เดอื น และการนบั เวลา ราชการ ใหเปน ไปตามหลักเกณฑและวธิ กี ารทกี่ ําหนดใน กฎ ก.ตร.
๖๒ *กฎ ก.ตร. ตามมาตราน้ี ไดแก กฎ ก.ตร.วาดวยการโอนขาราชการซ่ึงไมใชขาราชการ ตาํ รวจ หรอื การโอนพนกั งานขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ มาบรรจแุ ละแตง ตงั้ เปน ขา ราชการตาํ รวจ พ.ศ.๒๕๔๗ และกฎ ก.ตร.วา ดว ยการโอนขาราชการซง่ึ ไมใ ชข าราชการตาํ รวจ หรือการโอนพนักงาน ขององคกรปกครองสว นทองถ่นิ มาบรรจแุ ละแตง ตัง้ เปน ขาราชการตํารวจ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๖๑ (๒) การกลับเขา รับราชการเปน ขาราชการตาํ รวจ (ก) ขาราชการตํารวจซึ่งไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีใหออกจาก ราชการไปปฏบิ ตั งิ านใดๆ ซง่ึ ใหน บั เวลาระหวา งนน้ั สาํ หรบั การคาํ นวณบาํ เหนจ็ บาํ นาญเหมอื นเตม็ เวลา ราชการตามกฎหมายวาดว ยบาํ เหนจ็ บํานาญขา ราชการ ถา ผูน้นั ขอกลับเขารับราชการภายในกําหนด เวลาที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติ แตไมเกินส่ีปนับแตวันออกจากราชการไปปฏิบัติงานดังกลาว ท้ังนี้ ตาม หลกั เกณฑและวธิ ีการท่กี ําหนดในกฎ ก.ตร. *กฎ ก.ตร. ตามมาตราน้ี ไดแก กฎ ก.ตร.วาดวยการบรรจุและแตงตงั้ ขา ราชการตาํ รวจ ผไู ดร บั อนมุ ตั จิ ากคณะรฐั มนตรใี หอ อกจากราชการไปปฏบิ ตั งิ านใด ๆ กลบั เขา รบั ราชการเปน ขา ราชการ ตาํ รวจ พ.ศ.๒๕๔๗ (ข) ขาราชการตํารวจซงึ่ ออกจากราชการไปแลว และไมใ ชเปน กรณี ออกจากราชการในระหวางทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ ถาสมัครเขารับราชการและสํานักงานตํารวจ แหงชาติตองการท่ีจะรับผูน้ันเขารับราชการ ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติดําเนินการบรรจุและแตงต้ัง ท้ังนต้ี ามหลักเกณฑและวธิ ีการท่กี าํ หนดในกฎ ก.ตร. *กฎ ก.ตร. ตามมาตราน้ี ไดแก กฎ ก.ตร.วาดว ยการบรรจุและแตงต้ังขาราชการตํารวจ ผอู อกจากราชการไปแลวกลับเขารบั ราชการเปนขา ราชการตํารวจ พ.ศ.๒๕๔๗ (ค) ขาราชการซึ่งมิใชขาราชการตํารวจหรือพนักงานของ องคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ซง่ึ ออกจากราชการหรอื ออกจากงานไปแลว แตไ มร วมถงึ ขา ราชการการเมอื ง ขา ราชการ ซง่ึ ออกจากราชการในระหวา งทดลองปฏบิ ตั หิ นา ทร่ี าชการและพนกั งานขององคก รปกครอง สว นทอ งถน่ิ ซง่ึ ออกจากงานในระหวา งทดลองปฏบิ ตั งิ าน ถา สมคั รเขา รบั ราชการเปน ขา ราชการตาํ รวจ และเมื่อสํานักงานตํารวจแหงชาติเห็นสมควรรับบุคคลน้ันกลับเขารับราชการในตําแหนงขาราชการ ตาํ รวจ ในการนใ้ี หส าํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตพิ จิ ารณาโดยคาํ นงึ ถงึ ประโยชนท ที่ างราชการตาํ รวจจะไดร บั ท้ังน้ีการดําเนินการใหกลับเขารับราชการ การกําหนดตําแหนงช้ันยศ และอัตราเงินเดือนและการนับ เวลาราชการใหเ ปน ไปตามหลักเกณฑและวิธกี ารท่ีกาํ หนดในกฎ ก.ตร. *กฎ ก.ตร. ตามมาตราน้ี ไดแก กฎ ก.ตร.วา ดวยการบรรจแุ ละแตงตั้งขาราชการซงึ่ มใิ ช ขา ราชการตาํ รวจหรอื การบรรจแุ ละแตง ตงั้ พนกั งานขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ซง่ึ ออกจากราชการ หรอื ออกจากงานไปแลว กลบั เขา รับราชการเปนขา ราชการตํารวจ พ.ศ.๒๕๔๗ และกฎ ก.ตร.วา ดวย การบรรจุและแตงตั้งขาราชการซึ่งมิใชขาราชการตํารวจหรือการบรรจุและแตงต้ังพนักงานของ องคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ ซง่ึ ออกจากราชการหรอื ออกจากงานไปแลว กลบั เขา รบั ราชการเปน ขา ราชการ ตาํ รวจ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๖๑
๖๓ ÁÒμÃÒ öô ใหผูบัญชาการตํารวจแหงชาติเปนผูส่ังเล่ือนเงินเดือนขาราชการตํารวจ ระดบั ส.๘ ระดบั ส.๗ และระดับ ส.๖ เม่อื ไดรับความเห็นชอบจาก ก.ตร. แลว การส่ังเล่อื นเงนิ เดอื นขา ราชการตํารวจต้ังแตร ะดับ ส.๕ ลงมาใหเ ปนไปตามหลกั เกณฑท ี่ กําหนดในระเบยี บ ก.ตร. *ระเบยี บ ก.ตร. ตามมาตราน้ี ไดแก ระเบยี บ ก.ตร.วาดว ยผูม อี ํานาจส่งั เลอ่ื นเงนิ เดือน ขา ราชการตํารวจ พ.ศ.๒๕๕๘ การพิจารณาเลื่อนเงินเดือนขาราชการตํารวจ ใหคํานึงถึงคุณภาพและปริมาณงาน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานที่ไดปฏิบัติมา ความสามารถ และความอุตสาหะในการปฏิบัติ หนาที่ ตลอดจนการรักษาวินัยและการปฏิบัติตนเหมาะสมกับการเปนขาราชการตํารวจตามรายงาน ของผบู ังคับบญั ชาตามลําดบั ชน้ั ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑแ ละวธิ กี ารท่กี ําหนดในกฎ ก.ตร. *กฎ ก.ตร. ตามมาตรานี้ ไดแ ก กฎ ก.ตร.วา ดว ยการกาํ หนดหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารพจิ ารณา เลอื่ นเงินเดอื นขา ราชการตํารวจ พ.ศ.๒๕๕๖ และทีแ่ กไ ขเพมิ่ เติม การเลอื่ นเงนิ เดอื นเปน กรณพี เิ ศษเกนิ สองขนั้ ตอ งไดร บั อนมุ ตั จิ าก ก.ตร.เปน พเิ ศษเฉพาะราย ÁÒμÃÒ öõ ขาราชการตํารวจผูใดถึงแกความตายเน่ืองจากการปฏิบัติหนาที่ราชการ ก.ตร.จะพจิ ารณาเลอื่ นเงนิ เดอื นใหผ ูน้ันเปนกรณีพเิ ศษ เพอื่ ประโยชนในการคํานวณบาํ เหน็จบาํ นาญ ก็ได ÁÒμÃÒ öö ใหผูบังคับบัญชามีหนาที่พัฒนาผูใตบังคับบัญชาเพื่อเพ่ิมความรู ทักษะ ทัศนคติ คุณธรรมและจริยธรรม รวมท้ังประเมินผลการปฏิบัติราชการของผูใตบังคับบัญชา เพื่อใช ประกอบการพิจารณาแตงตงั้ และเลอื่ นเงินเดอื น ทง้ั นี้ ตามหลกั เกณฑ วธิ กี ารและระยะเวลาทก่ี ําหนด ในกฎ ก.ตร. *กฎ ก.ตร. ตามมาตราน้ี ไดแก กฎ ก.ตร.วาดวยหลักเกณฑ วิธีการและระยะเวลา การประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการของขา ราชการตาํ รวจ พ.ศ.๒๕๔๗ ͸ºÔ Ò มาตรา ๔๘ – ๖๖ การบรรจุบุคคลเขารับราชการเปนขาราชการตํารวจ ผูที่จะไดรับการบรรจุนอกจาก จะตอ งมคี ณุ สมบตั แิ ละไมม ลี กั ษณะตอ งหา มตามมาตรา ๔๘(๑) ถงึ (๕) แลว จะตอ งมคี ณุ สมบตั แิ ละไมม ี ลกั ษณะตอ งหา มอน่ื ตามกฎ ก.ตร.วา ดว ยคณุ สมบตั แิ ละลกั ษณะตอ งหา มของการเปน ขา ราชการตาํ รวจ พ.ศ.๒๕๔๗ (ราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๒๑ ตอนที่ ๖๒ ก วนั ท่ี ๒๘ กนั ยายน ๒๕๔๗) และทแี่ กไ ขเพม่ิ เตมิ ไดก าํ หนดไว ดงั ตอไปน้ี (๑) ไมเปนผูอยูในระหวางถูกสั่งพักราชการ หรือถูกส่ังใหออกจากราชการไวกอนตาม พระราชบญั ญัตนิ ห้ี รือกฎหมายอ่นื (๒) ไมเปนผูประพฤติเสือ่ มเสยี หรือบกพรอ งในศีลธรรมอนั ดี
๖๔ (๓) ไมเ ปนบคุ คลลมละลาย (๔) ไมเ ปน ผเู คยตอ งรบั โทษจาํ คกุ โดยคาํ พพิ ากษาถงึ ทส่ี ดุ ใหจ าํ คกุ เวน แตเ ปน โทษสาํ หรบั ความผิดท่ีกระทาํ โดยประมาทหรอื ความผดิ ลหุโทษ (๕) ไมเปนผูเคยถูกลงโทษใหออก หรือปลดออก หรือไลออกจากรัฐวิสาหกิจหรือ หนว ยงานอนื่ ของรัฐ (๖) ไมเ ปน ผเู คยถกู ลงโทษใหอ อกหรอื ปลดออก เพราะกระทาํ ผดิ วนิ ยั ตามพระราชบญั ญตั ิ น้ีหรือกฎหมายอน่ื (๗) ไมเปนผูเคยถูกลงโทษไลออกเพราะกระทําผิดวินัยตามพระราชบัญญัติน้ีหรือ กฎหมายอืน่ (๘) ไมเ ปน ผเู คยกระทาํ การทุจรติ ในการสอบเขา รับราชการ (๙) ในกรณที ่ีเปนชาย (ก) ถาเปนผูมีภูมิลําเนาอยูในเขตท่ีใชกฎหมายวาดวยการรับราชการทหารตองลง บัญชที หารกองเกนิ ตามกฎหมายนน้ั แลว (ข) รา งกายตอ งสงู ไมน อ ยกวา หนง่ึ รอ ยหกสบิ เซนตเิ มตร และรอบอกตอ งไมน อ ยกวา เจด็ สบิ เจ็ดเซนติเมตร ในกรณที ีเ่ ปน หญิงรา งกายตองสงู ไมน อยกวาหนง่ึ รอยหาสบิ เซนตเิ มตร (๑๐) มอี ายไุ มเ กนิ สามสบิ หา ปบ รบิ รู ณ ในกรณมี กี ารเปด รบั สมคั รคดั เลอื กหรอื สอบแขง ขนั ใหนับอายุสามสิบหาปบริบูรณ ถึงวันปดรับสมัคร ยกเวนผูสมัครกลับเขารับราชการ หรือโอนมารับ ราชการตาํ รวจ (๑๑) ไมเ ปน ผูมีสายตาผิดปกติ ตรวจแบบเสนลเลน (ปกติ ๖/๖) (๑๒) ไมเ ปนผูมีตาบอดสี (๑๓) ไมเ ปนผูมีแผลเปน ไฝ ปาน รอยสกั หดู หรือซีสต ทีส่ ว นตา ง ๆ ของรางกาย ซงึ่ มี ขนาดใหญหรอื มากจนแลดนู า เกลียด (๑๔) ไมเปนโรคหรืออาการใด ท่ีไมควรเปนขาราชการตํารวจตามบัญชีบัญชีโรคหรือ อาการท่ีไมควรเปน ขาราชการตาํ รวจ ตามที่ ก.ตร.กําหนด กฎ ก.ตร.วา ดว ยหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารคดั เลอื กหรอื การสอบแขง ขนั บคุ คลเพอื่ บรรจเุ ขา รบั ราชการเปนขา ราชการตํารวจ พ.ศ. ๒๕๔๗ (ราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๒๑ ตอนพิเศษ ๒๕ ก วันท่ี ๒๑ มิถุนายน ๒๕๔๗) และท่ีแกไขเพิ่มเติม กําหนดวิธีการคัดเลือกหรือการสอบแขงขันบุคคลเพื่อบรรจุ เขา รับราชการเปนขา ราชการตํารวจใหด ําเนนิ การ ดงั น้ี (๑) วธิ กี ารคดั เลอื ก ใหผ บู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ หรอื ผบู งั คบั บญั ชาทไ่ี ดร บั มอบอาํ นาจ จากผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ เปนผูดําเนินการคัดเลือก โดยพิจารณาถึงความรู ความสามารถ ความประพฤติ และหรอื บคุ ลกิ ภาพ ใหเ หมาะสมกบั ตาํ แหนง ทจ่ี ะบรรจแุ ละแตง ตง้ั ทง้ั น้ี อาจดาํ เนนิ การ
๖๕ โดยวธิ สี มั ภาษณ วธิ สี อบขอ เขยี น วธิ สี อบปฏบิ ตั ิ หรอื วธิ อี น่ื ใดวธิ หี นงึ่ หรอื หลายวธิ กี ไ็ ดต ามความเหมาะสม ในการน้ี อาจตงั้ คณะกรรมการ กรรมการ หรอื เจา หนา ทใี่ หด าํ เนนิ การในเรอื่ งตา ง ๆ ไดต ามความจาํ เปน (๒) วิธกี ารสอบแขง ขันใหด ําเนนิ การดังน้ี (ก) ใหผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ หรือผูบังคับบัญชาที่ไดรับมอบอํานาจจาก ผบู ัญชาการตาํ รวจแหงชาติ เปนผูด าํ เนินการสอบแขง ขัน (ข) ใหผ ดู าํ เนนิ การสอบแขง ขนั ตง้ั ขา ราชการตาํ รวจชนั้ สญั ญาบตั รเปน คณะกรรมการ ดําเนนิ การสอบแขงขนั ไมนอยกวา สามคน โดยใหต ั้งกรรมการคนหนึ่งเปนประธานกรรมการ (ค) คณะกรรมการดาํ เนนิ การสอบแขง ขนั อาจตง้ั อนกุ รรมการ หรอื เจา หนา ทด่ี าํ เนนิ การ ในเร่อื งท่เี กยี่ วกบั การสอบแขงขันไดตามความจําเปน (ง) ใหค ณะกรรมการดาํ เนนิ การสอบแขง ขนั กาํ หนดวนั เวลา สถานทสี่ อบและระเบยี บ เกยี่ วกบั การสอบไดเ ทา ทจี่ าํ เปน และไมข ดั ตอ หลกั สตู รและวธิ ดี าํ เนนิ การเกย่ี วกบั การสอบแขง ขนั นแ้ี ลว ใหประธานกรรมการประกาศกอ นวนั สอบไมน อ ยกวา เจด็ วนั (จ) หลักสตู รการสอบแขง ขัน มีรายละเอยี ดดังตอไปน้ี ๑) ภาคความรูความสามารถท่วั ไป ใหท ดสอบความรคู วามสามารถดงั ตอ ไปนโ้ี ดยวธิ สี อบขอ เขยี น โดยคาํ นงึ ถงึ ระดบั ความรูความสามารถทตี่ อ งการของตาํ แหนงทีจ่ ะบรรจแุ ละแตงต้งั ก) ความสามารถทวั่ ไป ใหทดสอบความสามารถในการคิดหาเหตุผล โดยใชขอมูลหรือปญหาทาง สังคมหรือทางเศรษฐกจิ หรือทางอ่ืนทเ่ี หมาะสมแกการทดสอบความสามารถดงั กลาวทางใดทางหนงึ่ หรือหลายทางก็ได ท้ังนี้ เมื่อจะใชขอมูลหรือปญหาทางใดทดสอบความสามารถในการคิดหาเหตุผล ใหระบุไวใ นประกาศรับสมคั รสอบดว ย ข) ภาษาไทย ใหทดสอบความรูและความสามารถในการใชภาษา โดยใหสรุปความและ หรือตีความจากขอความส้ัน ๆ หรือบทความ และใหพิจารณาเลือกใชภาษาในรูปแบบตาง ๆ จาก ขอ ความสนั้ ๆ ประโยค กลมุ คาํ หรอื คาํ หรอื ใหท ดสอบโดยรปู แบบอยา งอน่ื ทเี่ หมาะสมกบั การทดสอบ ความรูความสามารถดังกลาว ๒) ภาคความรูความสามารถท่ใี ชเฉพาะตาํ แหนง ใหท ดสอบความรคู วามสามารถในทางทจี่ ะใชใ นการปฏบิ ตั งิ านในตาํ แหนง ที่จะบรรจุและแตง ตง้ั โดยวิธสี อบขอ เขยี น หรือใหทดลองปฏิบตั ิงาน หรอื วธิ อี ่ืนวิธีใดวิธีหนง่ึ หรอื หลาย วิธีก็ไดต ามความเหมาะสม ๓) ภาคความเหมาะสมกบั ตาํ แหนง ใหป ระเมนิ บคุ คลเพอื่ พจิ ารณาความเหมาะสมกบั ตาํ แหนง หนา ทที่ จี่ ะบรรจุ แตงตั้งจากประวัติสวนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทํางาน และพฤติกรรมท่ีปรากฏทางอื่นของ
๖๖ ผูเขาสอบ และจากการสัมภาษณ ท้งั น้ี อาจใชวิธอี ่ืนใดเพ่มิ เตมิ อกี กไ็ ด เพอื่ พิจารณาความเหมาะสม ในดา นตา ง ๆ เชน ความรทู อ่ี าจใชเ ปน ประโยชนใ นการปฏบิ ตั งิ านในหนา ทแี่ ละความรใู นเรอื่ งการรกั ษา ความปลอดภัยแหง ชาติ ความสามารถ ประสบการณ ทวงทีวาจา อปุ นสิ ยั อารมณ ทัศนคตจิ ริยธรรม และคุณธรรม การปรับตัวเขากับผูรวมงาน รวมท้ังสังคมและส่ิงแวดลอม ความคิดริเร่ิมสรางสรรค ปฏภิ าณไหวพรบิ และบุคลกิ ภาพอยา งอ่นื เปน ตน การบรรจุบุคคลเปนขาราชการตํารวจชั้นพลตํารวจ หรือชั้นประทวน ใหไดรับเงินเดือน ขนั้ ตา่ํ หรอื ตามที่ ก.ตร. กาํ หนดไวใ นกฎ ก.ตร. วา ดว ยการไดร บั เงนิ เดอื นสงู กวา ขน้ั ตา่ํ ของขา ราชการตาํ รวจ ชน้ั พลตาํ รวจ ชน้ั ประทวน และชนั้ สญั ญาบตั ร สาํ หรบั ชน้ั พลตาํ รวจหรอื ชน้ั ประทวนทเี่ ขา รบั การศกึ ษา หรือฝกอบรมในสถานศึกษาของสํานักงานตํารวจแหงชาติ ตามหลักสูตรท่ีสํานักงานตํารวจแหงชาติ กําหนดเพ่ือแตงตั้งเปนขาราชการตํารวจชั้นประทวนหรือชั้นสัญญาบัตร รับเงินเดือนตามคุณวุฒิ ใหด าํ เนนิ การดว ยวธิ กี ารคดั เลอื กหรอื การสอบแขง ขนั กรณใี ดจะใชว ธิ ใี ดใหผ บู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ หรอื ผบู งั คบั บญั ชาทไี่ ดร บั มอบอาํ นาจจากผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาตเิ ปน ผกู าํ หนดหลกั สตู รการศกึ ษา หรือการฝกอบรมตามความในวรรคแรก ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติพิจารณากําหนด โดยคํานึงถึง วัตถุประสงคในการสรรหาบุคคลเขารับราชการ และพ้ืนความรูของผูเขารับการศึกษาหรือผูเขารับ การฝกอบรมดงั น้ี (ก) หลักสูตรการศึกษาสําหรับผูไดรับการบรรจุเขารับราชการเพื่อเขารับการศึกษาให กําหนดหลักสูตรทส่ี รา งองคค วามรู เสริมสรางทักษะและปรับปรงุ บคุ ลกิ ภาพในการปฏิบัติราชการ (ข) หลักสูตรการฝกอบรมผูไดรับการบรรจุเขารับราชการในฐานะผูสําเร็จการศึกษา ไดร บั ประกาศนยี บตั ร อนปุ รญิ ญา หรอื ปรญิ ญา ใหก าํ หนดหลกั สตู รทเี่ สรมิ สรา งและปรบั ปรงุ บคุ ลกิ ภาพ เพอื่ เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพและทกั ษะในการปฏิบตั ิงานนอกเหนือไปจากพ้นื ความรทู ใ่ี ชบ รรจุเขารับราชการ หลกั สตู รการศกึ ษาหรือการฝก อบรมตาม (ก) และ (ข) ตอ งไดรบั ความเห็นชอบจาก ก.ตร. และกฎ ก.ตร. วา ดว ยหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารคดั เลอื กหรอื การสอบแขง ขนั บคุ คลเพอ่ื บรรจเุ ขา รบั ราชการ เปน ขาราชการตาํ รวจ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๙ (ราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๓๓ ตอนที่ ๖๓ ก วันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๙) มีสาระสําคัญเกี่ยวกับการบรรจุบุคคลเปนขาราชการตํารวจช้ันพลตํารวจ หรือ ชนั้ ประทวน ใหไ ดร บั เงนิ เดอื นขน้ั ตาํ่ หรอื ตามที่ ก.ตร. กาํ หนดไวใ นกฎ ก.ตร. วา ดว ยการไดร บั เงนิ เดอื น สงู กวา ขน้ั ตา่ํ ของขา ราชการตาํ รวจชนั้ พลตาํ รวจ ชนั้ ประทวน และชน้ั สญั ญาบตั ร ดว ยเหตผุ ลทว่ี า อตั ราเงนิ เดอื น ของผูเรียนในสถานศึกษาของสํานักงานตํารวจแหงชาติมีความแตกตางจากผูเรียนของเหลาทัพอื่น ซง่ึ ไดร บั เงนิ เดอื นในอตั ราทม่ี ากกวา จงึ ควรกาํ หนดใหเ ปน ไปในแนวทางเดยี วกนั และสอดคลอ งกบั สภาพ เศรษฐกจิ ในปจ จบุ นั จงึ แกไ ขใหผ เู รยี นในสถานศกึ ษาของสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตไิ ดร บั อตั ราเงนิ เดอื น ทส่ี งู ขน้ึ สาํ หรบั ชน้ั พลตาํ รวจหรอื ชนั้ ประทวนทเี่ ขา รบั การศกึ ษาหรอื ฝก อบรมในสถานศกึ ษาของสาํ นกั งาน ตํารวจแหงชาติ ตามหลักสูตรท่ีสํานักงานตํารวจแหงชาติกําหนดเพื่อแตงต้ังเปนขาราชการตํารวจ ชั้นประทวนหรือช้ันสัญญาบัตร รับเงินเดือนตามคุณวุฒิ ใหดําเนินการดวยวิธีการคัดเลือกหรือ
๖๗ การสอบแขง ขนั กรณใี ดจะใชว ธิ ใี ดใหผ บู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาตหิ รอื ผบู งั คบั บญั ชาทไ่ี ดร บั มอบอาํ นาจ จากผูบัญชาการตาํ รวจแหง ชาติเปน ผูกําหนด ขาราชการตํารวจผูที่จะไดรับเงินเดือนสูงกวาข้ันตํ่าของชั้นพลตํารวจ ช้ันประทวน และ ชัน้ สญั ญาบตั ร จะตอ งเปนผทู ม่ี คี ุณสมบัตขิ อใดขอ หนึ่ง ดังตอไปนี้ (๑) สําเร็จหลกั สูตรผเู รยี นนายสิบตาํ รวจหรอื หลักสตู รท่ีเทียบเทา (๒) สาํ เรจ็ หลักสูตรผูเรียนผชู ว ยพยาบาลตาํ รวจ (๓) สาํ เร็จหลกั สตู รผูเรียนนายรอ ยตํารวจ (๔) สําเร็จหลกั สูตรนกั ศึกษาพยาบาลตาํ รวจ (๕) ผานการคัดเลือกหรือการสอบแขงขันเพ่ือบรรจุหรือแตงต้ังเปนขาราชการตํารวจ ช้นั ประทวนหรอื ชนั้ สัญญาบตั ร (๖) สาํ เรจ็ หลกั สตู รการศกึ ษาหรอื ฝก อบรมเพอ่ื แตง ตงั้ เปน ขา ราชการตาํ รวจชน้ั ประทวน หรือชั้นสญั ญาบัตร ตามหลักสูตรที่สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตกิ ําหนดโดยความเหน็ ชอบของ ก.ตร. (๗) มีคุณวุฒิสงู ขนึ้ โดยไดรับอนญุ าตใหลาศึกษาตามเงอ่ื นไขระเบยี บของทางราชการ (๘) ผานการคดั เลอื กหรอื การสอบแขงขันเปน ขาราชการตํารวจชัน้ พลตาํ รวจ (๙) เปนขาราชการตํารวจชั้นพลตํารวจที่กําลังศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาใน (๑) ถึง (๔) และใหรวมถึงผูท่ีไมสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรใน (๓) และ (๔) ท่ีสมควรจะใหรับราชการเปน ขา ราชการตาํ รวจตอไปตามหลักเกณฑและวธิ ีการทีส่ าํ นักงานตํารวจแหง ชาตกิ าํ หนด การสง่ั ใหข า ราชการตาํ รวจไดร บั อตั ราเงนิ เดอื นสงู กวา ขน้ั ตา่ํ ของชน้ั พลตาํ รวจ ชน้ั ประทวน และชนั้ สัญญาบตั ร ใหไดร ับเงินเดือนตามท่ี ก.ตร. กาํ หนด โดยคํานงึ ถงึ อัตราเงินเดอื นท่ี ก.พ. กําหนด สาํ หรบั ผไู ดร บั ปรญิ ญา อนปุ รญิ ญาหรอื ประกาศนยี บตั รเดยี วกนั ดว ย แตถ า ผนู น้ั ไดร บั เงนิ เดอื นสงู กวา อตั ราทก่ี าํ หนดไวก ใ็ หไ ดร บั เงนิ เดอื นในอตั ราเทา กบั เงนิ เดอื นทไี่ ดร บั อยหู รอื ในขน้ั ทเ่ี ทยี บไดต รงกบั อตั รา เงนิ เดือนตามตารางเทยี บขนั้ เงนิ เดือนขา ราชการตาํ รวจ กฎ ก.ตร.วา ดวยการทดลองปฏบิ ตั ิหนาที่ราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ (ราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๒๑ ตอนท่ี ๗๒ ก วนั ที่ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๗) กาํ หนดใหผ ไู ดร บั การบรรจเุ ขา รบั ราชการเปน ขา ราชการ ตํารวจตามมาตรา ๕๐ ทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการในตําแหนงที่ไดรับการแตงตั้งเปนเวลาหกเดือน นบั แตว นั เขา ปฏบิ ตั หิ นา ทร่ี าชการเปน ตน ไป ยกเวน ผไู ดร บั การบรรจเุ ขา รบั ราชการเพอ่ื เขา รบั การศกึ ษา หรือเขารับการฝกอบรมในสถานศึกษาของสํานักงานตํารวจแหงชาติ เพ่ือคัดเลือกและแตงต้ังใหดํารง ตาํ แหนงและมยี ศตามมาตรา ๕๒ ไมต อ งทดลองปฏิบตั หิ นาทร่ี าชการ ใหผ บู งั คบั บญั ชาพจิ ารณาดาํ เนนิ การในเรอ่ื งการทดลองปฏบิ ตั หิ นา ทร่ี าชการอยา งจรงิ จงั มีความเท่ียงธรรมและไดมาตรฐานในอันท่ีจะใหการทดลองปฏิบัติหนาท่ีราชการเปนกระบวนการ เลือกสรรบุคคลเขา รบั ราชการอยา งมปี ระสิทธิภาพ
๖๘ การรายงานผลการทดลองปฏิบัติหนา ท่ีราชการ มี ๒ กรณี คอื (๑) การรายงานวาควรใหผูทดลองปฏิบัติหนาท่ีราชการรับราชการตอไป เพราะผูน้ัน ผานการประเมินผลการทดลองปฏิบัติหนาท่ีราชการตามเกณฑท่ีกาํ หนดโดยมีคะแนนรวมอธิบายแลว ไมนอ ยกวารอ ยละ ๖๐ (๒) การรายงานวาควรใหผูทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการออกจากราชการ เพราะผูน้ัน ไมผ า นการประเมนิ ผลการทดลองปฏบิ ตั หิ นา ทร่ี าชการตามเกณฑท กี่ ําหนด โดยมคี ะแนนรวมอธบิ ายแลว ไมถงึ รอยละ ๖๐ การรายงานวา ควรใหผ ทู ดลองปฏบิ ตั ิหนา ทรี่ าชการรับราชการตอไปหรือควรใหผทู ดลอง ปฏบิ ตั ิหนาทีร่ าชการออกจากราชการ ใหร ายงานเม่อื ผูน้นั ทดลองปฏิบตั หิ นาทร่ี าชการครบหกเดอื น โดยใหผูบังคับบัญชาช้ันตนรายงานผลการทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการของผูน้ันตอ ผบู งั คบั บญั ชาชนั้ เหนอื ขนึ้ ไปตามลาํ ดบั จนถงึ ผมู อี าํ นาจสง่ั บรรจุ ตามแบบรายงานผลการทดลองปฏบิ ตั ิ หนา ทร่ี าชการทสี่ าํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตกิ าํ หนด ภายในเจด็ วนั นบั แตว นั ไดร บั รายงานใหผ บู งั คบั บญั ชา ช้ันเหนือขึ้นไปแตละระดับรายงานตามลําดับชั้นจนถึงผูมีอํานาจส่ังบรรจุ ถามีขอสังเกตใหรายงาน ขึ้นไปประกอบการพิจารณาสั่งการของผมู อี ํานาจสัง่ บรรจุดวย เมอื่ ผมู อี าํ นาจสงั่ บรรจไุ ดร บั รายงานผลการทดลองปฏบิ ตั หิ นา ทร่ี าชการแลว ใหด าํ เนนิ การ ดงั นี้ (๑) ในกรณีท่ีเห็นวาควรใหผูนั้นรับราชการตอไปได ใหสั่งใหผูน้ันรับราชการตอไปแลว แจงใหผทู ดลองปฏบิ ัติหนาท่ีราชการทราบ (๒) ในกรณีที่เห็นวาไมควรใหผูนั้นรับราชการตอไป ใหมีคําส่ังใหผูนั้นออกจากราชการ ภายในเจด็ วนั ทาํ การนับแตว ันที่ไดร ับรายงาน ขา ราชการซงึ่ มใิ ชข า ราชการตาํ รวจ หรอื พนกั งานขององคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ ซงึ่ ออก จากราชการหรือออกจากงานไปแลว ประสงคจะสมัครกลับเขารับราชการเปนขาราชการตํารวจตาม มาตรา ๖๓ (๒) (ค) ในหนว ยงานใด ใหยน่ื คําขอตามแบบท่สี ํานกั งานตํารวจแหงชาติกําหนด ตาม กฎ ก.ตร.วา ดว ยการบรรจแุ ละแตง ตง้ั ขา ราชการซง่ึ มใิ ชข า ราชการตาํ รวจหรอื การบรรจแุ ละแตง ตง้ั พนกั งาน ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นซ่ึงออกจากราชการหรือออกจากงานไปแลว กลับเขารับราชการเปน ขา ราชการตาํ รวจ พ.ศ. ๒๕๔๗ (ราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๒๑ ตอนที่ ๖๒ ก วนั ที่ ๒๘ กนั ยายน ๒๕๔๗) กาํ หนดใหซ งึ่ ผทู จ่ี ะสมคั รกลบั เขา รบั ราชการเปน ขา ราชการตาํ รวจ จะตอ งมคี ณุ สมบตั แิ ละไมม ลี กั ษณะ ตองหามตามมาตรา ๔๘ และตองมีคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงตามท่ี ก.ตร. กําหนดไวตาม มาตรา ๔๕ หรือไดรับอนุมัติจาก ก.ตร. ตามมาตรา ๕๙ วรรคแรก และใหผบู ังคบั บัญชาทเี่ ปนหวั หนา หนว ยงานทม่ี ผี ยู น่ื คาํ ขอสมคั รกลบั เขา รบั ราชการตรวจสอบประวตั กิ ารรบั ราชการและการทาํ งานทกุ แหง ของผสู มคั ร โดยใหส อบถามไปยงั สว นราชการหรอื หนว ยงานทเี่ กย่ี วขอ งเพอื่ ใหไ ดร ายละเอยี ดขอ เทจ็ จรงิ มากทสี่ ดุ มาประกอบการพจิ ารณา โดยคาํ นงึ ถงึ อายตุ วั อายรุ าชการ ความรคู วามสามารถ ประสบการณ
๖๙ ความชาํ นาญงานของผสู มคั รกลบั เขา รบั ราชการเปรยี บเทยี บกบั ขา ราชการตาํ รวจผรู บั ราชการในหนว ยงาน และประโยชนท่ีทางราชการจะไดรับเปนสําคัญ เมื่อพิจารณาแลวเห็นวาการบรรจุและแตงต้ังผูนั้น กลบั เขารับราชการจะเกิดประโยชนตอทางราชการใหเสนอตําแหนง ชัน้ ยศ และอัตราเงนิ เดือนจะทใ่ี ช รองรบั การบรรจุ พรอ มท้งั รวบรวมรายละเอยี ดขอมลู หลักฐานตา ง ๆ เกย่ี วกับประวตั กิ ารรับราชการ และประวัตสิ วนตัว หนาท่ีความรับผดิ ชอบของตําแหนง ที่จะบรรจุและแตง ต้งั และเหตผุ ลความจาํ เปน ไปใหส าํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตพิ จิ ารณา การพจิ ารณาเกยี่ วกบั ตาํ แหนง ชนั้ ยศ และอตั ราเงนิ เดอื นทจ่ี ะ บรรจุและแตงต้ังกลับเขารับราชการเปนขา ราชการตํารวจ ใหพ จิ ารณาดังนี้ (๑) ตําแหนง ใหพ ิจารณาตาํ แหนง ทจ่ี ะบรรจุและแตงตง้ั กลับเขา รบั ราชการ ตามเหตุผล ความจําเปนของหนว ยงานท่เี สนอขอบรรจุกลบั (๒) ชั้นยศ ใหพิจารณาวาหากผูสมัครเปนขาราชการตํารวจมาต้ังแตเร่ิมแรกจนถึงวันท่ี ออกจากราชการ ควรจะไดร บั ยศชน้ั ใดกใ็ หร บั ยศนนั้ ในกรณที เ่ี ปน การบรรจแุ ละแตง ตงั้ ขา ราชการทหาร กลบั เขา รบั ราชการเปน ขา ราชการตาํ รวจ ใหไ ดร บั ยศเทยี บเทา กบั ยศทางทหารทไ่ี ดร บั อยเู ดมิ กอ นออก จากราชการ (๓) เงนิ เดอื น ใหไ ดร บั อตั ราเงนิ เดอื นไมส งู กวา อตั ราเงนิ เดอื นทไี่ ดร บั ขณะรบั ราชการทาง สงั กดั เดิมกอนออกจากราชการ เพอ่ื ประโยชนใ นการนบั เวลาราชการ ใหถ อื เวลาราชการหรอื เวลาทาํ งานของผสู มคั รกลบั เขารับราชการในขณะที่เปนขาราชการตามกฎหมายอื่นหรือพนักงานขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน เปนเวลาราชการของขาราชการตาํ รวจตามพระราชบญั ญัตติ าํ รวจแหง ชาติ ในกรณที สี่ าํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตเิ หน็ สมควรจะบรรจแุ ละแตง ตง้ั ผสู มคั รกลบั เขา รบั ราชการ ใหผ มู อี าํ นาจตามมาตรา ๔๙ สงั่ บรรจแุ ละแตง ตง้ั กลบั เขา รบั ราชการ ในตาํ แหนง ชนั้ ยศ และอตั ราเงนิ เดอื น ตามหลักเกณฑขอ ๕ เวนแตมีเหตุผลและความจําเปนสมควรจะบรรจุและแตงต้ังผูสมัครกลับเขารับ ราชการในตาํ แหนงท่ีสูงกวาเดิม หรือใหไดรับอัตราเงินเดือนสูงกวาระดับและขั้นที่เคยไดรับอยูเดิม ใหเสนอ ก.ตร. พิจารณาอนุมัติเปนราย ๆ ไป และการบรรจุและแตงต้ังผูสมัครกลับเขารับราชการ ซ่ึงออกจากราชการไปกอนวันท่พี ระราชบญั ญตั ติ าํ รวจแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ ใชบงั คบั หากปรากฏวา กอ นกลบั เขา รบั ราชการไดม กี ฎหมายหรอื มตคิ ณะรฐั มนตรี แกไ ขเปลยี่ นแปลง หรอื ปรบั อตั ราเงนิ เดอื น เงินเพ่ิมพิเศษรายเดือน เงินเพ่ิมอื่น หรือเงินชวยเหลือของขาราชการตาํ รวจ ใหไดรับเปนประการใด ใหปรับอัตราเงินเดือน เงินเพ่ิมพิเศษรายเดือน เงินเพิ่มอ่ืน หรือเงินชวยเหลือท่ีผูน้ันไดรับอยูกอน ออกจากราชการใหเขาระดับ ขั้น และอัตราเงินเดือน เงินเพิ่มพิเศษรายเดือน เงินเพิ่มอื่น หรือเงิน ชวยเหลือตามกฎหมาย หรือมติคณะรัฐมนตรีดังกลาวเสียกอน แลวจึงปรับอัตราเงินเดือน เงินเพิ่ม พิเศษรายเดือน เงินเพิ่มอื่น หรือเงินชวยเหลือของผูน้ันใหเขาระดับ ข้ัน และอัตราเงินเดือนปกติ เงนิ เพมิ่ พเิ ศษรายเดอื น เงนิ เพม่ิ อนื่ หรอื เงนิ ชว ยเหลอื ตามพระราชบญั ญตั ติ าํ รวจแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ และท่แี กไ ขเพมิ่ เติม
๗๐ ขาราชการตํารวจผูใดออกจากราชการไปแลว ประสงคจะขอกลับเขารับราชการตาม มาตรา ๖๓ (๒) (ข) ในหนว ยงานใด ใหย น่ื คาํ ขอตามแบบที่สาํ นกั งานตํารวจแหง ชาตกิ ําหนด ซึง่ ตอ ง เปน ไปตาม กฎ ก.ตร.วา ดว ยการบรรจแุ ละแตง ตง้ั ขา ราชการตาํ รวจผอู อกจากราชการไปแลว กลบั เขา รบั ราชการเปน ขาราชการตาํ รวจ พ.ศ. ๒๕๔๗ (ราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๒๑ ตอนท่ี ๖๒ ก วนั ที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๔๗) ผูที่จะสมัครกลับเขารับราชการ จะตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตาม มาตรา ๔๘ และตอ งมีคณุ สมบตั เิ ฉพาะสาํ หรับตาํ แหนง ตามท่ี ก.ตร. กาํ หนดไวตามมาตรา ๔๕ หรือ ไดรบั อนมุ ตั ิจาก ก.ตร. ตามมาตรา ๕๙ วรรคแรก ใหผ บู งั คบั บญั ชาทเ่ี ปน หวั หนา หนว ยงานทม่ี ผี ยู น่ื คาํ ขอสมคั รกลบั เขา รบั ราชการพจิ ารณา โดยคาํ นึงถึงอายุตัว อายุราชการ ความรูความสามารถ ประสบการณ ความชํานาญงานของผูสมัคร กลบั เขา รบั ราชการ เปรยี บเทยี บกบั ขา ราชการตํารวจผรู บั ราชการในหนว ยงานและประโยชนท ท่ี างราชการ จะไดรับเปนสําคัญ เม่ือพิจารณาแลวเห็นวาการบรรจุและแตงตั้งผูนั้นกลับเขารับราชการในสังกัดแลว จะเกดิ ประโยชนต อทางราชการใหเสนอตําแหนงและอตั ราเงนิ เดอื นท่จี ะใชรองรับการบรรจุ พรอ มทง้ั รวบรวมรายละเอียดขอมูลหลักฐานตางๆ เกี่ยวกับประวัติการรับราชการและประวัติสวนตัว หนาที่ ความรบั ผดิ ชอบของตาํ แหนง ทจ่ี ะบรรจแุ ละแตง ตงั้ และเหตผุ ลความจาํ เปน ไปใหส าํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ พิจารณา ในกรณีท่ีสํานักงานตํารวจแหงชาติ เห็นสมควรจะรับผูสมัครกลับเขารับราชการ ใหผูมี อาํ นาจตามมาตรา ๔๙ สงั่ บรรจแุ ละแตง ตงั้ กลบั เขา รบั ราชการ ในตาํ แหนง ทไี่ มส งู กวา เดมิ และใหไ ดร บั อัตราเงินเดือนไมสูงกวาระดับและขั้นที่เคยไดรับอยูเดิมกอนออกจากราชการ เวนแตมีเหตุผลและ ความจาํ เปน สมควรจะบรรจผุ สู มคั รกลบั เขา รบั ราชการในตาํ แหนง ทส่ี งู กวา เดมิ หรอื ใหไ ดร บั อตั ราเงนิ เดอื น สูงกวา ระดบั และขน้ั ทีเ่ คยไดร ับอยูเดิมใหเ สนอ ก.ตร. พิจารณาอนุมตั ิเปน ราย ๆ ไป การบรรจุและแตงตั้งผูสมัครกลับเขารับราชการ ซ่ึงออกจากราชการไปกอนวันท่ี พระราชบัญญัติตํารวจแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ ใชบังคับ หากปรากฏวากอนกลับเขารับราชการไดมี กฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรี แกไขเปล่ียนแปลง หรือปรับอัตราเงินเดือน เงินเพ่ิมพิเศษรายเดือน เงนิ เพมิ่ อน่ื หรอื เงนิ ชว ยเหลอื ของขา ราชการตาํ รวจ ใหไ ดร บั เปน ประการใด ใหป รบั อตั ราเงนิ เดอื น เงนิ เพมิ่ พิเศษรายเดอื น เงนิ เพมิ่ อนื่ หรือเงินชวยเหลือทผี่ นู ้นั ไดรบั อยูก อนออกจากราชการใหเขา ระดบั ขน้ั และอัตราเงินเดือน เงินเพิ่มพิเศษรายเดือน เงินเพิ่มอ่ืน หรือเงินชวยเหลือตามกฎหมายหรือมติ คณะรัฐมนตรีดังกลาวเสียกอน แลวจึงปรับอัตราเงินเดือน เงินเพิ่มพิเศษรายเดือน เงินเพิ่มอื่นหรือ เงนิ ชวยเหลือของผนู ั้นใหเขาระดับ ข้นั และอัตราเงินเดอื นปกติ เงินเพม่ิ พเิ ศษรายเดอื น เงนิ เพม่ิ อื่น หรือเงนิ ชว ยเหลอื ตามพระราชบัญญตั ิตํารวจแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๗
๗๑ à§¹Ô à´Í× ¹ à§Ô¹»ÃÐจาํ ตาํ á˹§‹ áÅÐà§Ô¹à¾ÔèÁ͹è× ÁÒμÃÒ ö÷óô อัตราเงินเดือนขาราชการตาํ รวจใหเปนไปตามบัญชีทายพระราชบัญญัติ น้ี อัตราเงินประจาํ ตําแหนงและการรับเงินประจําตําแหนงของขาราชการตาํ รวจใหเปนไป ตามบัญชีทายพระราชบัญญัตินี้ ทั้งน้ี เงินประจาํ ตําแหนงไมถือเปน เงินเดอื น ขา ราชการตาํ รวจตําแหนง ใด จะไดร บั เงนิ ประจําตาํ แหนง ทา ยพระราชบญั ญตั นิ ใ้ี นอตั ราใด ใหเ ปนไปตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎกี า *พระราชกฤษฎกี า ตามมาตราน้ี ไดแ ก พระราชกฤษฎกี าการไดร บั เงนิ ประจาํ ตาํ แหนง ของ ขา ราชการตํารวจ พ.ศ.๒๕๕๘ ในกรณีท่ีสมควรปรับอัตราเงินเดือนขาราชการตํารวจใหสอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจที่ เปลยี่ นแปลงไป ถา การปรบั อตั ราเงนิ เดอื นดงั กลา วเปน การปรบั เพมิ่ รอ ยละเทา กนั ทกุ อตั รา และไมเ กนิ รอ ยละสบิ ของอตั ราทใ่ี ชบ งั คบั อยู และเมอ่ื ไดร บั อนมุ ตั งิ บประมาณรายจา ยจากรฐั สภาเพอื่ การนน้ั แลว การปรบั ใหก ระทําโดยตราเปน พระราชกฤษฎกี า และใหถ อื วา บญั ชอี ตั ราเงนิ เดอื นทา ยพระราชกฤษฎกี า ดังกลาวเปนบัญชีอัตราเงินเดือนทายพระราชบัญญัติน้ี ทั้งนี้ ในกรณีที่การปรับเปนรอยละเทากัน ทุกอัตราดังกลาว หากทาํ ใหอัตราหนึ่งอัตราใดมีเศษไมถึงสิบบาท ใหปรับตัวเลขเงินเดือนของอัตรา ดงั กลาวใหเ พิ่มข้ึนเปน สบิ บาทและมใิ หถือวาเปนการปรบั อตั รารอยละที่แตกตา งกัน การปรบั อตั ราเงนิ เดอื นขา ราชการตํารวจใหเ ขา อนั ดบั และขนั้ ระดบั และชน้ั ระดบั และขนั้ หรือชั้นและขั้น แลวแตกรณี ตามบัญชีอัตราเงินเดือนขาราชการตํารวจตามวรรคหนึ่งและวรรคส่ี ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการท่ี ก.ตร. กาํ หนด และใหมีผลเปนการแกไขขั้นหรือชั้นเงินเดือน ขาราชการตํารวจทก่ี ําหนดไวใ นกฎหรือมติคณะรัฐมนตรีทเ่ี ก่ยี วของ ÁÒμÃÒ öø ใหข าราชการตํารวจไดร ับเงินเดอื นดังตอไปนี้ (๑) ขา ราชการตาํ รวจยศพลตาํ รวจเอก ซง่ึ ดาํ รงตําแหนง ผบู ญั ชาการตาํ รวจ แหง ชาติ ใหไ ดรบั เงินเดือนขั้นสงู สุดของระดบั ส.๙ (๒) ขาราชการตํารวจยศพลตํารวจเอก ใหไดร บั เงินเดือนระดับ ส.๘ (๓ ขา ราชการตาํ รวจยศพลตํารวจโท ใหไ ดร บั เงินเดือนระดับ ส.๗ (๔) ขา ราชการตํารวจยศพลตํารวจตรี ใหไดร บั เงนิ เดือนระดับ ส.๖ (๕)๓๕ ขาราชการตํารวจยศพันตํารวจเอก อัตราเงินเดือนพันตาํ รวจเอก (พเิ ศษ) ใหไดรบั เงนิ เดอื นระดับ ส.๕ (๖)๓๖ ขา ราชการตาํ รวจยศพันตาํ รวจเอก ใหไดร ับเงินเดือนระดบั ส.๔ ๓๔ มาตรา ๖๗ แกไขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ิตํารวจแหง ชาติ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ (เลม ๑๒๘ ตอนที่ ๑๗ ก วนั ที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๔) ๓๕ มาตรา ๖๘ (๕) แกไขเพ่มิ เติมโดยพระราชบญั ญัตติ ํารวจแหงชาติ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ (เลม ๑๓๒ ตอนที่ ๔๓ ก วันท่ี ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘) ๓๖ มาตรา ๖๘ (๖) แกไ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญัติตํารวจแหง ชาติ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ (เลม ๑๓๒ ตอนท่ี ๔๓ ก วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘)
๗๒ (๗)๓๗ ขาราชการตาํ รวจยศพนั ตาํ รวจโท ใหไ ดร ับเงนิ เดอื นระดับ ส.๓ (๘)๓๘ ขา ราชการตาํ รวจยศพันตํารวจตรี ใหไดรับเงินเดือนระดับ ส.๒ (๙)๓๙ ขา ราชการตาํ รวจยศรอ ยตาํ รวจเอก รอ ยตาํ รวจโท และรอ ยตาํ รวจตรี ใหไดรับเงินเดือนระดบั ส.๑ (๑๐)๔๐ขาราชการตาํ รวจยศดาบตํารวจ ใหไดร บั เงนิ เดือนระดับ ป.๓ (๑๑)๔๑ขาราชตํารวจยศจาสิบตํารวจ อัตราเงินเดือนจาสิบตํารวจ(พิเศษ) ใหไดรบั เงนิ เดอื นระดบั ป.๒ (๑๒) ขาราชการตํารวจยศจาสบิ ตาํ รวจ สบิ ตาํ รวจเอก สบิ ตาํ รวจโท และ สบิ ตํารวจตรี ใหไดรบั เงินเดอื นระดบั ป.๑ (๑๓) ขาราชการตํารวจชน้ั พลตํารวจสาํ รอง ใหไดรับเงินเดือนระดบั พ.๑ ใหข า ราชการตาํ รวจตามวรรคหนึ่งไดรับเงินเดือนในขัน้ ตํา่ ของระดบั นนั้ ๆ ในกรณีทีจ่ ะให ไดร บั เงนิ เดอื นสงู กวา หรอื ตา่ํ กวา ขนั้ ตา่ํ หรอื สงู กวา ขน้ั สงู ของระดบั ใหเ ปน ไปตามหลกั เกณฑแ ละวธิ กี าร ทก่ี าํ หนดในกฎ ก.ตร. *กฎ ก.ตร. ตามมาตรานี้ ไดแก กฎ ก.ตร.วาดวยการไดรับเงินเดือนสูงกวาขั้นต่ําของ ขา ราชการตํารวจชน้ั พลตํารวจ ช้ันประทวนและชนั้ สัญญาบตั ร พ.ศ.๒๕๔๗ และท่แี กไขเพิ่มเตมิ ขาราชการตํารวจตาม (๒) ถึง (๑๓) อาจไดรับเงินเดือนในระดับสูงข้ึนกวาท่ีกําหนดไว ในวรรคหนึ่งก็ไดโดยตราเปนพระราชกฤษฎีกา ซึ่งในพระราชกฤษฎีกาดังกลาวใหกําหนดหลักเกณฑ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขการไดรบั เงนิ เดือนในระดบั สูงขน้ึ ดังกลาวและการรบั เงินประจาํ ตาํ แหนงไวด วย วรรคส่ี ๔๒ (ยกเลิก) วรรคหา ๔๓ (ยกเลกิ ) ๓๗ มาตรา ๖๘ (๗) แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญัตติ ํารวจแหง ชาติ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ (เลม ๑๓๒ ตอนที่ ๔๓ ก วันท่ี ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘) ๓๘ มาตรา ๖๘ (๘) แกไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบญั ญตั ติ ํารวจแหง ชาติ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ (เลม ๑๓๒ ตอนท่ี ๔๓ ก วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘) ๓๙ มาตรา ๖๘ (๙) แกไ ขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ติ าํ รวจแหง ชาติ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ (เลม ๑๓๒ ตอนที่ ๔๓ ก วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘) ๔๐ มาตรา ๖๘ (๑๐) แกไ ขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ติ ํารวจแหงชาติ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ (เลม ๑๓๒ ตอนท่ี ๔๓ ก วันท่ี ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘) ๔๑ มาตรา ๖๘ (๑๑) แกไ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญัติตํารวจแหง ชาติ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ (เลม ๑๓๒ ตอนที่ ๔๓ ก วันท่ี ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘) ๔๒ มาตรา ๖๘ วรรคสี่ ยกเลกิ โดยพระราชบญั ญัตติ ํารวจแหง ชาติ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ (เลม ๑๓๒ ตอนที่ ๔๓ ก วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘) ๔๓ มาตรา ๖๘ วรรคหา ยกเลิกโดยพระราชบัญญตั ติ ํารวจแหง ชาติ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ (เลม ๑๓๒ ตอนที่ ๔๓ ก วันท่ี ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘)
๗๓ ÁÒμÃÒ öø/ñôô ในกรณที ม่ี เี หตผุ ลและความจาํ เปน เพอื่ เปน การเยยี วยาใหข า ราชการ ตาํ รวจไดร บั เงนิ เดอื นหรอื เงนิ ประจาํ ตาํ แหนง ทเี่ หมาะสมและเปน ธรรม ก.ตร. อาจกาํ หนดใหข า ราชการ ตํารวจไดร บั การเยยี วยาโดยใหไ ดร ับเงนิ เดอื นหรอื เงนิ ประจําตาํ แหนงตามท่เี ห็นสมควรเปน ÁÒμÃÒ öù ขา ราชการตาํ รวจอาจไดร บั เงนิ เพม่ิ คา ครองชพี ชว่ั คราวตามภาวะเศรษฐกจิ ทง้ั นี้ ตามจาํ นวน หลกั เกณฑแ ละวิธีการท่ีกาํ หนดในพระราชกฤษฎีกา ÁÒμÃÒ ÷ð ขาราชการตํารวจอาจไดรับเงินเพิ่มพิเศษรายเดือน เงินเพิ่มอื่น หรือ เงนิ ชว ยเหลอื ตามทีค่ ณะรฐั มนตรกี ําหนด ÁÒμÃÒ ÷ñ ขา ราชการตาํ รวจอาจไดร บั เงนิ เพม่ิ สาํ หรบั ตาํ แหนง ทปี่ ระจาํ อยใู นตา งประเทศ หรือตําแหนงที่มเี หตพุ ิเศษตามที่กาํ หนดในระเบยี บ ก.ตร. โดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลัง *ระเบียบ ก.ตร. ตามมาตรานี้ ไดแก ระเบียบ ก.ตร.วา ดวยเงนิ เพม่ิ สําหรบั ตาํ แหนง ท่ีมี เหตุพิเศษ ตําแหนง ผูปฏบิ ัติหนาทีด่ า นปอ งกนั ปราบปราม ดานสบื สวนและดา นจราจร พ.ศ.๒๕๔๘ ระเบยี บ ก.ตร.วา ดว ยเงนิ เพม่ิ สาํ หรบั ตาํ แหนง ทมี่ เี หตพุ เิ ศษตาํ แหนง ผปู ฏบิ ตั งิ านดา นการ สาธารณสขุ พ.ศ.๒๕๔๘ ระเบยี บ ก.ตร.วา ดว ยเงนิ เพม่ิ สาํ หรบั ตาํ แหนง ทมี่ เี หตพุ เิ ศษตาํ แหนง นกั โดดรม พ.ศ.๒๕๔๙ ระเบียบ ก.ตร.วาดวยเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนงที่มีเหตุพิเศษตําแหนงนักประดาน้ํา พ.ศ. ๒๕๔๙ ระเบียบ ก.ตร.วาดวยเงินเพิ่มสําหรับตําแหนงที่มีเหตุพิเศษตําแหนงผูทําการในอากาศ พ.ศ.๒๕๔๙ ระเบียบ ก.ตร.วาดวยเงินเพิ่มสําหรับตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษตําแหนงผูปฏิบัติงานทําลาย วัตถรุ ะเบดิ พ.ศ.๒๕๔๙ ระเบยี บ ก.ตร.วา ดว ยเงนิ เพม่ิ สาํ หรบั ตาํ แหนง ทม่ี เี หตพุ เิ ศษตาํ แหนง ผปู ฏบิ ตั หิ นา ทที่ างเรอื พ.ศ.๒๕๔๙ ระเบียบ ก.ตร.วาดวยเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนงที่มีเหตุพิเศษตําแหนงผูปฏิบัติงาน ดานนติ วิ ิทยาศาสตร พ.ศ.๒๕๕๐ ระเบียบ ก.ตร.วาดวยเงินเพิ่มสําหรับตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษตําแหนงผูปฏิบัติงานกูภัย พ.ศ.๒๕๕๓ ระเบียบ ก.ตร.วาดวยเงินเพิ่มสําหรับตําแหนงที่มีเหตุพิเศษตําแหนงผูทําหนาที่ปกครอง โรงเรียน พ.ศ.๒๕๕๔ ระเบียบ ก.ตร.วาดวยเงินเพิ่มสําหรับตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษตําแหนงผูปฏิบัติงาน ดา นอารกั ขาบคุ คลสาํ คัญ พ.ศ.๒๕๕๕ ๔๔ มาตรา ๖๘/๑ เพ่ิมโดยพระราชบญั ญัติตํารวจแหง ชาติ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ (เลม ๑๓๒ ตอนท่ี ๔๓ ก วันท่ี ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘)
๗๔ ระเบยี บ ก.ตร.วาดว ยเงนิ เพ่มิ สําหรบั ตาํ แหนงทีป่ ระจําอยูในตางประเทศ พ.ศ.๒๕๕๗ ระเบยี บ ก.ตร.วา ดว ยเงนิ เพม่ิ สาํ หรบั ตาํ แหนง ทม่ี เี หตพุ เิ ศษตาํ แหนง ผทู าํ หนา ทต่ี รวจสอบ สํานวนอัยการและใหค วามเหน็ ทางกฎหมาย พ.ศ.๒๕๔๗ ระเบียบ ก.ตร.วาดวยเงินเพิ่มสําหรับตําแหนงที่มีเหตุพิเศษตาํ แหนงผูทําหนาที่ตอตาน การกอการราย พ.ศ.๒๕๕๗ ระเบียบ ก.ตร.วาดวยเงินเพิ่มสาํ หรับตาํ แหนงท่ีมีเหตุพิเศษตําแหนงผูทําหนาท่ีนิติกร พ.ศ.๒๕๕๘ ͸ԺÒ มาตรา ๖๗ – ๗๑ โดยทขี่ า ราชการตาํ รวจมภี ารกจิ หลกั ในดา นการรกั ษาความสงบเรยี บรอ ย การปอ งกนั และ ปราบปรามการกระทําความผดิ ทางอาญา และการอํานวยความยตุ ธิ รรมแกป ระชาชน เพอื่ ใหส อดคลอ งกบั ลกั ษณะงานทต่ี อ งปฏบิ ตั ใิ หเ หมาะสม เปน ธรรม และไดม าตรฐาน โดยคาํ นงึ ถงึ คา ครองชพี ทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป คาตอบแทนในภาคเอกชน ฐานะการคลังของประเทศ ความแตกตางระหวางรายไดของขาราชการ ตา งประเภทกนั และปจ จยั อนื่ ทจี่ าํ เปน จงึ มบี ญั ชอี ตั ราเงนิ เดอื นและบญั ชอี ตั ราเงนิ ประจาํ ตําแหนง ของ ขาราชการตาํ รวจเปนการเฉพาะ รวมท้ังโครงสรางระบบเงินเดือนของขาราชการตํารวจบางตําแหนง ใหไดร บั เงินเดอื นที่เหมาะสม เพ่อื ใหเหมาะสมกบั สภาพเศรษฐกิจและสงั คมทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป พระราชกฤษฎีกาการไดรับเงินประจําตําแหนงของขาราชการตาํ รวจ พ.ศ.๒๕๕๘ (ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๓๒ ตอนท่ี ๙๔ ก วนั ที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๘) กําหนดใหข า ราชการตาํ รวจ ซึ่งดาํ รงตาํ แหนงที่มีฐานะและหนาท่ีในการบริหารงานดังตอไปน้ี ไดรับเงินประจาํ ตําแหนงประเภท บริหารระดบั สงู (๑) ผบู ัญชาการตํารวจแหงชาติ (๒) จเรตาํ รวจแหงชาติ รองผบู ัญชาการตาํ รวจแหง ชาติ หรือเทยี บเทา (๓) ผชู ว ยผูบญั ชาการตํารวจแหง ชาตหิ รอื เทียบเทา (๔) ผบู ญั ชาการหรอื เทยี บเทา (๕) รองผูบัญชาการหรอื เทยี บเทา (๖) ผูบังคบั การหรอื เทียบเทา (๗) รองผบู ังคับการหรอื เทยี บเทา ใหข า ราชการตํารวจซง่ึ ดาํ รงตําแหนง ผกู ํากบั การหรอื เทยี บเทา ทมี่ ฐี านะและหนา ทใ่ี นการ บรหิ ารงานไดร ับเงินประจาํ ตาํ แหนง ประเภทบรหิ ารระดับกลาง ใหขาราชการตํารวจซ่ึงมียศต้ังแต พ.ต.ท. ขึ้นไปและดํารงตําแหนงดังตอไปนี้ ไดรับเงิน ประจําตาํ แหนง ประเภทวชิ าชีพเฉพาะ (วช.) (๑) ตาํ แหนงท่ีมีลักษณะงานวิชาชีพท่ีตองปฏิบัติโดยผูสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญา ที่ไมอาจมอบหมายใหผูมีคุณวุฒิอยางอื่นปฏิบัติงานแทนได และเปนงานที่มีผลกระทบตอชีวิตและ ทรัพยส นิ ของประชาชนอยา งเห็นไดช ดั โดยมีองคกรตามกฎหมายทาํ หนาท่ตี รวจสอบ กลั่นกรองและ
๗๕ รับรองการประกอบวิชาชีพ รวมท้ังลงโทษผูกระทําผิดกฎหมายเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพดังกลาว ซ่ึงไดแ กตําแหนง ทีป่ ฏบิ ตั หิ นา ทีใ่ นวชิ าชีพเฉพาะ ดังตอไปนี้ (ก) วิชาชพี เฉพาะกายภาพบาํ บดั (ข) วิชาชพี เฉพาะการทนั ตแพทย (ค) วิชาชพี เฉพาะการพยาบาล (ง) วชิ าชีพเฉพาะการแพทย (จ) วิชาชีพเฉพาะการสัตวแพทย (ฉ) วิชาชีพเฉพาะจิตวทิ ยาคลนิ กิ (ช) วิชาชพี เฉพาะเทคนิคการแพทย (ซ) วิชาชพี เฉพาะเภสัชกรรม (ฌ) วชิ าชีพเฉพาะวิศวกรรมเคร่ืองกล (ญ) วิชาชพี เฉพาะวศิ วกรรมไฟฟา (ฎ) วิชาชีพเฉพาะวศิ วกรรมไฟฟาสอ่ื สาร (ฏ) วชิ าชีพเฉพาะวิศวกรรมโยธา (ฐ) วิชาชีพเฉพาะสถาปต ยกรรม (ฑ) วชิ าชีพเฉพาะสงั คมสงเคราะห (๒) ตาํ แหนง ทม่ี ลี กั ษณะงานวชิ าชพี ทต่ี อ งปฏบิ ตั โิ ดยผสู าํ เรจ็ การศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญา ที่ไมอาจมอบหมายใหผูมีคุณวุฒิอยางอ่ืนปฏิบัติงานแทนได และเปนงานท่ีมีผลกระทบตอชีวิตและ ทรัพยสินของประชาชนอยางเห็นไดชัด อีกท้ังเปนงานท่ีขาดแคลนกําลังคนในภาคราชการ ซ่ึงไดแก ตาํ แหนงทปี่ ฏบิ ตั ิหนาทใ่ี นวิชาชพี เฉพาะ ดังตอ ไปน้ี (ก) วิชาชพี เฉพาะการเดนิ เรอื (ข) วชิ าชีพเฉพาะฟส กิ สร ังสี (ค) วชิ าชีพเฉพาะรงั สกี ารแพทย (ง) วชิ าชีพเฉพาะวิศวกรรมจราจร (จ) วชิ าชีพเฉพาะวศิ วกรรมนวิ เคลยี ร (ฉ) วชิ าชีพเฉพาะวศิ วกรรมโลหการ (๓) ตาํ แหนงที่มีลักษณะงานวิชาชีพที่ตองปฏิบัติโดยผูสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญา ทไี่ มอ าจมอบหมายใหผ มู คี ณุ วฒุ อิ ยา งอนื่ ปฏบิ ตั งิ านแทนได และเปน งานทางวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ท่มี ลี กั ษณะในเชิงวิจยั และพฒั นา อกี ทง้ั เปน งานทขี่ าดแคลนกําลังคนในภาคราชการ ซึง่ ไดแกต ําแหนง ท่ปี ฏบิ ตั ิหนาท่ใี นวชิ าชพี เฉพาะ ดงั ตอไปนี้ (ก) วิชาชีพเฉพาะการผลิตไอโซโทป (ข) วิชาชีพเฉพาะกีฏวทิ ยารงั สี
๗๖ (ค) วชิ าชีพเฉพาะชวี วทิ ยารงั สี (ง) วิชาชพี เฉพาะนิวเคลียรเคมี (จ) วชิ าชีพเฉพาะนวิ เคลียรฟ สิกส (ฉ) วชิ าชพี เฉพาะวิชาการคอมพวิ เตอร (ช) วชิ าชีพเฉพาะวศิ วกรรมการเกษตร (ซ) วิชาชพี เฉพาะวศิ วกรรมอากาศยาน ใหข า ราชการตาํ รวจซง่ึ ดาํ รงตาํ แหนง รองผบู งั คบั การหรอื เทยี บเทา ขน้ึ ไปทต่ี อ งปฏบิ ตั งิ าน ที่เปนงานหลักของหนวยงาน โดยอาศยั พ้นื ฐานของความรู ประสบการณ หรอื การฝกฝนทฤษฎีหรือ หลกั วชิ าอนั เกยี่ วขอ งกบั งาน และเปน งานเชงิ พฒั นาระบบหรอื มาตรฐานของงาน งานอนรุ กั ษต ามภารกจิ หรอื งานทตี่ อ งปฏบิ ตั โิ ดยผมู คี วามรู ความสามารถ หรอื ประสบการณเ ปน อยา งสงู เฉพาะดา นอนั เปน ที่ ยอมรบั ในวงวชิ าการหรอื วงการดา นนน้ั ๆ และตอ งใชค วามเชยี่ วชาญเฉพาะดา น โดยมคี ณุ วฒุ กิ ารศกึ ษา ตรงกบั ความเชย่ี วชาญเฉพาะดา นดงั ตอ ไปนี้ ไดร บั เงนิ ประจาํ ตาํ แหนง ประเภทผเู ชยี่ วชาญเฉพาะ (ชช.) (๑) ดา นการขาว (๒) ดานการเงนิ (๓) ดา นการบิน (๔) ดา นการฝกอบรม (๕) ดานการสอน (๖) ดานการสอบสวน (๗) ดานการสืบสวน (๘) ดา นจราจร (๙) ดา นชางศิลปกรรม (๑๐) ดา นตรวจคนเขา เมอื ง (๑๑) ดา นตรวจพสิ ูจนทางวทิ ยาศาสตร (๑๒) ดานตรวจสอบบญั ชี (๑๓) ดา นตรวจสอบภายใน (๑๔) ดานถา ยภาพทางการแพทย (๑๕) ดานนติ ิการ (๑๖) ดานนติ ิวทิ ยาศาสตร (๑๗) ดา นปองกนั ปราบปราม (๑๘) ดา นมณั ฑนศลิ ป (๑๙) ดา นวิเคราะหง บประมาณ (๒๐) ดา นวเิ คราะหง านบุคคล
๗๗ (๒๑) ดา นวิเคราะหนโยบายและแผน (๒๒) ดา นวิจัยสงั คมศาสตร (๒๓) ดา นวิชาการคอมพวิ เตอร (๒๔) ดา นวิชาการเงนิ (๒๕) ดานวิชาการดนตรี (๒๖) ดานวชิ าการตรวจสอบบญั ชี (๒๗) ดานวิชาการทางการแพทย (๒๘) ดานวิชาการบญั ชี (๒๙) ดา นวิชาการประชาสมั พันธ (๓๐) ดา นวชิ าการโภชนาการ (๓๑) ดานวิชาการวทิ ยาศาสตรการแพทย (๓๒) ดา นวิชาการศกึ ษา (๓๓) ดานวชิ าการสถิติ (๓๔) ดา นวิชาการสอบ (๓๕) ดา นวชิ าการสตั วบาล (๓๖) ดานวิชาการสาธารณสุข (๓๗) ดา นวิชาการสิ่งแวดลอม (๓๘) ดานวิชาการอาหารและยา (๓๙) ดา นวทิ ยาศาสตร (๔๐) ดานวิเทศสหการ (๔๑) ดา นวิเทศสัมพนั ธ (๔๒) ดานวศิ วกรรม (๔๓) ดา นสง เสรมิ และสอนการพลศกึ ษา (๔๔) ดา นสรรพาวธุ (๔๕) ดานสังคมสงเคราะห (๔๖) ดานสัตววิทยา ใหขา ราชการตํารวจซงึ่ มยี ศตัง้ แต พ.ต.ต. ข้นึ ไปและดํารงตําแหนง ทางวิชาการดังตอ ไปน้ี ไดร ับเงินประจาํ ตําแหนง ประเภทวชิ าการในโรงเรยี นตาํ รวจ (๑) ศาสตราจารย (๒) รองศาสตราจารย (๓) ผชู วยศาสตราจารย ขา ราชการตํารวจซง่ึ ไดร บั แตง ตง้ั ใหด ํารงตําแหนง ทม่ี สี ทิ ธไิ ดร บั เงนิ ประจําตําแหนง และได ปฏบิ ตั หิ นา ทห่ี ลกั ของตาํ แหนง นน้ั เกนิ หนง่ึ ตําแหนง ใหไ ดร บั เงนิ ประจําตาํ แหนง สําหรบั ตําแหนง ทม่ี สี ทิ ธิ ไดร บั เงินประจําตําแหนง สูงสุดเพียงตําแหนงเดียว
๗๘ ในกรณีที่จะใหขาราชการตํารวจไดรับเงินเดือนสูงกวาหรือตาํ่ กวาขั้นตํ่าหรือสูงกวาข้ันสูง ของระดบั ใหเ ปน ไปตามหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารทกี่ ําหนดในกฎ ก.ตร. ซง่ึ ก.ตร. ไดอ อกกฎ ก.ตร.วา ดว ย การไดรับเงินเดือนสูงกวาข้ันตํา่ ของขาราชการตํารวจช้ันพลตํารวจ ช้ันประทวน และช้ันสัญญาบัตร พ.ศ. ๒๕๔๗ และทแ่ี กไ ขเพมิ่ เตมิ อธบิ ายสาระสาํ คญั ไดว า ขา ราชการตํารวจผทู จี่ ะไดร บั เงนิ เดอื นสงู กวา ขนั้ ตํ่าของพลตาํ รวจ ชนั้ ประทวน และชนั้ สญั ญาบตั ร จะตอ งเปน ผทู ม่ี คี ณุ สมบตั ขิ อ ใดขอ หนงึ่ ดงั ตอ ไปน้ี (๑) สาํ เรจ็ หลกั สตู รผูเรยี นนายสบิ ตาํ รวจหรอื หลักสตู รทเี่ ทียบเทา (๒) สาํ เร็จหลกั สูตรผูเ รียนผชู ว ยพยาบาลตาํ รวจ (๓) สาํ เร็จหลักสตู รผูเรียนนายรอ ยตํารวจ (๔) สําเร็จหลักสูตรนกั ศกึ ษาพยาบาลตํารวจ (๕) ผานการคัดเลือกหรือการสอบแขงขันเพ่ือบรรจุหรือแตงต้ังเปนขาราชการตํารวจ ช้นั ประทวนหรอื ชนั้ สัญญาบัตร (๖) สาํ เรจ็ หลกั สตู รการศกึ ษาหรอื ฝก อบรมเพอื่ แตง ตงั้ เปน ขา ราชการตาํ รวจชน้ั ประทวน หรือชั้นสญั ญาบัตร ตามหลักสตู รทีส่ าํ นักงานตาํ รวจแหง ชาติกาํ หนดโดยความเหน็ ชอบของ ก.ตร. (๗) มคี ณุ วุฒิสงู ข้นึ โดยไดร บั อนญุ าตใหลาศกึ ษาตามเงอื่ นไขระเบียบของทางราชการ (๘) ผานการคดั เลือกหรือการสอบแขงขนั เปนขา ราชการตํารวจชั้นพลตาํ รวจ (๙) เปนขาราชการตํารวจช้ันพลตํารวจท่ีกําลังศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาใน (๑) ถึง (๔) และใหรวมถึงผูท่ีไมสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรใน (๓) และ (๔) ที่สมควรจะใหรับราชการเปน ขาราชการตํารวจตอไปตามหลักเกณฑแ ละวธิ ีการทส่ี ํานกั งานตาํ รวจแหงชาตกิ าํ หนด การส่ังใหขาราชการตํารวจไดรับอัตราเงินเดือนสูงกวาข้ันต่ํานั้น ใหไดรับเงินเดือนตามท่ี ก.ตร. กาํ หนด โดยคํานงึ ถงึ อัตราเงนิ เดอื นที่ ก.พ. กําหนด สาํ หรับผไู ดรับปรญิ ญา อนปุ รญิ ญาหรอื ประกาศนียบัตรเดียวกันดวย แตถาผูนั้นไดรับเงินเดือนสูงกวาอัตราที่กําหนดไวก็ใหไดรับเงินเดือน ในอัตราเทากับเงินเดือนท่ีไดรับอยูหรือในข้ันท่ีเทียบไดตรงกับอัตราเงินเดือนตามตารางเทียบ ข้ันเงินเดือนขาราชการตํารวจ ขา ราชการตํารวจไดร บั อตั ราเงนิ เดอื นสงู กวา ขน้ั ตํ่านน้ั ตอ งเปน ผทู จ่ี ะไดร บั อตั ราเงนิ เดอื น ตาม กฎ ก.ตร. ดงั กลา ว ตอ งเปน ผทู ไี่ มอ ยรู ะหวา งถกู สอบสวนพจิ ารณาทางวนิ ยั หรอื ถกู ฟอ งคดอี าญา หรือตองหาวา กระทําผดิ คดีอาญา เวนแตความผดิ ที่ไดก ระทําโดยประมาทหรอื ความผิดลหุโทษ หรอื ความผิดซงึ่ ถูกฟองหรอื ตองหาอนั เน่ืองมาจากการปฏิบัติหนาทีร่ าชการ สาํ หรบั ผทู อ่ี ยรู ะหวา งถกู สอบสวนพจิ ารณาทางวนิ ยั หรอื ถกู ฟอ งคดอี าญา หรอื ตอ งหาวา กระทําผิดคดีอาญา ซ่ึงไมเขาขอยกเวนตามความในวรรคหน่ึง ใหรอการสั่งใหไดรับอัตราเงินเดือนไว จนกวาจะทราบผลการสอบสวนพิจารณา เมื่อผลการสอบสวนพิจารณาถึงที่สุดแลว ใหดาํ เนินการ ดงั ตอไปน้ี
๗๙ (๑) ในกรณที ปี่ รากฏวา ไมม คี วามผดิ หรอื มคี วามผดิ แตถ กู ลงโทษไมส งู กวา โทษภาคทณั ฑ มิไดร บั โทษจําคุกโดยคาํ พิพากษาถงึ ทสี่ ดุ ใหจ ําคกุ ไมมกี รณีตอ งออกจากราชการตามมาตรา ๙๗ หรือ มาตรา ๙๘ แหงพระราชบญั ญัตติ ํารวจแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ ใหด าํ เนินการใหไ ดรับอัตราเงนิ เดือน สูงขน้ึ ได (๒) ในกรณที ป่ี รากฏวา มคี วามผดิ ถกู ลงโทษสงู กวา ภาคทณั ฑแ ตไ มถ งึ ขน้ั เปน การกระทาํ ผดิ วนิ ยั อยา งรา ยแรงทถี่ กู ลงโทษปลดออกหรอื ไลอ อก และไมม กี รณตี อ งออกจากราชการดว ยเหตอุ นื่ ตาม มาตรา ๙๗ แหงพระราชบัญญัตติ าํ รวจแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ ใหดําเนินการใหไ ดร บั อัตราเงินเดือน สงู ขน้ึ ไดเ มอ่ื รับโทษครบกาํ หนดแลว (๓) ในกรณีทปี่ รากฏวา ไดก ระทําผดิ วินยั อยางรา ยแรง ถกู ลงโทษปลดออก หรือไลอ อก หรอื ตอ งรบั โทษจาํ คกุ โดยคาํ พพิ ากษาถงึ ทสี่ ดุ ใหจ าํ คกุ หรอื มกี รณตี อ งออกจากราชการตามมาตรา ๙๗ หรอื มาตรา ๙๘ แหง พระราชบญั ญตั ติ าํ รวจแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ ใหห มดสทิ ธใิ นการไดร บั อตั ราเงนิ เดอื น สงู ขนึ้ กรณที ่มี ีปญหาวา ผูใดจะไดรับอัตราเงินเดอื นสงู ขึ้นหรอื ไม ให ก.ตร. วินจิ ฉัยชีข้ าด ขาราชการตํารวจอาจไดรับเงินเพิ่มพิเศษรายเดือน เงินเพิ่มอ่ืน หรือเงินชวยเหลือ ตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด ซึ่งกระทรวงการคลังไดกําหนดใหมีระเบียบกระทรวงการคลังวาดวย การเบกิ จา ยเงนิ เพม่ิ การครองชพี ชวั่ คราวของขา ราชการและลกู จา งประจาํ ของสว นราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แกไขเพิ่มเติม กําหนดใหขาราชการตํารวจตามกฎหมายวาดวยตํารวจแหงชาติ (ไมรวมถึง พลตาํ รวจสํารอง) สามารถเบกิ จา ยเงนิ เพ่มิ การครองชีพชัว่ คราวได ในสวนของเงินเพ่ิมพิเศษสาํ หรับขาราชการตาํ รวจในตาํ แหนงตาง ๆ ถือเปนวิธีการหน่ึง ในตอบแทน ใหกาํ ลังใจใหขาราชการในตําแหนงนั้นตั้งใจปฏิบัติหนาท่ีในสวนที่ไดรับผิดชอบอยางเต็ม กําลงั ความสามารถ และเปน แรงจงู ใจใหก บั ขา ราชการสมคั รใจและเตม็ ใจทจี่ ะเขา มาทาํ งานในตาํ แหนง หนา ท่ีนน้ั แลว ทํางานอยางมีความสุข สงผลใหง านทที่ ําประสบผลสาํ เร็จ ซึง่ สวนใหญตาํ แหนงหนาที่ ที่จะไดรับเงินเพิ่มพิเศษนั้นมักเปนตาํ แหนงท่ีมีความเส่ียงสูง ใชความอดทน ความเพียรพยายามเปน อยางมาก เฉพาะเงินเดือนที่ไดรับอาจไมเพียงพอ หรือไมสามารถจูงใจใหขาราชการในตาํ แหนงนั้น ปฏิบัติหนาที่ใหสําเร็จลุลวงได ฉะนั้นจึงจาํ เปนตองมีสวัสดิการอ่ืนเพ่ิมเติม ตัวอยางเงินเพิ่มพิเศษ ทขี่ า ราชการตาํ รวจจะไดร บั เมอ่ื มคี ณุ สมบตั คิ รบถว น เชน เงนิ เพม่ิ พเิ ศษสาํ หรบั การสรู บ (พ.ส.ร.) คอื บาํ เหนจ็ ความชอบอกี ประเภทหนึ่ง ท่ีพจิ ารณาใหก ับผูท ไ่ี ดทาํ การสูรบ หรือตอ สู จนไดรับอนั ตรายหรือทําการ สูรบ หรือตอสูไ ดผลดี หรือปฏิบัตหิ นาทด่ี วยความตรากตราํ เหน็ดเหนอ่ื ย และไดผลสมความมงุ หมาย ของทางราชการ เงินเพิ่มสําหรบั ตาํ แหนงทมี่ ีเหตพุ ิเศษตาํ แหนงผปู ฏิบตั หิ นา ทีด่ า นปอ งกนั ปราบปราม (ต.ป.ป.) ดา นสบื สวน (ต.ส.ส.) ดานจราจร (ต.จ.ร.) เงินเพม่ิ พิเศษผูทาํ หนาท่ีปกครองโรงเรียนตํารวจ (พ.ร.ต.) เปน ตน
๘๐ ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒÃÒª¡ÒÃá·¹áÅСÒû¯ÔºμÑ ÃÔ Òª¡ÒÃá·¹ ÁÒμÃÒ ÷ò ในกรณีท่ีตําแหนงขาราชการตํารวจในสวนราชการหรือหนวยงานใดใน สํานกั งานตาํ รวจแหง ชาติวางลง หรือผดู าํ รงตําแหนงใดไมสามารถปฏบิ ตั ิราชการได ใหผ ูบังคบั บัญชา ดงั ตอ ไปนี้ สง่ั ใหข าราชการตาํ รวจซ่งึ เหน็ สมควรรักษาราชการแทนในตาํ แหนง นน้ั ได (๑) นายกรัฐมนตรี สําหรับตาํ แหนง ผบู ญั ชาการตํารวจแหง ชาติ (๒) ผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ สาํ หรบั ตาํ แหนง ตงั้ แตจ เรตาํ รวจแหง ชาติ รองผูบญั ชาการตาํ รวจแหงชาติ หรือตําแหนง เทยี บเทา ลงมา (๓) ผบู ญั ชาการหรอื ตาํ แหนง เทยี บเทา สาํ หรบั ตาํ แหนง ตง้ั แตผ บู งั คบั การ หรือตําแหนง เทยี บเทาลงมาในสวนราชการน้ัน (๔) ผบู งั คบั การหรอื ตาํ แหนง เทยี บเทา สําหรบั ตําแหนง ตง้ั แตผ กู าํ กบั การ หรอื ตําแหนง เทียบเทา ลงมาในสว นราชการนัน้ ๔๕ ในกรณีท่ีไมมกี ารแตงตงั้ ใหข า ราชการตํารวจผใู ดรักษาราชการแทนและมีผูดาํ รงตําแหนง รองของตําแหนงนั้นใหผูดํารงตําแหนงรองเปนผูรักษาราชการแทน ถาไมมีผูดํารงตําแหนงรองหรือมี แตไมอาจปฏิบัติราชการไดและมีผูดํารงตําแหนงผูชวยของตําแหนงดังกลาว ใหผูดํารงตําแหนงผูชวย เปน ผรู กั ษาราชการแทนในตาํ แหนง นนั้ ถา มผี ดู าํ รงตาํ แหนง รองหรอื ผชู ว ยหลายคนใหผ มู อี าวโุ สตามที่ กําหนดในระเบียบ ก.ตร. เปนผรู ักษาราชการแทน ถา ไมมีท้ังผดู ํารงตําแหนง รองหรอื ผชู วย หรือมีแต ไมอ าจปฏบิ ตั ริ าชการได กใ็ หข า ราชการตาํ รวจชน้ั สญั ญาบตั รผมู อี าวโุ สตามทก่ี าํ หนดในระเบยี บ ก.ตร. ในสว นราชการหรอื หนว ยงานนนั้ เปน ผรู ักษาราชการแทน *ระเบียบ ก.ตร.ตามมาตราน้ี ไดแก ระเบียบ ก.ตร.วา ดว ยการกาํ หนดลาํ ดับอาวโุ สของ ขาราชการตาํ รวจในการรักษาราชการแทน พ.ศ.๒๕๕๗ เพื่อประโยชนข องทางราชการ ขา ราชการตํารวจทไ่ี ดร ับการแตงตงั้ ใหด าํ รงตําแหนง ตาม มาตรา ๕๑(๒) (๓) (๔) (๕) และ (๖) เปน การยอ นหลงั การปฏบิ ตั หิ นา ทหี่ รอื การใชอ าํ นาจในตาํ แหนง เดมิ ทไี่ ดก ระทําไปกอนมีประกาศพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ แตงตั้งใหเปนอนั ใชได ÁÒμÃÒ ÷ó นอกจากท่ีบัญญัติไวในพระราชบัญญัติน้ี อํานาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการและการดําเนินการดานอ่ืนท่ีผูบัญชาการตํารวจแหงชาติจะพึงปฏิบัติ หรอื ดําเนนิ การตามกฎหมาย ระเบยี บ ขอบงั คบั หรือคําส่งั ใด หรอื มติของคณะรฐั มนตรีในเรือ่ งใดใน กิจการของแตละกองบัญชาการ ใหผูบัญชาการของแตละกองบัญชาการน้ันเปนผูปฏิบัติราชการแทน ผูบญั ชาการตาํ รวจแหงชาติ ในการปฏบิ ตั ริ าชการแทนผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาตติ ามวรรคหนง่ึ ผบู ญั ชาการจะมอบหมาย ใหรองผบู ัญชาการปฏบิ ัติราชการแทนก็ได ๔๕ มาตรา ๗๒ วรรคหนงึ่ แกไขเพม่ิ เตมิ โดยคาํ ส่งั หัวหนา คณะรกั ษาความสงบแหงชาติ ท่ี ๗/๒๕๕๙ เร่ือง การกําหนด ตําแหนงของขา ราชการตํารวจซ่งึ มีอาํ นาจหนา ที่ในการสอบสวน (เลม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๓๖ ง วันท่ี ๕ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๙)
๘๑ ใหผ บู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาตมิ หี นา ทก่ี าํ กบั ตดิ ตามผลการปฏบิ ตั ริ าชการของผบู ญั ชาการ ตามวรรคหนึง่ และใหม อี ํานาจแนะนําและแกไ ขการปฏบิ ตั ริ าชการของผูบญั ชาการตามวรรคหน่งึ ในกรณจี าํ เปน เพอ่ื รกั ษาประโยชนข องทางราชการหรอื การระงบั ความเสยี หายทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ จากการใชอํานาจของผูบัญชาการตามวรรคหนึ่ง ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติจะระงับการใชอํานาจ ของผูบัญชาการดังกลาวไวเปนการชั่วคราวและใชอํานาจนั้นดวยตนเองก็ได ท้ังน้ีตามหลักเกณฑและ เงอ่ื นไขที่ ก.ต.ช.กําหนด ÁÒμÃÒ ÷ô เพอื่ ประโยชนใ นการบรหิ ารราชการในสํานกั งานตาํ รวจแหง ชาติ อาํ นาจใน การสงั่ การอนญุ าต การอนมุ ตั ิ การปฏบิ ตั ริ าชการหรอื การดําเนนิ การอนื่ ใดทผี่ บู ญั ชาการตํารวจแหง ชาติ หรือหัวหนาสวนราชการหรือหัวหนาหนวยงานจะพึงปฏิบัติหรือดาํ เนินการตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คาํ สั่งหรือมติคณะรัฐมนตรีในเรื่องใด ถากฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่ง หรือมติ คณะรัฐมนตรีในเร่ืองนั้นมิไดกาํ หนดเรื่องการมอบอาํ นาจไวเปนอยางอื่น หรือมิไดหามเร่ืองการมอบ อํานาจไว ผบู ัญชาการตํารวจแหง ชาตหิ รือหัวหนาสวนราชการหรอื หวั หนา หนว ยงานอาจมอบอํานาจ ใหผูดาํ รงตาํ แหนงรองหรือผูชวยหรือผูดาํ รงตําแหนงหัวหนาสวนราชการหรือหัวหนาหนวยงาน ถัดลงไปตามลําดับหรือผูดํารงตําแหนงเทียบเทาหรือขาราชการตํารวจช้ันสัญญาบัตรในสวนราชการ หรอื ในหนว ยงานนนั้ ปฏิบตั ริ าชการแทนได การมอบอาํ นาจตามวรรคหนงึ่ ใหท าํ เปน หนงั สอื และใหผ มู อบอาํ นาจมหี นา ทแี่ นะนาํ กาํ กบั และตดิ ตามการปฏบิ ตั ริ าชการของผรู บั มอบอาํ นาจ และในกรณที เี่ หน็ วา ผรู บั มอบอาํ นาจปฏบิ ตั ริ าชการ ในเรือ่ งใดโดยไมสมควร ใหมอี าํ นาจแกไ ขการปฏิบัตริ าชการของผรู ับมอบอํานาจนน้ั ได เม่อื มกี ารมอบอํานาจแลว ผูรับมอบอาํ นาจมหี นาที่ตอ งรับมอบอาํ นาจนัน้ และจะมอบ อํานาจน้ันใหแกผูดํารงตําแหนงอ่ืนตอไปไมไดเวนแตจะไดรับความเห็นชอบจากผูมอบอํานาจไวเปน กรณี ๆ ไป ÁÒμÃÒ ÷õ ใหผ รู กั ษาราชการแทนตามมาตรา ๗๒ มอี ํานาจหนา ทเ่ี ชน เดยี วกบั ผซู งึ่ ตนแทน ในกรณที กี่ ฎหมาย ระเบยี บ ขอ บงั คบั ประกาศ คาํ สง่ั หรอื มตคิ ณะรฐั มนตรแี ตง ตงั้ ใหผ ดู ํารง ตําแหนง ใดเปน กรรมการหรอื ใหม อี าํ นาจหนา ทอ่ี ยา งใด ใหผ รู กั ษาราชการแทนมอี ํานาจและหนา ทเี่ ปน กรรมการหรอื มอี าํ นาจและหนาท่ีเชนเดียวกับผูด ํารงตําแหนงนนั้ ในระหวางทร่ี กั ษาราชการแทน การส่ังใหรักษาราชการแทนใหมีผลนับแตเวลาที่ผูไดรับแตงตั้งเขารับหนาที่และใหผูดํารง ตาํ แหนง รองหรอื ตาํ แหนง ผชู ว ยพน จากความเปน ผรู กั ษาราชการแทนนบั แตเ วลาทผ่ี ไู ดร บั แตง ตงั้ เขา รบั หนา ที่ ทงั้ นไี้ มเ ปน การกระทบกระเทอื นถงึ การใดทผ่ี นู น้ั ไดป ฏบิ ตั ไิ ปแลว ในระหวา งเปน ผรู กั ษาราชการแทน ÁÒμÃÒ ÷ö ในกรณที มี่ กี ฎหมาย ระเบยี บ ขอ บงั คบั ประกาศ คาํ สงั่ หรอื มตคิ ณะรฐั มนตรี กําหนดใหอํานาจหรือหนาที่ใดเปนของปลัดกระทรวง การใชอํานาจหรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวสําหรับ สวนราชการหรือหนวยงานของสํานักงานตํารวจแหงชาติใหถือเปนอํานาจและหนาท่ีของผูบัญชาการ ตํารวจแหงชาติ
๘๒ ͸ºÔ Ò มาตรา ๗๒ – ๗๖ การรกั ษาราชการแทน (รรท.) หมายถงึ กรณไี มม ผี ดู าํ รงตาํ แหนง ใดหรอื มแี ตไ มอ าจปฏบิ ตั ิ ราชการได กฎหมายกําหนดให ผูดาํ รงตําแหนงใดตาํ แหนงหน่ึงเขาไปรักษาราชการแทนตาํ แหนงน้ัน โดยผูรักษาราชการแทนมีอํานาจหนาท่ีเชนเดียวกับผูซึ่งตนแทน การรักษาราชการแทนเกิดขึ้นโดยผล ของกฎหมายไมต อ งมกี ารแตง ตงั้ เมอื่ มผี ดู ํารงตาํ แหนง หรอื มาปฏบิ ตั หิ นา ทไ่ี ดแ ลว การรกั ษาราชการแทน กจ็ ะสน้ิ สดุ ลง ปฏิบัติราชการแทน (ปรท.) ใชในกรณีผูมีอาํ นาจในการปฏิบัติหนาท่ี มอบอาํ นาจท่ีตน มอี ยใู นเรอ่ื งใดเรอ่ื งหนงึ่ หรอื หลายเรอื่ งใหบ คุ คลอน่ื ปฏบิ ตั แิ ทน เปน การทาํ ใหเ กดิ ความรวดเรว็ กระจาย ความรบั ผดิ ชอบและสะดวกแกป ระชาชน การมอบอาํ นาจนใ้ี ชไ ดต ลอดไปจนกวา จะมกี ารถอนอาํ นาจคนื ระเบียบ ก.ต.ช.วาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติราชการของผูบัญชาการในฐานะเปนอธิบดี หรือแทนผูบญั ชาการตํารวจแหง ชาติ พ.ศ.๒๕๕๑ และท่แี กไขเพม่ิ เตมิ กาํ หนดใหใ นกรณที ม่ี ีกฎหมาย ระเบยี บ ขอ บงั คบั หรอื คําสง่ั หรอื มตขิ องคณะรฐั มนตรใี นเรอ่ื งใด กําหนดใหก ารดําเนนิ การใดเปน อํานาจ ของอธิบดีหรือผูบัญชาการตาํ รวจแหงชาติ ใหผูบัญชาการมีอาํ นาจเชนวานั้นในฐานะเปนอธิบดีหรือ แทนผูบัญชาการตํารวจแหงชาติในสวนที่เกี่ยวกับการปฏิบัติราชการของกองบัญชาการนั้นๆ เวนแต ในเร่ืองดังตอ ไปน้ี (๑) การวางแผนสรรหากาํ ลังพล (๒) การใหความยินยอมใหขาราชการตํารวจโอนไปรับราชการในสวนราชการหรือ หนวยงานอืน่ (๓) การอนญุ าตใหข า ราชการตาํ รวจไปปฏบิ ตั หิ นา ทช่ี ว่ั คราวนอกสงั กดั สํานกั งานตาํ รวจ แหงชาติ (๔) การจดั หายุทธภณั ฑบางประเภทตามท่สี าํ นกั งานตํารวจแหงชาตกิ ําหนด ในการใชอาํ นาจดังกลาว ผูบัญชาการจะตองปฏบิ ัติตามกฎหมาย กฎ ระเบยี บ แนวทาง ปฏิบัติที่เกี่ยวของ และกฎหมายวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี และการใช อาํ นาจของผูบัญชาการขางตนไมเปนการตัดอํานาจของผูบัญชาการตาํ รวจแหงชาติ ท่ีจะมีคําสั่งเปน อยางอืน่ เมอื่ เหน็ วา การใชอาํ นาจของผูบัญชาการไมถ กู ตอ ง หรือไดเ กิด หรอื อาจเกดิ ความเสียหายตอ สาํ นกั งานตํารวจแหง ชาติ หรอื มคี วามจําเปน เพอื่ รกั ษาประโยชนข องทางราชการ ทง้ั น้ี เมอ่ื ผบู ญั ชาการ ตํารวจแหงชาตสิ ัง่ การประการใดแลว ใหรายงาน ก.ต.ช. ทราบ ระเบียบ ก.ตร.วาดวยการกําหนดลาํ ดับอาวุโสของขาราชการตาํ รวจในการรักษา ราชการแทน พ.ศ.๒๕๕๗ กรณีที่มีผูดาํ รงตาํ แหนงรอง หรือผูชวยหลายคน ใหถือลําดับอาวุโสของ ผูดาํ รงตําแหนง รอง หรือผชู วยทจ่ี ะรกั ษาราชการแทน ตามลําดับดังนี้ (๑) ผมู ยี ศสงู กวา (ไมร วมถงึ ยศทไ่ี ดร บั จากการแตง ตงั้ เปน กรณพี เิ ศษ) เปน ผมู ลี ําดบั อาวโุ ส สูงกวา (๒) ถา มยี ศเทา กนั ใหผ ทู ดี่ าํ รงตําแหนง ระดบั นน้ั ในกรมตํารวจและสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ นานกวา เปนผูมีลาํ ดับอาวโุ สสงู กวา
๘๓ (๓) ถาดํารงตาํ แหนงตาม (๒) นานเทากัน ใหผูที่ดํารงตําแหนงระดับถัดลงไปนานกวา ตามลําดบั จนถงึ ตําแหนง ระดบั รองสารวตั ร เปน ผมู ลี าํ ดบั อาวโุ สสงู กวา ตําแหนง ถดั ลงไปใหห มายความ รวมถงึ ตําแหนง ระดบั ผชู ว ยผบู ญั ชาการและสารวตั รใหญต ามพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา ราชการตาํ รวจ พ.ศ. ๒๕๒๑ ดวย (๔) ถาดาํ รงตาํ แหนงระดับถัดลงไปตาม (๓) นานเทากัน ใหผูที่มีระยะเวลาการดํารง ตาํ แหนงชนั้ สญั ญาบัตรนานกวา เปน ผูม ลี าํ ดบั อาวโุ สสูงกวา (๕) ถามีระยะเวลาการดํารงตาํ แหนงชั้นสัญญาบัตรนานเทากัน ใหผูท่ีมีอายุมากกวา เปนผมู ลี ําดบั อาวโุ สสงู กวา สาํ หรับขาราชการตํารวจท่ีถูกประจาํ หรือสาํ รองราชการในระดับตําแหนงใด ใหถือวา ยังคงดํารงตาํ แหนง ระดับนั้นตลอดระยะเวลาที่ประจําหรือสํารองราชการ ระยะเวลาการดาํ รงตาํ แหนงใหหมายความรวมถึงระยะเวลาการปฏิบัติงานเปนทวีคูณ ของขา ราชการตํารวจผูปฏบิ ตั งิ านในจังหวัดชายแดนภาคใต ทไ่ี ดร ับการรับรองจากคณะกรรมการตาม หลักเกณฑการนับระยะเวลาการปฏิบัติงานเปนทวีคูณของขาราชการตาํ รวจผูปฏิบัติงานในจังหวัด ชายแดนภาคใต ตามมติ ก.ตร. ในการประชมุ ครง้ั ท่ี ๔/๒๕๕๓ เมอ่ื วนั ที่ ๑๔ มถิ นุ ายน ๒๕๕๓ ในระดบั ตาํ แหนง นัน้ ๆ ดวย หากกรณไี มม ผี ดู ํารงตาํ แหนง รองหรอื ผชู ว ย หรอื มแี ตไ มอ าจปฏบิ ตั ริ าชการได ใหข า ราชการ ตํารวจชั้นสัญญาบัตรท่ีดาํ รงตาํ แหนงในสวนราชการหรือหนวยงานน้ันเปนผูรักษาราชการแทน ตามลาํ ดบั อาวโุ ส ดงั น้ี (๑) ผทู ่มี ลี ําดับตําแหนง สูงสุดในขณะนั้น (๒) ถา มผี ดู ํารงตําแหนง ตาม (๑) หลายคน ใหถ อื ลาํ ดบั อาวโุ สตามขอ ๔ (๑) – (๕) ตามลาํ ดบั ÇÔ¹ÑÂáÅСÒÃÃ¡Ñ ÉÒÇ¹Ô Ñ ÁÒμÃÒ ÷÷ ขา ราชการตํารวจตอ งถอื และปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย ระเบยี บของทางราชการ มติคณะรัฐมนตรี และจรรยาบรรณของตํารวจตามท่ีกําหนดในกฎ ก.ตร. และตองรักษาวินัยตามท่ี บญั ญตั ิไวในหมวดน้โี ดยเครงครดั *กฎ ก.ตร.ตามมาตรานี้ ไดแ ก กฎ ก.ตร.วาดว ยประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของ ตาํ รวจ พ.ศ.๒๕๕๑ และทแ่ี กไ ขเพ่ิมเติม กฎ ก.ตร. ตามวรรคหนึ่ง ใหมีผลใชบังคับเมื่อพนกาํ หนดหกสิบวันนับแตวันประกาศใน ราชกจิ จานุเบกษา ÁÒμÃÒ ÷ø การกระทาํ ผิดวินัยอยางไมรายแรง ไดแก การไมรักษาวินัยตามท่ีบัญญัติ เปนขอปฏบิ ตั แิ ละขอหา มในเร่อื งดังตอ ไปน้ี (ñ) ตองปฏิบัติหนาที่ราชการดวยความซื่อสัตย สุจริตและเที่ยงธรรม เปน ไปตามกฎหมาย กฎ ระเบยี บของทางราชการ มตคิ ณะรฐั มนตรี จรรยาบรรณของตํารวจและนโยบาย ของรฐั บาลโดยไมใ หเ สยี หายแกราชการ
๘๔ (ò) ตองปฏิบัติตามคําสั่งของผูบังคับบัญชาซึ่งสั่งในหนาที่ราชการ โดยชอบดว ยกฎหมายและระเบยี บของทางราชการ โดยไมข ดั ขนื หรอื หลกี เลย่ี ง แตถ า เหน็ วา การปฏบิ ตั ติ าม คาํ ส่ังนั้นจะทาํ ใหเสียหายแกราชการหรือจะเปนการไมรักษาประโยชนของทางราชการจะเสนอ ความเห็นเปนหนังสือทันทีเพ่ือใหผูบังคับบัญชาทบทวนคําส่ังน้ันก็ได และเมื่อไดเสนอความเห็นแลว ถาผูบังคบั บัญชายนื ยนั ใหป ฏบิ ตั ติ ามคําสัง่ เดมิ ผูอยูใตบ ังคบั บญั ชาตอ งปฏิบตั ติ าม (ó) ตอ งรักษาระเบียบการเคารพระหวางผูใหญ ผนู อย (ô) ตอ งอทุ ศิ เวลาของตนใหแ กร าชการ จะละทง้ิ หรอื ทอดทง้ิ หนา ทร่ี าชการ มไิ ด (õ) ตองปฏิบัติราชการโดยมิใหเปนการกระทาํ การขามผูบังคับบัญชา เหนอื ตน เวนแตผ ูบ ังคบั บัญชาเหนือขึ้นไปเปนผูส ่งั ใหก ระทํา หรือไดร ับอนญุ าตเปนพเิ ศษชวั่ คร้ังคราว (ö) ตอ งรกั ษาความลบั ของทางราชการ (÷) ตอ งสภุ าพเรยี บรอ ย รกั ษาความสามคั คแี ละไมก ระทําการอยา งใดท่ี เปนการกลั่นแกลงกันและตองชวยเหลือกันในการปฏิบัติราชการระหวางขาราชการดวยกันและผูรวม ปฏิบตั ิราชการ ประการสดุ ทา ยกาํ หนดใหข า ราชการชว ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั ในหนา ทรี่ าชการ การชว ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั ในหนา ทรี่ าชการ จะทําใหก ารปฏบิ ตั หิ นา ทรี่ าชการสําเรจ็ เรยี บรอ ย รวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพยิ่งขนึ้ การกระทําผิดวินัยฐานไมสุภาพเรียบรอย ไมรักษาความสามัคคีระหวาง ขาราชการตํารวจและไมชวยเหลือซ่ึงกันและกันในหนาที่ราชการเปนการกระทําผิดวินัยโดยท่ัวไป ไมถ งึ กบั เปน ความผดิ วนิ ยั อยา งรา ยแรง เวน แตจ ะเขา กรณเี ปน ความผดิ วนิ ยั ฐานประพฤตชิ วั่ อยา งรา ยแรง (ø) ตอ งตอ นรบั ใหค วามสะดวก ใหค วามเปน ธรรมและใหก ารสงเคราะห แกประชาชนผูติดตอราชการหรือในการปฏิบัติราชการเกี่ยวกับหนาท่ีของตนโดยไมชักชาและดวย ความสุภาพเรียบรอย โดยหามมิใหดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่หรือขมเหงประชาชนผูติดตอราชการ หรอื ในการปฏิบัติราชการเกี่ยวกับหนาท่ีของตน (ù) ตองปฏิบัติหนาท่ีราชการดวยความตั้งใจ อุตสาหะ เพื่อใหเกิดผลดี หรือความกาวหนาแกราชการ เอาใจใส ระมัดระวังรักษาผลประโยชนของทางราชการและตองไม ประมาทเลินเลอ ในหนา ทรี่ าชการ (ñð) ตอ งไมก ระทําการอนั เปน เหตใุ หแ ตกความสามคั ครี ะหวา งขา ราชการ ตาํ รวจ (ññ) ตอ งไมร ายงานเทจ็ ตอ ผบู งั คบั บญั ชา การรายงานโดยปกปด ขอ ความ ซง่ึ ควรตองแจง ถอื วาเปน การรายงานเท็จดว ย (ñò) ตองไมใชก ิรยิ าวาจาหรอื ประพฤติตนในลักษณะท่ไี มส มควร
๘๕ (ñó) ตองไมก ระทําการอนั ไดชอ่ื วา เปน ผปู ระพฤติชั่ว (ñô) ตองไมกระทาํ ดวยประการใดๆ ในลักษณะที่เปนการบังคับ ผูบังคบั บญั ชาเปน ทางใหเ สยี ระเบยี บแบบแผนวนิ ยั ตาํ รวจ (ñõ) ตอ งไมก ระทําหรอื ละเวน การกระทาํ ใดๆ อนั เปน เหตใุ หเ สยี หายแก ราชการหรอื ทําใหเสียระเบยี บแบบแผนของตํารวจ (ñö) ตองไมกระทาํ การหรือยอมใหผูอ่ืนกระทาํ การหาผลประโยชน อันอาจทาํ ใหเสียความเที่ยงธรรมในการปฏิบัติหนาที่ราชการหรือเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ของตําแหนง หนา ทีร่ าชการของตน (ñ÷) ตอ งไมเ ปน กรรมการผจู ดั การ หรอื ผจู ดั การ หรอื ดํารงตําแหนง อนื่ ใด ท่มี ลี กั ษณะงานคลา ยคลงึ กันนั้นในหางหนุ สวนหรือบรษิ ัท (ñø) กระทาํ การหรือไมกระทําการตามทกี่ ําหนดในกฎ ก.ตร. ÁÒμÃÒ ÷ù การกระทําผิดวนิ ัยอยางรายแรง ไดแกการกระทําดงั ตอ ไปนี้ (ñ) ปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่ราชการโดยมิชอบเพ่ือใหตนเอง หรือผอู น่ื ไดรับ (ò) ละทิ้งหรือทอดท้ิงหนาที่ราชการโดยไมมีเหตุอันสมควร เปนเหตุให เสยี หายแกร าชการอยา งรา ยแรง หรอื ละทง้ิ หนา ทรี่ าชการตดิ ตอ ในคราวเดยี วกนั เปน เวลาเกนิ สบิ หา วนั โดยไมม เี หตอุ นั สมควร หรอื โดยมพี ฤตกิ ารณอ นั แสดงถงึ ความจงใจไมป ฏบิ ตั ติ ามระเบยี บของทางราชการ (ó) เหยียดหยาม กดขี่ ขมเหง หรือทาํ รายประชาชนผูติดตอราชการ หรอื ในระหวา งปฏิบัติหนา ที่ราชการ (ô) กระทาํ ความผิดอาญาจนไดรับโทษจําคุกหรือโทษท่ีหนักกวาโทษ จาํ คุกโดยคาํ พิพากษาถึงท่ีสุดใหจําคุกหรือใหรับโทษที่หนักกวาโทษจาํ คุก เวนแตเปนโทษสาํ หรับ ความผิดท่ไี ดก ระทาํ โดยประมาทหรอื ความผิดลหุโทษ (õ) กระทาํ การอนั ไดช่อื วา เปนผูป ระพฤตชิ วั่ อยางรายแรง (ö) กระทาํ หรอื ละเวน การกระทําใดๆ รวมทง้ั การกระทําผดิ ตามมาตรา ๗๘ อนั เปน เหตุใหเสยี หายแกราชการอยางรา ยแรง (÷) กระทาํ การหรอื ไมกระทาํ การตามท่กี าํ หนดในกฎ ก.ตร. ÁÒμÃÒ øð ใหผ บู งั คบั บญั ชามหี นา ทเี่ สรมิ สรา งและพฒั นาใหผ อู ยใู ตบ งั คบั บญั ชามวี นิ ยั ปอ งกนั มใิ หผ อู ยใู ตบ งั คบั บญั ชากระทาํ ผดิ วนิ ยั และดาํ เนนิ การทางวนิ ยั แกผ อู ยใู ตบ งั คบั บญั ชาซงึ่ มกี รณี อันมีมลู ทคี่ วรกลาวหาวา กระทาํ ผิดวินยั วิธีการเสริมสรางและพัฒนาใหผูอยูใตบังคับบัญชามีวินัย และการปองกันมิใหผูอยูใต บังคบั บัญชากระทาํ ผิดวินัย ใหเ ปน ไปตามทก่ี ําหนดในระเบียบ ก.ตร.
๘๖ *ระเบยี บ ก.ตร.ตามมาตราน้ี ไดแก ระเบยี บ ก.ตร.วา ดว ยวิธกี ารเสริมสรา งและพฒั นาให ขา ราชการตาํ รวจมีวินัยและปอ งกนั มิใหข า ราชการตํารวจกระทาํ ผดิ วนิ ยั พ.ศ.๒๕๔๙ เมื่อปรากฏกรณีมีมูลที่ควรจะกลาวหาวาขาราชการตํารวจผูใดกระทาํ ผิดวินัยให ผูบงั คับบญั ชาดําเนินการทางวนิ ัยทนั ทตี ามท่บี ัญญัตไิ วใ นหมวด ๖ ผูบังคับบัญชาผูใดละเลยไมปฏิบัติตามมาตราน้ีและตามหมวด ๖ หรือปฏิบัติหนาท่ี ดังกลาวโดยไมสจุ ริต ใหถ ือวาผูน นั้ กระทาํ ผิดวินัย ÁÒμÃÒ øñ เม่ือมีความจาํ เปนอันไมอาจหลีกเล่ียงได เพ่ือประโยชนในการรักษาวินัย และปราบปรามขา ราชการตํารวจผกู อ การกาํ เรบิ หรอื เพอื่ บงั คบั ขา ราชการตาํ รวจผลู ะทง้ิ หนา ทใี่ หก ลบั ทาํ หนา ท่ีของตน ผบู ังคับบัญชาอาจใชอาวธุ หรอื กาํ ลังบังคับได และถา ไดกระทาํ โดยสุจรติ ตามสมควร แกเ หตุแลว ผูบงั คับบัญชาหรือผชู ว ยเหลือไมตอ งรับผดิ ทง้ั ทางแพงและทางอาญา เมอ่ื มเี หตดุ งั กลา ว ผบู งั คบั บญั ชาจะตอ งรายงานไปยงั ผบู งั คบั บญั ชาเหนอื ตนตามลาํ ดบั ชน้ั จนถงึ ผูบญั ชาการตํารวจแหง ชาตโิ ดยเรว็ ÁÒμÃÒ øò โทษทางวนิ ัยมี ๗ สถาน ดงั ตอไปนี้ (๑) ภาคทัณฑ (๒) ทัณฑกรรม (๓) กักยาม (๔) กักขัง (๕) ตัดเงินเดือน (๖) ปลดออก (๗) ไลอ อก การลงโทษภาคทณั ฑ ไดแ ก การลงโทษแกผ กู ระทาํ ผดิ อนั ควรตอ งรบั โทษสถานหนง่ึ สถานใด แตมเี หตอุ นั ควรปรานจี งึ เพียงแคแ สดงความผดิ ผูน น้ั ใหป รากฏไว การลงโทษทณั ฑกรรม ไดแ ก การใหท ํางานโยธา การใหอ ยเู วรยาม นอกจากหนา ทปี่ ระจาํ หรอื การใหทํางานสาธารณประโยชนซึง่ ตองไมเกนิ หกชั่วโมงตอ หนึง่ วนั การลงโทษกกั ยาม ไดแก การกกั ตัวไวในบริเวณใดบริเวณหน่งึ ที่สมควรตามทีจ่ ะกาํ หนด การลงโทษกกั ขงั ไดแ ก การขงั ในทจ่ี ดั ไวเ พอ่ื ควบคมุ แตเ ฉพาะคนเดยี วหรอื หลายคนรวมกนั ตามทจ่ี ะไดม คี าํ สง่ั การลงโทษกักยามหรือกักขังจะใชงานโยธาหรืองานอ่ืนของทางราชการดวยก็ได แตตอง ไมเกนิ หกชั่วโมงตอหนง่ึ วนั ÁÒμÃÒ øó การลงโทษขาราชการตาํ รวจใหทําเปนคําสั่งโดยระบุในคําสั่งดวยวาผูถูก ลงโทษกระทาํ ผิดวินัยในกรณีใดมาตราใด วิธกี ารออกคาํ สง่ั เกี่ยวกับการลงโทษใหเปนไปตามท่กี ําหนดใน กฎ ก.ตร. *กฎ ก.ตร.ตามมาตราน้ี ไดแก กฎ ก.ตร.วาดวยวิธีการออกคําสั่งเกี่ยวกับการลงโทษ พ.ศ.๒๕๔๗
๘๗ ͸ºÔ Ò มาตรา ๘๑ – ๘๓ กฎ ก.ตร.วาดว ยวธิ ีการออกคําสง่ั เกี่ยวกับการลงโทษ พ.ศ. ๒๕๔๗ (ราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๒๑ ตอนที่ ๗๕ ก วันที่ ๑๔ ธนั วาคม ๒๕๔๗) มีสาระสาํ คัญ คอื การลงโทษขา ราชการตาํ รวจ ผกู ระทาํ ผดิ วนิ ยั ซง่ึ ตามมาตรา ๘๓ ใหท าํ เปน คาํ สง่ั และในคาํ สงั่ ลงโทษใหแ สดงวา ผถู กู ลงโทษกระทาํ ผดิ วนิ ยั ในกรณใี ด ตามมาตราใด จงึ กาํ หนดวธิ กี ารออกคาํ สงั่ เกย่ี วกบั การลงโทษใหเ ปน ไปตาม กฎ ก.ตร. น้ี การส่ังลงโทษภาคทัณฑ ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง หรือตัดเงินเดือน ตามมาตรา ๘๙ หามมิใหสั่ง ลงโทษยอนหลังไปกอนวันออกคําส่งั การส่งั ลงโทษปลดออกหรือไลออกจากราชการตามมาตรา ๙๐ จะสั่งใหอ อกจากราชการ ตั้งแตว นั ใดใหเปนไปตามที่กาํ หนดในระเบยี บ ก.ตร. วา ดวยวนั ออกจากราชการของขาราชการตํารวจ สําหรับการทาํ คําสง่ั ลงโทษตามขอน้ี ใหท าํ ตามแบบคาํ สงั่ ที่ ก.ตร. กําหนด กฎ ก.ตร.วาดวยอํานาจการลงโทษ อัตราโทษ และการลงโทษภาคทัณฑ ทัณฑกรรม กกั ยาม กกั ขงั หรือตัดเงินเดอื น พ.ศ.๒๕๔๗ (ราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๒๑ ตอนท่ี ๗๕ ก วันที่ ๑๔ ธนั วาคม ๒๕๔๗) กาํ หนดใหก ารลงโทษขา ราชการตํารวจผกู ระทาํ ผดิ วนิ ยั อยา งไมร า ยแรงผบู งั คบั บญั ชา จะลงโทษ ภาคทณั ฑ หรอื ในสถานโทษและอตั ราโทษใด ไดเ พยี งใด ใหเ ปน ไปตามตารางกาํ หนดอาํ นาจ และอัตราการลงโทษขาราชการตาํ รวจที่ ก.ตร. กําหนด ผูสั่งลงโทษจะสั่งลงโทษเกินกวาอัตราโทษ ทต่ี ารางกาํ หนดอาํ นาจและอตั ราการลงโทษขา ราชการตํารวจท่ี ก.ตร. กําหนดไมไ ด แตล งโทษต่ํากวา นไี้ ด ผูบังคับบัญชาผูสั่งลงโทษและผูใตบังคับบัญชาผูกระทําผิดวินัยซ่ึงตามตารางกําหนดอํานาจและอัตรา การลงโทษขาราชการตาํ รวจท่ี ก.ตร. กาํ หนด มิไดกําหนดไวใ หถ อื เกณฑเทยี บตาํ แหนงตามท่กี าํ หนด ใน กฎ ก.ตร. การคํานวณระยะเวลาการลงโทษกักยามและกักขัง ใหนับวันเวลาเร่ิมลงโทษกักยาม หรือกักขังเปนหนึ่งวันเต็มโดยไมตองคํานึงถึงจํานวนช่ัวโมงและใหนับติดตอกันไมเวนวันหยุดราชการ จนครบกําหนด และใหปลอยตัวไปในวันถัดจากวันท่ีครบกําหนด และเม่ือมีคําส่ังลงโทษ ใหผูบ งั คบั บญั ชาจดั การใหผ ูถกู ลงโทษไดรับโทษโดยเรว็ การอทุ ธรณค าํ สงั่ ลงโทษของผไู ดร บั โทษในความผดิ วนิ ยั อยา งไมร า ยแรงมใิ หน าํ มาเปน เหตุ ทเุ ลาการรบั โทษ โทษทณั ฑกรรมทกี่ าํ หนดไวเ ปน วนั ๆ ใหห มายความวา ทาํ ทณั ฑกรรมทกุ ๆ วนั จนกวา จะครบกําหนด ในวันหนึ่งกําหนดทัณฑกรรมไดไมเกินวันละหกชั่วโมง แตถาใหอยูเวรยามในวันหน่ึง ตองไมเกนิ กาํ หนดเวลาอยเู วรยามตามปกติ ในสวนการส่งั ลงโทษทัณฑกรรมใหก ําหนดจํานวนวนั และ จํานวนช่ัวโมงในแตละวันใหชัดเจน สําหรับโทษกักยามใหใชไดแตเฉพาะขาราชการตํารวจตําแหนง ตงั้ แตผ กู าํ กบั การหรอื เทยี บเทา ลงมา และสาํ หรบั โทษกกั ขงั ใหใ ชไ ดแ ตเ ฉพาะขา ราชการตาํ รวจตาํ แหนง ต้ังแตรองสารวัตรลงมา การลงโทษกักยามใหนําตัวผูถูกลงโทษไปกักไวในบริเวณใดบริเวณหน่ึงตาม ที่เห็นสมควร การลงโทษกักขัง ใหนําตัวผูถูกลงโทษไปรับโทษที่สถานีหรือหนวยงานอ่ืนท่ีผูถูกลงโทษ มไิ ดประจาํ อยู ซึง่ การลงโทษกกั ขงั ขา ราชการตาํ รวจหญงิ หามมใิ หกกั ขงั รวมกับขาราชการตาํ รวจชาย
๘๘ หากไมม สี ถานทพี่ อจะแยกกกั ขงั หวั หนา หนว ยงานทรี่ บั ตวั ผถู กู ลงโทษไวเ พอื่ ลงโทษจะกาํ หนดสถานทใี่ ด สถานท่ีหน่ึงท่ีเห็นเหมาะสมเปนสถานที่กักขังก็ได การลงโทษกักขัง ใหลงโทษกักขังไวในสถานที่จัดไว โดยเฉพาะ หามมิใหกักขังรวมกับผูตองหา เวนแตมีเหตุจําเปนเพราะไมมีท่ีกักขัง และหามนําส่ิงของ ไมจําเปนหรืออาวุธเขาไปในสถานท่ีกักขัง และการแกไขหรือเพิกถอนคําสั่งเก่ียวกับการลงโทษใหทํา เปน คาํ ส่งั โดยใหปรากฏเลขท่ี วัน เดือน ป ที่ออกคําสงั่ เดมิ ขอ ความเดิมท่ตี องการแกไ ขหรอื เพิกถอน และขอความที่แกไขใหม ¡ÒÃดาํ à¹Ô¹¡ÒÃ·Ò§Ç¹Ô ÂÑ ÁÒμÃÒ øô เมอ่ื มกี ารกลา วหาหรอื มกี รณเี ปน ทส่ี งสยั วา ขา ราชการตาํ รวจผใู ดกระทาํ ผดิ วินัยใหผูบังคับบัญชารีบดําเนินการสืบสวนขอเท็จจริงหรือพิจารณาในเบื้องตนวากรณีมีมูลท่ีควร กลา วหาวาผูนน้ั กระทําผิดวนิ ยั หรือไม ในการสืบสวนขอเท็จจริงใหแจงเร่ืองท่ีถูกกลาวหาหรือถูกรองเรียนใหผูถูกกลาวหาทราบ และใหผ ถู กู กลา วหาชแี้ จงขอ เทจ็ จรงิ ภายในเวลาทกี่ าํ หนด ถา เหน็ วา กรณไี มม มี ลู ทคี่ วรกลา วหาวา กระทําผดิ วินัยใหส่ังยุติเรื่องได ถาเห็นวากรณีมีมูลท่ีควรกลาวหาวากระทําผิดวินัย ใหดําเนินการตอไปตาม มาตรา ๘๕ หรอื มาตรา ๘๖ แลว แตกรณที นั ที ÁÒμÃÒ øõ เม่ือขาราชการตํารวจถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยอยางไมรายแรงให ผบู งั คบั บญั ชานาํ สํานวนการสืบสวนขอ เท็จจริงตามมาตรา ๘๔ มาพจิ ารณาส่งั การตามมาตรา ๘๙ ÁÒμÃÒ øö เมือ่ ขา ราชการตาํ รวจถูกกลาวหาวา กระทาํ ผิดวนิ ยั อยางรายแรงใหแตง ตัง้ คณะกรรมการข้ึนทาํ การสอบสวน ในการสอบสวนตองแจงขอกลาวหาและอธิบายพยานหลักฐานที่ สนับสนุนขอกลาวหาเทาท่ีมีใหผูถูกกลาวหาทราบโดยจะระบุหรือไมระบุช่ือพยานก็ได ท้ังน้ี เพ่ือให ผูถูกกลาวหาชี้แจงและนาํ สืบแกขอกลาวหา เมื่อดําเนินการแลวถาฟงไดวาผูถูกกลาวหาไดกระทาํ ผิด วินัย ใหดําเนินการตอไปตามมาตรา ๘๙ หรือมาตรา ๙๐ แลวแตกรณี ถาฟงไมไดวาผูถูกกลาวหา กระทาํ ผดิ วนิ ัยใหส่ังยตุ เิ รอ่ื ง ใหผูม อี าํ นาจตามมาตรา ๗๒ หรอื ผูบ งั คับบัญชาอืน่ ตามท่ีกําหนดในระเบยี บ ก.ตร. เปน ผสู ่ังแตงตัง้ คณะกรรมการสอบสวนตามวรรคหนึง่ ในกรณีที่ขาราชการตํารวจตําแหนงตางกันถูกกลาวหาวากระทําผิดอยางรายแรงรวมกัน ใหผมู ีอาํ นาจสําหรับผูถ ูกกลาวหาท่ีมตี ําแหนง ในระดบั สูงกวา เปนผสู งั่ แตงตงั้ คณะกรรมการสอบสวน ในกรณีที่ผูบังคับบัญชาไดแตงตั้งคณะกรรมการข้ึนทําการสอบสวนผูถูกกลาวหาตาม มาตรา ๑๐๑ และผลการสอบสวนปรากฏวา ผถู กู กลา วหากระทําผดิ วนิ ยั อยา งรา ยแรง ใหผ บู งั คบั บญั ชา ดําเนนิ การสงั่ การตามผลการสอบสวนโดยไมต อ งตง้ั คณะกรรมการสอบสวน หรอื ดําเนนิ การสอบสวนใหม แตท ง้ั นต้ี อ งแจง ขอ กลา วหาและอธบิ ายพยานหลกั ฐานทสี่ นบั สนนุ ขอ กลา วหาเทา ทมี่ ใี หผ ถู กู กลา วหาทราบ โดยจะระบุหรอื ไมระบพุ ยานกไ็ ด และตอ งใหโ อกาสผูถูกกลา วหาชแี้ จงและนําสืบแกข อ กลาวหาไดดว ย
๘๙ ÁÒμÃÒ ø÷ หลักเกณฑ วิธีการและระยะเวลาเกี่ยวกับการสืบสวน และการสอบสวน ทต่ี องดาํ เนนิ การตามมาตรา ๘๔ และมาตรา ๘๖ ใหเปนไปตามท่กี ําหนดในกฎ ก.ตร. *กฎ ก.ตร.ตามมาตราน้ี ไดแก กฎ ก.ตร.วาดวยการสืบสวนขอเท็จจริง พ.ศ.๒๕๕๖ กฎ ก.ตร. วา ดวยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ.๒๕๔๗ ในการพจิ ารณาของผบู ังคับบัญชาผูมอี าํ นาจตามมาตรา ๘๕ มาตรา ๘๖ มาตรา ๘๙ หรือมาตรา ๙๐ ใหพ จิ ารณาสง่ั การใหแ ลว เสร็จภายในสองรอยสีส่ ิบวันนบั แตวนั ไดร ับสาํ นวน เวน แต มเี หตจุ าํ เปน ตามทก่ี าํ หนดในระเบยี บ ก.ตร. ซง่ึ ทาํ ใหก ารพจิ ารณาไมแ ลว เสรจ็ ภายในกาํ หนดระยะเวลา ดังกลาวก็ใหขยายระยะเวลาไดอีกไมเกินสองครั้ง โดยแตละครั้งจะตองไมเกินหกสิบวัน ในการนี้ หากยงั พจิ ารณาไมแ ลว เสรจ็ ใหข า ราชการตาํ รวจผถู กู กลา วหากลบั คนื สฐู านะเดมิ กอ น และใหถ อื วา ไมเ ปน ผูท่ีอยูระหวางถูกสืบสวนหรือสอบสวนแลวแตกรณี นับแตวันครบกําหนดเวลาดังกลาวจนกวา การพจิ ารณาสั่งการในเรอื่ งนั้นจะเสรจ็ สิ้นและมีคําสงั่ *ระเบยี บ ก.ตร.ตามมาตราน้ี ไดแ ก ระเบยี บ ก.ตร.วา ดว ยเหตจุ าํ เปน ในการขยายระยะเวลา การพจิ ารณาสงั่ การทางวินยั พ.ศ.๒๕๔๗ ในกรณีทเี่ ปน ความผิดทป่ี รากฏชัดแจง ตามท่ีกาํ หนดในกฎ ก.ตร. จะดาํ เนินการทางวนิ ยั โดยไมตองสบื สวนหรอื สอบสวนก็ได *กฎ ก.ตร.ตามมาตรานี้ ไดแก กฎ ก.ตร.วาดวยกรณีท่ีเปนความผิดท่ีปรากฏชัดแจง พ.ศ.๒๕๔๗ ÁÒμÃÒ øø เมอื่ มเี หตจุ าํ เปน จะตอ งกกั ตวั ขา ราชการตํารวจซงึ่ ถกู กลา วหาไวเ พอื่ ประโยชน ในการสอบสวน เชน จะหลบหนี หรือจะไปทําราย หรือขมขูผ เู สียหายหรอื พยาน ใหผบู ังคบั บญั ชามี อํานาจกกั ตวั ขาราชการตํารวจนน้ั ระหวางดาํ เนนิ การสอบสวนไดเ ทาทีจ่ ําเปน แกก ารสอบสวน แตต อง ไมเ กนิ อํานาจลงโทษกกั ขังของผูส ง่ั กักตวั และตองไมเ กินสิบหา วนั ในกรณีท่ีขาราชการตํารวจตามวรรคหนึ่งถูกลงโทษกักยามหรือกักขังใหหักจํานวนวันท่ี ถกู กกั ตวั ออกจากระยะเวลากกั ยามหรือกกั ขงั ดวย และในกรณีทถ่ี ูกลงโทษทัณฑกรรม ใหถือวาการถกู กักตวั เปนการรบั โทษสาํ หรับความผิดน้ันแลว ÁÒμÃÒ øù ขาราชการตํารวจผูใดกระทําผิดวินัยอยางไมรายแรง ใหผูบังคับบัญชา สง่ั ลงโทษภาคทณั ฑ ทณั ฑกรรม กกั ยาม กกั ขงั หรอื ตดั เงนิ เดอื นตามควรแกก รณใี หเ หมาะสมกบั ความผดิ ถามีเหตุอันควรลดหยอนจะนํามาประกอบการพิจารณาลดโทษก็ได แตสําหรับการลงโทษภาคทัณฑ ใหใชเฉพาะกรณีกระทําผิดวินัยเล็กนอยหรือมีเหตุอันควรลดหยอน ซึ่งยังไมถึงกับจะตองถูกลงโทษ ทณั ฑกรรม ถาผูบังคับบัญชาเห็นวาผูกระทําผิดวินัยควรไดรับโทษสูงกวาท่ีตนมีอํานาจส่ังลงโทษ ใหรายงานตอ ผูบังคบั บัญชาของตนท่ีมอี าํ นาจ เพือ่ ใหพ ิจารณาดาํ เนนิ การเพ่ือลงโทษตามควรแกกรณี ในกรณีกระทําผิดวินัยเลก็ นอยและมเี หตุอนั ควรงดโทษ จะงดโทษใหโ ดยใหทําทณั ฑบ น เปน หนังสอื หรอื วากลาวตกั เตือนก็ได
๙๐ การลงโทษตามมาตราน้ี ผบู งั คบั บญั ชาจะมอี าํ นาจสง่ั ลงโทษผอู ยใู ตบ งั คบั บญั ชาในสถานโทษ และอตั ราโทษไดเ พียงใด ใหเ ปน ไปตามทก่ี าํ หนดในกฎ ก.ตร. *กฎ ก.ตร.ตามมาตราน้ี ไดแ ก กฎ ก.ตร.วา ดว ยอาํ นาจการลงโทษ อตั ราโทษ และการลงโทษ ภาคทณั ฑ ทณั ฑกรรม กักยาม กกั ขงั หรอื ตดั เงินเดือน พ.ศ.๒๕๔๗ ͸ԺÒ มาตรา ๘๘ – ๘๙ ผูบังคับบัญชาจะมีอํานาจส่ังลงโทษผูอยูใตบังคับบัญชาในสถานโทษและอัตราโทษ ไดเพียงใด ใหเปนไปตามท่ีกาํ หนดในกฎ ก.ตร.วาดวยอาํ นาจการลงโทษ อัตราโทษ และการลงโทษ ภาคทณั ฑ ทณั ฑกรรม กักยาม กักขงั หรือตดั เงนิ เดอื น พ.ศ. ๒๕๔๗ (ราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๒๑ ตอนท่ี ๗๕ ก วนั ที่ ๑๔ ธนั วาคม ๒๕๔๗) การลงโทษขา ราชการตาํ รวจผกู ระทาํ ผดิ วนิ ยั อยา งไมร า ยแรง ผบู งั คับบัญชาจะลงโทษภาคทณั ฑ หรือในสถานโทษและอัตราโทษใด ไดเพียงใด ใหเ ปนไปตามตาราง กาํ หนดอํานาจและอัตราการลงโทษขาราชการตํารวจที่ ก.ตร. กําหนด ผูส่ังลงโทษจะส่ังลงโทษเกินกวาอัตราโทษที่ตารางกําหนดอํานาจและอัตราการลงโทษ ขาราชการตาํ รวจท่ี ก.ตร. กาํ หนดไมไ ด แตลงโทษต่ํากวา นี้ได ผบู งั คบั บญั ชาผสู ง่ั ลงโทษและผใู ตบ งั คบั บญั ชาผกู ระทาํ ผดิ วนิ ยั ซง่ึ ตามตารางกาํ หนดอาํ นาจ และอัตราการลงโทษขาราชการตํารวจท่ี ก.ตร. กําหนด มิไดกําหนดไวใหถือเกณฑเทียบตําแหนง ตามท่กี ําหนดในกฎ ก.ตร. การคํานวณระยะเวลาการลงโทษกักยามและกักขัง ใหนับวันเวลาเริ่มลงโทษกักยาม หรือกักขังเปนหนึ่งวันเต็มโดยไมตองคํานึงถึงจํานวนช่ัวโมงและใหนับติดตอกันไมเวนวันหยุดราชการ จนครบกําหนด และใหปลอ ยตวั ไปในวนั ถัดจากวันทค่ี รบกําหนด เมื่อมีคําส่ังลงโทษ ใหผูบังคับบัญชาจัดการใหผูถูกลงโทษไดรับโทษโดยเร็ว การอุทธรณ คาํ ส่ังลงโทษของผไู ดรับโทษในความผดิ วินยั อยางไมร า ยแรงมใิ หนํามาเปนเหตทุ ุเลาการรับโทษ โทษทณั ฑกรรมที่กาํ หนดไวเปนวนั ๆ ใหหมายความวา ทําทัณฑกรรมทกุ ๆ วนั จนกวา จะครบกําหนด ในวันหนึ่งกําหนดทัณฑกรรมไดไมเกินวันละหกชั่วโมง แตถาใหอยูเวรยามในวันหน่ึง ตองไมเกนิ กาํ หนดเวลาอยเู วรยามตามปกติ การส่งั ลงโทษทัณฑกรรมใหกําหนดจํานวนวันและจํานวน ช่วั โมงในแตละวันใหชัดเจน โทษกกั ยามใหใ ชไ ดแ ตเ ฉพาะขา ราชการตาํ รวจตาํ แหนง ตง้ั แตผ กู าํ กบั การหรอื เทยี บเทา ลงมา และสาํ หรบั โทษกกั ขงั ใหใ ชไ ดแ ตเ ฉพาะขา ราชการตาํ รวจตาํ แหนง ตง้ั แตร องสารวตั รลงมา สว นการลงโทษ กักยามใหนาํ ตวั ผูถกู ลงโทษไปกกั ไวใ นบริเวณใดบริเวณหน่งึ ตามท่เี หน็ สมควร การลงโทษกกั ขงั ใหน าํ ตวั ผถู กู ลงโทษไปรบั โทษทส่ี ถานหี รอื หนว ยงานอน่ื ทผ่ี ถู กู ลงโทษมไิ ด ประจาํ อยู การลงโทษกกั ขงั ขา ราชการตาํ รวจหญงิ หา มมใิ หก กั ขงั รวมกบั ขา ราชการตาํ รวจชาย หากไมม ี สถานที่พอจะแยกกักขัง หัวหนาหนวยงานท่ีรับตัวผูถูกลงโทษไวเพื่อลงโทษจะกําหนดสถานที่ใด สถานที่หนึ่งท่ีเห็นเหมาะสมเปนสถานท่ีกักขังก็ได สวนการลงโทษกักขัง ใหลงโทษกักขังไวในสถานท่ี
๙๑ จัดไวโดยเฉพาะ หามมิใหกักขังรวมกับผูตองหา เวนแตมีเหตุจําเปนเพราะไมมีท่ีกักขัง และหามนํา สิง่ ของไมจ าํ เปนหรอื อาวุธเขา ไปในสถานทีก่ กั ขงั ÁÒμÃÒ ùð ขาราชการตํารวจผูใดกระทําผิดวินัยอยางรายแรง ใหผูมีอํานาจตาม มาตรา ๗๒ สง่ั ลงโทษปลดออก หรอื ไลอ อก ตามความรา ยแรงแหง กรณี ถา มเี หตอุ นั ควรลดหยอ นจะนาํ มา ประกอบการพิจารณาลงโทษกไ็ ด แตหา มมใิ หล ดโทษต่ํากวาปลดออก การพิจารณาส่ังลงโทษของผูมีอํานาจตามมาตรา ๗๒(๒) (๓) และ (๔) ใหผูมีอํานาจ ดังกลาวตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณากล่ันกรองเสนอ โดยคณะกรรมการดังกลาวอยางนอยตอง ประกอบดวย รองหัวหนาหนว ยงานนัน้ ทุกคน ตามหลักเกณฑท ่ีกาํ หนดในกฎ ก.ตร. *กฎ ก.ตร.ตามมาตรานี้ ไดแก กฎ ก.ตร.วาดวยคณะกรรมการพิจารณากล่ันกรอง การพจิ ารณาส่ังลงโทษ พ.ศ.๒๕๔๗ และที่แกไ ขเพ่ิมเตมิ ผถู ูกลงโทษปลดออกตามมาตราน้ี ใหมีสทิ ธิไดร บั บาํ เหน็จบํานาญเสมือนวาผนู ้นั ลาออก จากราชการ ÁÒμÃÒ ùñ เมื่อผูบังคับบัญชาไดดําเนินการทางวินัยแกขาราชการตํารวจผูใดแลว ใหรายงานการดําเนินการทางวินัยตอผูบังคับบัญชาท่ีมีตําแหนงเหนือผูดําเนินการทางวินัยและ ผูบญั ชาการตํารวจแหงชาติ ในกรณีทผ่ี บู งั คับบัญชาที่ไดร ับรายงานตามวรรคหนึง่ เหน็ วาการยุติเรื่อง การงดโทษหรอื การลงโทษเปน การไมถ กู ตอ งหรอื ไมเ หมาะสม กใ็ หม อี าํ นาจสง่ั ลงโทษ เพมิ่ โทษเปน สถานโทษหรอื อตั ราโทษ ที่หนักขึ้น ลดโทษลงเปนสถานโทษหรืออัตราโทษที่เบาลง งดโทษโดยใหทําทัณฑบนเปนหนังสือ หรอื วา กลา วตกั เตอื นหรอื ยกโทษใหถ กู ตอ งหรอื เหมาะสมตามควรแกก รณี ตลอดจนแกไ ขเปลย่ี นแปลง ขอความในคําส่ังเดิมใหถูกตองเหมาะสมไดดวย และในกรณีที่เห็นวาควรดําเนินการอยางใดเพ่ิมเติม เพ่ือประกอบการพิจารณาใหไดความจริงและยุติธรรมก็ใหมีอํานาจดําเนินการหรือส่ังดําเนินการได ตามควรแกก รณี โดยการสงั่ ลงโทษหรอื เพมิ่ โทษเปน สถานโทษทห่ี นกั ขนึ้ ตอ งไมเ กนิ อาํ นาจของตนตาม มาตรา ๘๙ และการเพ่ิมอัตราโทษเม่อื รวมกบั อตั ราโทษเดมิ ตองไมเกนิ อํานาจนน้ั ดวย ถา เกินอาํ นาจ ของตนก็ใหรายงานตอผูบังคับบัญชาของผูนั้นตามลําดับเพ่ือใหพิจารณาดําเนินการตามควรแกกรณี ทงั้ น้ถี า เหน็ วาการจะสั่งลงโทษหรอื เพิม่ โทษนัน้ กรณเี ปนการกระทาํ ผดิ วนิ ยั อยา งรา ยแรง ก็ใหรายงาน ตอผบู ัญชาการตาํ รวจแหง ชาตเิ พือ่ ใหพจิ ารณาดําเนินการ ในกรณีที่ผูบังคับบัญชาส่ังลงโทษตามมาตรา ๘๙ สั่งยุติเรื่องหรือส่ังงดโทษขาราชการ ตํารวจผูใดไปแลว แตผูบัญชาการตํารวจแหงชาติเห็นวากรณีเปนการกระทําผิดวินัยอยางรายแรง หรือเมื่อไดรับรายงานที่ผูบังคับบัญชาตามวรรคสองเห็นวากรณีเปนการกระทําผิดวินัยอยางรายแรง ก็ใหผูบัญชาการตาํ รวจแหงชาติมีอาํ นาจดาํ เนินการตามมาตรา ๘๖ แตถาเปนกรณีที่ไดมีการแตงตั้ง คณะกรรมการสอบสวนตามมาตรา ๘๖ ไวแ ลว กใ็ หดําเนินการตามมาตรา ๙๐
๙๒ เมือ่ มกี รณีเพม่ิ โทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ ใหผูส่งั มีคําส่ังใหม และในคําส่งั ดังกลาว ใหสัง่ ยกเลกิ คาํ ส่ังลงโทษเดมิ ดวย พรอมท้งั ระบวุ ธิ กี ารดําเนนิ การใหผถู กู ลงโทษตามคําสัง่ เดิมรับโทษท่ี เพ่ิมขึ้นหรือกลับคนื สูฐานะเดิมแลวแตก รณี ตามหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารท่ีกาํ หนดในกฎ ก.ตร. *กฎ ก.ตร.ตามมาตรานี้ ไดแก กฎ ก.ตร.วา ดวยหลกั เกณฑแ ละวิธีการดาํ เนนิ การใหผถู ูก ลงโทษตามคําสั่งเดิมรบั โทษทเี่ พิ่มข้ึนหรอื กลับคนื สูฐ านะเดมิ พ.ศ.๒๕๔๗ ÁÒμÃÒ ùò เมอื่ ผบู งั คบั บญั ชาไดด าํ เนนิ การทางวนิ ยั อยา งรา ยแรงหรอื สงั่ ใหข า ราชการ ตํารวจออกจากราชการในเร่ืองใดไปแลว ถา ก.ตร. พิจารณาเห็นเปนการสมควรที่จะตองสอบสวน เพิ่มเติมหรือสอบสวนใหม ให ก.ตร. มีอาํ นาจสอบสวนเพิ่มเติมหรือสอบสวนใหมในเร่ืองนั้นไดตาม ความจาํ เปนโดยจะสอบสวนเองหรอื ตัง้ อนุกรรมการหรอื ใหค ณะกรรมการสอบสวนสอบสวนเพม่ิ เตมิ หรอื สอบสวนใหมแ ทนกไ็ ด หรอื กาํ หนดประเดน็ หรอื ขอ สําคญั ทต่ี อ งการทราบสง ไป เพอื่ ใหค ณะกรรมการ สอบสวนท่ผี บู ังคบั บัญชาไดแตง ต้งั ไวเ ดิมทาํ การสอบสวนเพิม่ เตมิ ไดด ว ย ในการดาํ เนินการตามมาตรานใี้ หนํามาตรา ๙๓ มาใชบ งั คับโดยอนโุ ลม ÁÒμÃÒ ùó ใหผูสืบสวน กรรมการสืบสวน และกรรมการสอบสวน เปนเจาพนักงาน ตามประมวลกฎหมายอาญา และใหกรรมการสอบสวนมีอํานาจเชนเดียวกับพนักงานสอบสวนตาม ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญาเพยี งเทา ทเี่ กยี่ วกบั อาํ นาจและหนา ทข่ี องกรรมการสอบสวน และโดยเฉพาะใหม อี ํานาจเรยี กใหก ระทรวง ทบวง กรม หนว ยราชการ รฐั วสิ าหกจิ หนว ยงานอน่ื ของรฐั หา งหนุ สว น บรษิ ทั หรอื บคุ คลใดๆ มาใหถ อ ยคําหรอื ชแ้ี จงขอ เทจ็ จรงิ สง เอกสารและหลกั ฐานทเี่ กยี่ วขอ ง สง ผแู ทนหรอื บคุ คลในสังกัดมาชแี้ จงหรอื ใหถอยคําเก่ียวกับเรือ่ งที่สอบสวน ÁÒμÃÒ ùôôö ขาราชการตาํ รวจผูใดซ่ึงออกจากราชการอันมิใชเพราะเหตุตาย มีกรณี ถูกกลาวหาเปนหนังสือกอนออกจากราชการวา ขณะรับราชการไดกระทาํ หรือละเวนกระทําการใด อันเปนความผิดวินัยอยางรายแรง ถาเปนการกลาวหาตอผูบังคับบัญชาของผูน้ันหรือตอผูมีหนาท่ี สืบสวนสอบสวนหรือตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ หรือเปนการกลาวหาของ ผูบังคับบัญชาของผูนั้น หรือมีกรณีถูกฟองคดีอาญากอนออกจากราชการวาในขณะรับราชการได กระทําความผดิ อาญาอนั มใิ ชค วามผดิ ทไ่ี ดก ระทําโดยประมาททไ่ี มเ กย่ี วกบั ราชการหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ ผมู อี าํ นาจดําเนนิ การทางวนิ ยั มอี าํ นาจดําเนนิ การสบื สวนหรอื พจิ ารณาดําเนนิ การทางวนิ ยั และสงั่ ลงโทษ ตามท่ีไดบัญญัติไวในหมวดน้ีตอไปไดเสมือนวาผูน้ันยังมิไดออกจากราชการ แตตองส่ังลงโทษภายใน สามปนับแตว นั ที่ผูนัน้ ออกจากราชการ กรณตี ามวรรคหนงึ่ ถา เปน การกลา วหา หรอื ฟอ งคดอี าญาหรอื ตอ งหาคดอี าญาหลงั จากที่ ขา ราชการตาํ รวจผนู นั้ ออกจากราชการแลว ใหผ มู อี ํานาจดาํ เนนิ การทางวนิ ยั มอี าํ นาจดาํ เนนิ การสบื สวน หรือพิจารณาดําเนินการทางวินัย และส่ังลงโทษตามที่บัญญัติไวในหมวดน้ีตอไปไดเสมือนวาผูน้ัน ๔๖ มาตรา ๙๔ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติตํารวจแหงชาติ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ (เลม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๓ ก วนั ท่ี ๕ เมษายน ๒๕๖๒)
๙๓ ยงั มไิ ดอ อกจากราชการ โดยตอ งเรมิ่ ดําเนนิ การสอบสวนภายในหนง่ึ ปน บั แตว นั ทผี่ นู นั้ ออกจากราชการ และตองลงโทษภายในสามปนับแตวันที่ผูนั้นออกจากราชการ สําหรับกรณีท่ีเปนความผิดที่ปรากฏ ชดั แจงตามมาตรา ๘๗ วรรคสาม จะตองส่ังลงโทษภายในสามปนบั แตผูน น้ั ออกจากราชการ ในกรณที ศี่ าลปกครองมคี ําพพิ ากษาคดถี งึ ทส่ี ดุ ใหเ พกิ ถอนคําสง่ั ลงโทษ หรอื องคก รพจิ ารณา อุทธรณคําสั่งลงโทษทางวินัยหรือองคกรตรวจสอบรายงานการดาํ เนินการทางวินัย มีคาํ วินิจฉัย ถงึ ทส่ี ดุ หรอื มมี ตใิ หเ พกิ ถอนคาํ สง่ั ลงโทษตามวรรคหนงึ่ หรอื วรรคสอง เพราะเหตกุ ระบวนการดําเนนิ การ ทางวินัยไมช อบดวยกฎหมาย ใหผมู ีอาํ นาจดาํ เนินการทางวินัยดําเนินการทางวนิ ัยใหแลว เสรจ็ ภายใน สองปนับแตวันท่ีมีคาํ พพิ ากษาถึงที่สดุ หรอื มีคําวนิ ิจฉยั ถงึ ทส่ี ุดหรือมมี ติ แลวแตก รณี การดําเนนิ การทางวนิ ยั ตามวรรคหนงึ่ วรรคสองและวรรคสาม ถา ผลการสอบสวนพจิ ารณา ปรากฏวาผนู ้นั กระทาํ ความผิดวินัยอยา งไมร า ยแรงก็ใหงดโทษ ความในมาตรานี้มิใหใชบังคับแกขาราชการตาํ รวจซ่ึงถูกส่ังใหออกจากราชการไวกอน ตามมาตรา ๙๕ ÁÒμÃÒ ùô/ñô÷ ในกรณีท่ีคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ หรอื คณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ในภาครฐั มมี ตชิ ม้ี ลู ความผดิ ขา ราชการตาํ รวจผใู ด ซงึ่ ออกจากราชการแลว การดาํ เนนิ การทางวินัยและสัง่ ลงโทษแกขา ราชการตาํ รวจผนู ั้นใหเปน ไปตาม หลกั เกณฑแ ละเงอ่ื นไขทกี่ ําหนดไวใ นกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยการปอ งกนั และปราบปราม การทุจริตหรือกฎหมายวาดวยมาตรการของฝายบริหารในการปองกันและปราบปรามการทุจริต แลวแตก รณี ÁÒμÃÒ ùõ ขาราชการตาํ รวจผูใดมีกรณีถูกกลาวหาวากระทาํ ผิดวินัยอยางรายแรง จนถกู ตง้ั กรรมการสอบสวน หรอื ตอ งหาวา กระทําความผดิ อาญาหรอื ถกู ฟอ งคดอี าญา เวน แตเ ปน ความผดิ ที่ไดกระทาํ โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ผูมีอํานาจตามมาตรา ๗๒ หรือผูบังคับบัญชาอ่ืน ตามทกี่ าํ หนดในระเบยี บ ก.ตร. มอี าํ นาจส่ังพกั ราชการหรอื ส่ังใหอ อกจากราชการไวก อนเพ่ือรอฟงผล การสอบสวนพจิ ารณาทางวนิ ยั ได แตถ า ภายหลงั ปรากฏผลการสอบสวนพจิ ารณาทางวนิ ยั วา ผนู น้ั มไิ ด กระทําผดิ หรอื กระทาํ ผดิ ไมถ งึ กบั ถกู ลงโทษปลดออกหรอื ไลอ อก และไมม กี รณที จ่ี ะตอ งออกจากราชการ ดวยเหตุอ่ืนก็ใหผูมีอํานาจดังกลาวส่ังใหผูนั้นกลับเขารับราชการในตาํ แหนงเดิมหรือตาํ แหนงในระดับ เดยี วกันทผี่ นู น้ั มีคณุ สมบัติตรงตามคณุ สมบัตเิ ฉพาะสําหรับตาํ แหนงนนั้ เม่ือไดมีการสั่งใหขาราชการตาํ รวจผูใดพักราชการหรือออกจากราชการไวกอนตาม วรรคหน่ึงแลว หากภายหลังปรากฏวาผูนั้นมีกรณีถูกกลาวหาวากระทาํ ผิดวินัยอยางรายแรงในกรณี อ่ืนอีกผูมีอํานาจตามมาตรา ๗๒ หรือผูบังคับบัญชาอื่นตามที่กําหนดในระเบียบ ก.ตร. มีอาํ นาจ ดําเนินการสืบสวนหรอื พิจารณาตามมาตรา ๘๔ และแตงตงั้ คณะกรรมการสอบสวนตามมาตรา ๘๖ ตลอดจนดําเนนิ การทางวินัยตามท่ีบัญญัตไิ วในหมวดนต้ี อ ไปได ๔๗ มาตรา ๙๔/๑ เพ่ิมเตมิ โดยพระราชบญั ญัตติ าํ รวจแหงชาติ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ (เลม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๓ ก วันที่ ๕ เมษายน ๒๕๖๒)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136