Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 60366_ปริยรัตน์

60366_ปริยรัตน์

Published by ying_123, 2017-09-25 04:52:15

Description: 60366_ปริยรัตน์

Search

Read the Text Version

กลอ้ งและการภา่ ยภาพ

ถา่ ยรปู ใหส้ วยข้นึ ดว้ ย “กฏสามส่วน” ทฤษฎกี ฎสามสว่ น (Rule of Third) เป็นวิธกี ารง่ายๆ ท่จี ะท�ำ ใหภ้ าพออกมาดู ดี โดย หลกี เลย่ี ง การวางตำ�แหน่งของวัตถุ หลกั ทเ่ี ราจะถา่ ย ไม่ให้อยู่ตรงจดุ กึง่ กลาง ภาพ ซึง่ จะท�ำ ใหภ้ าพน้นั แขง็ ท่ือ ไมช่ วนมอง ดังน้ัน ตำ�แหนง่ ทเ่ี หมาะสมต่อการวางวัตถุ ควรอยู่ในตำ�แหน่งที่เกิดจากจุดตัดของเส้น สี่เส้นตามทฤษฎี กฎสามส่วนซึ่งการจดั วางต�ำ แหนง่ หลกั ของภาพถา่ ย เปน็ องค์ประกอบหน่งึ ท่สี ามารถทำ�ให้เกดิ ผลทางดา้ นแนวความคดิ และความรู้สึกได้ การวางตำ�แหนง่ ท่ีเหมาะสม ของจุดสนใจในภาพ เป็นอกี สง่ิ หนึ่งท่ีส�ำ คญั วิธีการก็คือ ให้เราสร้างเส้นสมมติ 4 เส้นเพื่อแบ่งช่องมองภาพทัง้ แนวตั้ง 2 เส้น และ แนวนอน 2 เสน้ เหมอื นกบั ตีตารางเลน่ O-X จุดทีเ่ ส้นท้ัง 4 ตดั กัน คือตำ�แหน่งท่ีเหมาะสมต่อการวางวัตถุหลักไว้ในบริเวณดังกล่าวให้เลือกจุดที่เราคิดว่าเหมาะสมที่สุดจุดใดจุดหน่งึ ท้ังนีข้ ้นึ อย่กู ับภาพทเี่ ราก�ำ ลงั จะถา่ ยวา่ มีฉากหน้า - ฉากหลงั เปน็ อย่างไร รวมท้งั เร่อื งราวในภาพ

โดยปกติการถ่ายอะไรท่ีอยู่ตรงกลางหากส่ิงที่จะถ่ายไม่น่าสนใจพอ ทำ�ให้ภาพตาย หรือเรียกว่า Dead Center เลยมีหลายเทคนคิ แต่มกี ฏพ้ืนฐานทหี่ ลายคนชอบใช้คือกฏสามสว่ น ภาพนีเ้ ราแบ่งเฉพาะแนวนอน (มองเฉพาะเส้นแนวนอน)ออกเป็นสามส่วน ภาพนฟี้ ้าสวยเราก็เกบ็ ฟ้ามา สองสว่ น เกบ็ ทะเล มาหน่ึงส่วนทำ�ให้ภาพดหู น้าสนใจข้นึ หากฟ้าเน่าแต่ทะเลมีะไรนา่ สนใจมากกว่ากเ็ กบ็ ทะเลมาสองส่วน บางครง้ั อาจไม่ตอ้ งแบ่งเป็นสามส่วนในกรณีทจ่ี ะถ่ายภาพสะท้อนแบบนี้ก็แบง่ คร่ึงแนวนอน ท�ำ ให้ดสู มมาตร นีเ่ ป็นตัวอย่างแนวนอน เราใชก้ ฏนี้เหมอื นกัน ในเส้นแนวต้ัง

คราวน้เี ม่อื เรา แบง่ เส้นตดั กัน เป็นสามส่วนท้งั แนวตั้ง แนวนอน ดังรปูจะมจี ุดตดั ท่ีเกดิ ขึ้นจากการแบ่งเป็นสเี่ หล่ยี มเกา้ ช่องน้ี เรยี กวา่ “จดุ ตัด 9 ชอ่ ง” เรากว็ างส่ิงที่น่าสนใจบนจดุ เหล่าน้ันโดยทที ฤษฏอี ยู่วา่ โดยท่วั ไปมมุ บนซา้ ยจะเปน็ จุดแรกท่ีจะดงึ ดูดความสนใจ “แบ่งเปน็ เปอรเ์ ซนต์ดังน้ี”

เรามาลองดตู ัวอยา่ งกนั ภาพนจ้ี ดุ ทีด่ ึงดูดอยมู่ ุมบนขวา ซ่ึงเปน็ ตาของคุณลุงคนน้ีข้อควรระวงั มากๆ ของการใชก้ ฏสามส่วนนีค้ อื ทีว่ ่าง คอื เมื่อเราวางของไวต้ ามจดุ ตัด แลว้ จะเหลอื ท่วี า่ งทีไ่ รป้ ระโยชนท์ �ำ ใหภ้ าพดูไมส่ มดุล มีวิธจี ัดการหลายวธิ ี ดู ต.ย. จากภาพคุณลงุ คนน้ี จะเห็นวา่สายตาคณุ ลงจะมองไปทางดา้ นซ้าย จะช่วยให้ภาพดูถ่ายน�ำ้ หนักไปทางซา้ ยได้ เช่นเดียวกับหมานอ้ ยตวั น้ี ตามองไปท่วี า่ งเชน่ กันยังมีอกี หลายวธิ ี เชน่ จดั องคป์ ระกอบให้ บางอยา่ งไปถว่ งนำ้�หนกั เชน่ ภาพน้ี ถา้ดเู ฉพาะเรอื จะหนักมมุ ล่างซ้าย กห็ ามมุ ทีใ่ หภ้ เู ขาอยู่มุมบนขวา จะท�ำ ใหภ้ าพดูสมดุล และน่าสนใจอกี ด้วย แต่กฏเหลา่ นม้ี ันก็แค่ เครื่องมอื รับประกบั ว่าภาพคณุ จะไมข่ เี้ หรจ่ นเกินไป แตห่ ากเรามมี ุมมองที่ดี เหน็ วา่ สงิ่ ทีอ่ ยู่ในเฟรมน้นั สวยกวา่ การทำ�ตามกฏต่างๆ คือ feeling ได้ กถ็ ่ายไปไดเ้ ลย ของแบบนี้ไม่มอี ะไร

ความไวแสง ISO ความไวแสง ISO ท�ำ หน้าทีค่ วบคุมระดับความไว ต่อแสงทีม่ ากระทบของเซนเซอร์ภาพ การตงั้ ค่า ISO สงู ๆ ทำ�ใหเ้ ซนเซอร์กล้องของคุณไวต่อแสงมากขนึ้ คุณจงึ ถ่าย ภาพในทีม่ ดื ได้ ท้งั น้ี ISO ยังมผี ลตอ่ ภาพถ่ายของคณุ ในด้านอ่นื ๆ อีก

ค่า ISO กค็ อื ค่าความไวแสง คา่ นอ้ ย ทีเ่ กิดขึน้ จากค่ารรู บั แสงกบั ความเร็วชตั เตอร์สดุ อยทู่ ่ี 100 คา่ ยงิ่ น้อยคณุ ภาพย่งิ สงู แตห่ าก ผนวกกบั ความไวแสง ISO คุณจะได้ค่า ISO ยิ่งมากความละเอยี ดของภาพก็จะ เพลดิ เพลินไปกบั การส่อื สารผ่านภาพถา่ ยนอ้ ย และจะมี Noise (ภาพเปน็ จดุ ๆ) มากข้ึน ไดห้ ลากหลายข้ึนหากเราไปในสถานที่ต่างๆแล้วเราต้องการถา่ ยภาพ เราตอ้ งดวู้ ยวา่ ณ ทต่ี รงนนั้ มีแสง ความไวแสง ISO และค่าการเปิดรบั แสงมากน้อยเพียงใด หากแสงน้อยก็ต้องเพมิ่ ส ตวั อย่างภาพทีถ่ า่ ยด้วยความไวแสง ISO สูงปตี ชตั เตอร์มาก หากมแี สงมากสปีตชตั เตอรก์ ็ตอ้ งนอ้ ย จดุ รบกวน (Noise) หมายถงึ จุดที่ Manual exposure (1/800 วินาที, f/4)/ ISO 6400ปรากฏบนภาพเมื่อถ่ายดว้ ยความไวแสง ISOสูง ในการเพิ่มระดบั ความไวแสง ISO นน้ั ในภาพนี้ การเคล่ือนไหวของนักจำ�เปน็ ตอ้ งขยายสญั ญาณไฟฟ้า สญั ญาณ ดนตรีถูก “หยุดนงิ่ ” เพราะใชค้ วามเรว็รบกวนจะเกิดขึ้นระหว่างกระบวนการน้ี จุด ชัตเตอร์สูง ผมไมย่ ิงแสงแฟลช เพ่ือจะไม่ลดรบกวนเป็นลักษณะเฉพาะท่ีเกิดข้ึนในกล้อง ทอนบรรยากาศจรงิ ในภาพทีไ่ ด้ น่ีเป็นดจิ ติ อล โดยระดับของจดุ รบกวนท่ียอมรับ ตัวอย่างฉากท่ีมีแสงน้อย ซงึ่ สามารถถา่ ยไว้ไดน้ น้ั จะแตกต่างกนั ไปตามแต่ละบุคคล ไดอ้ ย่างสวยงามดว้ ยความไวแสง ISO สงู ๆ ความไวแสง ISO คอื อะไร?ความไวแสง ISO เป็นศัพทก์ ลอ้ งทใ่ี ชก้ ันอย่างกว้างขวาง ISO ย่อมาจาก “InternationalOrganisation for Standardisation” ซง่ึ หมายถึงส่วนประกอบทกี่ �ำ หนดมาตรฐานสากล ในการถา่ ยภาพดิจติ อล ความไวแสง ISO จะใช้ในการก�ำ หนดความไวต่อแสงของเซนเซอร์CMOS เช่นเดียวกับแนวคิดเร่อื งความไวแสงISO ระดับตา่ งๆ ในกล้องฟิลม์ เช่น ISO 100และ 400 การเพ่มิ คา่ ISO นัน้ จะเปน็ การเพมิ่ระดับความไวตอ่ แสง ตวั อย่างเช่น ในสภาพทม่ี ีแสงน้อยซึ่งมกั จะตอ้ งใช้แฟลชช่วย เมอ่ื เพ่มิระดับความไวแสง ISO ก็กลบั สามารถถา่ ยภาพในบรรยากาศเช่นนไ้ี ด้โดยไม่ตอ้ งพึง่แฟลช เราได้เรียนรู้ในบทก่อนหนา้ นี้ว่า เราสามารถควบคุมระยะชัดลกึ ชัดตน้ื ไดด้ ้วยค่ารูรับแสง และควบคุมการเคลือ่ นที่ของวตั ถไุ ด้ดว้ ยความเร็วชตั เตอร์ ดว้ ยปรมิ าณการเปิดรับแสง (ปรมิ าณแสง)

ตัวอย่างภาพที่ถา่ ยดว้ ยความไวแสง I S O ต่ำ� Aperture-priority AE (25 วินาท,ี f/25)/ ISO 100 ในภาพน้ี ความไวแสง ISO ต่ำ� แล้วลดขนาดรรู ับแสงเพื่อใหค้ วามเร็วชัตเตอรช์ า้ ลง การท�ำ อย่างนน้ั ท�ำ ใหแ้ สงหนา้รถ และทา้ ยรถเบลอ และเกิดเสน้ สายของแสงไฟขึน้ ในภาพ ความเรว็ ชตั เตอร์เพิ่มขึ้นตามความไวแสง ISOการเพ่ิมความไวแสง ISO เอ้อื ให้คณุ สร้างสรรคภ์ าพที่คมชดั ไดแ้ มใ้ นท่ีซงึ่ แสงสลวั ไม่เพยี งเทา่ นั้น การเลือกความไวแสง ISO สูงในสถานทีท่ ่ีสว่างยงั เป็นการเปิดให้เซนเซอรภ์ าพรบั เอาปรมิ าณแสงไดม้ ากในเวลาอนั สน้ัท�ำ ให้คุณใชง้ านชตั เตอร์ความเร็วสูงกว่าเมอื่ ตงั้ คา่ ความไวแสง ISO ต�ำ่ สำ�หรับการถ่ายภาพกฬี า เปน็ ธรรมดาทจี่ ะใช้ความเร็วชัตเตอร์สูงๆ อยา่ ง ISO 400 เมอ่ื ถา่ ยภาพในชว่ งกลางวัน

ISO 200, 1/50 วินาที ISO 800, 1/200 วินาที ภาพท่ถี ่ายดว้ ยความเร็วชตั เตอร์ 1/200 วนิ าทีนน้ั สามารถ “หยดุ ” ช่วั ขณะที่ตัวแบบกระโดดได้อย่างที่ตอ้ งการ สตอ็ ปของความไวแสง ISO จะสอดคลอ้ งไปทางเดยี วกันกบัสตอ็ ปของความเรว็ ชตั เตอร์

ชอ่ งรับแสงเป็นสง่ิ หนง่ึ ท่ใี ช้ส�ำ หรับปรับปริมาณของแสงทีจ่ ะเขา้ มาในเลนส์ ดังท่ีแสดงใน รูปภาพด้านลา่ ง ช่องรบั แสงติดตงั้ อยูด่ ้านในของเลนส์ และเปน็ ตัวปรับปริมาณของแสงทจี่ ะเข้า มา โดยปรับขนาดของรรู บั แสงชอ่ งรับแสง ( F )และโหมด ( A ) ปรมิ าณของแสงที่จะเขา้ มาในกล้องจะข้นึ อยกู่ บั ขนาด ของช่องรับแสงซง่ึ มีหน่วยการวดั เปน็ เลข F เลข F มีค่า มาตรฐานตายตัว เช่น F2, F2.8, F4, F5.6 และ F8 หาก เลข F สูงข้นึ ช่องรับแสงจะปดิ มากขึน้ และมีแสงผ่านเลนสม์ าได้น้อย หาก เลข F ต่ำ�ลง ช่องรบั แสงจะเปิดมากขึน้ และ มแี สงผ่านเลนส์ มาได้มาก ตัวอยา่ ง เช่น หากช่องรับแสงเปลีย่ นจาก F8 เป็น F5.6 ปรมิ าณแสงจะเพมิ่ เป็นเทา่ ตัว ดงั น้ัน ถงึ แมค้ วามเรว็ ชัตเตอรจ์ ะเร็ว ขึ้นเปน็ เท่าตัว แสงทผี่ า่ นเขา้ มาในกล้องก็จะมีปรมิ าณเท่าเดมิ ตราบเท่า ที่ไมม่ ีการเปล่ียนการต้งั ค่าอื่นๆ ช่องรับแสงยงั มีผลต่อพนื้ ทใี่ นโฟกัสหรอื พนื้ ทพ่ี รา่ มัวในภาพถ่ายอีกด้วย ภาพตอ่ ไปนี้แสดงการเปรยี บเทียบปริมาณของการพร่ามวั ท่สี มั พันธก์ ับชอ่ งรบั แสง คุณจะเห็นว่าฉากหน้าและฉากหลงั จะพร่ามัวมากขึ้นหากเลข F น้อยลง

โดยทวั่ ไป เลข F ยิ่งน้อย แสงจะยิง่ ผ่านเขา้ มาในกลอ้ งไดม้ าก และเกิดเอฟเฟกต์พรา่ มวั ให้คุณไดเ้ พลดิ เพลินมากข้ึน เลนสแ์ ตล่ ะเลนส์จะมีเลข F ต�ำ่ สุดแตกตา่ งกัน และนีเ่ รียกวา่ “ชอ่ งรบั แสงสงู สุด” ของเลนส์ ในการตรวจสอบชอ่ งรบั แสงสูงสดุ ของเลนส์ โปรดดทู ข่ี ้อมลู จำ�เพาะของเลนส์ หรือดคู ่าที่พิมพ์อยู่บนเลนส์ดังภาพดา้ นลา่ งเลนส์ท่มี เี ลข F ตำ่�มกั จะเรยี กว่า “ เลนส์เร็ว ” โหมด A (โหมดก�ำ หนดค่าช่องรับแสง) โหมด A (โหมดกำ�หนดค่าชอ่ งรบั แสง) คอื โหมดทใ่ี ห้คณุ กำ�หนดเลข F ไดต้ ามใจชอบ ด้วยการ ท�ำ งานลักษณะน้ี กลอ้ งจะตง้ั ความเร็วชัตเตอร์และ ความไวแสง ISO อตั โนมัติ เพ่อื ถ่ายภาพทมี่ ีปรมิ าณ แสงพอดีๆโหมดน้ีเหมาะสำ�หรับการถ่ายภาพแบบ พรา่ มวั ทง้ั ฉากหลงั และฉากหน้า โดยโฟกสั ไปที่ วัตถหุ ลักเพยี งอย่างเดยี ว หรอื เม่อื คณุ ต้องการภาพ ทิวทศั น์ทช่ี ดั เจน โดยโฟกสั เปน็ บริเวณกวา้ งตัง้ แต่ ฉากหน้าถงึ ฉากหลงั เมอ่ื เลข F มากขึ้น รูทจ่ี ะปล่อยใหแ้ สงเขา้ มาใน กล้องจะเล็กลงดังน้ันความเร็วชัตเตอร์จะลดลงซึ่งอาจ ทำ�ใหภ้ าพเบลอเนอื่ งจากกลอ้ งสัน่ หากเปน็ เชน่ น้ี ลอง ถ่ายภาพดว้ ยเลข F ต�ำ่ ๆ อีกคร้ัง

มมุ กล้อง แล

มมุ กลอ้ ง หมายถงึ ทศิ ทางทีต่ ัง้ กลอ้ งกับวัตถุท่ีถกู 4. มุมที่ผ้กู �ำ กับกำ�หนดข้นึ เอง (Director’s Inter-ถา่ ย ประกอบดว้ ยมุมหลกั ๆ ดงั นี้ pretative Camera Angle) เป็นมุมกลอ้ งทผ่ี ู้ก�ำ กบั1. มมุ กล้อง ออบเจกทีฟ (Objective Camera An- อาจกำ�หนดมุมกล้องข้ึนมาเพื่อให้เร่ืองราวเร้าใจgle) มุมกลอ้ งมุมน้ีทำ�ให้ผู้ดไู ด้เห็นภาพโดยตรง ชวนตดิ ตามยิง่ ข้ึน เพื่อให้การสื่อสารเขา้ ถงึจากเลนส์กล้อง ซ่ึงท�ำ หน้าทเี่ สมือนตาผ้ดู ู อารมณ์ของผ้ดู ูโทรทศั น์ได้อยา่ งเตม็ ที่2. มุมกล้อง ซบั เจกทฟี (Subjective Camera An- มุมมองภาพ หมายถึงจุดดภู าพทป่ี รากฏบgle) มุมกล้องมมุ นใี้ ช้กลอ้ งแทนผ้ดู ู ทำ�ให้ผู้ดเู ป็น จอภาพยนตรแ์ ละจอโทรทัศน์ ผกู้ ำ�กบั จะก�ำ หนดเสมือนผู้แสดงท่อี ยู่นอกจอ ผูแ้ สดงจะมองหรือ วา่ จะเสนอภาพจากมมุ ใด คือให้ผูด้ มู องเห็นภาพพดู กบั เลนสก์ ล้อง ท�ำ ใหร้ ้สู ึกว่าผูแ้ สดงในจอมอง จากมุมใดจึงจะน่าสนใจและสมจริงกับเร่ืองราวหรือพดู กบั ผดู้ ูโดยตรง ท�ำ ใหผ้ ดู้ รู ูส้ กึ ว่าเขา้ ไปมี ทเ่ี สนอ มุมมองภาพหรอื ที่นิยมเรียกวา่ มุมกลอ้ งสว่ นร่วมใน ภาพยนตรเ์ รอื่ งน้ัน โดยทว่ั ไปจะประกอบด้วย 3 มมุ ได้แก่ 1. มุมสูง (High Angle)3. มุมกลอ้ ง พอยต์ ออฟ วิว (Point of view camera ตั้งกล้องถ่ายภาพยนตร์และโทรทัศน์ไว้สูงกว่าangle, POV) มุมกล้องมมุ นี้ผูก้ ำ�กับใหผ้ ู้ดูเห็นภาพ วัตถุ ถ้าเป็นภาพสถานท่กี ว้างใหญ่ การถ่ายเหตุการณจ์ ากสายตาของผแู้ สดงอีกทหี นึ่ง ผดู้ ู ภาพไกลจากมุมสูงทำ�ให้เห็นภาพได้กว้างไกลจะเห็นผแู้ สดงจากมุมกล้องออบเจกทฟี และเห็น เป็นการเปิดฉากแนะน�ำ สถานท่ไี ดเ้ ป็นอยา่ งดี แต่ภาพท่ผี ้แู สดงเหน็ จากมุมกล้องพอยต์ ออฟ ววิ ถา้ เป็นการถา่ ยคน จะเปน็ การเสนอใหเ้ หน็ ว่าตัวอยา่ งเช่น ภาพแรกผ้ดู ูเห็นภาพเฮลิคอปเตอร์ คนๆ น้ันไม่ส�ำ คญั เปน็ คนต่�ำ ตอ้ ย ไม่สง่าผ่าเผยบนิ เหนอื กรุงเทพฯ ตดั ภาพไปทีค่ นขับมองลงมาข้างลา่ ง แล้วตดั เปน็ ภาพการจราจรในกรงุ เทพฯภาพการจราจรในกรุงเทพฯ เป็นภาพจากมมุ กล้องพอยต์ ออฟ ววิ ของคนขับเครอื่ งบินเฮลคิ อปเตอร์ละ มุมมองภาพ

2.ภาพมุมระดบั สายตา(Eye Lev- 3. ภาพมมุ ต่ำ� (Low Angle)el Angle) เป็นภาพท่ีตัง้ กล้องใน เป็นภาพท่ีตั้งกล้องถ่ายในระดับระดบั สายตาของคน หรอื ของวัตถุ ตำ�่ กว่าคนหรือวตั ถุทถี่ กู ถ่าย เป็นทถี่ ูกถา่ ย ภาพในระดับสายตาเพือ่ ภาพทีแ่ หงนดู สอื่ ความหมายหรือส่ือความหมายว่าภาพที่ปรากฏจะ ให้เกิดความรู้สึกว่าคนหรือวัตถุที่เป็นภาพให้ความรสู้ กึ ธรรมดา ไม่ ถูกถ่ายมีความสำ�คัญมากกว่าปกติเด่นอะไร นา่ เคารพ นบั ถอื

การถ่ายภาพบุคคลนอกสถานท่ี

แสงในการถ่ายภาพบคุ คลนอกสถานที่แสงหลักในการถ่ายภาพนอกสถานที่ ได้แก่แสงจากดวงอาทติ ย์ ซึง่ เราไม่สามารถควบคุมปรมิ าณของแสงและทิศทางของแสงได้เหมือนกับการใช้แสงในห้องถา่ ยภาพ จึงจำ�เป็นต้องรอคอยบา้ งเลือกตำ�แหน่งดวงอาทติ ย์ท่เี ปลี่ยนแปลงไปใหเ้ หมาะสม แสงจากดวงอาทิตย์ในเวลาเทีย่ งหรอื บ่ายจะใหแ้ สงที่สว่างจา้ เวลากอ่ นดวงอาทิตยต์ กในตอนเย็น แสงสวา่ งจะดนู มุ่ นวลแสงในรม่ เงาของอาคาร ตน้ ไม้ หรือแสงในเวลาอากาศครึ้มมเี ฆมบังดวงอาทิตย์ก็จะใหแ้ สงท่ีนมุ่ นวลเหมาะในการถ่ายภาพเช่นกันการถา่ ยภาพบคุ คลนอกอาคารถ้าจำ�เปน็ ตอ้ งถ่ายภาพขณะท่ีมีแสงแรงสว่างจา้ซ่ึงทำ�ใหเ้ กดิ เงาตัดกันแข็งจนเกินไป อาจแก้ไขโดยการใช้แผน่ กรองแสงหรือแผ่นสะท้อนแสง (Reflector) เพื่อรับแสงสวา่ งให้สะทอ้ นไปลบเงา โดยเฉพาะส่วนของใบหนา้ ทเ่ี กดิ เงาเขม้ เกนิ ไป และในบางครงั้ ก็อาจใช้แฟลชลบเงาบนใบหน้าหรือเพิ่มความสวา่ งให้กบั ใบหนา้ ขณะท่ีถา่ ยภาพในเวลาที่แสงแดดสอ่ งเหนือศีรษะ ซงึ่ ท�ำ ให้เกิดเงาด�ำ ท่ีดวงตา จมกู และปาก ทำ�ใหไ้ ดภ้ าพทีไ่ ม่น่าดู

แสงธรรมชาติท่ีเหมาะสมในการถา่ ยภาพบุคคล1.แสงสว่างจากดวงอาทิตย์ตอนเช้าและตอนบ่ายขณะทด่ี วงอาทิตย์ท�ำ มมุ ประมาณ 45 องศา2.แสงสวา่ งจากดวงอาทติ ยท์ ุกเวลา แตเ่ ปน็ แสงสะท้อน ได้แก่ แสงในร่มเงา เช่น ใต้ตน้ ไม้ ร่มใต้ชายคา แสงสว่างจากประตูหน้าต่าง3.แสงสว่างจากดวงอาทิตย์โดยใช้แผ่นสะท้อนแสงการถ่ายบคุ คลในอาคารแสงธรรมชาติในอาคารเป็นแสงสะท้อนท่ีสอ่ งผ่านทางประตู หนา้ ตา่ ง จะใหแ้ สงทน่ี ่มุ นวลลักษณะของภาพทีไ่ ดจ้ ะเปน็ ธรรมชาตมิ ากกวา่ ควรใหผ้ เู้ ปน็ แบบยืนหรือน่ังอยใู่ กล้ประตหู รือหน้าต่างสว่ นหนา้ ของผเู้ ปน็ แบบ ดา้ นท่ีไดร้ ับแสงจะสวา่ ง ส่วนดา้ นตรงกนั ขา้ มจะเกดิ เงา จึงควรใช้แผน่ สะท้อนแสงเพอ่ื ลบเงาที่เกดิ ขนึ้ การเลอื กฉากหลังของภาพกม็ ีความสำ�คญั ควรหลีกเหล่ียงฉากหลงั ท่ีรกรงุ รงั ฉากหลงั ของภาพควรเรียบ อาจเปน็ ผนังตึกจะช่วยขบัเน้นใหเ้ ปน็ แบบดเู ดน่ สวยงามขึน้ เลนส์เทเลหรอื การปรับชอ่ งรับแสงใหก้ วา้ งจะชว่ ยทำ�ให้ฉากหลังละลาย ภาพถ่ายบคุ คลจะดูดขี ้นึ

“ บทสรปุ ”กลอ้ งและการภ่ายภาพ

การถ่ายภาพ คือ กล้องถ่ายภาพเป็นอปุ กรณ์ที่มกี ารพัฒนาก า ร บั น ทึ ก เ ห ตุ ก า ร ณ์ อย่างต่อเนื่อง จากระบบทใี่ ชร้ ะบบกลไกได้ณ จดุ เวลาใดเวลาหนึ่ง พฒั นาเปน็ ระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ กล้องถา่ ยโดยการเกบ็ สภาพแสง ณ ภาพมีหลักการทำ�งานคล้ายกับดวงตาของเวลานั้นไว้บนวัตถุไว มนษุ ย์แบง่ ออกเปน็ กล้องถา่ ยภาพระบบ An-แสง ผา่ นอุปกรณ์รับแสงท่ี alog และ Digital โดยท่ีระบบ Analog เป็นกล้องเรียกวา่ กลอ้ งถ่ายรูป หลัง ทีท่ �ำ งานดว้ ยระบบกลไกและไฟฟา้ สว่ นจากนั้นจะสามารถเปล่ียน กลอ้ งระบบ Digital จะเป็นกลอ้ งทีใ่ ช้วงจรสภาพแสงเหลา่ นน้ั กลับ อิเล็กทรอนิกส์ภายในกล้องโดยมีตัวรับภาพมาเป็นภาพได้อีกครั้ง อยู่ภายในกล้อง รปู แบบของไฟลภ์ าพท่ีถ่ายหนึ่งผ่านกระบวนการ ไดจ้ ากกล้องระบบ Digital สามารถเชอื่ มต่อลา้ งอดั ภาพ กับคอมพิวเตอร์เพ่ือพิมพ์ออกมาเป็นภาพได้ ทนั ที กลอ้ ง DSLR (Digital Single Lens Reflex cam- era) เปน็ กลอ้ งทีถ่ ูกพัฒนาให้สามารถถา่ ยได้ ทง้ั ภาพนงิ่ และภาพเคลอ่ื นไหวมีความละเอียด สงู หลายล้านพกิ เซล มีอุปกรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ ที่ทำ�หน้าทรี่ บั ภาพเรียกว่า CCD (Charge Cou- pled Device) และ CMOS (Complementary Met- al Oxide Semiconductor) กล้องถา่ ยภาพในยคุ ปัจจุบันมีการ์ดเก็บข้อมูลท่ีได้จากการถ่าย ภาพทีม่ ีความจุสูง มีความเรว็ ในการเชอื่ มตอ่ และถ่ายโอนข้อมูลที่เร็วกว่าการ์ดเก็บข้อมูล ในยคุ แรกมาก ราคาของกลอ้ งและอุปกรณ์มี ราคาถูกลง การเลอื กซอื้ ตอ้ งศึกษาคณุ สมบตั ิ และลักษณะการใชง้ านของกลอ้ ง เพื่อใหไ้ ด้ กลอ้ งทเี่ หมาะสมกบั การใชง้ านมากทส่ี ุด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook