Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความฉลาดทางดิจิทัล (DQ)

ความฉลาดทางดิจิทัล (DQ)

Published by Tang-mo Kanyarat, 2021-08-24 04:54:12

Description: รายงานความฉลาดทางดิจิทัล(DQ) รายวิชา PC62506

Search

Read the Text Version

ความฉลาดทางดิจิทลั (DQ: Digital Intelligence Quotient)

เรื่อง ความฉลาดทางดิจทิ ัล นางสาวกันยารัตน จาเมือง รหสั 634102028 คณะครุศาสตร ภาษาองั กฤษ หม1ู รายงานน้เี ปนสวนหนง่ึ ของรายวชิ า นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการสอ่ื สารการศึกษา PC62506 ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศึกษา 2564 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมูบา นจอมบงึ

คาํ นาํ รายงานฉบับนเี้ ปนสว นหนงึ่ ของวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การสอื่ สารการศกึ ษา รหสั วชิ า PC62506 มหาวทิ ยาลัยราชภฎั หมบู านจอมบงึ โดยมีจุดประสงค เพ่ือการศกึ ษาความรทู ่ไี ดจากเร่ืองความฉลาดทางดจิ ทิ ัล (DQ: Digital Intelligence Quotient) ซ่งึ รายงานนี้มเี น้อื หาเก่ียวกบั ความฉลาดทางดิจิทลั (DQ: Digital Intelligence) ความหมายของ ความเปนพลเมอื งดิจิทัล ทักษะดจิ ิทัลกา วสพู ลเมืองในศตวรรษที่ 21 ผจู ัดทาํ ไดเ ลือก หวั ขอน้ใี นการทาํ รายงาน เน่อื งมาจากเปนเรอื่ งทนี่ า สนใจ ผูจดั ทําจะตองขอขอบคณุ อาจารยสธุ ิดา ปรัชานนท ผใู หค วามรู และแนวทางการศกึ ษา ผจู ัดทาํ หวงั วารายงานฉบบั นี้จะใหค วามรู และเปน ประโยชนแ ก ผอู านทุก ๆ ทาน ก

สารบญั เรอ่ื ง หนา คํานาํ ก สารบญั ข ความฉลาดทางดิจิทัล 1 ความเปนพลเมอื งทางดิจิทลั 4 8 ทกั ษะความฉลาดทางดิจิทลั 5 เอกสารอา งองิ 26 ข

ความฉลาดทางดจิ ิทัล ความฉลาดทางดิจิทลั (Digital Intelligence Quotient : คอื อะไร DQ) คือ กลุมของความสามารถทางสงั คม อารมณ และการ รับรู ทจี่ ะทาํ ใหค นคนหนง่ึ สามารถเผชญิ กบั ความทาทายบน เสนทางของชวี ติ ในยคุ ดิจทิ ัล และสามารถปรบั ตวั ใหเขา กับชีวติ ดจิ ทิ ัลได ความฉลาดทางดจิ ิทัลครอบคลุมท้งั ความรู ทักษะ ทัศนคติและคานยิ มท่ีจาํ เปนตอ การใชช วี ิตในฐานะสมาชกิ ของ โลกออนไลน กลาวอีกนัยหนง่ึ คอื ทักษะการใชส่อื และการเขา สังคมในโลกออนไลน 1

เดก็ ๆ และเยาวชนในยคุ ไอทีเตบิ โตมาพรอ มกับอปุ กรณด ิจทิ ลั และอินเทอรเนต็ ดวยลักษณะการสื่อสาร ทรี่ วดเรว็ อิสระ ไร พรมแดน และไมเ หน็ หนาของอกี ฝา ย ทําใหก ารรับรูและการใช ชวี ติ ของเด็กรนุ ใหม มลี กั ษณะท่ีแตกตางจากเจนเนอเรชั่นรนุ กอ นๆ มาก ทักษะชวี ติ ใหมๆ ตอ งไดร บั การเรียนรแู ละฝกฝน ทําไมตอ งเพมิ่ ทักษะความ เพื่อทีเ่ ด็กทเ่ี ติบโตมาในยุคที่เต็มไปดว ยขอ มลู ขาวสารและ ฉลาดทางดิจทิ ัล เทคโนโลยีสามารถนาํ ไปใชใ นชวี ิตประจาํ วัน การใชชีวติ ของคน รนุ ใหมยงั ผกู ติดกับเครือขายอนิ เทอรเน็ตและสอื่ ออนไลนเกอื บ ตลอดเวลา ไมวา จะเปน การรบั ขาวสาร ความบันเทงิ หรือการ ซื้อขายสินคา และบริการ และการทาํ ธุรกรรมการเงนิ ในอดีต ตวั ชว้ี ัดอยาง IQ ไดถ กู นาํ มาใชพ ฒั นาระดับทักษะทางสตปิ ญ ญา ของมนษุ ย ในขณะท่ี EQ ไดนํามาศึกษาเพือ่ พัฒนาระดบั ทกั ษะ ความฉลาดทางอารมณ แตด วยบรบิ ททางสังคมท่ีเปลยี่ นไป ปจจุบนั ทกั ษะความฉลาดทางปญ ญาและทางอารมณ ไมเ พียงพอ ตอส่งิ ทเี่ ยาวชนตองเผชญิ ในโลก ไซเบอร 2

ยงิ่ ไปกวานั้น อนิ เทอรเนต็ และอปุ กรณดิจิทัล ถึงแมจ ะเพ่ิมความ สะดวกสบาย แตก แ็ ฝงดวยอันตราย เชนกัน ไมวาจะเปน อันตราย ตอสุขภาพ การเสพตดิ เทคโนโลยี หากใชง านสอื่ ดิจิทลั มากเกินไป หรือ อนั ตรายจากมิจฉาชีพออนไลน การคกุ คามทางไซเบอร และ การกลน่ั แกลง ทางไซเบอร พลเมอื งยุคใหม จงึ ตองรูเทาทันสอ่ื สารสนเทศ และมีทักษะความฉลาดทางดจิ ิทัล เพอื่ ท่ีจะใชช ีวิตอยใู น สงั คมออนไลน และในชีวิตจรงิ โดยไมท ําตวั เองและผอู นื่ ใหเดอื ดรอ น ดงั นน้ั ครอบครัว โรงเรียน ทางภาครัฐ และ องคกรทเ่ี ก่ยี วของ ควร รว มสงเสริมใหเยาวชนเปน ‘พลเมอื งดจิ ทิ ัล’ ทม่ี ีความรคู วามเขาใจ ในเร่ือง ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การใชง านอินเทอรเนต็ 3

ความเปนพลเมือง ความเปนพลเมอื งดจิ ทิ ัลคือ พลเมืองผใู ชงานสื่อดจิ ทิ ัลและส่ือสังคมออนไลนที่เขา ใจ ดิจิทัลคอื อะไร บรรทัดฐานของ การปฏิบัติตัวใหเหมาะสมและมีความรับผดิ ชอบในการใชเทคโนโลยี โดยเฉพาะอยา งยง่ิ การสื่อสาร ในยุคดิจทิ ลั เปนการสอ่ื สารท่ีไรพรมแดน สมาชิกของ โลกออนไลนค อื ทกุ คนท่ีใชเครอื ขา ยอนิ เทอรเนต็ บนโลกใบนี้ ผใู ชสือ่ สังคมออนไลน มีความหลากหลายทางเชื้อชาติ อายุ ภาษา และวฒั นธรรม พลเมอื ง ดิจิทลั จงึ ตอ ง เปน พลเมืองที่มีความรบั ผดิ ชอบ มจี รยิ ธรรม เหน็ อกเหน็ ใจและเคารพผอู ื่น มีสวนรวม และมุงเนน ความเปน ธรรมในสังคม การเปนพลเมอื งในยุคดจิ ิทลั นั้น มีทักษะทส่ี ําคญั 8 ประการ 4

5

1. ทักษะในการรกั ษาอัตลกั ษณท ่ีดีของตนเอง (Digital Citizen Identity) สามารถสรา งและบรหิ ารจัดการอตั ลักษณท ่ีดขี องตนเองไวไดอ ยา งดี ท้งั ในโลกออนไลนและโลกความจริง อัตลักษณท ่ีดคี ือ การท่ีผูใ ชสื่อ ดจิ ทิ ลั สรา งภาพลกั ษณใ นโลกออนไลนข องตนเองในแงบ วก ทงั้ ความคิด ความรสู กึ และการกระทาํ โดยมีวิจารณญานในการรับสง ขา วสารและแสดงความคดิ เห็น มคี วามเหน็ อก เห็นใจผูร วมใชง าน ในสงั คมออนไลน และรจู ักรบั ผดิ ชอบตอ การกระทาํ ไมก ระทําการท่ี ผดิ กฎหมาย และจริยธรรมในโลกออนไลน เชน การละเมิดลขิ สทิ ธิ์ การกล่ันแกลง หรอื การใชวาจาที่สรางความ เกลยี ดชังผูอ น่ื ทางสอื่ ออนไลน 6

7

2. ทักษะการคดิ วเิ คราะหมี สามารถในการวิเคราะหแ ยกแยะระหวางขอมลู ที่ถูกตองและ วิจารณญาณทีด่ ี (Critical ขอ มูลที่ผดิ ขอ มลู ที่มเี น้ือหาเปนประโยชน และขอ มูลที่เขาขาย Thinking) อนั ตราย ขอ มูลตดิ ตอทางออนไลนทีน่ าตง้ั ขอสงสัยและนาเชอ่ื ถือ ได เมอ่ื ใชอินเทอรเน็ต จะรวู าเนอ้ื หาอะไร เปน สาระ มปี ระโยชน รูเทาทันสือ่ และสารสนเทศ สามารถวิเคราะหและประเมนิ ขอ มูล จากแหลง ขอ มลู ทีห่ ลากหลายได เขาใจรูปแบบการหลอกลวง ตา งๆ ในโลกไซเบอร เชน ขา วปลอม เวบ็ ปลอม ภาพตัดตอ เปน ตน 8

9

สามารถปองกนั ขอ มูลดว ยการสรางระบบความปลอดภัยท่ีเขมแข็ง 3. ทักษะในการรักษาความ และปอ งกนั การโจรกรรมขอมูล หรือการโจมตอี อนไลนไ ด มีทักษะ ปลอดภัยของตนเอง ในโลก ในการรักษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน การรักษา ไซเบอร (Cybersecurity ความปลอดภัยของตนเองในโลกไซเบอรค อื การปกปอ งอุปกรณ Management) ดจิ ทิ ัลขอมูลท่ีจดั เก็บและขอมูลสวนตัว ไมใหเ สยี หาย สญู หาย หรือ ถูกโจรกรรมจากผไู มหวงั ดใี นโลกไซเบอร การรกั ษาความปลอดภยั ทาง ดจิ ิทลั มคี วามสําคญั ดงั นี้ 10

11

4. ทกั ษะในการรักษาขอ มูล มดี ลุ พนิ จิ ในการบริหารจดั การขอ มูลสวนตัว รูจ ักปกปองขอมูล สวนตวั (Privacy ความสว นตัวในโลกออนไลนโดยเฉพาะ การแชรข อมูลออนไลนเพ่อื Management) ปองกันความเปนสวนตัวทั้งของตนเองและผอู น่ื รเู ทาทนั ภัยคุกคาม ทาง อินเทอรเ น็ต เชน มัลแวร ไวรัสคอมพวิ เตอร และกลลวงทาง ไซเบอร 12

13

5. ทกั ษะในการจัดสรรเวลา สามารถในการบรหิ ารเวลาทีใ่ ชอ ุปกรณยคุ ดิจทิ ลั รวมไปถงึ การ หนา จอ (Screen Time ควบคมุ เพอ่ื ใหเ กดิ สมดลุ ระหวาง โลกออนไลน และโลกภายนอก Management) ตระหนักถงึ อนั ตรายจากการใชเวลาหนา จอนานเกินไป การ ทาํ งาน หลายอยา งในเวลาเดียวกัน และผลเสยี ของการเสพติด สื่อดิจทิ ลั สํานกั วจิ ัยสยามเทคโนโลยีอนิ เทอรเน็ตโพลลร ะบุวา วัยรนุ ไทยเกอื บ 40 % อยากใชเวลาหนา จอ มากกวา ออกกําลัง กาย และผลการสํารวจจาก We are social พบวา ในแตล ะ วัน คนไทยใชเวลา หนา จอ ดังน้ี 14

15

6. ทักษะในการบริหารจดั การ สามารถเขาใจธรรมชาตขิ องการใชชวี ติ ในโลกดจิ ิทลั วาจะหลงเหลอื ขอ มูลที่ผใู ชง าน มีการทง้ิ ไว รอ ยรอยขอ มลู ทิ้งไวเสมอ รวมไปถงึ เขา ใจผลลัพธทีอ่ าจเกดิ ขึน้ บนโลกออนไลน (Digital เพื่อการดูแลสง่ิ เหลานอี้ ยางมีความรบั ผิดชอบ Footprints) 16

รอยเทาดจิ ทิ ลั (Digital Footprints) คอื อะไร รอยเทาดิจทิ ัลคอื คําทีใ่ ชเ รียกรอ งรอยการกระทาํ ตา งๆ ทผ่ี ใู ชงานทงิ้ รอยเอาไวในโลกออนไลน โซเชยี ล มเี ดยี เว็บไซตห รือ โปรแกรมสนทนา เชนเดยี วกบั รอยเทา ของคนเดินทาง ขอ มูลดิจิทัล เชน การลงทะเบียน อีเมล การโพสตขอความหรือรูปภาพ เม่อื ถูกสงเขาโลกไซเบอรแ ลว จะทิ้งรอยรอยขอ มูลสว นตัวของ ผูใชง านไวใ หผูอนื่ ตดิ ตามไดเ สมอ แมผ ใู ชงานจะลบไปแลว ดังนั้น หาก เปนการกระทาํ ที่ผิดกฎหมายย หรือศลี ธรรม ก็อาจมผี ลกระทบตอ ชื่อเสียงและภาพลักษณข องผูกระทํา กลาวงายๆ รอยเทา ดิจทิ ัล คอื ทกุ ส่ิงทุกอยา งในโลกอินเทอรเ น็ตที่บอกเร่อื งของเรา เชน 17

18

7. ทักษะในการรบั มือกบั การ การกลน่ั แกลง บนโลกไซเบอรคือ การใชอ ินเทอรเน็ตเปน เครือ่ งมือหรือชองทางเพอ่ื กลัน่ แกลง บนโลกไซเบอร กอใหเ กิดการคกุ คาม ลอ ลวงและการกล่นั แกลง บนโลกอินเทอรเน็ตและสื่อสังคม (Cyberbullying ออนไลน โดยกลมุ เปาหมายมักจะเปน กลมุ เด็กจนถึงเด็กวัยรุน การกลั่นแกลง บน Management) โลกไซเบอรคลายกนั กับการกล่ันแกลง ในรปู แบบอ่นื หากแตการกลน่ั แกลง ประเภทน้ี จะกระทําผา นส่อื ออนไลนหรอื สอ่ื ดจิ ทิ ัล เชน การสงขอ ความทาง โทรศพั ท ผกู ล่ัน แกลง อาจจะเปนเพอ่ื นรว มชน้ั คนรูจ กั ในสอื่ สังคมออนไลน หรืออาจจะเปนคน แปลก หนา ก็ได แตสว นใหญผทู ่ีกระทําจะรูจกั ผทู ีถ่ กู กลัน่ แกลง รูปแบบของการกลนั่ แกลง มักจะเปน 19

20

ดังเชน เคยมีกรณี เดก็ ผูหญงิ อายุ 11 ป ไปเลน อนิ เทอรเน็ตที่รานแลวลืมออกจากบญั ชีการใชงาน เฟซบกุ ทําใหม ีคนสวมรอยใช เฟซบุกของเธอ ไปโพสตขอ มูลตามกลุมสนทนาทขี่ ายบรกิ ารทางเพศ มเี นือ้ หาเชิงเชิญชวนวา ‘สาววัยใสวัยประถมยงั ไมเคยเสยี สาว สนใจตดิ ตอผา นอินบ็อกซเฟซบุกน’้ี ดวยความทเี่ ธอไมรูเรื่อง พอมคี นแอดเฟรนดมากร็ บั เลย เนอ่ื งจากไมไดคดิ ถงึ อันตรายหรอื ภัยตางๆ คิดแคอยากมเี พื่อนเยอะๆ ตอ มาปรากฎวา สวนใหญจะเปนผูชายสง ขอ ความมาหา ซ่งึ ตอนแรกก็คุยดีๆ ปกติธรรมดา สัก พกั กถ็ ามวา อยูท่ไี หน เคยรึยัง ขอเบอรโทรตดิ ตอ หนอ ยจะนดั ขึ้นหอ ง ทําให เธอกลัวมาก แตโชคดที ่ีเธอมสี มั พันธภาพกับพอแม คอนขา งดี จงึ เลา ใหผูป กครองฟงวาเกดิ อะไรข้ึน แมก็รับฟง และ ชว ยกันรับมอื กับการกลน่ั แกลงบนโลกออนไลน 21

วธิ จี ัดการเม่อื ถกู กลั่นแกลงบนโลกไซเบอร 22

8. ทักษะการใชเ ทคโนโลยอี ยา งมจี ริยธรรม (Digital Empathy) มีความเหน็ อกเห็นใจ และสรา งความสมั พันธท ี่ดีกับผูอน่ื บนโลก ออนไลน แมจะเปน การสื่อสารที่ ไมไดเ หน็ หนา กัน มีปฏิสมั พนั ธอ นั ดี ตอคนรอบขาง ไมว าพอ แม ครู เพ่อื นทงั้ ในโลกออนไลนและใน ชีวิต จรงิ ไมด วนตัดสนิ ผอู ่ืนจากขอมูลออนไลนแตเพยี งอยางเดยี ว และ จะเปน กระบอกเสียงใหผ ูท ี่ ตอ งการความชวยเหลอื 23

คดิ กอ นจะโพสตลงสังคมออนไลน (Think Before You Post) ใครค รวญกอ นทจ่ี ะโพสตรูปหรือขอความลงในสอื่ ออนไลน ไมโ พสตขณะกําลงั อยูในอารมณโกรธ สอ่ื สารกบั ผูอน่ื ดวยเจตนาดี ไมใช วาจาที่สรา งความเกลียดชงั ทางออนไลน ไมนําลวงขอมูลสว นตัว ของผอู ่นื ไมก ลน่ั แกลงผอู ื่นผา นสอื่ ดิจทิ ลั โดยอาจตงั้ ความถาม กบั ตัวเองกอนโพสตวา 24

25

เอกสารอางองิ สรานนท อนิ ทนนท . (2563) . ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั (DQ Digital Intelligence) . สืบคน 22 สงิ หาคม 2564, จาก http://cclickthailand.com/wp- content/uploads/2020/04/dq_FINAL.pdf 26


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook