Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore nutri note

nutri note

Published by Nan'n Sirikorn, 2020-09-30 15:07:48

Description: nutri note

Keywords: nutri note

Search

Read the Text Version

สารบญั คาศพั ทท์ างการแพทย์........................................................................................................................................ 1 A .................................................................................................................................................................... 1 B .................................................................................................................................................................... 1 C .................................................................................................................................................................... 2 D.................................................................................................................................................................... 3 E..................................................................................................................................................................... 3 F..................................................................................................................................................................... 4 G.................................................................................................................................................................... 4 H.................................................................................................................................................................... 4 J..................................................................................................................................................................... 5 K .................................................................................................................................................................... 5 L..................................................................................................................................................................... 5 M ................................................................................................................................................................... 6 N.................................................................................................................................................................... 6 O.................................................................................................................................................................... 6 P .................................................................................................................................................................... 7 Q.................................................................................................................................................................... 7 R .................................................................................................................................................................... 8 S..................................................................................................................................................................... 8 T .................................................................................................................................................................... 9 U.................................................................................................................................................................... 9 V .................................................................................................................................................................... 9 W................................................................................................................................................................... 9 X .................................................................................................................................................................. 10 Y .................................................................................................................................................................. 10 สตู รอาหารทางการแพทย์ ................................................................................................................................ 10 คานวณ IBW อย่างง่าย .................................................................................................................................... 12

% weight loss ............................................................................................................................................... 12 Tools for screening and assessment ...................................................................................................... 13 การแปลผลเครอ่ื งมอื คดั กรองและประเมินภาวะโภชนาการ............................................................................ 20 คานวนพลังงานในเด็ก...................................................................................................................................... 21 การประเมนิ ภาวะโภชนาการในเด็ก................................................................................................................. 22 โรคเบาหวาน.................................................................................................................................................... 39 ค่าในการวนิ จิ ฉยั และเปา้ หมายในการติดตามโรคเบาหวาน......................................................................... 39 การตรวจวินิจฉยั โรคและตรวจคดั กรองเบาหวานขณะตั้งครรภ์....................................................................... 40 เป้าหมายของระดบั นา้ ตาลในเลอื ดของผปู้ ว่ ยเบาหวานขณะตัง้ ครรภ์.............................................................. 41 MNT ในหญิงท่ีมีเบาหวานขณะต้งั ครรภ์.......................................................................................................... 42 พลงั งานและสารอาหารท่คี วรได้รบั ประจาวันสาหรบั หญงิ ............................................................................... 43 การตรวจนา้ ตาลในเลอื ดดว้ ยตนเอง (Self-monitoring of blood glucose, SMBG)................................... 44 hypoglycemia ............................................................................................................................................... 46 ชนดิ และยห่ี อ้ อินซูลนิ และ action ................................................................................................................... 46 Chronic kidney disease (CKD) ................................................................................................................... 52 การแบ่งระยะของCKD................................................................................................................................. 52 พยากรณโ์ รคไตเร้อื รงั ตามความสัมพนั ธข์ อง GFR และระดับอลั บูมินในปสั สาวะ........................................ 53 ไตอกั เสบเฉียบพลัน (Nephrotic Syndrome) ........................................................................................... 53 สมุนไพรกับผปู้ ว่ ยโรคไต................................................................................................................................... 55 ความดันโลหติ สูง.............................................................................................................................................. 59 DASH Diet (Dietary Approaches to Stop Hypertension Diet) ............................................................ 60 TLC Diet ......................................................................................................................................................... 61 อาหารคโี ตเจนิค (ketogenic diet)................................................................................................................. 62 กระดูกหกั เนอื่ งจากกระดูกพรนุ ....................................................................................................................... 66 อาหารประจาถ่นิ 3 จังหวัดชาแดนภาคใต้ ....................................................................................................... 67 การคานวณอาหาร (พลังงาน) ทางหลอดเลอื ดดา............................................................................................ 71

คำศพั ท์ทำงกำรแพทย์ 1 Acute exaerbation (AE) A Acute Renal Failure (ARF) Acute Tubular Necrosis (ATN) การกาเรบิ ฉบั พลนั Atrial Fibrillation (AF) ไตวายฉับพลัน ABG โรคไตวายฉับพลนั Acute Myocardial Infarction (AMI) หัวใจเตน้ ผดิ จงั หวะจากหอ้ งสว่ นบน Acute Gastroenteritis (AGE ) Arterial blood gas Atrial Fibrillation (AF) โรคหวั ใจวายฉบั พลนั Asthma ลาไส้อกั เสบฉบั พลนั Ante natal care (ANC) หวั ใจเต้นผดิ จังหวะจากห้องสว่ นบน Allergy โรคหอบหืด Acute Gastroenteritis (AGE) การดแู ลก่อนคลอด (การฝากครรภ์) Acidosis โรคภมู ิแพ,้ แพ้ Acute Renal Failure (ARF) ลาไสอ้ กั เสบฉบั พลนั Atherosclerotic heart disease ภาวะเลือดเป็นกรด Abdomen (Abd) ไตวายฉบั พลนั Antibiotic โรคหลอดเลือดแดงหัวใจแข็ง Alcohol Withdrawal score (AWS) ช่องท้อง ยาปฏิชวี นะ Burns การประเมินกลุ่มอาการจากการถอนแอลกอฮอล์ Bx Blood urea nitrogen (BUN) B BE แผลไหม้ blad พฤติกรรม Blunt chest การวัดปรมิ าณไนโตรเจนในกระแสเลอื ด Blood pressure (BP) การตรวจลาไสใ้ หญโ่ ดยสวนสารละลายทึบรงั สี Benign Prostatic Hyperplasia (BPH) แบเรียมซลั เฟต กระเพาะปัสสาวะ ได้รับการกระแทกที่หน้าอก ความดันโลหติ โรคต่อมลูกหมากโต

Basal ganglia 2 Body Weight (BW) ปมประสาท ทมี่ หี นา้ ทเี่ กี่ยวข้องกับการสงั่ การการ เคลื่อนไหวของรา่ งกาย การเรยี นรู้ การตดั สนิ ใจและ กจิ เกย่ี วกบั อารมณค์ วามรสู้ กึ น้าหนกั ตวั C C-Spine injury การบาดเจ็บท่ีกระดกู ตน้ คอ Calorie (cal) แคลอรี่ Capsule (cap.) แคปซูล Crushing การบดทับ Computerized axial tomography (card.) การถ่ายภาพรงั สสี ่วนตดั อาศัยคอมพวิ เตอร์ Comfortable (comf) สบาย Concussion สมองกระทบกระเทือน Coma ภาวะหมดสติ ไมร่ สู้ กึ ตวั Complication โรคแทรกซอ้ น Complete blood count (CBC) การตรวจความสมบูรณข์ องเมด็ เลอื ดแดง Complete metabolic panel (CMP) Cesarian Section (C/S) การผา่ คลอด Cubic centimeter (cc) ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร Chief Complaint (CC) ประวตั ิสาคญั ท่ีมาโรงพยาบาล Computed Tomography (CT) การตรวจเอ็กซ์เรยค์ อมพวิ เตอร์ Cerebrovascular Accident (CVA) โรคทางหลอดเลอื ดสมอง Central nervous system (CNS) ระบบประสาทส่วนกลาง Constipation ท้องผกู Coronary Care Unit (CCU) หออภิบาลผู้ป่วยหนักเฉพาะโรคหัวใจ Colonic polyp ต่ิงเนือ้ ทล่ี าไสใ้ หญ่ Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis การลา้ งไตทางช่องทอ้ งชนดิ ต่อเนอื่ งดว้ ยตนเอง (CAPD) Capture the fracture(CTF) เป็นโครงการดูและผู้ปว่ ยโรคกระดกู หกั จากโรค กระดูกพรนุ โดยทีมสหวิชาชพี ปจั จบุ ันใช้คาวา่ FLS Chronic Obstructive Pulmonar Disease (Fracture Liaison service) (COPD) โรคหลอดลมอดุ กนั้ เร้ือรงั Chronic Renal Failure (CRF) Congestive Heart Failure(CHF) ไตวายเรือ้ รงั หวั ใจวาย

3 Carpal Tunnel Syndrome (CTS) โรคเส้นประสาทท่ขี อ้ มือถกู กดรดั Cancer (CA ) โรคมะเร็ง Chronic Dento Alveolar abscess (CDA) เป็นฝีทเ่ี หงือกเรือ้ รงั (โรครามะนาด) D Dyslipidemia (DLD) โรคไขมันในเลอื ดสูง Diagnosis (Dx) การวินิจฉัยโรค Disease (dis) โรค Discharge (D/C) สรุปผลเมอ่ื ผู้ปว่ ยออกจากโรงพยาบาล (DD) Date dictated Dyspnea หอบเหนอ่ื ย Discharge ผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาลแลว้ Dangue Hemorrahic Fever (DHF) ไข้เลอื ดออกจากเชือ้ dangue (เป็นไวรสั ชนดิ หน่งึ ) Dangue Fever (DF) ไข้เลือดออกระยะแรก Diabetes Mellitus (DM) โรคเบาหวาน Distal (dist) ส่วนปลาย Dyslipidemia (DLD) โรคไขมนั ในเลอื ดสงู Dysphagia ภาวะกลืนลาบาก Dental Caries (DC) โรคฟนั ผุ Diet อาหารทกี่ าหนดให้ E Epidural hematoma (EDH) เลือดออกใต้เย่ือหุ้มสมอง End Stage Renal Disease (ESRD) โรคไตวายเร้ือรงั ระยะสุดท้าย Elevate (Elev) เล่ือนขนึ้ Electrocardiogram (EKG) การตรวจคลน่ื ไฟฟา้ หวั ใจ Ears, nose and throat (ENT) หู จมกู คอ EtOH (Alcohol) แอลกอฮอล์ External (etx.) ที่ใชภ้ ายนอก

Family history (FH) 4 Fasting blood sugar (FBS) F Fever of unknown origin (FUO) Fracture (Fx ) โรคทางกรรมพันธ์ุ หรือการเจบ็ ปว่ ยของคนใน Foot (ft.) ครอบครัว Fluids (Fl) การเจาะน้าตาลหลังอดอาหาร Food Habbit ไขไ้ ม่ทราบสาเหตุ Follow up (F/U) กระดูกหกั ขา General Appearance (GA ) นา้ ,ของเหลว,ของไหล,สารน้า,สารเหลว,น้าเหลวใส Gastrointestinal (GI) อุปนิสัยในการบริโภค Glucose (gluc) นดั ตรวจตดิ ตามอาการ Group (Gp) gr. G Gun shot wound (GSW) Glas glow coma score (GCS ) ลักษณะภายนอกทั่วไป ระบบทางเดนิ อาหาร Global aphasia น้าตาลกลโู คส กลมุ่ Hypertension (HT) Grain Herniated Nucleus Pulposus (HNP) แผลถกู ยงิ History of present illness (HPI) คะแนนการประเมินการตอบสนองทางระบบ HbA1c ประสาท Head Ear Eye Nose Throat (HEENT) เปน็ ความผดิ ปกติของภาษาพูด เกิดจากพยาธสิ ภาพ Hyperglycemia ท่สี มอง ผู้ปว่ ยจะพูดไมค่ ล่อง ไม่ชดั และมปี ญั หาเรอ่ื ง Hypoglycemia ความเข้าใจ Hyperkalemia H โรคความดันโลหิตสงู หมอนรองกระดกู เคล่ือน ประวตั ปิ ัจจุบันในเรอื่ งอาการ, ปญั หา Diabetes blood test ศรี ษะ หู ตา จมูก คอ ภาวะน้าตาลในเลอื ดสงู ภาวะน้าตาลในเลือดต่า ภาวะโพแทสเซยี มในเลือดสงู

Hyperthyroid 5 Hypercalcemia Hypernatremia ภาวะที่ตอ่ มไทรอยด์สรา้ งฮอรโ์ มนออกมามากว่า Hyponatremia ภาวะแคลเซยี มในเลอื ดสงู Hypoxia ภาวะโซเดียมในเลอื ดสงู ภาวะโซเดยี มในเลอื ดตา่ inflatable cuff ภาวะเนื้อเยอ่ื พร่องออกซิเจน Intra cerebral hemorrhage (ICH) Impression (IMP) I Intake/Outtake (I/O) Infection ทีว่ ดั ความดนั Inflammation เลอื ดออกในสมอง Ischemic stroke การวนิ ิจฉยั แรกรับ ปริมาณนา้ เขา้ ออกในแต่ละวัน Jaundice การตดิ เช้ือ การอักเสบ K (Potassium) โรคหลอดเลือดสมองตบี หรืออดุ ตัน Kilogram (kg) Kidney, ureter and bladder (KUB) J Low Back Pain (LBP) ดีซา่ น Laboratory (lab) Lymphocytes (lymphs) K Lateral (lat) Left (L) โพแทสเซียม กโิ ลกรัม ไต ท่อ กระเพาะปัสสาวะ L ปวดหลัง หอ้ งปฏบิ ตั ทิ างการแพทย์ เมด็ เลือดขาวชนิดลมิ ย์โฟซยั ท์ ดา้ นนอก, นอกสุด, ดา้ นขา้ ง, ข้างๆ, สว่ นข้าง ข้างซา้ ย

6 Morbid obesity M Mulnutrition ภาวะอ้วนอยา่ งรนุ แรง Medicine Myofascial Pain Syndrome (MFPS) ทุพโภชนาการ Medical Prescribtion (Rx,Px) ยา ปวดเมือ่ ยกลา้ มเน้ือ เอกสารทแี่ พทยเ์ ขียนใหเ้ ภสัชกรสาหรบั การจดั ยา ดูแลรักษาคนไข้ N Nervous System (N/S) สญั ญาณชีพทางระบบประสาท Not applicable (N/A) ไม่มีข้อมลู Nephrotic syndrome (NS) ไตอกั เสบ Normal (nl) ปกติ norm ปกติ Nasogastric Tube (NG Tube) การใส่สายยางทางจมกู ถงึ กระเพาะ NASH (Nonalcoholic steatohepatitis) เปน็ ภาวะท่ีมไี ขมันสะสมในตบั รวมกบั การอกั เสบ Non-ST Elevated Myocardial Infarction ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (NSTEMI) Necrotizing Fasciitis (NF) แผลตดิ เชือ้ เนอื้ ตายลุกลามถึงชัน้ พงั ผดื Nutrients สารอาหารหรือธาตุอาหาร O operate ผ่าตดั OD หขู วา OS หซู ้าย OU หูท้งั สองขา้ ง outpt ผูป้ ว่ ยนอก Oz ออนซ์

7 Over dose (Od) เกนิ ขนาด Orthopedic (ORTHO) กระดกู และข้อ Observe สังเกตอาการ P Premature Ventriular Contracture (PVC) หัวใจหอ้ งลา่ งเต้นผดิ จังหวะ Prescription ใบส่ังยา Present illness (PI) ประวตั ิปัจจุบัน Past history (PH) ประวตั ิอดตี Past medical history (PMH) ประวตั อิ ดีตของการรกั ษา, รายละเอยี ดการแพทย์, การผา่ ตัดในอดีต หรอื การเจ็บป่วยในอดีตท่ีสัมพนั ธ์ Pulse Rate (PR) กับปัจจุบัน Pain Pneumothorax อัตราชพี จร Pale ความปวด Physical Exam (PE) ภาวะลมในชอ่ งปอด ซดี การตรวจรา่ งกายโดยแพทย์ Q q ทุกๆ q.d. ทกุ วนั q.h. ทกุ ชั่วโมง q.i.d. ทุกๆ4 ชวั่ โมง q.n. ทุกคนื q.o.d. การให้ยาวนั เวน้ วัน

8 R R ข้างขวา Review of system (ROS) การเจบ็ ปว่ ยและสขุ ภาพท่ัวไป ไลถ่ ามตามระบบ อวัยวะต่างๆ เชน่ ระบบท่ัวไป ระบบผิวหนงั ระบบ Respiratory Rate (RR) ไหลเวยี นโลหติ ฯลฯ R/O อัตราการหายใจ สงสยั วา่ จะเปน็ S Subdural hematoma (SDH) เลอื ดออกใตเ้ ยอ่ื หุ้มสมองช้นั ดูรา Subarachnoid hemorrhage (SAH ) เลอื ดออกใต้เยอ่ื ห้มุ สมองชนั้ อะราชนอยด์ Supra Ventricular Tachycardia (SVT) หัวใจเต้นผดิ จังหวะจากหอ้ งส่วนบน ST Elevated Myocardial Infarction (STEMI) โรคหวั ใจวายฉับพลัน Sexual transmitted disease (STD) โรคตดิ ต่อทางเพศสมั พนั ธ์ Social history (SH) ภาวะสังคมผูป้ ่วย, อาชพี , ความรบั ผิดชอบของงาน หรอื ลกั ษณะ Swelling อาการบวม Surgical (SUR) ศัลยกรรม (รักษาด้วยการผา่ ตดั ) Side effect ผลข้างเคียง Sputum เสมหะ Stress เครียด Surgery ศัลยกรรม Septicemia ติดเชอื้ ในกระแสเลือด SLE (Systemic lupus erythematosus) โรคแพภ้ มู ติ ัวเอง Septic shock ภาวะช็อกเหตุพษิ ติดเชอื้ เกิดข้นึ หลังจากการติดเช้อื ในกระแสเลอื ด Serum Glutamic-Oxaloacetic Transaminase เปน็ เอนไซมท์ ใ่ี ช้ชว่ ยตรวจภาวะโรคตับ (SGOT) หรือ Aspartate Transaminase (AST) Serum glutamate pyruvate transaminase เป็นเอนไซมท์ ีใ่ ชช้ ว่ ยตรวจภาวะโรคตบั (SGPT) หรอื Alanine transaminase (ALT)

T 9 Treatment (Tx) การรักษา Transfer การย้ายผู้ปว่ ย Therapy การรกั ษา Traumatic Brain Injury (TBI) การบาดเจบ็ ทส่ี มอง Tuberculosis วณั โรค Temperature (T) อุณหภมู ิ Upper Respiratory Infection URI U Urinary Tract Infection UTI Underlying disease U/D การตดิ เช้อื ทางเดนิ หายใจสว่ นบน Unconscious การติดเชือ้ ทางเดนิ ปัสสาวะ Urticaria โรคประจาตวั Urine analysis ไม่รู้สึกตัว ลมพิษ Ventricular Fibrillation VF การเก็บปัสสาวะสง่ ตรวจ Ventricular Tachycardia VT Vital sign (V/S) V Vomit Viral myocarditis หัวใจเตน้ สน่ั พล้วิ vaccine หัวใจเต้นผดิ จงั หวะจากหอ้ งสว่ นลา่ ง สัญญาณชพี Wound อาเจยี น White blood count (WBC) กลา้ มเนื้อหวั ใจอกั เสบจากไวรัส wbc วคั ซีน W แผล การตรวจปริมาณของเมด็ เลือดขาว เซลล์เมด็ เลอื ดขาว

10 Weak ออ่ นเพลยี Week (wk) สปั ดาห์ Ward ตึกผูป้ ว่ ย Within normal limit (wnl) ปกติ wt. นา้ หนกั ตวั X-ray X X (Times) เอกซเรย์ Year old (y/o) เวลา Years (yrs) Y สูตรอำหำรทำงกำรแพทย์ อายุ ปี

11

12 คำนวณ IBW อยำ่ งงำ่ ย ❖ ผชู้ าย IBW (kg.) = สว่ นสงู (cm) -105 ผหู้ ญงิ IBW (Kg.) =ส่วนสูง (cm) -110 % weight loss

13 Tools for screening and assessment Screening tool อำ้ งองิ เคร่อื งมอื Ferguson et al. (1999) Rubenstein et al. (2001) Malnutrition Screening Tool (MST) Kondrup et al. (2003) Stratton et al. (2004) Mini-Nutritional Assessement-Short Form (MNA-SF) Kruizenga et al. (2005) Hittawatanarat et al. (2016) Nutritional Risk Screening (NRS 2002) Malnutrition Universal Screening Tool (MUST) Short Nutritional Assessment Questionnaire (SNAQ) Bhumibol Nutrition Triage (BNT)

14

15 Malnutrition Universal Screening Tool (MUST) >20 Score BMI 18.5-20 0 1 Unplanned weight loss in past 3-6 months <18.5 2 <5% 0 5-10% 1 >10% 2

16 Assessment tools อำ้ งองิ Detsky et al. (1999) เคร่อื งมอื Guigoz et al. (2001) Subjective Global Assessment (SGA) Ottery et al. (2004) Mini-Nutritional Assessement (MNA) Patient generated subjective global Komindrg et al. (2005) assessment (PG-SGA) Chittawatanarat et al. (2016) Nutrition Alert Form (NAF) Bhumibol Nutrition Triage (BNT)

17

18

19

20 Screening Tools คะแนน เกณฑ์ MST 0-1 No risk of malnutrition (MNA-SF) ≥2 Risk of malnutrition (NRS 2002) 12-14 8-11 Normal (MUST) 0-7 At risk of malnutrition 0-2 (SNAQ) 3 Malnourished (BNT/NT) 0 Normal 1 ≥2 Nutritionally at-risk 0-1 Low risk 2 ≥3 Medium risk 0 High risk ≥1 Well nourished Moderately malnourished Severely malnourished Normal Nutritionally at-risk Assessment Tools คะแนน เกณฑ์ (SGA) A Normal (MNA) B Mild-Moderate Malnutrition (PG-SGA) C (NAF) 24-30 Severe Malnutrition 17-23.5 Normal 0-16 A Risk of malnutrition B Malnutrition C Normal 0-5 Moderate Malnutrition Severe Malnutrition Normal-Mild Malnutrition 6-10 Moderate Malnutrition ≥11 Severe Malnutrition 0-4 Normal (BNT/NT) 5-7 Mild Malnutrition 8-10 Moderate Malnutrition กำรแปลผลเคร่อื งมอื คัดกรองและประเมนิ ภำวะโภชนำกำร

21 คำนวนพลงั งำนในเด็ก วิธีประเมนิ ควำมตอ้ งกำรพลงั งำนในเด็ก วิธที ี่ 1 จาก Recommended Dietary Allowance (RDA) อำยุ พลังงำนเฉล่ีย (kcal/kg) โปรตีน (g/kg) 2.2 0-6 เดือน 108 1.6 1.2 6-12 เดอื น 98 1.1 1.0 1-3 ปี 102 4-6 ปี 90 7-10 ปี 70 วิธที ่ี 2 อายุ 0-10 ปี 1000 แคลอรี สาหรบั 1 ปีแรก+(100 แคลอรี x อาย)ุ ตวั อย่าง เด็กอายุ 5 ขวบต้องการพลงั งาน = 1000 + (100 x 5 ) = 1500 กิโลแคลอรี การคานวณพลังงานในเด็กหญิง 11-15 ปี 1000 กิโลแคลอรีในขวบปีแรก + (100กโิ ลแคลอรี x อายเุ ด็กถงึ 10 ป)ี เด็กผ้หู ญงิ 11-15 ปี บวก (<100 กิโลแคลอรี x อายุหลงั จาก 10 ปี ) ตวั อยา่ ง เด็กหญิงอาย1ุ 4 ปี ตอ้ งการพลงั งาน = 1000+(100 x 10)+(100 x 4) = 2400 กิโลแคลอรี เด็กผู้หญิง > 15 ปี คานวณเหมือนผใู้ หญ่ การคานวณพลงั งานในเด็กชาย เดก็ ผู้ชาย 11-15 ปี • บวก (200 กโิ ลแคลอร่ี x อายหุ ลังจาก 10 ป)ี เดก็ ผชู้ าย > 15 ปี • very active 50 แคลอรี/นา้ หนักตัว 1 กิโลกรัม • normal activity 40 กิโลแคลอร/ี น้าหนกั ตวั 1 กิโลกรมั sedentary 30-35 กิโลแคลอรี/นา้ หนักตวั 1 กิโลกรมั

22 วธิ ีที่ 3 1000 กิโลแคลอรีในขวบปแี รก • เด็กผูช้ าย บวก (125 กิโลแคลอรี x อายเุ ด็ก) • เดก็ ผูห้ ญงิ บวก (100 กโิ ลแคลอรี x อายเุ ดก็ ) • กรณที เ่ี ด็ก active เพมิ่ พลังงานไม่เกิน 20% เด็กวยั เตาะแตะ 1-3 ปี พลงั งาน = 40 กโิ ลแคลอรี /สว่ นสงู 1 นว้ิ กำรประเมินภำวะโภชนำกำรในเดก็

23

24

25

26 รปู ท่ี 2 กำรวดั ควำมยำวของเด็ก

27 ท่มี า: หนงั สอื รเู้ ทา่ ทันน้าหนัก-ส่วนสงู แนวทางการประเมินผลกระทบตอ่ สขุ ภาพจากโครงการพฒั นาแหลง่ น้า:ดา้ นโภชนาการ

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39 โรคเบำหวำน ค่ำในกำรวนิ จิ ฉัยและเปำ้ หมำยในกำรตดิ ตำมโรคเบำหวำน ตารางการแปลผลระดบั พลาสมากลูโคสและ HbA1c เพื่อการวนิ จิ ฉัย ปกติ ระดับนำตำลในเลอื ดทเี่ พิ่มควำมเส่ยี ง โรคเบำหวำน กำรเปน็ เบำหวำน พลาสมากลูโคสขณะอด <100 มก./ดล. impaired impaired glucose ≥126 มก./ดล. อาหาร (FPG) fasting glucose tolerance (IGT) (IFG) - 100-125 มก./ ดล. พลาสมากลูโคสที่ 2 <140 มก./ดล. - 140-199 มก./ดล. ≥200 มก./ดล. ช่ัวโมงหลัง ดื่มน้าตาล กลูโคส 75 กรมั 2 h-PG (OGTT) พลาสมากลูโคสที่เวลา - - - ≥200 มก./ดล. ≥6.5% ใ ดๆ ใ น ผู้ ที่ มี อาก าร ชัดเจน ฮี โ ม โ ก ล บิ น เ อ วั น ซี < 5.7 % 5.7-6.4% (A1C) *IFG เป็นภาวะระดบั น้าตาลในเลอื ดขณะอดอาหารผดิ ปกติ *IGT เปน็ ภาวะระดบั นา้ ตาลในเลือดสูงหลงั ได้รบั กลโู คส

40 เป้ำหมำยในกำรตดิ ตำมโรคเบำหวำน - เปา้ หมายในการควบคมุ ระดบั นา้ ตาลในเลือดสาหรบั ผูป้ ่วยเบาหวานสงู อายุ และผูป้ ่วยระยะสดุ ท้าย กำรควบคุม เบำหวำน ควบคมุ เขม้ งวด เปำ้ หมำย ควบคมุ ไม่เขม้ งวด มำก 140-170 มก./ดล ระดับนา้ ตาลในเลือดขณะอดอาหาร ควบคุมเข้มงวด ระดบั นา้ ตาลในเลือดหลังอาหาร 2 >70-110 มก./ดล. - 80-130 มก./ ช่วั โมง <140 มก./ดล ดล ระดับนา้ ตาลในเลอื ดสงู สดุ หลังอาหาร - - A1C (% of total hemoglobin) <6.5% <180 มก./ดล - <7.0% 7.0-8.0% - เป้าหมายการควบคมุ เบาหวานสาหรบั ผู้ใหญ่ สภำวะผ้ปู ่วยเบำหวำนสูงอำยุ เป้ำหมำยระดับ A1C ผมู้ สี ุขภาพดี ไม่มโี รครว่ ม <7% 7.0-7.5% ผ้มู ีโรครว่ ม ช่วยเหลือตัวเองได้ ผู้ป่วยท่ตี ้องไดร้ บั การชว่ ยเหลอื ไม่เกนิ 8.5% มภี าวะเปราะบาง ไม่เกนิ 8.5% มภี าวะสมองเสอ่ื ม ผู้ป่วยท่คี าดว่าจะมชี ีวิตอยไู่ ดไ้ ม่นาน หลกี เลย่ี งภาวะนา้ ตาลในเลอื ดสงู จนทาให้เกดิ อาการ กำรตรวจวินิจฉยั โรคและตรวจคดั กรองเบำหวำนขณะตงั ครรภ์ - เกณฑข์ อง Carpenter และ Coustan หญิงต้ังครรภ์ด่ืมนา้ ที่ละลายนา้ ตาลกลูโคส 100 กรัม (100 gm OGTT) เวลำ ระดับนำตำลในเลือด (มก./ดล.) กอ่ นดมื่ นา้ ตาล 100 กรมั 95 หลงั ดม่ื นา้ ตาล 1 ชวั่ โมง 180 หลงั ดื่มน้าตาล 2 ชว่ั โมง 155 หลงั ดืม่ นา้ ตาล 3 ชั่วโมง 140 *ตั้งแต่ 2 ค่าขึน้ ไปจะถอื วา่ เปน็ โรคเบาหวาน ขณะตั้งครรภ์

41 - เกณฑข์ อง International Diabetes Federation (IDF) หญิงต้งั ครรภด์ ่มื นา้ ทล่ี ะลายน้าตาลกลูโคส 75 กรัม (75 gm OGTT) เวลำ ระดบั นำตำลในเลือด (มก./ดล.) กอ่ นดืม่ น้าตาล 100 กรมั หลงั ด่ืมน้าตาล 1 ชว่ั โมง 92 หลังด่ืมนา้ ตาล 2 ชัว่ โมง 180 153 *ตง้ั แต่ 1 ค่าข้ึนไปจะถอื ว่าเป็นโรคเบาหวานขณะตงั้ ครรภ์ เปำ้ หมำยของระดบั นำตำลในเลอื ดของผ้ปู ว่ ยเบำหวำนขณะตังครรภ์ เวลำ ระดับนำตำลในเลือด (มก./ดล.) กอ่ นอาหารเชา้ อาหารม้อื อนื่ และกอ่ นนอน 60-95 หลงั อาหาร 1 ชัว่ โมง <140 หลงั อาหาร 2 ชั่วโมง <120 เวลา 02.00 – 04.00 น. >60 ท่มี า: แนวทางเวชปฏบิ ัติสาหรับโรคเบาหวาน 2559

42 MNT ในหญงิ ที่มเี บำหวำนขณะตงั ครรภ์ สำรอำหำรและประเภทอำหำร คำแนะนำ พลงั งาน เนื่องจากการลดน้าหนักขณะต้ังครรภ์เป็นส่ิงที่ไม่ควรทา จึง คารโ์ บไฮเดรต ไม่ควรจากัดอาหารจนพลังงานต่าเกินไป แตค่ วรควบคุมให้อยู่ ในปริมาณท่ีเหมาะสมกับความต้องการพลังงานต่อวัน เพ่ือ โปรตนี ชะลอการเพิ่มขึ้นของน้าหนักตัวขณะต้ังครรภ์ให้อยู่ในช่วงท่ี ไขมัน ยอมรับได้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในหญิงตั้งครรภ์ท่ีอ้วน/น้าหนัก วิตามินและแรธ่ าตุ เกิน การจากัดพลังงานอยู่ที่ประมาณ 70% ของ DRI สาหรับ หญิงตั้งครรภ์ช่วยให้น้าหนักตัวเพ่ิมข้ึนช้าลง (อยู่ในช่วงท่ี ยอมรับได้) ในหญิงต้ังครรภ์ท่ีมีภาวะ GDM โดยที่ไม่ก่อให้เกิด ปัญหาต่อมารดาและทารกในครรภ์ รวมถึงไม่เกิดภาวะ ketonuria อย่างไรก็ตามจาเป็นต้องอาศัยการติดตาม ประเมินผลอย่างใกล้ชดิ แนะนาให้หญิงต้ังครรภ์บริโภคคาร์โบไฮเดรตไม่น้อยกว่า 175 กรัมต่อวัน (อ้างอิงจาก DRI) เพื่อให้ทารกในครรภ์ได้รับ กลูโคสเพียงพอ และป้องกันภาวะ ketosis แต่อย่างไรก็ตาม ปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่บริโภคก็ไม่ควรเกิน 45% ของความ ตอ้ งการพลังงานต่อวนั ในหญิงตัง้ ครรภ์ท่ีมี GDM เนือ่ งจากการ บริโภคคาร์โบไฮเดรตที่มากเกินไปจะส่งผลต่อระดับน้าตาลใน เลือดโดยตรง และเพมิ่ ความเส่ียงท่ที ารกจะเกิดมามีน้าหนักตัว มากกว่าปกติ (Large-for-gestational age) และเพ่ิมความ เส่ียงทจี ะตอ้ งผ่าตัดคลอดได้ 77 กรัม/วัน limit saturated fat หากการบรโิ ภคอาหารโดยทั่วไปของหญิงต้ังครรภ์ เมอ่ื ประเมิน แล้วทาให้ได้รับวิตามินและแร่ธาตุไม่เพียงพอ อาจแนะนาให้ เสริมวิตามินและแร่ธาตุได้โดยท่ีต้องเป็นปริมาณที่เหมาะสม (ไมเ่ กนิ DRI) และรปู แบบเหมาะกับหญิงตง้ั ครรภ์

43 พลังงำนและสำรอำหำรทค่ี วรไดร้ บั ประจำวันสำหรับหญิง ตังครรภ์ ทม่ี า: คูม่ ือแนวทางการดาเนนิ งานส่งเสริมสุขภาพดา้ นโภชนาการในคลนิ ิกฝากครรภ์ สาหรบั บคุ ลากรสาธารณสขุ , 2558

44 กำรตรวจนำตำลในเลือดดว้ ยตนเอง (Self-monitoring of blood glucose, SMBG) การตรวจน้าตาลในเลือดด้วยตนเอง (Self-monitoring of blood glucose, SMBG) เป็นเครื่องมือ สาคัญในการเพ่ิมศักยภาพและเสริมพลัง (empowerment) ให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความสามารถในการดูแล ตนเองรว่ มกบั การให้ความรู้ในดา้ นอื่น ๆ ประโยชน์ของกำรทำ SMBG 1. ชว่ ยเสรมิ ข้อมูลของคา่ A1C ในการประเมินการควบคุมเบาหวาน 2. ช่วยให้การควบคุมเบาหวานดีขึ้น ถ้ามีการปรับเปล่ียนการรักษาโดยใช้ข้อมูลระดับน้าตาลในเลือด ท่ีไดจ้ ากการทา SMBG ซงึ่ เป็นคา่ ในช่วงเวลาขณะน้ัน (real time) สะท้อนผลของยาทีใ่ ช้รกั ษา พฤติกรรม การ กิน และการออกกeลังกายต่อการเปลี่ยนแปลงของระดับน้าตาลในเลือด และสามารถใช้ติดตามผลการ ปรับเปลีย่ นนน้ั ๆ 3. สามารถตรวจค้นหาหรือหาแนวโน้มที่จะเกิดภาวะน้าตาลต่าในเลือดและภาวะน้าตาลในเลือดท่ีสูง เกินเกณฑ์เป้าหมาย ป้องกันและแก้ไข ทาให้เพ่ิมความปลอดภัยและความมั่นใจของผู้ป่วย เป็นแรงจูงใจให้มี การดูแลตนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาวะเจ็บป่วย การออกกาลังกาย การขบั รถ ขอ้ บง่ ชีกำรทำ SMBG 1. ผูป้ ว่ ยเบาหวานทม่ี คี วามจาเปน็ ในการทา SMBG 1.1 ผู้ที่ตอ้ งการคุมเบาหวานอย่างเขม้ งวด ได้แก่ ผปู้ ่วยเบาหวานที่มีครรภ์ (pre-gestational DM) และผู้ป่วยเบาหวานขณะตงั้ ครรภ์ (gestational DM) 1.2 ผู้ปว่ ยเบาหวานชนิดที่ 1 1.3 ผู้ป่วยเบาหวานท่ีมีภาวะน้าตาลต่าในเลือดบ่อย ๆ หรือ รุนแรง หรือมีภาวะน้าตาลต่าใน เลอื ด โดยไม่มีอาการเตอื น 2. ผู้ปว่ ยเบาหวานท่ีควรทา SMBG 2.1 ผปู้ ่วยเบาหวานชนดิ ที่ 2 ซ่ึงไดร้ ับการรักษาดว้ ยการฉดี อนิ ซลู ิน 3. ผปู้ ่วยเบาหวานที่อาจพิจารณาใหท้ า SMBG 3.1 ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งไม่ได้ฉีดอินซูลินแต่เบาหวานควบคุมไม่ได้ พิจารณาให้ทา SMBG เม่อื ผูป้ ่วย และ/หรอื ผ้ดู ูแลพรอ้ มที่จะเรียนรู้ ฝกึ ทกั ษะ และนาผลจาก SMBG มาใชป้ รบั เปลยี่ น พฤตกิ รรมเพื่อควบคมุ ระดบั นา้ ตาลในเลอื ดให้ได้ตามเปา้ หมายทีก่ าหนด โดยบคุ ลากรทา การแพทยใ์ ห้ คาแนะนาและปรับเปลี่ยนการรักษาอย่างเหมาะสม

45 3.2 ผู้ทเี่ พงิ่ ไดร้ ับการวินจิ ฉัยวา่ เปน็ เบาหวาน เพื่อเรียนรู้ในการดูแลตนเองทง้ั เร่ืองอาหาร การ ออกกาลังกาย หรอื ได้ยาลดระดบั น้าตาลในเลอื ดให้เหมาะสมกบั กจิ วัตร 3.3 SMBG เป็นส่วนหนึ่งของการให้ความร้โู รคเบาหวานในการดูแลตนเอง เพ่ือช่วยให้ผู้ปว่ ย เบาหวานมีความเข้าใจโรคของตนเอง และเป็นเคร่ืองมือให้ผู้น้ันมีส่วนร่วมในการรักษาด้วย การ ปรับเปล่ียนพฤติกรรมชีวิตและยาท่ีได้รับตามความเหมาะสมด้วยตนเอง หรือภายใต้การ ปรึกษากับ บคุ ลากรทางการแพทย์ 3.4 การทา SMBG มีส่วนช่วยในการดูแลตนเองในภาวะเจ็บป่วย เพ่ือให้ทราบว่าเกิดภาวะ น้าตาลต่า ในเลือดหรือระดับน้าตาลในเลือดสูง เพ่ือปรับเปล่ียนการรักษา หรือปรึกษาบุคลากร ทางการแพทย์ ควำมถี่ของกำรทำ SMBG ความถ่ีของการทา SMBG เป็นไปตามความเหมาะสมกับชนิดของโรคเบาหวาน การรักษาที่ ได้รับและความจาเป็นทางคลินิกของผู้ป่วยเบาหวานแต่ละราย เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายการควบคุม ระดบั นา้ ตาลในเลอื ดท่ีตัง้ ไว้ มีขอ้ แนะนาโดยท่ัวไปดงั นี้ 1. ผู้ปว่ ยเบาหวานระหว่างการต้งั ครรภ์ ควรทา SMBG ก่อนอาหารและหลังอาหาร 1 หรือ 2 ช่วั โมง ทั้ง 3 ม้ือ และก่อนนอน (วนั ละ 7 คร้ัง) อาจลดจานวนครั้งลงเม่ือควบคุมระดับน้าตาลในเลือด ไดด้ ี 2. ผู้ป่วยเบาหวานชนิดท่ี 1 ที่ไดร้ ับการรักษาด้วย insulin pump ควรทา SMBG วันละ 4-6 ครั้ง 3. ผู้ป่วยเบาหวานท่ีฉีดอินซูลินต้ังแต่ 3 คร้ังข้ึนไป ควรทา SMBG ก่อนอาหาร 3 ม้ือทุกวัน ควรทา SMBG ก่อนนอน และหลังอาหาร 2 ช่ัวโมง เป็นคร้ังคราว หากสงสัยว่ามีภาวะน้าตาลต่าใน เลือดกลางดึกหรอื มีความเสีย่ งที่จะเกิด ควรตรวจระดบั น้าตาลในเลือดช่วงเวลา 02.00-04.00 น. 4. ผู้ป่วยเบาหวานท่ีฉีดอินซูลินวันละ 2 ครั้ง ควรทา SMBG อย่างน้อยวันละ 2 คร้ัง โดย ตรวจก่อนอาหารเช้าและเย็น อาจมีการตรวจก่อนอาหารและหลังอาหารมื้ออ่ืน ๆ เพ่ือดูแนวโน้มการ เปลีย่ นแปลงของระดบั นา้ ตาลในเลอื ด และใชเ้ ป็นขอ้ มูลในการปรับยา 5. ควรทา SMBG เมื่อสงสัยว่ามีภาวะน้าตาลต่าในเลือดและหลังจากให้การรักษาจนกว่า ระดบั น้าตาลในเลือดจะกลับมาปกติหรือใกล้เคยี งปกติ 6. ควรทา SMBG ก่อนและหลังการออกกาลังกาย หรือกิจกรรมท่ีมีความเสี่ยง เช่น การขับ รถในผ้ปู ว่ ยเบาหวานที่ได้รับยาซึ่งมคี วามเส่ยี งทจี่ ะเกิดภาวะนา้ ตาลต่าในเลอื ด 7. ในภาวะเจ็บป่วยควรทา SMBG อย่างน้อยวันละ 4 คร้ัง ทุก 4 ถึง 6 ช่ัวโมง หรือก่อนม้ือ อาหาร เพ่อื คน้ หาแนวโนม้ ท่ีจะเกดิ ภาวะน้าตาลต่าในเลอื ดหรือระดับน้าตาลในเลือดสงู เกินควร 8. ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดท่ี 2 ซ่ึงฉีดอินซูลินกอ่ นนอน ควรทา SMBG ก่อนอาหารเช้าทุกวัหรื ออย่าง น้อย 3 คร้ัง/สัปดาห์ในช่วงท่ีมีการปรับขนาดอินซูลิน อาจมีการทา SMBG ก่อนและหลัง อาหารม้ืออ่ืน ๆ สลับกัน เพ่ือดูแนวโน้มการเปล่ียนแปลงของระดับน้าตาลในเลือด ถ้ายังไม่ไดค้ ่า A1C ตามเป้าหมาย ท่ีมา : แนวทางเวชปฏบิ ัติสาหรบั โรคเบาหวาน, 2560

46 hypoglycemia ภำวะนำตำลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia) เป็นภาวะท่ีเกิดขึ้นเมื่อระดับน้าตาลในเลือดลดลงอย่าง ผิดปกติและเปน็ อันตราย มักทาให้เกิดอาการสั่นและอ่อนเพลีย ซ่ึงเกิดขึ้นไดจ้ ากหลายสาเหตุ และโอกาสเส่ียง ทจี่ ะเกดิ ภาวะดังกลา่ วน้นั มอี ยูส่ งู ในผูป้ ว่ ยโรคเบาหวาน อำหำรแก้ hypoglycemia ซง่ึ เป็นภำวะแทรกซ้อนของเบำหวำน ❖ ภาวะน้าตาลในเลอื ดต่าไม่รนุ แรงและระดบั ปานกลาง ให้รับประทานอาหารท่ีมแี ป้ง 15 กรัม เช่น น้าส้มคน้ั 1 แก้ว น้าอัดลม 180 ซีซี น้าผึ้ง 3 ช้อนชา ขนม ปัง1 แผน่ นมสด 1 กล่อง กลว้ ย 1 ผล โจ๊กหรือข้าวตม้ ½ ถว้ ย (หงส์ทอง, 2559) ชนดิ และยหี่ ้ออินซลู นิ และ action

47 คาศัพทพ์ ื้นฐานทางเภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetic) ดังน้ี • Onset คือ ระยะเวลาต้งั แต่ให้ยาไปจนกระท่งั ถึงยาเริ่มออกฤทธ์ิ • Peak คือ ระยะเวลาตั้งแต่ให้ยาไปจนถึงระดับสูงสุดของยา ช่วง peak เป็นช่วงที่ต้องกังวลกับการเกิด hypoglycemia ใหม้ าก • Duration คอื ระยะเวลาทย่ี าออกฤทธทิ์ ง้ั หมด ชนดิ ของอำหำรคำร์โบไฮเดรตกับคำ่ ดชั นนี ำตำล ชนิดอำหำร คำ่ ดชั นี Glycemic Index ขนมปังขาว สงู 110 ขา้ วเหนียว สงู 106 ข้าวเจา้ สงู 100 ข้าวโพดแผน่ ทอดกรอบ สูง 72 โดนทั สูง 76 เฟรนซไ์ ฟรด์ สูง 75 มนั ฝร่ังต้ม สงู 88 คอรน์ เฟลค สงู 92 มนั ฝรั่งบด สงู 85