Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่1.ความหมายองค์ประกอบศิลป์ 12

บทที่1.ความหมายองค์ประกอบศิลป์ 12

Published by jinjin051.tam, 2020-03-16 04:53:16

Description: บทที่1.ความหมายองค์ประกอบศิลป์ 12

Search

Read the Text Version

หน่วยท1ี่ ความหมายองค์ประกอบศลิ ป์ หวั ขอ้ เรื่อง (Topics) 1.1 ความหมายขององค์ประกอบศิลป์ 1.2 ความสาคัญขององค์ประกอบศิลป์ 1.3 ทศั นศิลป์ 1.4 ทศั นธาตุ แนวคิดสาคญั (Main ldea) ในปจั จบุ นั เทคโนโลยีก้าวเข้าสู่การนาสมยั ไมว่ า่ จะมองไปทางใด จะพบวา่ คอมพิวเตอรไ์ ด้เข้ามามีบทบาท ในงานต่าง ๆ มากยิ่งข้ึนรวมไปถงึ งานด้านกราฟิกท่ีได้มีการนาเอาคอมพิวเตอร์เขา้ มาสรา้ งสรรค์ในชนิ้ งานการ ออกแบบและเกดิ พัฒนาอย่างตอ่ เนือ่ ง ซงึ่ ในหน่วยการเรียนนี้จะศึกษาและทาความเขา้ ใจกับคอมพิวเตอร์ที่ใช้ใน งานกราฟิก สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency) แสดงความรเู้ ก่ยี วกับความหมายองค์ประกอบศลิ ป์ จุดประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objectives) 1. บอกความหมายขององคป์ ระกอบศลิ ป์ 2. อธบิ ายเกย่ี วกับหลกั การขององค์ประกอบศลิ ป์ 3. อธบิ ายเกยี่ วกบั ทัศนศิลป์ 4. อธิบายเกย่ี วกบั ทัศนธาตุ

หน่วยที่ 1 ความหมายองคป์ ระกอบศลิ ป์ 1.1 ความหมายขององค์ประกอบศิลป์ คาว่าองค์ประกอบ ตามความหมายพจนานุกรมราชบณั ฑติ ยสถาน คือส่วนต่างๆ ท่ีประกอบกันทาใหเ้ กดิ รูปรา่ งใหมข่ นึ้ โดยเฉพาะ องคป์ ระกอบศลิ ป์ หมายถงึ สิ่งทศ่ี ลิ ปินและนกั ออกแบบใช้เป็นสื่อในการแสดงออกและสรา้ งความหมาย โดยนามาจดั เข้าด้วยกันและเกดิ รปู รา่ งอนั เด่นชัด องค์ประกอบศิลป์ ยงั เป็นเคร่ืองหมายหรือรูปแบบทน่ี ามาจัดรวมกนั แล้วเกิดรูปร่างต่างๆท่แี สดงออกใน การส่อื ความหมายและความคิดสร้างสรรคแ์ ละเปน็ ศิลปะท่ีมนษุ ย์สร้างขน้ึ เพื่อแสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึก ความคดิ หรือความงดงามซ่ึงประกอบด้วยส่วนท่มี นษุ ยส์ รา้ งขึน้ และส่วนท่ีเป็นการแสดงงออกอันเปน็ ผลท่ีเกิดจาก โครงสร้างทางวัตถตุ า่ งๆสว่ นประกอบตา่ งๆของศิลปะ เช่น จุด เส้น รปู ร่าง ขนานสดั ส่วน นา้ หนกั แสงเงา ลักษณะ พ้นื ผวิ ทว่ี ่าง และสี 1.2 ความสาคัญขององค์ประกอบศิลป์ ในการสร้างสรรค์ผลงานศลิ ปะในสาขาต่างๆไมว่ า่ จะเปน็ สาขาวิจติ รศิลปห์ รอื ประยกุ ต์ศิลปผ์ ้สู รา้ งสรรคต์ อ้ งมีความรู้ เบื้องตน้ ดา้ นศลิ ปะมาก่อน และศึกษาถึงหลักการองค์ประกอบพืน้ ฐาน 1.2.1 องค์ประกอบทีส่ าคญั การจดั วางองคป์ ระกอบเหลา่ น้นี ้นั รวมถงึ การกาหนดสี ในลักษณะตา่ งๆ เพิ่มเติมใหเ้ กิดความเขา้ ใจ เพื่อ เวลาที่สร้างผลงานศิลปะจะได้ผลงานท่มี คี ุณคา่ ความหมายและความงามเป็นทีน่ ่าสนใจแกผ่ ู้พบเห็น หากสร้างสรรค์ ผลงานโดยขาดองค์ประกอบศิลป์ ผลงานนัน้ อาจดดู ้อยค่า หมดความหมายหรือไมห่ นา้ สนใจไปเลย ดงั นั้นจะเห็นได้ วา่ องคป์ ระกอบศลิ ป์นนั้ มีความสาคัญอย่างมากในการสร้างงานศิลปะ องค์ประกอบศลิ ป์ เป็นเสมือนหวั ใจดวงหน่งึ ของการทางานศิลปะ เพราะในงานองคป์ ระกอบศิลป์หนึ่งช้ิน จะประกอบไปด้วย การร่างภาพ(วาดเสน้ ) การจดั วางให้เกิดความงาม (จัดภาพ) และการใชส้ ี(ทฤษฎสี )ี ซึ่งแต่ละ อย่างจะต้องเรยี นรูส้ ู่รายละเอียดลกึ ลงไปอีก องค์ประกอบศิลป์จงึ เปน็ พื้นฐานสาคญั ท่ีรวบรวมความรหู้ ลายๆอยา่ ง ไว้ด้วยกัน จึงต้องเรียนรู้กอ่ นที่จะศึกษาในเรอื่ งอื่นๆ (อนนั ต์ ประภาโส) องค์ประกอบศลิ ป์ จัดเป็นวชิ าทม่ี คี วามสาคัญสาหรับผูศ้ กึ ษางานศลิ ปะ หากวา่ ความรู้ความเขา้ ใจในวิชาน้ี แล้ว ผลงานทสี่ รา้ งขน้ึ มากย็ ากทปี่ ระสบความสาเรจ็ โดยเฉพาะอย่างย่งิ งานศิลปะสมยั ใหมท่ ีม่ ีการแสดงเฉพาะ เส้น สี แสง เงา น้าหนกั พ้ืนผิว จงั หวะ และบรเิ วณท่วี า่ ง มีความจาเปน็ อย่างยิ่งต้องนาหลักกรองคป์ ระกอบศลิ ป์มาใช้

1.2.2 หลักการจดั องคป์ ระกอบพ้นื ฐาน 1. เอกภาพ(Unity) หมายถงึ ความเป็นอนั หนง่ึ อนั เดียวกัน ความสอดคล้องกลมกลนื เปน็ หนว่ ย เดียวกนั ด้วยการจัดองค์ประกอบให้มคี วามสัมพนั ธเ์ กยี่ วข้องกนั เป็นกลมุ่ ก้อนไมก่ ระจัดกระจาย โดยการจัด ระเบียบของรปู ทรง จงั หวะ เนื้อหาให้เกิดดลุ ยภาพจะได้ส่ืออารมณ์ ความรู้สกึ ความหมายได้งา่ ยและรวดเรว็ ภาพที่มเี อกภพ ภาพท่ไี ม่มีเอกภาพ รูปที่ 1.1 การจัดองค์ประกอบ 2. ดลุ ยภาพ (Balance) ความสมดลุ หรอื ดลุ ยภาพ หมายถึง ความเท่ากนั เสมอกัน มีน้าหนกั หรือความ กลมกลืนพอเหมาะพอดี โดยมีแกนสมมติทาหน้าทแ่ี บ่งภาพให้ซา้ ยขวา บน ลา่ ง ใหเ้ ท่ากนั การเท่ากนั อาจไม่ เทา่ กนั จริง ๆ ก็ได้ แตจ่ ะเทา่ กันในความร้สู ึกตามที่ตามองเห็นความสมดลุ แบง่ เป็น 2 ประเภท ดงั น้ี (1) ความสมดลุ 2 ข้างเท่ากนั (Symmetrical Balance) หมายถงึ การจัดวางองค์ประกอบต่าง ๆ ของ ศิลปะให้ทั้ง 2 ข้างแกนสมมติมีขนาด สัดสว่ น และนา้ หนักเทา่ กนั หรอื มรี ปู แบบเหมือนกันคลา้ ยกนั (2) ความสมดุล 2 ข้างไม่เท่ากนั (Asymmetrical Balance) หมายถึง การจดั องคป์ ระกอบของศลิ ปะ ท้ัง 2 ขา้ งแกนสมมติมขี นาดสดั สว่ นน้าหนกั ไมเ่ ท่ากัน ไม่เหมือนกนั ไมเ่ สมอกัน แตส่ มดุลกันในความรู้สึกความ สมดลุ 2 ข้างไม่เท่ากนั คือภาพมีความสมดุลของเนอ้ื หาและเร่ืองราวแต่ไมเ่ ท่ากันในเรอ่ื งขนาด น้าหนัก 3. จุดเด่น (Dominance) หมายถงึ สว่ นสาคัญที่ปรากฏชดั สะดุดตาที่สดุ ในงานศิลปะ จุดเดน่ จะชว่ ยสร้าง ความนา่ สนใจในผลงานให้ภาพเขยี นมีความสวยงาม มีชวี ิตชีวายงิ่ ขนึ้ จุดเด่นเกดิ จากการจดั วางท่ีเหมาะสม และ รู้จักการเน้นภาพ (Emphasis) ทีด่ ี จดุ เดน่ มี 2 แบบ คือ (1) จดุ เด่นหลัก เปน็ ภาพทม่ี ีความสาคัญมากทีส่ ุดในเรื่องทีจ่ ะเขียน แสดงออกถึงเร่ืองราวท่ี ชัดเจน เดน่ ชัดทีส่ ุดในภาพ (2) จดุ เดน่ รอง เปน็ ภาพประกอบของจุดเด่นหลัก ทาหนา้ ทส่ี นับสนนุ จดุ เด่นหลัก ให้ภาพมคี วามสวยงาม ย่ิงขึน้ เช่น ในภาพจุดเดน่ รองไดแ้ ก่ รูปเรือ 4. ความขดั แยง้ (Contrast) ขดั แยง้ ดว้ ยรปู ทรงขัดแย้งดว้ ยขนาดขดั แย้งดว้ ยเสน้ ขัดแยง้ ด้วยผวิ ขัดแยง้ ด้วยสีความ ขัดแยง้ ท่ีกล่าวมาถูกจดั วางเพื่อใหเ้ กิดความงามทางศลิ ปะ 5. ความกลมกลืน (Harmony) ภาพดา้ นล่างเป็นความกลมกลนื ด้านเรือ่ งราวท่ีสอดคล้องเป็นเรื่องราว เกย่ี วกบั ธรรมชาติ และเปน็ ความกลมกลืนในเร่ืองสวี รรณะเดียวกัน

1.3 ทศั นศิลป์ ทัศนศิลป์ คือ กระบวนการถ่ายทอดผลงานทางศิลปะ การทางานศลิ ปะอยา่ งมีจติ นาการความคดิ สรา้ งสรรคม์ ีระบบระเบียบเป็นข้นั เป็นตอนการสร้างสรรค์งานอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพสวยงาม มกี ารปฏิบตั ิงานตาม แผนและมีการพัฒนาผลงานใหด้ ขี น้ึ ตอ่ เนื่อง ทัศนศลิ ป์คือการรบั รทู้ างจักษุประสาท โดยการมองเหน็ สสาร วัตถุ และสรรพสิ่งตา่ ง ๆ ที่เข้ามากระทบ รวมถงึ มนุษย์ และสตั ว์ จะดว้ ยการหยุดน่งิ หรือเคลื่อนไหวกต็ าม หรือจะดว้ ยการปรุงแต่ง หรอื ไม่ปรุงแต่งก็ตาม ก่อใหเ้ กดิ ปัจจัยสมมุตติ ่อจติ ใจ และอารมณ์ของมนุษย์ อาจจะเปน็ ไปในทางเดียวกนั หรือไมก่ ต็ าม ทศั นศิลปเ์ ป็นการแปลความหมายทางศิลปะ ที่แตกตา่ งกนั ไปแต่ละมุมมอง ของแต่ละบุคคล ในงานศิลปะ ช้นิ เดียวกัน ซ่งึ ไรข้ อบเขตทางจนิ ตนาการ ไม่มีกรอบท่แี น่นอน ข้นึ กบั อารมณ์ของบคุ คลในขณะทศั น์ศิลป์นัน้ แนวคดิ ทศั นศิลป์เปน็ ศิลปะท่ีรบั รู้ไดด้ ้วยการมอง ไดแ้ กร่ ูปภาพวิวทวิ ทัศน์ท่วั ไปเป็นสาคัญอันดับต้นๆ รปู ภาพคน เหมอื น ภาพล้อ ภาพสิง่ ของต่างๆก็ลว้ นแลว้ แต่เปน็ เรือ่ งของทัศนศิลป์ดว้ ยกันทั้งสิ้น ซง่ึ ถ้ากล่าวว่าทัศนศลิ ปเ์ ปน็ ความงามทางศลิ ปะที่ได้จากการมอง หรอื ทัศนา น่ันเอง รูปที่ 1.3 ภาพทศั นศลิ ป์แบบไทย

1.4 ทัศนธาตุ 1. จดุ (Dot) หมายถงึ รอยหรือแต้มที่มลี กั ษณะกลมๆ ปรากฏทผี่ วิ พืน้ ไม่มขี นาด ความกวา้ ง ความยาว ความหนา เปน็ ส่ิงทเ่ี ล็กทีส่ ุดและเป็นธาตุเรมิ่ แรกท่ีทาใหเ้ กดิ ธาตุอืน่ ๆ ข้นึ จดุ เปน็ ตน้ กาเนิดของเส้น รปู รา่ ง รปู ทรง แสงเงา พนื้ ผิว ฯลฯ เชน่ นาจุดมาวางเรยี งตอ่ กันจะเกดิ เปน็ เส้น และการนาจดุ มาวางใหเ้ หมาะสมกจ็ ะเกดิ เปน็ รปู รา่ ง รูปทรง และลกั ษณะผวิ ได้ 2. เส้น (Line) คอื จดุ หลาย ๆ จดุ ตอ่ กันเปน็ สาย เป็นแถวแนวไปในทิศทางใดทศิ ทางหนึ่งเปน็ ทางยาวหรอื จุดทีเ่ คลื่อนที่ไปในทศิ ทางใดทิศทางหนึ่งด้วยแรงผลักดัน หรอื รอยขูดขีดเขียนของวตั ถเุ ป็นรอยยาว เสน้ นอน ให้ความรสู้ ึกกว้างขวาง เงียบสงบนิ่ง ราบเรยี บ ผอ่ นคลายสายตา เส้นตั้ง ให้ความร้สู กึ สูงสง่า ม่ันคง แข็งแรง รงุ่ เรือง เส้นเฉียง ใหค้ วามรสู้ กึ ไม่มั่นคง เคลื่อนไหวรวดเร็ว แปรปรวน เส้นโคง้ ให้ความร้สู ึกอ่อนไหว สุภาพอ่อนโยน สบาย น่มุ นวล เย้ายวน เสน้ ประ ––––––– ให้ความรู้สึกไมต่ ่อเนื่อง ไม่ม่นั คง ไม่แน่นอน 1.4.2 รปู รา่ งและรูปทรง รูปร่าง (Shape) หมายถึง เส้นรอบนอกทางกายภาพของวตั ถุ สง่ิ ของเคร่ืองใช้ คน สัตว์ และ พชื มี ลกั ษณะเปน็ 2 มติ ิ มีความกวา้ งและความยาว รูปร่าง แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท คือ 1.รูปร่างธรรมชาติ (Natural Shape) หมายถึง รูปรา่ งท่ีเกิดข้นึ เองตามธรรมชาติ เชน่ คน สตั ว์ และ พืช เป็นตน้ 2.รปู ร่างเรขาคณิต (Geometrical Shape) หมายถึง รปู ร่างท่มี นษุ ยส์ ร้างข้ึนมโี ครงสรา้ งแนน่ อน เชน่ รปู สามเหล่ยี ม รูปสเี่ หลยี่ ม และรูปวงกลม เปน็ ต้น

3.รปู ร่างอิสระ (Free Shape) หมายถงึ รปู ร่างทเี่ กิดขึ้นตามความต้องการของผูส้ ร้างสรรค์ ให้ ความรู้สึกทเ่ี ป็นเสรี ไม่มีโครงสร้างท่แี นน่ อนของตวั เอง เป็นไปตามอทิ ธิพลของสิ่งแวดลอ้ ม เช่น รปู ร่างของหยด นา้ เมฆ และควนั เป็นตน้ รปู ที่ 1.4 รูปร่างและรูปทรงเลขาคณิต รปู ทรง (Form) หมายถึง โครงสร้างทงั้ หมดของวัตถุที่ปรากฎแกส่ ายตาในลักษณะ 3 มติ ิ คือมที ง้ั ส่วนกว้าง สว่ นยาว สว่ นหนาหรือลกึ คือ จะใหค้ วามรู้สกึ เปน็ แท่ง มเี นอื้ ที่ภายใน มี ปริมาตร และมีน้าหนกั รูปที่ 1.5 รูปมติ ิและเงา 1.4.3 สี พ้นื ผิว การใช้ผิว น้าหนกั อ่อน-แก่ (Value) หมายถึง จานวนความเข้ม ความอ่อนของสีต่าง ๆ และแสงเงาตามที่ ประสาทตารับรู้ เมอื่ เทียบกับน้าหนักของสีขาว-ดา ความอ่อนแก่ของแสงเงาทาให้เกดิ มติ ิ เกดิ ระยะใกลไ้ กลและ สมั พันธ์กับเร่ืองสโี ดยตรง

สี (Color) หมายถึง สิ่งทป่ี รากฏอยู่ทว่ั ไปรอบ ๆ ตวั เรา ไมว่ า่ จะเปน็ สีท่ีเกดิ ขึน้ เองในธรรมชาติ หรอื สง่ิ ทมี่ นุษย์สรา้ งขน้ึ สที าใหเ้ กิดความรูส้ กึ แตกตา่ งมากมาย เช่น ทาให้รู้สึกสดใส รา่ เริง ตนื่ เตน้ หมน่ หมอง หรือเศร้าซึมได้ เป็นตน้ สีและการนาไปใช้ 1.วรรณะของสี (Tone) จากวงจรสีธรรมชาติ ในทางศลิ ปะได้มกี ารแบ่งวรรณะของสีออกเปน็ 2 วรรณะ คอื สีวรรณะร้อน ได้แก่สที ี่ให้ความร้สู กึ อบอุ่นหรือรอ้ น เช่น สีเหลือง สม้ เหลอื ง สม้ สม้ แดง แดง ม่วงแดง เปน็ ตน้ ส่วนสีวรรณะเยน็ ไดแ้ ก่ สที ่ใี หค้ วามรสู้ กึ เย็น สงบ สบาย เช่น สีเขียว เขียว เหลือง เขียวนา้ เงนิ นา้ เงนิ ม่วงน้าเงนิ มว่ ง เป็นตน้ 2.ค่าของสี (Value of color) หมายถึง สีใดสีหน่งึ ทาให้ค่อย ๆ จางลงจนขาวหรือสว่างและทาใหค้ ่อย ๆ เข้มขึ้นจนมืด 3.สีเอกรงค์ (Monochrome) หมายถงึ สที แ่ี สดงอทิ ธิพลเด่นชัดออกมาเพยี งสีเดียว หรอื ใช้เพียงสี เดยี วในการเขยี นภาพโดยให้ค่าของสีอ่อน กลาง แก่ คล้ายกบั ภาพถ่าย ขาว ดา 4.สีสว่ นรวม (Tonality) หมายถึง สใี ดสหี นึ่งท่ีให้อิทธิพลเหนือสีอื่นท้ังหมด เช่น การเขยี นภาพ ทวิ ทศั น์ ปรากฏสีส่วนรวมเปน็ สเี ขียว สนี ้าเงิน เปน็ ตน้ 5.สีทปี่ รากฏเด่น (Intensity) 6.สตี รงขา้ มกันหรอื สตี ดั กัน (Contrast) หมายถึง สที ่ีอย่ตู รงกันข้ามในวงจรสีธรรมชาติ เช่นสีแดงกับสี เขียว สีน้าเงินกับสีสม้ สมี ่วงกับสีเหลือง 1.4.4 บริเวณวา่ ง (Space) หมายถึง บริเวณที่เปน็ ความว่างไม่ใช่สว่ นทีเ่ ป็นรูปทรงหรือ เนื้อหาในการจัดองค์ประกอบใดก็ตามถ้าปล่อยให้มีพื้นทีว่ า่ งมากและใหม้ ีรูปทรงน้อย การจดั น้นั จะให้ ความรสู้ ึกอา้ งอ้าง โดดเดย่ี ว 1.4.5 พื้นผวิ (Texture) หมายถงึ พืน้ ผิวของวตั ถุต่าง ๆ ที่เกดิ จากธรรมชาติและมนุษย์สรา้ งสรรค์ขึน้ พื้นผิวของวตั ถุทแี่ ตกตา่ งกนั ยอ่ มให้ความรู้สึกที่แตกต่างกันด้วย สรปุ สาระสาคญั การจดั องค์ประกอบศลิ ป์ การจะวางวัตถุ การใช้พ้นท่ี สดั สว่ น การกาหนดเส้น สี แสง เงา การจัดวาง ตาแหน่งวัตถุ และการใช้ชนิดของการจัดวัตถุแบบตา่ ง ๆ ล้วนแล้วแต่เปน็ องคป์ ระกอบศิลป์กอ่ ให้เกดิ การลงตัวของ ชน้ิ งาน

แบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 1 ความหมายองคป์ ระกอบศลิ ป์ คาส่ัง จงตอบคาถามต่อไปน้ใี หส้ มบูรณ์ 1. ธาตหุ มายถงึ อะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.ทศั นศลิ ปห์ มายถึงอะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.องค์ประกอบศิลป์คอื อะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. เอกภาพหมายถึงอะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5.ทัศนศิลปก์ บั ทัศนธาตตุ า่ งกันอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แบบทดสอบหลงั เรยี นหนว่ ยหน่วยท่ี 1 ความหมายองคป์ ระกอบศิลป์ คาสง่ั จงทาเคร่ืองหมายกากบาท (×) ทับข้อทถ่ี ูกต้องทส่ี ดุ 1. ข้อใดเป็นหลักการออกแบบในงานกราฟิก ก. มเี อกภาพ ข. ความเป็นปัจจุบนั ค. ความทนั สมัย ง. ความลา้ ลกึ 2. ขอ้ ใดไมใช่หลกั การจัดองค์ประกอบศลิ ป์ ก. จุดเด่น ข. เอกภาพ ค. จุดสมดลุ ง. จุดรอง 3. หลกั องคป์ ระกอบศิลป์หมายถงึ ข้อใด ก. การนาองค์ประกอบต่างๆ ของศิลปะมาแยกเพ่ือสร้างคุณคา่ ข. การนาองค์ประกอบต่างๆ ของศิลปะมาสัมพันธ์กนั เพื่อใหเ้ กิดคณุ ค่าทางความงาม ค. ผสมกลมกลืนใหเ้ กิดมิตใิ หม่ ง. ถูกท้ังข้อ ข. และ ค. 4. จดุ เดน่ ตรงกบั ข้อใด ก. Harmony ข. Contrast ค. Dominance ง. Unity 5. ความกลมกลืนตรงกบั ข้อใด ก. Harmony ข. Contrast ค. Dominance ง. Unity

6. ความสมดุลตรงกบั ขอ้ ใด ก. Harmony ข. Contrast ค. Dominance ง. Unity 7. ลกั ษณะโดดเดน่ ของเอกภาพคืออะไร ก. ความเด่นชัด ข. ปรากฏชัด ค. ความเป็นหน่ึงเดียว ง. สร้างจดุ สนใจ 8. Contrast ตรงกบั ขอ้ ใด ก. ความขัดแย้ง ข. เอกภาพ ค. ความสมดลุ ง. ความกลมกลืน 9. สมดลุ แบ่งออกไดท้ ัง้ หมดกี่ประเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท 10. จุดเดน่ แบง่ ได้เป็นกีป่ ระเภท ก. 2 แบบ ข. 3 แบบ ค. 4 แบบ ง. 5 แบบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook